The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานวิจัยและพัฒนา_นางสาวนริศรา แสงจันทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yongyee7269, 2022-04-12 08:04:07

งานวิจัยและพัฒนา_นางสาวนริศรา แสงจันทร์

งานวิจัยและพัฒนา_นางสาวนริศรา แสงจันทร์

45

งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
งานวิจยั ในประเทศ
ยุพนิ ยนื ยง (2553) การพฒั นารูปแบบการนิเทศการสอนแบบหลากหลายวธิ กี ารเพอ่ื

สง่ เสรมิ สมรรถภาพการวจิ ยั ในชนั้ เรยี นของครู เขตการศกึ ษา 5 อคั รสงั ฆมณฑลกรงุ เทพ ผลการ
ใชร้ ปู แบบการนิเทศแบบหลากหลายวธิ กี าร เพ่อื สง่ เสรมิ สมรรถภาพการวจิ ยั ในชนั้ เรยี น พบว่า
ครูผู้นิเทศมสี มรรถภาพในการนิเทศแบบหลากหลายวธิ กี าร อยู่ในระดบั สูงมาก และมคี วามรู้
ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การวจิ ยั ในชนั้ เรยี นก่อนและหลงั การใชร้ ปู แบบการนิเทศ แตกตา่ งกนั อยา่ งมี
นยั สาํ คญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 โดยหลงั การใชร้ ูปแบบการนิเทศมคี ะแนนเฉลย่ี สงู กว่ากอ่ นการใช้
รูปแบบการนิเทศ ครูผู้รบั การนิเทศมคี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั การนิเทศแบบหลากหลาย
วธิ กี ารก่อนและหลงั การใช้รูปแบบการนิทศ แตกต่างกนั อย่างมนี ัยสําคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดบั .05
โดยหลงั การใชร้ ูปแบบการนเิ ทศมคี ะแนนเฉลย่ี สงู กว่าก่อนการใชร้ ูปแบบการนิเทศมสี มรรถภาพ
การวิจัยในชันเรียน อยู่ในระดับสูงมาก และมีความพึงพอใจตอรูปแบบการนิเทศแบบ
หลากหลายวธิ กี าร อยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด และนกั เรยี นมผี ลการเรยี นรูก้ ่อนและหลงั การใชร้ ปู แบบ
การนิเทศแบบหลากหลายวธิ กี ารของครผู ู้รบั การนิเทศ แตกต่างกนั อย่างมนี ัยสําคญั ทางสถิตทิ ่ี
ระดบั .05 โดยหลงั ใชร้ ูปแบบการนิเทศนักเรยี นมผี ลการเรยี นรู้สูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบการ
นเิ ทศ

ยมนพร เอกปัชชา (2557) ไดศ้ กึ ษาเร่อื ง การพฒั นารูปแบบการนิเทศแบบเสรมิ พลงั
เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรข์ องครูปฐมวยั การวจิ ยั น้ีมี
วตั ถุประสงค์หลกั เพ่อื พฒั นารูปแบบการนิเทศแบบเสรมิ พลงั เพ่อื เสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั
ประสบการณ์การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรข์ องครูปฐมวยั ดําเนินการตามขนั้ ตอนการวจิ ยั และพฒั นา
3 ขนั้ ตอนดงั น้ี ตอนท่ี 1 ศกึ ษาความต้องการในการเสรมิ สร้างสมรรถนะโดยใชแ้ บบสอบถาม
ความตอ้ งการจําเป็น ตอนท่ี 2 สรา้ งรปู แบบและตรวจสอบรูปแบบโดยการสมั มนาองิ ผเู้ ชย่ี วชาญ
จํานวน 10 คน ตอนท่ี 3 ศกึ ษาผลการใชร้ ูปแบบ ผลการวจิ ยั พบว่า 1. ครปู ฐมวยั สํานักงานเขต
พน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรคเ์ ขต 2 มคี วามตอ้ งการในการเสรมิ สรา้ งสมรรถนะการจดั
ประสบการณ์การเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ในดา้ นความรแู้ ละทกั ษะเก่ยี วกบั การจดั ประสบการณ์การ
เรยี นรู้อยู่ในระดบั มาก 2. รูปแบบการนิเทศแบบเสรมิ พลงั เพ่ือเสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั
ประสบการณ์การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรข์ องครูปฐมวยั ประกอบดว้ ย หลกั การ วตั ถุประสงค์ เน้ือหา
กานิเทศ กระบวนการนิเทศ วิธีการนิเทศและระยะเวลาการนิเทศ ผลการประเมินรูปแบบ
โดยการสมั มนาองิ ผูเ้ ชย่ี วชาญ พบว่า รูปแบบทพ่ี ฒั นาขน้ึ มคี วามถูกต้อง เหมาะสม เป็นได้ใน
การปฏิบัติและเป็นประโยชน์ในระดับมาก 3. ครูปฐมวัยท่ีได้รับการนิเทศแบบเสริมพลัง
เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรม์ สี มรรถนะดา้ นความรแู้ ละ
เจตคตติ ่อการจดั ประสบการณ์การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรห์ ลงั ไดร้ บั การนิเทศแบบเสรมิ พลงั สูงกว่า
ก่อนได้รบั การนิเทศแบบเสรมิ พลงั อย่างมนี ัยสําคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .05 ระดบั ทกั ษะหลงั ได้รบั

46

การนิเทศแบบเสรมิ พลงั อยู่ในระดบั ดีมาก คดิ เป็นร้อยละ 75.00 และ ระดบั ดี คดิ เป็นร้อยละ
25.00 ในดา้ นความพงึ พอใจต่อการใชร้ ูปแบบการนิเทศแบบเสรมิ พลงั เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะ
การจดั ประสบการณ์การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ครปู ฐมวยั และผบู้ รหิ ารโรงเรยี นมคี วามพงึ พอใจอยู่
ในระดบั มาก

ภณั ฑริ า สุปการ (2558) ได้ศึกษา รูปแบบการบริหารจดั การการนิเทศการศึกษา
สําหรบั ศตวรรษท่ี 21 มวี ตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั เพอ่ื ศกึ ษา 1) องคป์ ระกอบการบรหิ ารจดั การ
การนิเทศการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ของสํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
สําหรบั ศตวรรษท่ี 21 2) รูปแบบการบริหารจดั การการนิเทศการศึกษา ระดบั การศึกษาขนั้
พน้ื ฐาน ของสํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษา สําหรบั ศตวรรษท่ี 21 และ 3) อนั ดบั
ความสําคญั ขององคป์ ระกอบและผลการยนื ยนั รูปแบบการบรหิ ารจดั การการนิเทศการศกึ ษา
ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานของสํานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา สาํ หรบั ศตวรรษท่ี 21
ผลการวจิ ยั พบว่า 1. องคป์ ระกอบรูปแบบการบรหิ ารจดั การนิเทศการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขนั้
พน้ื ฐานของสํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา สําหรบั ศตวรรษท่ี 21 ประกอบดว้ ย 5
องคป์ ระกอบ คอื 1) การบรหิ ารจดั การ 2) การมสี ว่ นร่วม 3) การนิเทศ 4) การใชเ้ ทคโนโลยแี ละ
5) การประเมนิ ผล 2. รูปแบบการบรหิ ารจดั การการนิเทศการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
ของสาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา สําหรบั ศตวรรษท่ี 21 เป็นพหุองคป์ ระกอบท่ีมี
ความสมั พนั ธ์กนั โดยองค์ประกอบด้านการมสี ่วนร่วม มอี ทิ ธพิ ลทางตรงต่อองค์ประกอบด้าน
การบรหิ ารจดั การและมอี ทิ ธพิ ลทางออ้ มต่อองคป์ ระกอบดา้ นการประเมนิ ผล การใหเ้ ทคโนโลยี
และ การนิเทศ 3. อนั ดบั ความสาํ คญั แต่ละองคป์ ระกอบของรูปแบบการบรหิ ารจดั การการนิเทศ
การศกึ ษาระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ของสํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาสําหรบั ศตวรรษท่ี 21
ตามความคดิ เหน็ ของศกึ ษานิเทศกเ์ รยี งลําดบั ไดด้ งั น้ี 1) การบรหิ ารจดั การ 2) การประเมนิ ผล
3) การมสี ่วนร่วม 4) การนิเทศ และ 5) การใช้เทคโนโลยี 4. ผลการยนื ยนั รูปแบบการบรหิ าร
จดั การการนิเทศ สาํ หรบั ศตวรรษท่ี 21 ผทู้ รงคุณวฒุ มิ คี วามเหน็ สอดคลอ้ งกนั ว่า รปู แบบมคี วาม
เหมาะสม เป็นไปได้ ถกู ตอ้ งและนําไปใชป้ ระโยชน์ไดส้ อดคลอ้ งกบั กรอบแนวคดิ ทฤษฎขี องการ
วจิ ยั

