D2wwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwww
wwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwww
wwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwww
wwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwww
wwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwww
wwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwww
wwwwwwwwwwwwx
บทสรปุ ผู้บริหาร
การพฒั นานวัตกรรมทางการบริหารจัดการศึกษา การจดั การเรยี นการสอน การนิเทศ ตดิ ตามและ
ประเมินผล ของสถานศึกษา ตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมทางการศึกษา
เพื่อพัฒนาการศึกษาไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำปาง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่พริก ได้รับมอบหมายจากสำนักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดลำปาง ในการสร้างนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาในด้านกระบวนการนิเทศการศึกษา โดยพัฒนานวัตกรรมการนิเทศการศึกษา ผลการดำเนินงาน
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ 4C ผนวกกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง 2 เงอื่ นไข 3 หลกั การ 4 มติ ิ เพอ่ื พัฒนายกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน (N-NET) ซึง่ จากการ
รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) พบว่า นักศึกษาของ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่พริก มีคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาต่ำกว่า
คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 7 รายวิชา สถานศึกษาจึงคิดค้นรูปแบบในการ
พัฒนากระบวนการนิเทศการศึกษา เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติ การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ในรายวิชาที่มีคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาต่ำกว่าคะแนน
เฉลี่ยระดับประเทศ โดยการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ที่เน้นกรอบมาตรฐานการจัด
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เปน็ กรอบในการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา ซง่ึ เปน็ ภารกจิ ของ
หนึ่งของคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ที่จะต้องศึกษาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาให้บรรลุตามกรอบมาตรฐานการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย โดยช่วยเหลือ
แนะนำ ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรในสถานศึกษาได้จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย และ
สอดคล้องกับความต้องการของบริบทชุมชน การวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และการ
กำหนดหลกั สูตรสถานศึกษา จึงเป็นหัวใจสำคัญทีจ่ ะช่วยใหก้ ารดำเนนิ งานสำเรจ็ ตามเปา้ หมายวิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ
ของสถานศึกษาได้ โดยมีระบบของการนิเทศภายในสถานศึกษาที่เข้มแข็ง ช่วยให้ครูเกิดการพฒั นาการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนสำคัญสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การใช้กระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษา การ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ร่วมกัน การสร้างเครอื ขา่ ยการนเิ ทศทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาจะเปน็
สิ่งที่ช่วยให้ครูสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการเรียนรแู้ ละมีเครือข่ายในการถา่ ยทอดองค์ความรู้ได้เป็นอย่าง
ดี ส่งผลให้สามารถยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น (N-NET) ของผูเ้ รียนได้เพ่มิ ขึ้น
โดยใช้แนวคิด ทฤษฎีการนิเทศรูปแบบ 4C ร่วมกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2
เงอื่ นไข 3 หลกั การ 4 มติ ิ ในการสง่ เสรมิ กระบวนการดำเนนิ งานนิเทศการศกึ ษา การจดั การเรียนการสอน เพื่อ
ยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น (N-NET) ใหเ้ พิม่ ข้ึน
คำนำ
การพฒั นานวัตกรรมทางการนิเทศ ของศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
อำเภอแม่พริก จัดทำขนึ้ เพือ่ วเิ คราะหถ์ งึ ปญั หาซึ่งอันเป็นเหตปุ จั จยั ทีม่ ีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) มีคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาต่ำกว่าคะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ
สถานศกึ ษาจงึ คดิ ค้นแนวทางในการพฒั นายกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในสถานศึกษาขึน้ จำเป็นต้องหา
รูปแบบวธิ กี ารจัดและส่งเสรมิ การจดั การเรียนรูใ้ ห้นกั ศกึ ษามคี ณุ ภาพตามเปา้ หมายของหลักสูตร โดยได้ตระหนัก
ถึงกระบวนการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลทางการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพ โดยใชน้ วัตกรรมการนิเทศผลการ
ดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบข้ันพนื้ ฐานด้วย กระบวนการนเิ ทศแบบ 4 C รว่ มกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง 2 เงอ่ื นไข 3 หลกั การ 4 มติ ิ เพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น (N-NET)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยแมพ่ ริก หวงั เปน็ อย่างย่ิงว่านวตั กรรมการ
นิเทศผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบขนั้ พนื้ ฐานด้วยกระบวนการนิเทศแบบ 4 C ร่วมกับหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 เงอ่ื นไข 3 หลกั การ 4 มิติ จะสามารถนำไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนายกระดบั
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (N-NET) และตามวตั ถปุ ระสงค์ท่กี ำหนดไว้
กศน.อำเภอแม่พรกิ
กรกฎาคม 2564
สารบัญ หนา้
เร่อื ง 1
2
คำนำ 2
สารบญั 3
สว่ นที่ 1 บทนำ 3
3
หลักการ 4
วัตถปุ ระสงค์
ขอบเขตการดำเนินงาน 13
กจิ กรรมดำเนนิ การ 15
ระยะเวลาดำเนินการ
งบประมาณ 17
ส่วนท่ี 2 แนวคดิ และงานวิจยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง 37
ส่วนท่ี 3 ผลการดำเนนิ งาน
ผลการใชน้ วตั กรรม
ความพึงพอใจตอ่ การใช้นวตั กรรม
ภาคผนวก
นวตั กรรมการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล
เคร่อื งมอื
คำสงั่
ภาพกิจกรรม
1
สว่ นที่ 1
บทนำ
หลักการ
การศึกษา เป็นเคร่อื งมือสำคญั ในการพัฒนาความรู้ ความคดิ ความสามารถ รวมท้ังพฤติกรรม เจตคติ
ค่านยิ ม และคุณธรรมของบคุ คล คณุ สมบตั ิของบุคคลดงั กลา่ ว เป็นปจั จยั สำคัญในการพฒั นาประเทศ ทง้ั ดา้ น
เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม และการเมอื ง ย่งิ ปัจจบุ ันสังคมโลกมกี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ไมว่ า่ จะเปน็
ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ การแขง่ ขนั อยา่ งรุนแรงทางเศรษฐกจิ ปญั หาการจดั การศึกษาของไทย
ยังไมส่ อดคลอ้ งเหมาะสมกับสภาพการเปลย่ี นแปลงท้ังหลายในยคุ โลกาภวิ ฒั น์ ไม่ว่าจะเป็นภายในหรอื ภายนอก
ประเทศ ด้วยความตระหนกั ถึงความสำคัญของการศกึ ษาท่ีเป็นกระบวนการสำคญั ในการพฒั นาคน รัฐบาลได้
ทมุ่ เทกำลัง ทงั้ ในแง่ความคิดและทรัพยากรของประเทศท่จี ะปฏิรูปการศึกษา เพอ่ื ปรับเปล่ยี นการจัดการศึกษาให้
เปน็ การศึกษาทดี่ มี ีคุณภาพ ได้มาตรฐาน สามารถผลิตคนที่มีคุณภาพ และเป็นการศึกษาที่สอดคล้อง เหมาะสม
กับสภาพการณท์ ี่เปลยี่ นแปลงในยุคโลกาภิวฒั น์ ดงั จะเห็นไดจ้ าก ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ได้
กำหนดเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง
สงั คมเปน็ ธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยง่ั ยืน” พัฒนาคนในทุกมิติและในทกุ ช่วงวัยใหเ้ ป็นคนดี เกง่ และมี
คณุ ภาพ สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม สรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตทเี่ ป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม
และมภี าครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และประโยชนส์ ่วนรวม
จากการรายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) พบวา่
นักศึกษาของศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอแมพ่ ริก มคี ะแนนเฉลย่ี ของสถานศึกษา
ตำ่ กวา่ คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน 8 รายวชิ า ได้แก่ วชิ าทักษะการเรยี นรู้ , วิชา
คณติ ศาสตร์ , วชิ ภาษาไทย , วิชาภาษาอังกฤษ ,วิชาพัฒนาอาชีพให้มคี วามเขม้ แข็ง ,วชิ าสุขศึกษา พลศกึ ษา, วชิ า
ศลิ ปศกึ ษา และวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ซ่งึ สถานศึกษาควรเร่งพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษาจงึ มแี นวทางในการ
พัฒนายกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนในสถานศึกษาขึ้น จำเปน็ ต้องหาวธิ กี ารจัดและส่งเสรมิ การจดั การเรยี นรู้
ให้นกั ศึกษามคี ุณภาพตามเป้าหมายของหลักสตู รโดยได้ตระหนกั ถึงกระบวนการบริหารจัดการศึกษาทมี่ คี ุณภาพ
ประกอบดว้ ย 3 กระบวนการ คอื กระบวนการบริหารจดั การศกึ ษา กระบวนการจัดการเรียนการสอน และ
กระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา ซึ่งจะตอ้ งมคี วามร้อยรดั สัมพนั ธ์กนั เปน็ อยา่ งดี โดยต้องอาศยั ความรว่ มมือกนั ของ
บคุ ลากรที่เกย่ี วขอ้ งจากทกุ ภาคสว่ น การสรา้ งเครอื ขา่ ยในการทำงานในแต่ละพ้ืนท่ี จึงมคี วามสำคัญอยา่ งย่ิงตอ่
การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ซ่ึงจะตอ้ งมกี ารร่วมคิด รว่ มทำ ร่วมประเมินผลอย่างต่อเนอ่ื ง มีการพฒั นา