นนทลี พรธาดาวทิ ย์ (2560) ทาํ การวจิ ยั เรอ่ื ง การพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนเชงิ
รกุ ในวชิ าการจดั การเรยี นรู้ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาผลการใช้ Active Learning ทม่ี ตี ่อนกั ศกึ ษา
ในวชิ าการจดั การเรยี นรแู้ ละศกึ ษาคณุ ลกั ษณะผสู้ อนในการจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning
ผลการวิจัยพบว่า ผลการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ในวิชาการจัดการเรียนรู้
ในภาพรวม พบว่า กิจกรรมท่ีผู้สอนจัดให้กับนักศึกษามีความเหมาะสมในระดับมาก
โดยนกั ศกึ ษาแสดงความคดิ เหน็ ว่า ผลทน่ี กั ศกึ ษาไดร้ บั มากทส่ี ดุ คอื กจิ กรรมทผ่ี สู้ อนจดั สง่ เสรมิ
ใหน้ ักศกึ ษาเรยี นรูร้ ่วมกนั รองลงมาคอื ช่วยพฒั นาทกั ษะการทํางานเป็นทมี นกั ศกึ ษาสามารถ
นํากจิ กรรมไปประยุกตใช้ในการฝึกสอนได้ในอนาคต ฝึกการนําเสนอหน้าชนั้ เรยี น และมสี ่วน

47

ร่วมในกิจกรรมการเรยี นการสอน ส่วนคุณลกั ษณะผู้สอนนักศึกษามคี วามคดิ เห็นว่ามีความ
เหมาะสมในระดบั มากทส่ี ุด คอื ผสู้ อนมคี วามรูค้ วามสามารถในการสอนมคี ่าเฉลย่ี ในระดบั มาก
ทส่ี ุด รองลงมาคอื ผูส้ อนมคี วามพรอ้ มในการสอน ผสู้ อนเป็นผูอ้ ํานวยความสะดวกและกระตุ้น
ใหน้ กั ศกึ ษาเกดิ การเรยี นรู้

แสงเดือน วงศ์ชวลิต (2560) ทําการการวิจัย เร่ือง กระบวนการเรียนแบบใฝ่ รู้
(Active Learning) ท่มี ผี ลต่อพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ผลสมั ฤทธแิ์ ละความพงึ พอใจในการเรยี นรู้
รายวชิ าการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรยี น ผลการวจิ ยั พบว่า หลงั ใชร้ ปู แบบการเรยี นแบบใฝ่รู้ ผลการ
ประเมนิ ในภาพรวมอย่ใู นระดบั ดมี าก ไดแ้ ก่ พฤตกิ รรมการเรยี นรดู้ า้ นความสนใจใฝ่รู้ ดา้ นการ
มสี ่วนร่วม ดา้ นความคดิ สรา้ งสรรค์ และดา้ นการตรงเวลา ตามลําดบั และมคี ่าเฉลย่ี ในระดบั ดี
มากทุกรายการ โดยพฤติกรรมการเรียนรู้รายด้านของนักศึกษาในด้านความสนใจใฝ่ รู้
ในภาพรวมอย่ใู นระดบั ดมี าก นักศกึ ษาตงั้ ใจเรยี น สามารถแลกเปลย่ี นความรูด้ ว้ ยวธิ กี ารต่างๆ
และผู้เรยี นศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสอื เอกสารสงิ่ พมิ พ์ ส่อื เทคโนโลยตี ่างๆ มแี หล่ง
เรยี นรู้ทงั้ ภายในและภายนอกห้องเรยี น ด้านการมสี ่วนร่วม มคี ่าเฉล่ยี ระดบั ดมี าก นักศึกษา
มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมหรอื งานกลุ่ม มกี ารร่วมกนั ตงั้ ประเด็นการเรยี นรู้และการค้นควา้ ร่วมกนั
ดา้ นความรบั ผดิ ชอบนัน้ มพี ฤตกิ รรมการเรยี นรทู้ เ่ี ตม็ ใจและตงั้ ใจ ในการทาํ งานและปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
โดยเคร่งครดั มคี วามพยายามทํางานให้สําเร็จอยู่เสมอและยอมรบั ความผดิ พลาดท่ีเกดิ จาก
การกระทํา รวมถึงมีการติดตามผลงานอยู่เสมอ มีค่าเฉล่ียระดบั ดีมาก ด้านการตรงเวลามี
ค่าเฉลย่ี สูงสุดเป็นการจดั เวลาให้พอเหมาะกบั กจิ กรรมต่างๆ เพ่อื ความเป็นระเบยี บ สามารถ
ทํางานเสรจ็ ตามเวลาทก่ี ําหนด และมาเรยี นเป็นประจาํ ไม่มาสาย ส่วนพฤตกิ รรมการเรยี นรูด้ า้ น
ความคดิ สรา้ งสรรค์ นกั ศกึ ษามคี วามอยากรู้ อยากเหน็ มสี มาธใิ นการเรยี นรู้ และมแี นวคดิ แปลก
ใหม่ มคี า่ เฉลย่ี ในระดบั ดมี าก

บรรดษิ ฐ์ ม่วงอ่อง (2562) ได้ศกึ ษาเร่อื ง การพฒั นารูปแบบการนิเทศ เพ่อื ส่งเสรมิ
สมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ของครูอนุบาล สงั กดั กรมส่งเสรมิ การปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ มจี ุดมุ่งหมายเพ่อื 1)เพ่อื ศกึ ษาความต้องการจาํ เป็นการนิเทศการจดั ประสบการณ์การ
เรยี นรขู้ องครโู รงเรยี นอนุบาล 2) เพอ่ื สรา้ งและตรวจสอบคณุ ภาพของรา่ งรปู แบบการนิเทศเพอ่ื
ส่งเสรมิ สมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรยี นรขู้ องครูโรงเรยี นอนุบาล สงั กดั กรมส่งเสรมิ การ
ปกครองทอ้ งถนิ่ 3) เพอ่ื ทดลองใชร้ ปู แบบการนิเทศ 4) เพอ่ื ประเมนิ ผลรปู แบบการนิเทศ

ผลการวจิ ยั พบว่า 1. สภาพความต้องการจําเป็นในการนิเทศของครูด้านการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ของครูโรงเรียนอนุบาล สงั กัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นใน
ภาพรวมในทงั้ 4 ดา้ น คอื ดา้ นหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั ดา้ นจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ดา้ น
การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้เดก็ ปฐมวยั ดา้ นการสนับสนุนจากผูบ้ รหิ าร อยู่ในระดบั มาก
2. รปู แบบการนิเทศเพอ่ื สง่ เสรมิ สมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรยี นรขู้ องครโู รงเรยี นอนุบาล
สงั กดั กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น ประกอบด้วย หลกั การ จุดมุ่งหมาย บทบาทผู้นิเทศ