กระบวนการทำงาน และสรา้ งนวัตกรรมในการทำงานให้เหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพบริบทและความตอ้ งการ
ของพ้ืนทอี่ ำเภอแมพ่ รกิ เพื่อรองรบั การพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21
จากเหตุผลและความจำเปน็ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอแมพ่ ริก ได้ให้
ความสำคญั กระบวนการนเิ ทศการศึกษา ซ่ึงเป็นระบบสนับสนนุ การจดั การศกึ ษาใหเ้ กดิ คุณภาพ จงึ วิเคราะหแ์ ละ
ออกแบบ กลไก ขั้นตอน วธิ กี ารขับเคลือ่ นโดยนอ้ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื เสรมิ สร้างทกั ษะ
2
กระบวนการคิด ในการกระบวนการบรหิ ารจดั การศกึ ษา กระบวนการจัดการเรยี นการสอน และกระบวนการ
นเิ ทศการศกึ ษา เพื่อพัฒนารปู แบบกระบวนการนเิ ทศแบบรว่ มพัฒนาการจัดการเรียนรโู้ ดยน้อมนำหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 เงอ่ื นไข 3 หลกั การ 4 มิติ เพอื่ เสริมสรา้ งกระบวนการคิด ของศูนย์การศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอแมพ่ รกิ
การดำเนินงานพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอแม่พริก เน้นกรอบมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เป็นกรอบในการ
พัฒนาคณุ ภาพสถานศกึ ษา โดยเปน็ ภารกิจของคณะกรรมการนเิ ทศภายในสถานศึกษาทจ่ี ะต้องศึกษาแนวทางใน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้บรรลุตามกรอบมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั โดยช่วยเหลอื แนะนำ สง่ เสริม สนบั สนุนใหส้ ถานศึกษาไดจ้ ัดการศกึ ษาให้สอดคล้องกับ
กลุ่มเป้าหมาย และสอดคล้องกับความต้องการของบริบทชุมชน การวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา และการกำหนดหลักสูตรสถานศึกษา จึงเป็นหัวใจสำคัญที่จะช่วยให้การดำเนินงานสำเร็จตาม
เปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ ของสถานศกึ ษาได้ โดยมีระบบของการนิเทศภายในสถานศึกษาที่เข้มแข็ง ช่วย
ให้ครูเกดิ การพัฒนาการจดั การเรียนรูท้ ี่เนน้ ผู้เรียนสำคัญสูก่ ารพฒั นาคุณภาพผู้เรียน การใช้กระบวนการนิเทศ
ภายในสถานศึกษา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ร่วมกัน การสร้างเครือข่ายการนิเทศทั้งภายในและ
ภายนอกสถานศึกษาจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้ครูสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้และมีเครือข่ายในการ
ถา่ ยทอดองคค์ วามรไู้ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี
โดยนำแนวคิด หลักการสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไข/พัฒนา คือ จัดการเรียนรู้โดยน้อมนำ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทมี่ ุ่งปลกู ฝงั เจตคติในการดำเนินชวี ิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ให้กับผู้เรยี น โดย จัดกจิ กรรมฐานการเรยี นรู้ และบูรณาการกับทุกสาระ รายวชิ า ซ่งึ การปฎิบัติกิจกรรมน้ี มุง่ เนน้
ใหผ้ ้เู รยี นไดฝ้ กึ ทกั ษะกระบวนการคดิ เนน้ การปฎบิ ตั จิ รงิ สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวันได้
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือใหส้ ถานศกึ ษามรี ูปแบบกระบวนการนิเทศแบบร่วมพัฒนาการจัดการเรียนรูโ้ ดยนอ้ มนำหลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. เพอ่ื ใหผ้ ูบ้ ริหารพฒั นากระบวนการนิเทศแบบ 4C โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. เพอื่ ใหค้ รสู ามารถออกแบบ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ พัฒนาสือ่ /นวัตกรรม วดั และประเมนิ ผลการ
เรียนรู้ โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงื่อนไข 3 หลักการ 4 มิติ สอดคล้องกับกิจกรรมฐาน
การเรียนรู้
4. เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นเพิม่ ข้ึน
3
ขอบเขตการดำเนนิ งาน
ปจั จยั สนบั สนุน กระบวนการนเิ ทศแบบ 4C
- ผบู้ ริหาร C1 :ประสานสร้างมิตร(Coordinate)
- ครู C2 :รว่ มคดิ ร่วมทำ (Collaborate)
- งบประมาณ C3 :เรยี นรไู้ ปด้วยกนั (Co-Learning)
- ภูมิปัญญา /ผรู้ ู้ C4 :สร้างสรรค์ผลงาน (Create)
- แหลง่ เรียนรู้
- ศาสตรพ์ ระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กจิ กรรมฐานการเรยี นรู้
ฐานการเรยี นรเู้ รือ่ งนกั รบใตพ้ ภิ พ
ฐานการเรียนรเู้ ร่ืองกล้วยๆ แตไ่ ม่กลว้ ย
ฐานการเรยี นร้เู รอื่ งเกษตรยกแครแ่ บบแคร์คณุ
ฐานการเรยี นฐารน้เู รก่อื างรไเผรม่ยี นหรัศู้เจรรื่อรงยไผ์ ม่ หศั จรรย์
ฐานการเรียนฐารนู้เรกื่อางรหเร้อียงนสรมเู้ ดุร่อืหงรหร้อษงาสมุด หรรษา
INPUT PROCESS
การมี
สว่ นร่วม
OUTCOME OUTPUT สถานศึกษามีรปู แบบ
กระบวนการนิเทศแบบร่วม
ผเู้ รยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเพ่ิมขึน้ พัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยน้อม
นำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