48

บทบาทผู้รบั การนิเทศ 8 ขนั้ ตอน คอื ขนั้ ท่ี 1 ประชุมวางแผนการนิเทศการสอน ขนั้ ท่ี 2 ให้
ความรูค้ วามเขา้ ใจในการจดั กจิ กรรม ขนั้ ท่ี 3 ทําการนิเทศการสอนและสงั เกตพฤตกิ รรมของ
ครูผสู้ อน ขนั้ ท่ี 4 วเิ คราะหข์ อ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการนิเทศการสอน ขนั้ ท่ี 5 ประชุมหลงั การนิเทศการ
สอน ขนั้ ท่ี 6 สรา้ งเสรมิ กําลงั ใจ ขนั้ ท่ี 7 ประเมนิ ผลการนิเทศการสอน ขนั้ ท่ี 8 รายงานผลการ
นิเทศ ผลจากการตรวจสอบจากผู้เช่ียวชาญ 10 ท่าน ผลการประเมนิ ความเป็นไปได้ ความ
ถูกต้อง และความเหมาะสม อยู่ในระดบั มากทส่ี ุด 3. รูปแบบการนิเทศ เพ่อื ส่งเสรมิ สมรรถนะ
การจดั ประสบการณ์การเรยี นรูข้ องครูโรงเรยี นอนุบาล สงั กดั กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่
ในภาพรวมครมู สี มรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ อย่ใู นระดบั มาก 4. ความพงึ พอใจต่อ
รูปแบบการนิเทศ เพ่อื ส่งเสรมิ สมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรยี นรูข้ องครโู รงเรยี นอนุบาล
สงั กดั กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ อย่ใู นระดบั มาก

วาสนา บุญมาก (2562) ไดศ้ กึ ษาเร่อื ง การพฒั นารปู แบบการนิเทศแบบบูรณาการ
เพ่อื ส่งเสรมิ สมรรถนะการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุกของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน การวจิ ยั ครงั้ น้ี
มวี ตั ถุประสงค์เพ่อื พฒั นารูปแบบการนิเทศแบบบูรณาการ เพ่อื ส่งเสรมิ สมรรถนะการจดั การ
เรยี นรูเ้ ชงิ รุก ผลการวจิ ยั พบว่า 1. ขอ้ มลู พน้ื ฐานเก่ยี วกบั การนิเทศแบบบูรณาการ เพอ่ื สง่ เสรมิ
สมรรถนะการจดั การเรียนรู้เชิงรุก พบว่า เป็นการนิเทศท่ีนําการนิเทศแบบคลินิก (Clinic
supervision) การนิเทศแบบช้แี นะทางปัญญา (Cognitive coaching) และการนิเทศแบบพเ่ี ล้ียง
(Mentoring) บูรณาการร่วมกนั มหี ลกั การท่ีผู้นิเทศจะให้คําช้แี นะแก่ผู้รบั การนิเทศท่ีสามารถ
พัฒนาได้ด้วยตนเอง และให้คําปรึกษา คําแนะนําแก่ผู้รับการนิเทศท่ีมีประสบการณ์น้อย
หรือเริ่มงานให้ได้รับการพัฒนา และส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้น
การจดั การเรยี นรูเ้ ชงิ รุกในการพฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอนให้มปี ระสทิ ธภิ าพ 2. รูปแบบ
การนิเทศแบบบูรณาการ เพอ่ื ส่งเสรมิ สมรรถนะการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุก ของครรู ะดบั การศกึ ษา
ขนั้ พน้ื ฐานทส่ี รา้ งขน้ึ มี 5 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ หลกั การ วตั ถปุ ระสงค์ เน้อื หา กจิ กรรมการนิเทศ
และการวดั และประเมนิ ผล โดยมกี จิ กรรมการนเิ ทศ 3 ขนั้ ตอน ดงั น้ี ขนั้ ท่ี 1 การวางแผนกาํ หนด
ทศิ ทาง ขนั้ ท่ี 2 การปฏบิ ตั กิ ารนิเทศ ขนั้ ท่ี 3 การเรยี นรูเ้ พ่อื พฒั นา ซ่ึงผลการประเมนิ รูปแบบ
การนเิ ทศแบบบูรณาการ เพอ่ื สง่ เสรมิ สมรรถณะการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ และค่มู อื การใชร้ ูปแบบ
การนิเทศแบบบูรณาการ พบว่า มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดบั มากทงั้ สองรายการ ส่วนผล
การทดลองใช้รูปแบบการนิเทศแบบบูรณาการ พบว่าครูผู้สอนตระหนักถึงความสําคญั และ
จาํ เป็นของการจดั การเรยี นการสอนทม่ี ุ่งเน้นการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ มสี ว่ นรว่ มและแลกเปลย่ี น
ประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรูเ้ ชงิ รุก 3. ผลการศกึ ษาการใชร้ ปู แบบการนิเทศแบบบูรณาการ
เพ่ือส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ของครูระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พบว่า
ครมู คี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุก หลงั การสง่ เสรมิ สงู กว่ากอ่ นการส่งเสรมิ
อย่างมนี ัยสําคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั 05 และมคี วามสามารถในการเขยี นแผนการเรยี นรู้เชงิ รุกใน
ระดับมากท่ีสุด รวมถึงทักษะการจัดการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก

49

อยู่ในระดบั มากทส่ี ุดและมเี จตคตทิ ด่ี ตี ่อการจดั การเรยี นรูเ้ ชงิ รุก 4. ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจ
ของครูทม่ี ตี ่อรูปแบบการนิเทศแบบบูรณาการ เพ่อื ส่งเสรมิ สมรรถนะการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก
พบวา่ ครมู คี วามพงึ พอใจตอ่ รปู แบบการนเิ ทศแบบบูรณาการอยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด

อนงค์นาถ เคนโพธิ์ (2562) ได้ศึกษาเร่ือง การพัฒนารูปแบบการนิเทศเพ่ือ
เสรมิ สรา้ งสมรรถนะการจดั การเรยี นรใู้ นโรงเรยี นประถมศกึ ษา การวจิ ยั ครงั้ น้ีมวี ตั ถุประสงค์ 1)
ศึกษาองค์ประกอบ ตวั ช้วี ดั การนิเทศเพ่อื เสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั การเรียนรู้ในโรงเรียน
ประถมศึกษา 2) เพ่อื พฒั นารูปแบบการนิเทศเพ่ือเสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั การเรยี นรู้ใน
โรงเรยี นประถมศกึ ษา และ 3) เพ่อื ศกึ ษาผลการนํารูปแบบการนิเทศ เพ่อื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะ
การจดั การเรยี นรใู้ นโรงเรยี นประถมศกึ ษาไปใชโ้ ดยใชก้ ระบวนการวจิ ยั และพฒั นา ผลการวจิ ยั
พบว่า 1. องค์ประกอบและตวั ช้วี ดั ของการนิเทศเพ่อื เสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั การเรยี นรู้ใน
โรงเรียนประถมศึกษา แบ่งได้ 4 องค์ประกอบหลัก 12 ตัวช้ีวัด ได้แก่ 1) ด้านการสร้าง
ปฏสิ มั พนั ธ์ มี 3 ตวั ช้ีวดั 2) ด้านวฒั นธรรมองค์กร ม3ี ตวั ช้ีวดั 3) ด้านการปฏบิ ตั มิ 3ี ตวั ช้วี ดั
และ 4) การประเมนิ สู่การพฒั นา มี 3 ตวั ช้วี ดั ไดเ้ ป็นรูปแบบการนิเทศแบบ ROAD 2. รปู แบบ
การนิเทศเพ่อื เสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั การเรยี นรู้ในโรงเรยี นประถมศกึ ษา ทพ่ี ฒั นาขน้ึ แบบ
ROAD มคี วามเหมาะสม ความเป็นไปไดแ้ ละเป็นประโยชน์อย่ใู นระดบั มาก 3. ผลการใชร้ ูปแบบ
การนิเทศเพ่อื เสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั การเรยี นรู้ในโรงเรยี น ประถมศกึ ษาท่พี ฒั นาขน้ึ แบบ
ROAD ดงั น้ี 3.1 ผลการเรยี นรูโ้ ดยการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร พบว่า ผูร้ ่วมพฒั นามคี วามรู้ความ
เข้าใจเก่ียวกับการนิเทศการจดั การเรียนรู้ท่ีพฒั นาข้ึน ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกคน ซ่ึงมี
คะแนนหลงั การพฒั นาสงู กว่าก่อนการพฒั นา 3.2 การสงั เกตชนั้ เรยี น ทส่ี ่งผลต่อความสามารถ
ของผสู้ อน ภาพรวมอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง และสง่ ผลถงึ ความสามารถของผูน้ ิเทศ ภาพรวมอยู่ใน
ระดบั ดี 3.3 ผลของการใช้รูปแบบการนิเทศแบบ ROAD ภาพรวมอยู่ในระดบั มาก รปู แบบการ
นิเทศแบบ ROAD ตงั้ อยู่บนหลกั การ กระบวนการนิเทศอย่างเป็นระบบ ภายใต้วฒั นธรรม
องคก์ รแห่งความช่วยเหลอื เกอ้ื กูลและศรทั ธาซง่ึ กนั และกนั อย่างเป็นระบบ ทาํ ใหเ้ กดิ สมรรถนะ
การจดั การเรยี นรดู้ า้ นภาษา

50

งานวิจยั ต่างประเทศ
Baffour-Awuah (2011) ไดว้ จิ ยั เร่อื งการนิเทศการเรยี นการเรยี นการสอนในโรงเรยี น
ประถมศึกษาของรัฐในประเทศกานา ตามทัศนะของครูและผู้อํานวยการสถานศึกษา
วตั ถุประสงคข์ องการศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ น้ี เพ่อื ทาํ ความเขา้ ใจการปฏบิ ตั งิ านนิเทศการเรยี นการสอน
ในโรงเรยี น โดยตรวจสอบทศั นคตขิ องครูและผูอ้ ํานวยการสถานศกึ ษาทเ่ี ก่ยี วกบั ประสบการณ์
และแนวคดิ การนิเทศการเรยี นการสอน พบว่า การนิเทศการเรยี นการสอนเน้นดา้ นการกํากบั
ตดิ ตาม การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน และการสรา้ งความมนั่ ใจในการจดั การเรยี นการสอน
ระบบสนับสนุนการนิเทศการเรียนการสอนมีผลกระทบต่อการนิเทศการเรียนการสอนใน
โรงเรยี นประถมศกึ ษาของรฐั ครูและผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาได้รบั การดําเนินการนิเทศการเรยี น
การสอนจากประสบการณ์และ แนวคดิ ซง่ึ ส่วนใหญ่ประกอบดว้ ย “ประเพณี” ในขณะทผ่ี ูม้ สี ่วน
ร่วมส่วนใหญ่มคี วามสุขกบั การดําเนินการแบบเดมิ กลุ่มตวั อย่างน้ีคดิ ว่าการนิเทศในสมยั น้ีควร
จะไดร้ บั การดาํ เนินการมากกว่า การใชป้ ระสบการณ์ทม่ี อี ย่ใู นปัจจบุ นั
Yarbrough and others (2011) ไดศ้ กึ ษา การปฏบิ ตั กิ ารนิเทศตามแนวความคดิ เห็น
ของครูและผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาในโรงเรยี นรยิ าดประเทศซาอุดอิ าระเบีย จุดมุ่งหมายการวจิ ยั
เพ่อื ศกึ ษาแนวคดิ ความคดิ ของครูและผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาเก่ยี วกบั การปฏบิ ตั กิ ารนิเทศท่ีมกั
เกดิ ขน้ึ ภายในโรงเรยี น พบว่า ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษามแี นวคดิ ทางบวกต่อการปฏบิ ตั กิ ารนิเทศ
ส่วนครูมแี นวความคดิ ต้องการได้รบั การนิเทศและฝึกฝนตนเองให้มากข้นึ จากเดมิ จากการ
สอบถาม ปลายเปิดทําให้ทราบปัจจัย ส่งผลต่อการนิเทศท่ีประสบผลสําเร็จ ประกอบด้วย
1) ประสทิ ธภิ าพ การทํางานของครู 2) ความสมั พนั ธ์อนั ดรี ะหว่างครูและผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
3) ไมม่ องหาขอ้ ผดิ พลาด 4) ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาตอ้ งแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ประสบการณ์ในการสอนท่ี
ประสบความสาํ เรจ็
จากการศกึ ษางานวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้องกบการนิเทศการศึกษา จะเห็นได้ว่าการนิเทศมี
จุดมุ่งหมายเพ่อื ช่วยครใู หส้ ามารถปรบั ปรุงพฒั นาตนเองไดอ้ ย่างต่อเน่ืองและเกดิ ประสทิ ธภิ าพ
สูงสุดต่อผู้เรยี น ดงั นัน้ ผู้นิเทศจะต้องมีความความรู้ความเข้าใจทงั้ ในตวั ผู้รบั การนิเทศและ
วธิ ีการนิเทศ ดงั นัน้ ในการตัดสนิ ใจเลอื กวธิ ีการนิเทศให้เหมาะสมกบผู้รบั การนิเทศจะต้อง
คาํ นงึ ถงึ ระดบั พฒั นาการของครู ความรคู้ วามเชย่ี วชาญ ความรบั ผดิ ชอบ การยอมรบั และผูกพนั
ต่อภาระหน้าท่ี

บทที่ 3

วิธีดาํ เนินการวิจยั

การพฒั นารูปแบบการนิเทศ เพ่อื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะการจดั การเรยี นรูเ้ ชงิ รุกของครู
ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ในครงั้ น้ี ผู้วจิ ยั ได้ใช้รูปแบบการวจิ ยั และพฒั นา (Research and
Development) มขี นั้ ตอนการดาํ เนินงาน 4 ขนั้ ตอน ดงั น้ี

ขนั้ ตอนท่ี 1 ศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั ปัญหาและความตอ้ งการในการเสรมิ สรา้ งสมรรถนะ
การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

ขนั้ ตอนท่ี 2 สรา้ งรปู แบบและตรวจสอบคุณภาพของร่างรูปแบบการนิเทศ
เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุกของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

ขนั้ ตอนท่ี 3 การทดลองใช้รูปแบบการนิเทศ เพ่อื เสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั
การเรียนรู้เชิงรุกของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

ขนั้ ตอนท่ี 4 การประเมนิ ความพงึ พอใจของครูผรู้ บั การนเิ ทศ ทม่ี ตี อ่ รปู แบบการนิเทศ
เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

แสดงขนั้ ตอนการวจิ ยั และพฒั นาดงั ตารางท่ี 3

ตารางท่ี 3 ขนั้ ตอนการพฒั นารปู แบบการนิเทศ เพอ่ื เสริมสร้างสมรรถนะการจดั
การเรยี นรเู้ ชิงรกุ ของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

ขนั้ ตอน ขนั้ ตอนท่ี 1 ขนั้ ตอนท่ี 2 ขนั้ ตอนท่ี 3 ขนั้ ตอนที่ 4

วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ศกึ ษาสภาพ เพอ่ื สรา้ งรูปแบบ เพอ่ื ทดลองใช้ เพอ่ื ประเมนิ ความ
ปัจจบุ นั ปัญหาและ และตรวจสอบ รปู แบบการนิเทศ พงึ พอใจของครผู รู้ บั
คณุ ภาพของร่าง เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง การนเิ ทศ ทม่ี ตี ่อ
ความตอ้ งการใน รปู แบบการนิเทศ สมรรถนะการ รปู แบบการนิเทศ
เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง จดั การเรยี นรู้ เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง
การเสรมิ สรา้ ง สมรรถนะ เชงิ รกุ ของครู สมรรถนะการ
สมรรถนะการ การจดั การเรยี นรู้ ระดบั การศกึ ษา จดั การเรยี นรู้
เชงิ รุกของครู ขนั้ พน้ื ฐาน เชงิ รกุ ของครู
จดั การเรยี นรู้ ระดบั การศกึ ษา ระดบั การศกึ ษา
เชงิ รกุ ของครู ขนั้ พน้ื ฐาน ขนั้ พน้ื ฐาน