ผ้บู รหิ ารพฒั นากระบวนการนเิ ทศแบบ 4C โดยน้อมนำ
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ครูออกแบบ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พฒั นาส่ือ วดั
และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ โดยนอ้ มนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง 2 เงือ่ นไข 3 หลกั การ 4 มิติ สอดแทรก
ในกจิ กรรมฐานการเรียนรู้
4
การถอดบทเรียนหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2 เงอ่ื นไข
มีความรู้ กจิ กรรมน้ตี ้องใช้ความรู้เรือ่ งใดบา้ ง
มคี ณุ ธรรม กิจกรรมนีอ้ าศยั คุณธรรมใดบ้าง
3 หลกั การ
พอประมาณ พอเหมาะกับสภาพของตน พอควรกบั ภูมสิ งั คม
มีเหตุผล รู้สาเหตุ รูป้ ัจจัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ร้ผู ลกระทบทจี่ ะเกิดขน้ึ
มภี มู ิคุ้มกัน รูเ้ ทา่ ทัน วางแผน รอบคอบ เรยี นร้ไู วไ้ ม่ประมาท
4 มติ ิ
มิติวตั ถุ ไดอ้ ะไรบ้างจากกิจกรรมน้ี
มิตสิ งั คม กจิ กรรมนสี้ ง่ ผลต่อชุมชนสงั คมอย่างไร
มติ สิ ง่ิ แวดลอ้ ม กจิ กรรมนส้ี ่งผลต่อส่งิ แวดล้อมอย่างไร
มติ วิ ัฒนธรรม กิจกรรมนม้ี ีการสืบสาน สานต่อวัฒนธรรมหรือไม่
กจิ กรรมดำเนนิ งาน
กระบวนการนิเทศ (Supervise) เป็นกระบวนการที่ครอบคลุม การดูแล การควบคุม และการกำกับ
เพื่อช่วยเหลือให้ผู้รับการนิเทศสามารถปฏิบัติงานพัฒนาการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ เป็นไปตามแผนงานและ
กำหนดการที่วางไว้ ซึ่งจำเป็นต้องแสดงขั้นตอนการดำเนินการและเครื่องมือในแต่ละขั้นตอนให้ชัดเจน โดยใช้
กระบวนการนเิ ทศ แบบ 4C (เป็นกระบวนการนเิ ทศที่ได้จากงานวิจัยของ พทั ธนนั ท์ พนู ประสิทธิ์, 2555) ได้แก่
ประสานสร้างมิตร (Coordinate : C1) ร่วมคิดร่วมทำ (Collaborate : C2) เรียนรู้ไปด้วยกัน (Co-Learning :
C3) สร้างสรรค์ผลงาน (Create : C4) เพ่ือพัฒนารูปแบบกระบวนการนิเทศแบบร่วมพฒั นาการจดั การเรียนรู้โดย
นอ้ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงอ่ื นไข 3 หลกั การ 4 มิติ เพ่อื เสรมิ สรา้ งกระบวนการคดิ ของศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแมพ่ รกิ ดงั น้ี
1. ประสานสรา้ งมติ ร (Coordinate ) โดยการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างผนู้ ิเทศและผูร้ บั การนิเทศ
ในลกั ษณะของเพื่อนทดี่ ี สรา้ งความไว้วางใจและยอมรบั นบั ถอื กนั ตระหนักถงึ ความสำคัญในการพฒั นาตนเอง
และพฒั นางาน โดยทุกคนต่างมีเมตตาธรรมต่อกนั มีการสร้างเครอื ขา่ ยการปฏิบัตงิ าน เพอ่ื ชว่ ยเหลือ เกื้อกูลกนั
และสรา้ งแรงจงู ใจใหเ้ กดิ ความอยากที่จะเรยี นรแู้ ละพัฒนา มีการตรวจสอบ ทบทวน เชงิ บวก ส่งเสริม การ
แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ มีการชแ้ี จงวตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจและแนวปฏบิ ัติทตี่ รงกัน ดงั น้ี
5
1.1 การประสานงานในลักษณะของการเปน็ มิตรที่ดีต่อกัน
1.2 การสร้างความไว้วางใจโดยการยอมรับนับถือกนั
1.3 การแลกเปล่ยี นเรียนรู้เกีย่ วกับการจัดกจิ กรรม
1.4 การกำหนดความร้ทู ี่จำเป็นตอ่ การจัดกิจกรรม
1.5 การจดั ลำดับประเดน็ ความสำคญั ของปญั หา
1.6 การร่วมกันวเิ คราะหส์ าเหตุของปญั หาและแนวทางแก้ปัญหา
1.7 การรว่ มกันตัดสนิ ใจเลอื กแนวทาง วธิ ีการและเคร่อื งมอื ทใี่ ชแ้ ก้ปัญหา
1.8 การสร้างแรงจูงใจเพื่อให้มกี ารร่วมใจกนั พัฒนา
1.9 ชีแ้ จงวตั ถปุ ระสงค์ของการนเิ ทศ
2. รว่ มคิดรว่ มทำ (Collaborate) โดยรว่ มกนั ศึกษา ค้นคว้า เพอ่ื วิเคราะหห์ าแนวทาง การออกแบบ
และจดั กจิ กรรม เพ่ือพัฒนารปู แบบกระบวนการนเิ ทศแบบร่วมพัฒนาการจัดการเรียนรโู้ ดยนอ้ มนำหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง 2 เง่ือนไข 3 หลักการ 4 มิติ เพอื่ เสริมสร้างกระบวนการคดิ ของศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอแม่พริก โดยให้ความสำคัญกบั ความรู้และ ประสบการณเ์ ดมิ ของผู้รบั การนิเทศ
ยดึ หลกั วา่ ไมม่ ใี ครรู้มากกว่าใคร ต้องรว่ มมือกนั ศึกษาขอ้ มลู ความรู้ เพือ่ วางแผนและลงมอื ปฏิบัติงานรว่ มกัน ทำ
ให้พฒั นาคุณภาพการปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั น้ี
2.1 การจัดการความรู้เกย่ี วกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2.2 การจดั การความรเู้ ก่ยี วกบั การนำผลการทดสอบ N-NET ไปใช้
2.3 การระดมความคิดเพื่อหาแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
2.4 การรว่ มกันสรปุ ผลการสะทอ้ นความรแู้ ละประสบการณ์เดิม
2.5 การร่วมกนั เสนอแนะขน้ั ตอนการทำงาน
2.6 การรว่ มมือกนั วางแผนการปฏบิ ตั งิ าน
2.7 การมีส่วนร่วมให้คำชี้แนะในการปฏบิ ัตงิ าน
2.8 การมีส่วนร่วมในการศกึ ษาค้นควา้ ความรู้ที่จำเปน็ ตอ่ การปฏบิ ัติงาน
2.9 การปฏบิ ัตงิ านรว่ มกนั ตามวิธกี ารหรอื แนวทางทตี่ ัดสินใจเลอื กไว้
2.10 รว่ มกันออกแบบและเขียนแผนการจัดการเรียนรู้และเครอ่ื งมอื ต่างๆ