ระดบั การศกึ ษา

ขนั้ พน้ื ฐาน

52

ตารางท่ี 3(ต่อ) ขนั้ ตอนการพฒั นารปู แบบการนิเทศ เพอ่ื เสริมสรา้ งสมรรถนะการจดั การ
เรยี นร้เู ชิงรกุ ของครู ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ขนั้ ตอน ขนั้ ตอนที่ 1 ขนั้ ตอนท่ี 2 ขนั้ ตอนที่ 3 ขนั้ ตอนท่ี 4
วิธีการ ศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั ประเมนิ ความพงึ
ดาํ เนินการ ปัญหาและความ นําขนั้ ตอนท่ี 1 มา ทดลองใชร้ ปู แบบ พอใจในรปู แบบ
ตอ้ งการในการ จดั ทํารูปแบบและ การนิเทศเพอ่ื การนเิ ทศ เพอ่ื เสรมิ
เครื่องมือท่ี เสรมิ สรา้ งสมรรถนะ สรา้ งสมรรถนะ
ใช้ในการ การจดั การเรยี นรู้ ค่มู อื การดําเนินงาน เสรมิ สรา้ งสมรรถนะ การจดั การเรยี นรู้
วิจยั เชงิ รกุ ของครู ตามรูปแบบฉบบั ร่าง การจดั การเรยี นรู้ เชงิ รุกของครู
ระดบั การศกึ ษา ระดบั การศกึ ษา
การ ขนั้ พน้ื ฐาน ตรวจสอบความเป็น เชงิ รกุ ของครู ขนั้ พน้ื ฐาน
วิเคราะห์
ขอ้ มูล แบบสอบถามความ ประโยชน์ ความ ระดบั การศกึ ษา แบบประเมนิ ความ
ตอ้ งการเสรมิ สรา้ ง เป็นไปได้ ความ ขนั้ พน้ื ฐาน พงึ พอใจ
สมรรถนะการ
จดั การเรยี นรู้ เหมาะสม และ สถติ พิ น้ื ฐาน
เชงิ รุกของครู ความครอบคลมุ (X� , S. D.)
ระดบั การศกึ ษา
ขนั้ พน้ื ฐาน ของร่างรปู แบบ

สถติ พิ น้ื ฐาน 1. ร่างรปู แบบการ 1.คมู่ อื การดาํ เนิน
(X� , S. D.) นเิ ทศฯ การตามรปู แบบ

2. แบบบนั ทกึ การ การนเิ ทศฯ

ประชมุ สมั มนาองิ 2.แบบทดสอบ
ผเู้ ชย่ี วชาญ ประเมนิ ความรู้

3. แบบประเมนิ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั
ความเป็นประโยชน์ การจดั การเรยี นรู้

ความเป็นไปได้ เชงิ รกุ ของครู

ความเหมาะสม 2.แบบประเมนิ
และความครอบ สมรรถนะการ

คลุมของรปู แบบ จดั การเรยี นการ
การนเิ ทศ รเู้ ชงิ รุกของครู

1. การวเิ คราะห์ 1.สถติ พิ น้ื ฐาน

เชงิ เน้ือหา (X� , S. D.)
(Content analysis) 2. t- test

2. สถติ พิ น้ื ฐาน 3. ดชั นีความสอด

(X� , S. D.) คลอ้ งของผปู้ ระเมนิ
: RAI

53

ขนั้ ตอนท่ี 1 ศึกษาสภาพปัจจบุ นั ปัญหาและความต้องการในการเสริมสร้างสมรรถนะ
การจดั การเรียนร้เู ชิงรกุ ของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
ดาํ เนินการตามขนั้ ตอนดงั น้ี
1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการเสริมสร้างสมรรถนะ

การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุกของครู เพอ่ื กาํ หนดนิยามสมรรถนะครใู นการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุก
2. สร้างแบบสอบถามความต้องการในการเสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั การเรยี นรู้

เชิงรุกของครู และวิเคราะห์ข้อมูลใช้เป็ นข้อมูลพ้ืนฐานในการยกร่างรูปแบบการนิเทศ
เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุกของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง
ประชากรในการวจิ ยั ได้แก่ ครูผู้สอน ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน สงั กดั สํานักงาน
เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพจิ ติ ร เขต 2 รวมทงั้ สน้ิ 1,563 คน
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจยั
แบบสอบถามความต้องการในการเสริมสร้างสมรรถนะการจดั การเรียนรู้เชิงรุก
ของครู
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู สภาพทวั่ ไป เป็นแบบตรวจสอบรายการ
ตอนท่ี 2 ความต้องการในการเสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั การเรยี นรู้เชงิ รุกของครู
ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เป็นแบบมาตรประมาณคา่ 5 ระดบั (Rating Scale)
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
1. ผู้วิจัยนําหนังสือขอความอนุเคราะห์ในการเก็บข้อมูลจากสํานักงานบัณฑิต
วทิ ยาลยั ถงึ ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา เพ่อื ขอความอนุเคราะหแ์ ละขออนุญาตเกบ็ ขอ้ มูลและรวบรวม
ขอ้ มูลจากประชากรซ่ึงเป็นครูผูส้ อน สงั กดั สํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพิจติ ร
เขต 2
2. ผู้วิจัยนําแบบประเมินความต้องการฯ ท่ีพัฒนาแล้วไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับ
ประชากร
การวิเคราะหข์ อ้ มลู และสถิติ
1. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลสภาพทวั่ ไปของครูผู้สอน ทําการวเิ คราะห์ความถ่แี ล้วหาค่า
รอ้ ยละ นําเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในรปู ตารางประกอบความเรยี ง
2. การวิเคราะห์ค่าสถิติพ้นื ฐาน โดยหาค่าเฉล่ีย(X�) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(S. D.) ของสมรรถนะของครูด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะ (Skills) ด้านทัศนคติ
(Attitude) นําเสนอเป็นตารางประกอบความเรยี ง

54

ขนั้ ตอนท่ี 2 สร้างรปู แบบและตรวจสอบคณุ ภาพของร่างรปู แบบการนิเทศ เพอื่ เสริมสร้าง
สมรรถนะการจดั การเรียนร้เู ชิงรกุ ของครู ระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
ดาํ เนนิ การตามขนั้ ตอนดงั น้ี
1. ผลทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษา วเิ คราะหข์ อ้ มลู ในขนั้ ตอนท่ี 1 นํามาใชใ้ นการกําหนดกรอบ

ของการสรา้ งรปู แบบการนเิ ทศ
2. ตรวจสอบความเป็ นประโยชน์ ความเป็ นไปได้ ความเหมาะสม และ

ความครอบคลุมของร่างรูปแบบการนิเทศ เพ่อื เสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก
ของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

ด้านแหล่งขอ้ มลู
แหล่งขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นหลกั สตู รและการสอน ดา้ นการนเิ ทศการสอนและ
ดา้ นการบรหิ ารการศกึ ษา จาํ นวน 10 ทา่ น ทาํ การตรวจสอบร่างรปู แบบการนิเทศเพอ่ื เสรมิ สรา้ ง
สมรรถนะการจดั การเรียนรู้เชิงรุกของครู ระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ผู้วิจยั ใช้วิธีเลือกแบบ
เจาะจงตามวตั ถุประสงค์ และกาํ หนดคณุ สมบตั ผิ เู้ ชย่ี วชาญสาํ หรบั การสมั มนาองิ ผเู้ ชย่ี วชาญ
เครือ่ งมอื ที่ใช้ในงานวิจยั
1. ร่างรูปแบบการนิเทศ เพ่อื เสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั การเรยี นรู้เชงิ รุกของครู
ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
2. แบบบนั ทกึ การประชุมสมั มนาองิ ผเู้ ชย่ี วชาญ
3. แบบประเมนิ ความเป็นประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และ
ความครอบคลมุ ของรปู แบบการนเิ ทศ
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
1. ผู้วิจัยติดต่อประสานงานกับผู้เช่ียวชาญและนําร่างรูปแบบการนิเทศ
เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครู ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
ใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญล่วงหน้าเพอ่ื ใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญพจิ ารณาเบอ้ื งตน้
2. จดั ประชุมสมั มนาอิงผู้เช่ียวชาญ โดยให้ผู้เช่ียวชาญประเมินคุณภาพของร่าง
รปู แบบ และประเมนิ ความเป็นประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความครอบคลุม
ของรปู แบบการนิเทศ เพอ่ื นําไปใชใ้ นการปรบั ปรุงรปู แบบใหม้ คี วามสมบรู ณ์มากยงิ่ ขน้ึ
การวิเคราะหข์ อ้ มลู และสถิติ
ขอ้ มูลจากแบบประเมนิ วเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยใช้ค่าสถติ พิ น้ื ฐาน ค่าเฉลย่ี (X�) และส่วน
เบย่ี งเบนมาตรฐาน (S. D.) และนําเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในรปู ตารางประกอบความเรยี ง

55

ขนั้ ตอนที่ 3 การทดลองใช้รปู แบบการนิเทศ เพ่ือเสริมสรา้ งสมรรถนะ การจดั
การเรยี นร้เู ชิงรกุ ของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
ดาํ เนินการตามขนั้ ตอนดงั น้ี
1. พจิ ารณาเลอื กโรงเรยี นในศูนยป์ ระสานงานสถานศกึ ษาอําเภอดงเจรญิ จาํ นวน 12

โรงเรยี น เป็นโรงเรยี นกลุ่มตวั อย่างในการทดลองใชร้ ปู แบบการนิเทศ เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะ
การจดั การเรยี นรู้เชงิ รุกของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ทงั้ น้ีเน่ืองจากเป็นอําเภอท่ีผู้วจิ ยั
เขา้ ถงึ ขอ้ มูลไดส้ ะดวกในการนิเทศ ตดิ ตาม ซ่ึงกําหนดให้ครูผูส้ อน ทงั้ 12 โรงเรยี น โรงเรยี น
ละ 1 คน รวมทงั้ สน้ิ 12 คน เป็นกลมุ่ ตวั อย่าง

2. ทดลองใช้รูปแบบการนิเทศ เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก
ของครู ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ตามขัน้ ตอนท่ีกําหนดในรูปแบบการนิเทศ โดยใช้
กระบวนการวิจยั เชิงทดลองแบบแผนการทดลองท่ีใช้เป็นแบบ One-group pretest-posttest
design

ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
ประชากร ได้แก่ ครูผู้สอน สงั กดั สํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพจิ ติ ร
เขต 2 จาํ นวน 121 แหง่ รวมทงั้ สน้ิ 1,563 คน
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอน อําเภอดงเจริญ จังหวดั พิจิตร ใช้วิธีแบบเจาะจง
(Purposive sampling) รวมทงั้ สน้ิ 12 คน
เครื่องมอื ท่ีใช้ในงานวิจยั
1. คู่มือการดําเนินการตามรูปแบบการนิเทศ เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการจัด
การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
1. แบบประเมนิ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การจดั การเรยี นการรเู้ ชงิ รุก ก่อนและหลงั
ได้รับการนิเทศ เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครู ระดบั การศึกษา
ขนั้ พน้ื ฐาน มลี กั ษณะเป็นแบบเลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก จาํ นวน 30 ขอ้
2. แบบประเมินสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูหลังได้รับการนิเทศ
เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครู ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
เป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดบั จาํ นวน 10 ขอ้
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
1. ผูว้ จิ ยั ทําหนังสอื ขออนุญาตในการดําเนินการวจิ ยั จากสํานกั งานบณั ฑติ วทิ ยาลยั
เสนอต่อผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา เพอ่ื ขออนุญาตเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู งานวจิ ยั
2. สร้างความเข้าใจและช้ีแนวทางการดําเนินงานตามรูปแบบการนิเทศ
เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

56

3. ผู้วจิ ยั ออกแบบการเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใช้รูปแบบการวจิ ยั เชิงทดลอง แบบ
แผนการทดลองท่ีใช้เป็นแบบกลุ่มเดียววัดความรู้ก่อน-หลัง (One-group pretest-posttest
design) ซ่ึงก่อนท่ผี ูว้ จิ ยั จะทดลองใชร้ ูปแบบการนิเทศ ผูว้ จิ ยั จะเก็บรวบรวมขอ้ มูลพ้นื ฐานของ
ครูผู้สอนท่ีเป็นกลุ่มตวั อย่าง วดั ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการจดั การเรยี นรู้เชิงรุกของครู
จาํ นวน 12 คน

4. ดําเนินการทดลองใชร้ ปู แบบการนิเทศ เพ่อื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะการจดั การเรยี นรู้
เชิงรุกของครู ระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน กับกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ครูผู้สอน จํานวน 12 คน
ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นทดลองใชร้ ปู แบบการนิเทศ จาํ นวน 1 ภาคเรยี น

5. หลงั จากทดลองใชร้ ูปแบบการนิเทศ ตามวนั เวลา ทก่ี ําหนดแลว้ ผูว้ จิ ยั วดั ความรู้
ความเข้าใจเก่ียวกบั การจดั การเรยี นรู้เชิงรุกและประเมนิ สมรรถนะการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก
หลงั ไดร้ บั การนิเทศ จาํ นวน 12 คน

การวิเคราะหข์ ้อมลู และสถิติ
1. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอ่ื ศกึ ษาผลการใชร้ ูปแบบการนิเทศ เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะ
การจดั การเรยี นรูเ้ ชงิ รุกของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน โดยเปรยี บเทยี บการวดั ความรู้ก่อน
และหลงั ทดลองใช้รูปแบบการนิเทศโดยใช้สถติ คิ ่าสถติ พิ ้นื ฐาน ค่าเฉล่ยี (X�) และส่วนเบ่ยี งเบน
มาตรฐาน (S. D.) และการทดสอบ t - test
2. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู จากการประเมนิ สมรรถนะการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุก ดา้ นความรู้
(Knowledge) ด้านทกั ษะ (Skills) ด้านทศั นคติ (Attitude)โดยผู้ประเมนิ 2 คน ได้แก่ผู้บรหิ าร
สถานศกึ ษา และศกึ ษานิเทศก์ วเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยพจิ ารณาค่าดชั นีความสอดคลอ้ งของระหว่าง
ผปู้ ระเมนิ (Rater agreement index)

ขนั้ ตอนท่ี 4 การประเมินความพึงพอใจของครผู รู้ บั การนิเทศ ที่มีต่อรปู แบบการนิเทศ
เพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะการจดั การเรยี นร้เู ชิงรกุ ของครู ระดบั การศกึ ษา
ขนั้ พืน้ ฐาน
ดาํ เนนิ การตามขนั้ ตอนดงั น้ี
การประเมินความพึงพอใจของรูปแบบการนิเทศ เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะ

การจดั การเรยี นรู้เชิงรุกของครู ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ประเมนิ เพ่อื ยนื ยนั ผลของการนํา
รปู แบบการนิเทศไปใช้

57

ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
ประชากร ได้แก่ ครูผู้สอน สงั กดั สํานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพจิ ิตร
เขต 2 จาํ นวน 121 แห่ง รวมทงั้ สน้ิ 1,563 คน
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอน อําเภอดงเจริญ จงั หวัดพิจิตร ใช้วิธีแบบเจาะจง
(Purposive sampling) รวมทงั้ สน้ิ 12 คน
เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในงานวิจยั
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการใช้รูปแบบการนิเทศ เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะ
การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
การดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจในรูปแบบการนิเทศ
เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการจดั การเรียนรู้เชิงรุกของครู ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ผู้วจิ ยั
ดําเนินการนําแบบสอบถามไปเก็บข้อมูลด้วยตนเอง ซ่ึงเป็นสถานศกึ ษาท่ีทดลองใช้รูปแบบ
การนิเทศ เพ่อื เสรมิ สร้างสมรรถนะการจดั การเรียนรู้เชิงรุกของครู โดยกลุ่มตวั อย่างจะเป็น
ครผู สู้ อนทไ่ี ดร้ บั การนิเทศในการนํารปู แบบการนเิ ทศทผ่ี วู้ จิ ยั สรา้ งขน้ึ ไปทดลองใชจ้ รงิ
การวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิติ
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลแบบประเมนิ ความพงึ พอใจในรูปแบบการนิเทศ เพ่อื เสรมิ สร้าง
สมรรถนะการจดั การเรยี นรู้เชงิ รุกของครู ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์
ขอ้ มลู คอื ค่าสถติ พิ น้ื ฐาน คา่ เฉลย่ี (X�) และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S. D.)

บรรณานุกรม

กลุม่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา. (2565). รายงานผลการนิเทศ ติดตาม
และประเมินผลทางการศกึ ษา. สาํ นกั งานพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพจิ ติ ร
เขต 2. เอกสารอดั สาํ เนา.

ขจรศกั ดิ ์ศริ มิ ยั . (2561). เรื่องน่าร้เู กี่ยวกบั สมรรถนะ. สบื คน้ 22 กุมภาพนั ธ์ 2565.
จาก http://competency.rmutp.ac.th/wp-ontentuploads /2011/01
/aboutcompetency.pdf.