2.11 การร่วมกนั พัฒนางานตามผลสรุปหรือคำชี้แนะ
3. เรียนร้ไู ปดว้ ยกนั (Co-Learning) โดยผู้นเิ ทศเป็นผูใ้ ห้คำปรึกษาดูแลและอำนวยความสะดวก ให้ผู้รับ
การนิเทศมีการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่เหมาะสมและเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองมีการพัฒนาและปรับปรุง การ
ปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตามแผนงานทกี่ ำหนดเพอื่ ใหบ้ รรลตุ ามเป้าหมาย ดังน้ี
3.1 การให้ขอ้ มลู เก่ยี วกบั จุดแขง็ จุดอ่อนของครูแตล่ ะคน
3.2 การส่งเสรมิ ให้ครสู ามารถพฒั นาความรู้ได้ด้วยตนเอง
3.3 การให้คำปรึกษาดแู ลที่ดีและเหมาะสมกับครแู ตล่ ะคน
6
3.4 การสรา้ งความเช่ือถอื ให้แกค่ รู โดยผูน้ ิเทศเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี รกั การเรียนรู้
สนใจใฝ่รู้ ศกึ ษาค้นควา้ ความรู้ใหม่ ๆ อยเู่ สมอเพือ่ ให้ครยู อมรบั ฟังและนำคำปรกึ ษาไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน
3.5 การพฒั นาวธิ ีการแก้ปัญหาจากการปฏิบตั ิงานร่วมกนั
3.6 การเรียนรจู้ ากการถา่ ยทอดภูมิปญั ญาหรอื ความรู้เฉพาะตวั ของบคุ คล
3.7 การสรา้ งเครอื ข่ายและระบบพเี่ ลยี้ งให้คำปรึกษาดูแลชว่ ยใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
4. สร้างสรรค์ผลงาน (Create) โดยส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้รับการนิเทศต่อยอดผลการปฏิบัติงาน ใช้
วิธีการพฒั นาผู้เรียน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พัฒนาผู้เรียนรายบคุ คลให้สอดคล้องกับความแตกต่างรายบคุ คล
พัฒนากระบวนการจดั การเรียนรกู้ ารนำความรู้มาพัฒนาให้เกิดผลงาน แนวทาง หรอื นวัตกรรม ท่ีเหมาะสมและ
สอดคลอ้ งกบั สภาพและบริบทของสถานศกึ ษา ดงั นี้
4.1 การออกแบบแผนงานและแนวทางในการแกป้ ญั หาร่วมกัน
4.2 การเปดิ โอกาสให้ครไู ด้พัฒนาวิธคี ดิ ในการปฏิบัตงิ านอยา่ งสรา้ งสรรค์
4.3 การร่วมมือกนั สร้างแหลง่ ความรู้ ผลงานหรือนวตั กรรมทเี่ หมาะสมกับการ
ปฏิบัตงิ าน
4.4 การร่วมกนั สรา้ งรปู แบบ วธิ ีการ เคร่อื งมือและส่ือการเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย
4.5 การมีส่วนร่วมในการคดิ อย่างสรา้ งสรรคเ์ พื่อค้นหาและพฒั นานวัตกรรม
4.6 การส่งเสรมิ การนำผลการวจิ ัยในช้นั เรียนไปใช้พฒั นาผเู้ รียน
4.7 การนำความร้ทู ี่ไดจ้ ากการอบรม สมั มนาไปใช้พัฒนางานอยา่ งต่อเนอื่ ง
สำหรับวิธีการและกิจกรรมการนิเทศตามกระบวนการนิเทศแบบ 4C ใช้การนิเทศทั้งทางตรงและ
ทางออ้ ม ไดแ้ ก่ การใชช้ อ่ งทางสอ่ื โซเชียลมีเดีย Line, Facebook เพอื่ สนบั สนุนวิธีการและกิจกรรมการนิเทศ ให้
มปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขน้ึ ไดแ้ ก่
1. กิจกรรมการอบรมและพัฒนาครูให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงื่อนไข 3 หลักการ 4 มิติ เพื่อเสริมสร้างกระบวนการคิด
(ขนั้ ตอนของกระบวนการประสานสร้างมิตร (Coordinate) และรว่ มคิดรว่ มทำ (Collaborate))
2. กิจกรรมการนิเทศการพบกลุ่ม สังเกตการจัดการเรียนรู้และการสื่อสารด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ผ่าน
ชอ่ งทางกลุ่ม Line Facebook โทรศัพทเ์ ป็นตน้ เพอ่ื การแก้ปญั หาจากการปฏิบตั จิ รงิ (ข้ันตอนของ กระบวนการ
เรียนรไู้ ปด้วยกนั (Co-Learning))
3.กจิ กรรมการสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรจู้ ะสอดแทรกในทุกขนั้ ตอนและกจิ กรรมเพ่ือการพฒั นาปรบั ปรงุ
ในแต่ละขั้นตอน และสรุปผลการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้บริหาร ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถสร้างแนว
ทางการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในสถานศึกษา ซึ่งจะทำให้เกิดแนวคิด กระบวนการ
ขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ านและผลงานทมี่ ีคณุ ภาพ (ข้นั ตอนของ สรา้ งสรรคผ์ ลงาน (Create : C4))
องค์ประกอบดา้ นกระบวนการนิเทศ เพอื่ พฒั นารปู แบบกระบวนการนเิ ทศแบบรว่ มพฒั นาการจัดการ
เรียนรู้โดยนอ้ มนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2 เง่ือนไข 3 หลกั การ 4 มิติ เพอ่ื เสริมสรา้ งกระบวนการคิด
ของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอแม่พริก ประกอบด้วย
7
1) กระบวนการนเิ ทศแบบ 4C ใช้การนิเทศทั้งทางตรงและทางอ้อม ไดแ้ ก่
C1 : ประสานสร้างมิตร (Coordinate)
C2 : ร่วมคดิ ร่วมทำ (Collaborate)
C3 : เรยี นรไู้ ปด้วยกัน (Co-Learning)
C4 : สรา้ งสรรค์ผลงาน (Create)
2) ขั้นตอนหรือกจิ กรรมการนิเทศ
3) บทบาทของผนู้ เิ ทศและผรู้ บั การนเิ ทศในแตล่ ะข้นั ตอนหรือกิจกรรม
4) สื่อและเคร่อื งมือการนเิ ทศ
กระบวนการนิเทศ (Supervise : S) กระบวนการนิเทศตามรปู แบบการนิเทศการศกึ ษา เพ่อื