ฎายนิ วงศห์ งส.์ (2550). แนวทางการพฒั นาสมรรถนะข้าราชการกลุ่มงานปกครอง
ของนักปกครองระดบั สงู สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย. กรุงเทพฯ :
มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง.

ณรงคว์ ทิ ย์ แสนทอง. (2547). มาร้จู กั COMPETENCY กนั เถอะ. กรงุ เทพฯ : เอซ อาร์
เซน็ เตอร.์

ดารณีย์ พยคั ฆก์ ลุ . (2561). การพฒั นาสมรรถนะการนิเทศการศึกษาสู่ความเป็น
ศึกษานิเทศกม์ ืออาชีพ. เชยี งใหม่ : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่.

ทววี ฒั น์ วฒั นกลุ เจรญิ . (2551). การเรียนร้เู ชิงรกุ (Active Learning). สบื คน้ จาก
https://blog.eduzones.com/images/blog/sasithep/File/activet.pdf.

เทอ้ื น ทองแกว้ . (2545). ภาวะผ้นู ํา : สมรรถนะหลกั ของผบู้ ริหารในยุคปฏิรปู .
วารสารวชิ าการ.

ธาํ รงศกั ดิ ์คงคาสวสั ด.ิ ์ (2549). Competency ภาคปฏิบตั ิเขาทาํ กนั อย่างไร. กรุงเทพฯ :
สมาคมสง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญป่ี ่นุ ).

นภาเดช บญุ เชดิ ชู . (2552). การพฒั นารปู แบบการพฒั นาสมรรถนะของผ้บู ริหารโรงเรียน
ตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .

นนทลี พรธาดาวทิ ย.์ (2560). การพฒั นาการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ ในวิชาการจดั การเรยี นร้.ู
วารสารวจิ ยั UTK ราชมงคลกรุงเทพ.

บญั ญตั ิ ชาํ นาญกจิ . (2549). ทาํ ไมจงึ จาํ เป็นต้องจดั การเรยี นร้แู บบใฝ่ ร้ใู นระดบั อดุ มศึกษา.
วารสารการจดั การความร.ู้ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค.์

บรรจง ครอบบวั บาน. (2549). การศกึ ษาสมรรถนะหลกั และแนวทางการพฒั นาสมรรถนะ
หลกั ด้านการบริการที่ดีของบุคลากรโรงพยาบาลชยั ภมู ิ. ชยั ภูมิ : มหาวทิ ยาลยั
ราชภฏั ชยั ภูม.ิ

59

บรรดษิ ฐ์ มว่ งอ่อง. (2562). การพฒั นารปู แบบการนิเทศ เพ่อื ส่งเสริมสมรรถนะการจดั
ประสบการณ์การเรียนร้ขู องครอู นุบาล สงั กดั กรมส่งเสริมการปกครอง
ส่วนท้องถิ่น. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ูลสงคราม.

บุญชม ศรสี ะอาด. (2535). หลกั การวิจยั เบอื้ งต้น. (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3). กรงุ เทพฯ : สุวรี ยิ าสาสน์ .
บุญสง่ หาญพานิช. (2546). การพฒั นารปู แบบบริหารจดั การความรใู้ นสถาบนั อดุ มศึกษา.

วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญานิพนธ์ปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ . จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ปิยะชยั จนั ทรวงศไ์ พศาล. (2549). การค้นหาและวิเคราะหเ์ จาะลึก Competency

ภาคปฏิบตั ิ. กรุงเทพฯ : เอช อารเ์ ซน็ เตอร.์
พทั ธนนั ท์ พูนประสทิ ธ.ิ์ (ม.ป.ป.). ค่มู ือการใช้รปู แบบการนิเทศการศึกษา เพอื่ ยกระดบั

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ด้วยการใช้ผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พ้ืนฐาน (O-NET). กลุ่มนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล
การจดั การศกึ ษา สาํ นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ชยั ภูม.ิ ชยั ภูมิ : มปพ.
พณิ สุดา สวิ ธิ รงั ศร.ี (2559). ความรู้ ความคิด ทกั ษะ และคณุ ธรรมของครใู นความเป็นครู
และพฒั นาครมู ืออาชีพ (ความรู้ ความถนัด ทกั ษะคณุ ของคร)ู . กรงุ เทพฯ :
มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑติ .
ไพฑรู ย์ สนิ ลารตั น์. (2559). ความเป็นครแู ละการพฒั นาครมู ืออาชีพ. กรงุ เทพฯ:
มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑติ .
ฟาตฮี ะห์ อุตสา่ หร์ าชการ. (2558). รปู แบบการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
เพอ่ื พฒั นาแนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์ เร่ือง คลน่ื ไหวสะเทือน. วทิ ยานิพนธ์
ปรญิ ญามหาบณั ฑติ . ชลบรุ ี : มหาวทิ ยาลยั บูรพา.
ภณั ฑริ า สุปการ. (2558). รปู แบบการบริหารจดั การการนิเทศการศึกษา สาํ หรบั ศตวรรษ
ท่ี 21. ฉบบั ภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ. มปพ.
มาลนิ ี บุณยรตั พนั ธ.ุ์ (ม.ป.ป.). การนิเทศแบบเชิญชวน. คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
รามคาํ แหง. กรุงเทพฯ : มปพ.
ยพุ นิ ยนื ยง. (2553). การพฒั นารปู แบบการนิเทศแบบหลากหลายวธิ กี ารเพอ่ื สง่ เสรมิ
สมรรถภาพ การวจิ ยั ในชนั้ เรยี นของครเู ขตการศกึ ษา 5 อคั รสงั ฆมณฑล.
: กรงุ เทพฯ. ดษุ ฎนี พิ นธ์ปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร นครปฐม.

ยมนพร เอกปัชชา. (2557). การพฒั นารปู แบบการนิเทศแบบเสริมพลงั เพอื่ เสริมสร้าง

สมรรถนะ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรข์ องครปู ฐมวยั .
วทิ ยานิพนธค์ รศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ . มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค.์
รชั ฏา ณ น่าน. (2550). สมรรถนะหลกั ของปลดั องคก์ รบริหารส่วนตาํ บลในจงั หวดั น่าน.
วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญามหาบณั ฑติ . เชยี งใหม่ : มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่.

60

รุง่ ชชั ดาพร เวหะชาต.ิ (2554). การนิเทศการศกึ ษา Education Supervision. สงขลา :
เทมการพมิ พ.์

วไลพร เมฆไตรรตั น์. (2555). การพฒั นารปู แบบการส่งเสริมสมรรถนะการจดั
ประสบการณ์การเรยี นรู้ ตามแนวคิดพหปุ ัญญา. วทิ ยานพิ นธค์ รุศาสตรดษุ ฎี
บณั ฑติ . มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ นครสวรรค.์

วาสนา ไทยเจรญิ . (2557). ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ ชิงรกุ ท่ีมตี ่อผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรยี นและความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
เร่ือง เศษส่วน ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1. ชลบุรี : มหาวทิ ยาลยั บูรพา.

วาสนา บญุ มาก. (2562). การพฒั นารปู แบบการนิเทศแบบบูรณาการเพ่อื ส่งเสริม
สมรรถนะการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ ของครู ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน.
พษิ ณุโลก : มหาวทิ ยาลยั นเรศวร.

ศกั ดา ไชกจิ ภญิ โญ. (2548). สอนอยา่ งไร้ให้ Active Learning. วารสารนวตั กรรมการเรยี น
การสอน.

ศริ ชิ ยั กาญจนวาส.ี (2548). ทฤษฎีการประเมิน. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ศริ พิ ร มโนพเิ ชฐวฒั นา. (2547). การพฒั นารปู แบบการจดั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์

แบบบรู ณาการท่ีเน้นผ้เู รียนมีส่วนรว่ มในการเรียนรทู้ ี่กระตือรือร้น
เรือ่ ง ร่างกายมนุษย.์ วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาดุษฎบี ณั ฑติ . กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั
ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมติ ร.
ศลิ า สงอาจนิ ตแ์ ละคณะ. (2561). การพฒั นารปู แบบการนิเทศการสอนเพ่อื พฒั นา
สมรรถภาพการจดั การเรียนรขู้ องครตู ามทกั ษะการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21
ของสถานศึกษาในสงั กดั เทศบาลนครตรงั . วารสารศรนี ครนิ ทรวโิ รฒวจิ ยั และ
พฒั นา.
ศภุ สริ ิ โสมเกต.ุ (2544). การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิในการเรยี นและความพงึ พอใจใน
การเรยี นภาษาองั กฤษของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปี ท่ี 5 ระหวา่ งการเรยี นรู้
โดยโครงงานกบั การเรียนรู้ ตามค่มู อื คร.ู วทิ ยานิพนธก์ ารศกึ ษามหาบณั ฑติ .
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม มหาสารคาม.
สถาพร พฤฑฒกิ ุล. (2555). คณุ ภาพผเู้ รียน...เกิดจากกระบวนการเรยี นร้.ู วารสาร
การบรหิ ารการศกึ ษา.มหาวทิ ยาลยั บูรพา.
สญั ญา ภทั รากร. (2552). ผลของการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมีชีวิตชีวาท่ีมตี ่อความสามารถใน
การแก้ปัญหาและการส่ือสารทางคณิตศาสตรข์ องนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3
เร่ืองความน่าจะเป็น. วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญามหาบณั ฑติ . กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั
ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.

61

สนิ ธะวา คามดษิ ฐ.์ (2559). ห้องเรยี นสอนคิดในความเป็นครแู ละการพฒั นาครมู อื อาชีพ.
กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑติ ย.์

สุภาภรณ์ กติ ตริ ชั ดานนท.์ (2551). การพฒั นารปู แบบการนิเทศการจดั การเรยี นการสอน
ในสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน. วทิ ยานพิ นธก์ ารศกึ ษาดุษฎบี ณั ฑติ .
(การบรหิ ารการศกึ ษา). มหาวทิ ยาลยั นเรศวร : พษิ ณุโลก.

แสงเดอื น วงศช์ วลติ . (2560). กระบวนการเรยี นแบบใฝ่ รู้ (Active Learning) ท่ีมีผลต่อ
พฤติกรรมการเรยี นรู้ ผลสมั ฤทธ์ิและความพงึ พอใจในการเรียนร้รู ายวิชา
การวิจยั เพื่อพฒั นาการเรยี นร้หู ้องเรยี นภมู ิภาค วิทยาลยั นาฏศิลป์ เชียงใหม่
สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์ . เชยี งใหม่ : วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปะเชยี งใหม่ สถาบนั
บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ .

สมศกั ดิ ์ดลประสทิ ธ.ิ์ (2549). สมรรถนะครแู ละผ้บู ริหารการศกึ ษา. วารสารการศกึ ษาไทย.
สาํ นกั งานราชบณั ฑติ ยสภา. (2561). พจนานุกรมฉบบั บณั ฑติ ราชยสถาน. กรุงเทพฯ :

นานมบี คุ๊ ส.์
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา. (2548). มาตรฐานวิชาชีพทางการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : สาํ นกั งาน

เลขาธกิ ารคุรสุ ภา.
อนงคน์ าถ เคนโพธ.ิ์ (2562). การพฒั นารปู แบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ

การจดั การเรยี นร้ใู นโรงเรยี นประถมศึกษา. ปรญิ ญาการศกึ ษาดุษฎบี ณั ฑติ
สาขาวชิ าการนิเทศการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
องั ศนิ นั ท์ อนิ ทรกําแหง และทศั นา ทองภกั ด.ี (2549). รายงานการวิจยั ฉบบั ที่ 103
การพฒั นารปู แบบสมรรถนะด้านผนู้ ําทางวิชาการของอาจารยใ์ นมหาวิทยาลยั
ของรฐั เอกชน และในกาํ กบั ของรฐั . กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.
อญั ชลี ธรรมะวธิ กี ุล. (2553). ความร้เู บอื้ งต้นเก่ียวกบั การนิเทศการศึกษา. วารสารทาง
วชิ าการ.
อานนท์ ศกั ดวิ ์ รวชิ ญ.์ (2547). แนวความคิดเรื่องสมรรถณะ Competency : เร่ืองเก่าท่ี
เรายงั หลงทาง. Chulalongkorn Review.
อาภรณ์ ภูว่ ทิ ยพนั ธุ.์ (2551). กลยุทธก์ ารพฒั นาทรพั ยากรมนุษย.์ กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั เอช อาร์
เซน็ เตอร.์
อทุ มุ พร จามรมาน. (2541). โมเดลคืออะไร. วารสารทางวชิ าการ.

62

Baffour-Awuah, P. (2011). Supervision of Instruction in Public Primary Schools in
Ghana: Teachers and Head teachers Perspectives. Educational Process
International Journal, 4(1-2), 56-70.

Baldwin, J., & Williams, H. (1988). Active learning: a trainer's guide. Oxford: Basil
Backwell.

Bonwell, C. C., & Eison, J. A. (1991). Active learning: creating excitement in the
classroom. Washington. DC: ERIC Clearinghouse on Higher Education
George. Washington University.

Boyatzis, R. E. (1982). The competent manager: a model for effective performance.
New York: John Wiley & Son.

David McClelland. (2004). A guide to job competency assessment, quoted in David
D. Dubois and other, Competency-Based Human Resource Management.
The United State of America: Davies-Black Publishing, a division of CPP, Inc.

Davies B & Ellison, L. (1997). School leadership for the 21st century. London:
Rutledge.

Felder, R. M., & Brent, R. (2009). Active learning; an introduction. ASQ Higher
Education Brief.

Fink, L. D. (1999). Active learning reprinted with permission of the University of
Oklahoma. instructional development program, Retrieved September 13,
2014. fromhttp://www.hcc.hawaii.edu/intranet/committees.

Goleman, D. (1996). Emotional Intelligence. Why It Can Matter More than IQ
Learning.

Kaplan, R.S., & Norton, D. P. (2004). Strategy MAPS : converting intangible assets
into tangible outcomes. United States of America: Harvard Business School
Publishing Corporation.

Keeves, P.J. (1988). Educational Research, Methodology and Measurement: An
International Handbook. Oxford : Pergamon Press.

Lloyd, C. & Cook A. (1993). Implementing standards of competence: Practical
strategies for Industry. London: Kogan Page.

Manus and MOHR.(1997). Sales Competencies for the Twenty-First Century, Report
published using research conducted by Manus and MOHR Stamford/
Ridgebiela,Cann : Manus and MOHR.

63

Mayers, C., & Jones, T. B. (1993). Promoting active learning: strategies for the
college classroom. San Francisco: Jossey-Bass.

Petty, G. (2004). Active learning work: the evidence, Retrieved July 5, 2008, from
http://www.geoffpetty.com.

Raj, M.H. (1996). Encyclopedia dictionary of psychology and education. New Delhi :
ANMOL.

Sheffield Hallam University. (2000). Active teaching and learning approaches in
Science: workshop oric Bangkok. Photocopied. N.P.: n.p.

Shenker, J. I. Goss, S. A., & Bernstein, D. A. (1996). Instructor's resource manual for
logy implementing active learning in the classroom. R September 22,
2001 form http://s.psych/uiuc,edu/~jskenker/active.html.

Sherman, M. E. (2001). The Influence of Interdisciplinary Team Teaching on the
Work Lives of High School Teachers at an Independent School . Seton
Hall University.

Spencer, L.M. and Spencer, S.M. (1993). Competency at Work : Models for Superior
Performance. New York : John Wiley & Sons.

Staff of Center for Teaching & Learning at Carolina. (2001). Alternative strategies and
active learning. Retrieved July 5, 2008, from http://www.unc.edu/depts/ec/fye2.html.

Stone. C.H., and Kendall, W.E. (1964). Effective Personnel selection procedure.
Englewood cliffs.

Sweller, J. (2006). The worked example effect and human cognition : Learning and
Instruction. NewJersey : Educational Technologies.

Ward, R. (1998). Floods Physical Processes and Human Impacts. New York : John
Wiley.

Yarbrough, B.D. and other. (2011). The Program Evaluation Standard: A Guide for
Evaluators and Evaluation Users. 3rd ed. California: Sage.


Click to View FlipBook Version