พัฒนารปู แบบกระบวนการนเิ ทศแบบรว่ มพฒั นาการจดั การเรยี นรู้โดยน้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2 เงื่อนไข 3 หลักการ 4 มิติ เพื่อเสริมสร้างกระบวนการคิด ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอำเภอแมพ่ ริก ใชก้ ระบวนการนเิ ทศแบบ 4C ได้แก่ ประสานสรา้ งมิตร (Coordinate : C1) ร่วมคิดร่วม
ทำ (Collaborate : C2) เรยี นรูไ้ ปดว้ ยกนั (Co-Learning : C3) สรา้ งสรรค์ผลงาน (Create : C4) ดังน้ี
กระบวนการนเิ ทศ ข้นั ตอน/กจิ กรรมการนเิ ทศ สื่อ/เคร่ืองมอื การนิเทศ
บทบาทผ้นู เิ ทศ บทบาทผู้รับการนเิ ทศ การประสานผา่ นการ
ประชมุ ผา่ นกลมุ่ ไลน์
ประสานสร้างมิตร 1. ประสานกลมุ่ เปา้ หมาย - ศกึ ษาขอ้ มูลรายงาน หรอื ชอ่ งทางอื่นท่ี
เหมาะสม
(Coordinate : C1) เพือ่ แจ้งกรอบการ ผลสมั ฤทธิข์ องผู้เรยี น - รายงานผลสมั ฤทธขิ์ อง
ผู้เรียน
ดำเนนิ การนเิ ทศ - จดั เตรียมเอกสาร เพอ่ื -แบบสรุปผลการ
วิเคราะห์ เพ่ือจัดทำ
รองรบั การนิเทศ แผน
- ชุดอบรมการ
รว่ มคิดร่วมทำ 2.จดั ประชุม/อบรม/จัด - วิเคราะหผ์ ลสัมฤทธข์ิ อง ออกแบบ และเค้า
โครงการเขียนแผนการ
(Collaborate:C2) กิจกรรมการ สรา้ งความรู้ ผูเ้ รยี น เรียนรู้
ความเข้าใจร่วมกัน ในเร่ือง - จัดทำแผนยกระดบั
2.1 การวิเคราะหผ์ ลสมั ฤทธิ์ ผลสัมฤทธิข์ องผู้เรยี น
ของผู้เรียน และแนวทางการ - การออกแบบการจัดการ
นำไปใช้เพ่ือ ยกระดบั เรยี นรทู้ สี่ อดคล้องกบั
ผลสมั ฤทธข์ิ องผเู้ รียน บริบทและความต้องการ
2.2 การออกแบบ จัดทำ ของผู้เรยี น
แผนจัดการเรยี นรเู้ พอื่ - จัดทำแผนการจัดการ
ยกระดับ ผลสัมฤทธท์ิ างการ เรยี นรู้ ครบ 5 ฐาน คลุม
เรยี น การเรยี นรู้ตามแผนการ
ลงทะเบียนเรยี น
8
กระบวนการนิเทศ ข้นั ตอน/กจิ กรรมการนิเทศ สือ่ /เครอ่ื งมอื การนิเทศ
บทบาทผู้นิเทศ บทบาทผูร้ บั การนิเทศ
เรียนรู้ไปด้วยกัน 3. การเยี่ยมการจดั กจิ กรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม แบบบันทึกการนเิ ทศ
(Co-Learning: C3) การเรยี นรู้ การสังเกต การ แผนฐานการเรียนรู้ ทั้ง 5
จัดการเรยี นรู้ การพูดคุย ฐานการเรยี นรู้
ซกั ถาม แลกเปล่ียนเรยี นรู้
หรือผ่านชอ่ งทาง Line ,
Facebook หรืออื่นๆ
สร้างสรรค์ผลงาน 4. แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ สรปุ ผลการจัดกจิ กรรมการ - แบบสรุปผลงาน
(Create : C4) เกยี่ วกับผลการจัดการ เรยี นรู้ จุดเด่น/ จุดทีค่ วร - ข้อเสนอแนะเพื่อการ
เรยี นรตู้ ามแผนฐานการ พัฒนา พัฒนา
เรยี นรู้ และสรุปผล
การดำเนินงานด้านการพัฒนากระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอแมพ่ รกิ
ท่ี ระยะเวลา
รายการ
การวางแผนการดำเนินงานการพฒั นานวตั กรรม การนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล ของสถานศกึ ษา
1. ประชมุ ช้แี จงวางแผนการดำเนนิ งาน มีนาคม 2564
2. แต่งต้ังคณะกรรมการดำเนนิ งาน
ดำเนินงานการพฒั นานวัตกรรม การนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล ของสถานศึกษา
1. ศึกษาสภาพของปญั หา มีนาคม – สิงหาคม
2. ศึกษาแนวทางการแก้ไขปญั หาการสำรวจขอ้ มูล 2564
3. ออกแบบแนวทางการพัฒนา
4. การนำไปใชข้ องนวัตกรรมการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล ของ
สถานศกึ ษา
ติดตามผลการดำเนินงานการพัฒนานวัตกรรม การนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล ของสถานศกึ ษา
1. สรปุ รายงานผลและเผยแพร่ สงิ หาคม –
2. นำผลการติดตามประเมินไปปรับปรุงพัฒนา กนั ยายน 2564
9
ระยะเวลาดำเนินการ
ตง้ั แต่ ตุลาคม 2563 – กนั ยายน 2564
งบประมาณ
กิจกรรม /โครงการ ทเี่ กยี่ วข้องในการส่งเสรมิ สนับสนุนการพัฒนานวตั กรรม ดงั นี้
ท่ี กิจกรรม /โครงการ จำนวน(บาท)
1 โครงการพฒั นาบุคลากรดา้ นการจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของ 14,780
เศรษฐกิจพอเพยี ง 3,960
2 โครงการพฒั นาบุคลากรด้านการวิจยั ในชัน้ เรียนเพอื่ พัฒนางานการศึกษาขนั้
5,000
พ้นื ฐาน
3 โครงการประชมุ เพ่อื พฒั นาบคุ ลากรและเครอื ข่ายเพอื่ พฒั นางานการศกึ ษา 17,412
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.อำเภอแมพ่ ริก 7,590
4 โครงการประชุมเชิงปฎิบัตกิ ารเพ่อื พฒั นาระบบชว่ ยเหลอื ผู้เรียน ของ กศน. 10,760
อำเภอแมพ่ รกิ 9,000
5 โครงการพฒั นาวชิ าการ จัดกระบวนการ ติวเข้ม เตมิ เตม็ ความรู้ 68,502
6 โครงการกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นดา้ น ศกึ ษาเรียนรกู้ ารนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฎิบัตอิ ย่างพอเพียง
7 กิจกรรมสรปุ รายงานผล จัดนิทรรศการ และการนำเสนอ
รวมทัง้ ส้นิ จำนวน
10
สว่ นท่ี 2
แนวคิดและงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
การนเิ ทศผลการดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบขั้นพ้ืนฐานด้วยกระบวนการนเิ ทศแบบ 4C ร่วมกบั หลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 เงอื่ นไข 3 หลกั การ 4 มติ ิ เพื่อพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น (N-NET) ได้ศึกษา
เอกสาร หลกั การ แนวคิด และทฤษฎที เี่ กยี่ วขอ้ ง ดงั ต่อไปนี้
1. กระบวนการนิเทศ (Supervise)
2. กระบวนการนิเทศแบบ 4Cใชก้ ารนิเทศท้ังทางตรงและทางออ้ ม ได้แก่
C1 : ประสานสร้างมิตร (Coordinate)
C2 : ร่วมคดิ ร่วมทำ (Collaborate)
C3 : เรยี นรไู้ ปดว้ ยกนั (Co-Learning)
C4 : สร้างสรรคผ์ ลงาน (Create
3. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
กระบวนการนิเทศ (Supervise) เป็นกระบวนการที่ครอบคลุม การดูแล การควบคุม และการกำกับ
เพื่อช่วยเหลือให้ผู้รับการนิเทศสามารถปฏิบัติงานพัฒนาการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ เป็นไปตามแผนงานและ
กำหนดการที่วางไว้ ซึ่งจำเป็นต้องแสดงขัน้ ตอนการดำเนินการและเคร่ืองมือในแต่ละขั้นตอนให้ชัดเจน โดยใช้
กระบวนการนเิ ทศ แบบ 4C (เปน็ กระบวนการนิเทศทีไ่ ด้จากงานวิจัยของ พัทธนนั ท์ พูนประสทิ ธ์ิ, 2555) ได้แก่
ประสานสร้างมิตร (Coordinate : C1) ร่วมคิดร่วมทำ (Collaborate : C2) เรียนรู้ไปด้วยกัน (Co-Learning :
C3) สร้างสรรคผ์ ลงาน (Create : C4) เพอ่ื พฒั นารูปแบบกระบวนการนเิ ทศแบบร่วมพัฒนาการจัดการเรยี นรโู้ ดย
น้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงื่อนไข 3 หลักการ 4 มิติ เพอ่ื เสริมสร้างกระบวนการคดิ ของศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่พรกิ ดังนี้
1. ประสานสร้างมิตร (Coordinate ) โดยการเชื่อมโยงความสัมพนั ธ์ระหว่างผนู้ ิเทศและผู้รับการนิเทศ
ในลักษณะของเพื่อนที่ดี สร้างความไว้วางใจและยอมรบั นับถอื กัน ตระหนักถึงความสำคญั ในการพัฒนาตนเอง
และพัฒนางาน โดยทกุ คนต่างมเี มตตาธรรมต่อกัน มีการสรา้ งเครอื ขา่ ยการปฏิบัติงาน เพื่อช่วยเหลือ เก้ือกูลกัน
และสร้างแรงจูงใจให้เกิดความอยากที่จะเรียนรู้และพัฒนา มีการตรวจสอบ ทบทวน เชิงบวก ส่งเสริม การ
แลกเปล่ียนเรยี นรู้ มีการช้ีแจงวัตถปุ ระสงค์ เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจและแนวปฏิบัตทิ ี่ตรงกนั ดังน้ี
1.1 การประสานงานในลกั ษณะของการเปน็ มิตรทีด่ ีต่อกนั
1.2 การสร้างความไวว้ างใจโดยการยอมรบั นับถอื กนั
1.3 การแลกเปลี่ยนเรียนร้เู กยี่ วกบั การจดั กิจกรรม
1.4 การกำหนดความร้ทู ่ีจำเป็นตอ่ การจัดกิจกรรม
1.5 การจดั ลำดบั ประเด็นความสำคัญของปัญหา
1.6 การร่วมกันวเิ คราะหส์ าเหตขุ องปญั หาและแนวทางแก้ปญั หา
1.7 การรว่ มกันตัดสนิ ใจเลือกแนวทาง วิธีการและเคร่ืองมอื ที่ใชแ้ กป้ ญั หา
11
1.8 การสร้างแรงจูงใจเพ่ือให้มีการร่วมใจกนั พัฒนา
1.9 ช้ีแจงวัตถปุ ระสงคข์ องการนเิ ทศ
2. รว่ มคิดรว่ มทำ (Collaborate) โดยรว่ มกันศกึ ษา ค้นคว้า เพือ่ วิเคราะหห์ าแนวทาง การออกแบบและ
จดั กจิ กรรม เพื่อพัฒนารูปแบบกระบวนการนิเทศแบบร่วมพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยน้อมนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง 2 เงือ่ นไข 3 หลักการ 4 มิติ เพ่อื เสริมสร้างกระบวนการคิด ของศนู ย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอแม่พริก โดยใหค้ วามสำคัญกบั ความรู้และ ประสบการณ์เดมิ ของผู้รับการนเิ ทศ ยึด
หลกั วา่ ไมม่ ใี ครรูม้ ากกว่าใคร ตอ้ งรว่ มมอื กนั ศึกษาข้อมูล ความรู้ เพอื่ วางแผนและลงมอื ปฏิบัติงานร่วมกัน ทำให้
พฒั นาคุณภาพการปฏบิ ัตงิ านได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ดงั น้ี
2.1 การจดั การความรู้เกีย่ วกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2.2 การจดั การความรู้เกยี่ วกบั การนำผลการทดสอบ N-NET ไปใช้
2.3 การระดมความคดิ เพือ่ หาแนวทางการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
2.4 การรว่ มกนั สรปุ ผลการสะท้อนความรูแ้ ละประสบการณเ์ ดิม
2.5 การร่วมกนั เสนอแนะข้นั ตอนการทำงาน
2.6 การร่วมมือกนั วางแผนการปฏบิ ตั งิ าน
2.7 การมสี ว่ นรว่ มใหค้ ำชแ้ี นะในการปฏบิ ตั ิงาน
2.8 การมสี ว่ นร่วมในการศกึ ษาค้นควา้ ความรู้ท่ีจำเป็นต่อการปฏิบัตงิ าน
2.9 การปฏิบตั งิ านร่วมกันตามวิธกี ารหรือแนวทางที่ตดั สนิ ใจเลอื กไว้
2.10 รว่ มกนั ออกแบบและเขียนแผนการจดั การเรียนรู้และเครอ่ื งมอื ตา่ งๆ
2.11 การรว่ มกนั พฒั นางานตามผลสรุปหรอื คำชแ้ี นะ
3. เรยี นรไู้ ปด้วยกัน (Co-Learning) โดยผูน้ ิเทศเป็นผู้ให้คำปรกึ ษาดูแลและอำนวยความสะดวก ให้ผู้รับ
การนิเทศมีการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่เหมาะสมและเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองมีการพัฒนาและปรับปรุง
การปฏบิ ตั งิ านให้เปน็ ไปตามแผนงานท่ีกำหนดเพอ่ื ใหบ้ รรลุตามเปา้ หมาย ดังนี้
3.1 การใหข้ ้อมูลเก่ยี วกับจดุ แข็ง จุดออ่ นของครูแตล่ ะคน
3.2 การสง่ เสรมิ ให้ครสู ามารถพัฒนาความร้ไู ด้ดว้ ยตนเอง
3.3 การให้คำปรกึ ษาดแู ลท่ีดีและเหมาะสมกับครูแตล่ ะคน
3.4 การสรา้ งความเช่ือถอื ใหแ้ กค่ รู โดยผนู้ ิเทศเป็นแบบอยา่ งทีด่ ี รักการเรียนรู้ สนใจ
ใฝ่รู้ ศึกษาคน้ คว้าความร้ใู หม่ ๆ อย่เู สมอเพ่ือใหค้ รูยอมรับฟังและนำคำปรกึ ษาไปใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน
3.5 การพฒั นาวิธีการแก้ปัญหาจากการปฏบิ ัติงานรว่ มกนั
3.6 การเรยี นร้จู ากการถ่ายทอดภมู ปิ ญั ญาหรือความรเู้ ฉพาะตัวของบคุ คล
3.7 การสรา้ งเครือขา่ ยและระบบพ่ีเลย้ี งให้คำปรึกษาดูแลช่วยใหเ้ กิดการเรยี นรู้
12
4. สร้างสรรค์ผลงาน (Create) โดยส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้รับการนิเทศต่อยอดผลการปฏิบัติงาน
ใช้วธิ ีการพฒั นาผ้เู รียน ที่เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั พฒั นาผู้เรียนรายบุคคลให้สอดคล้องกับความแตกตา่ งรายบุคคล
พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นรู้การนำความรู้มาพัฒนาให้เกิดผลงาน แนวทาง หรือนวัตกรรม ทีเ่ หมาะสมและ
สอดคล้องกับสภาพและบรบิ ทของสถานศกึ ษา ดังนี้
4.1 การออกแบบแผนงานและแนวทางในการแกป้ ญั หารว่ มกัน
4.2 การเปิดโอกาสใหค้ รูได้พฒั นาวิธีคดิ ในการปฏิบัติงานอยา่ งสร้างสรรค์
4.3 การร่วมมือกนั สร้างแหลง่ ความรู้ ผลงานหรือนวัตกรรมทเี่ หมาะสมกบั การ
ปฏิบตั งิ าน
4.4 การร่วมกันสร้างรูปแบบ วธิ ีการ เคร่อื งมอื และสือ่ การเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย
4.5 การมสี ่วนรว่ มในการคิดอย่างสร้างสรรคเ์ พื่อค้นหาและพฒั นานวตั กรรม
4.6 การสง่ เสรมิ การนำผลการวิจัยในชั้นเรยี นไปใชพ้ ฒั นาผเู้ รียน
4.7 การนำความรูท้ ่ไี ด้จากการอบรม สมั มนาไปใช้พฒั นางานอยา่ งต่อเนื่อง
สำหรับวิธีการและกิจกรรมการนิเทศตามกระบวนการนิเทศแบบ 4C ใช้การนิเทศทั้งทางตรงและ
ทางอ้อม ได้แก่ การใชช้ อ่ งทางสอ่ื โซเชียลมีเดีย Line, Facebook เพ่อื สนบั สนุนวิธกี ารและกจิ กรรมการนิเทศ ให้
มีประสิทธิภาพมากย่งิ ข้ึน ไดแ้ ก่
1. กิจกรรมการอบรมและพัฒนาครูให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงื่อนไข 3 หลักการ 4 มิติ เพื่อเสริมสร้างกระบวนการคิด
(ขัน้ ตอนของกระบวนการประสานสรา้ งมิตร (Coordinate) และร่วมคดิ ร่วมทำ (Collaborate))
2. กิจกรรมการนิเทศการพบกลุ่ม สังเกตการจัดการเรียนรู้และการสื่อสารด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ผ่าน
ช่องทางกลุ่ม Line Facebook โทรศัพทเ์ ปน็ ตน้ เพ่ือการแกป้ ัญหาจากการปฏิบตั ิจรงิ (ขัน้ ตอนของ กระบวนการ
เรยี นรู้ไปดว้ ยกัน (Co-Learning))
3.กจิ กรรมการสนทนาแลกเปลยี่ นเรียนรู้จะสอดแทรกในทกุ ขัน้ ตอนและกจิ กรรมเพอ่ื การพฒั นาปรบั ปรงุ
ในแต่ละขั้นตอน และสรุปผลการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้บริหาร ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถสร้างแนว
ทางการจัดการเรียนรู้เพือ่ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในสถานศึกษา ซึ่งจะทำให้เกิดแนวคดิ กระบวนการ
ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติงานและผลงานท่มี คี ณุ ภาพ (ข้นั ตอนของ สร้างสรรคผ์ ลงาน (Create : C4))
องคป์ ระกอบด้านกระบวนการนเิ ทศ เพ่ือพัฒนารปู แบบกระบวนการนิเทศแบบรว่ มพัฒนาการจดั การ
เรยี นรู้โดยน้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 เงอื่ นไข 3 หลักการ 4 มิติ เพ่อื เสรมิ สรา้ งกระบวนการคิด
ของศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอแมพ่ ริก ประกอบด้วย
1) กระบวนการนิเทศแบบ 4C ใช้การนิเทศท้ังทางตรงและทางอ้อม ไดแ้ ก่
C1 : ประสานสรา้ งมิตร (Coordinate)
C2 : รว่ มคดิ รว่ มทำ (Collaborate)
C3 : เรียนร้ไู ปดว้ ยกนั (Co-Learning)
C4 : สร้างสรรค์ผลงาน (Create)
13
2) ข้ันตอนหรอื กิจกรรมการนิเทศ
3) บทบาทของผ้นู เิ ทศและผูร้ ับการนิเทศในแต่ละขั้นตอนหรอื กิจกรรม
4) ส่ือและเครือ่ งมือการนเิ ทศ
นิเทศการศึกษา (Subject) ประกอบด้วยหลักการ ความสำคัญ และเนื้อหาสาระการนิเทศการศึกษา
สำหรับงานเรอื่ งท่ีนิเทศการศกึ ษาเปน็ เร่อื งในงานการนิเทศการศกึ ษา ซึ่งปจั จบุ นั มกี ารปรับเปลีย่ น งานการนิเทศ
การศึกษาทั้งด้านความรู้ สังคมและเทคโนโลยีการสื่อสาร รวมทั้งโครงสร้างของหน่วยงานระดับ
กระทรวงศึกษาธิการ ทำให้จำเป็นต้องวิเคราะห์งานของผู้นิเทศให้ชัดเจน เพราะผู้นิเทศจะต้องเป็นผู้มีความรู้
และความเข้าใจกระบวนการรายละเอียดเกี่ยวกับงานด้านการศึกษาเป็นอย่างดีจึงจะนำพาผู้รับการนิเทศ สู่
เป้าหมายที่กำหนดไว้ได้ โดยเฉพาะในยุคที่มีการกำหนดให้ผู้นิเทศจะต้องเป็นผู้มีคุณลักษณะตามประกาศ
คณะกรรมการคุรุสภาเรื่อง สาระความรู้และสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพครูผู้บริหารสถานศึกษาและ
ผู้บริหารการศึกษาตามมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ (ราชกิจจานุเบกษา, 2549 : เล่ม 123 ตอนท่ี
56 ง. หน้า 289-305 ; 2556 : เลม่ 130 ตอนพเิ ศษ 156 ง. หน้า 43) ไดก้ ำหนดสาระความรู้และ สมรรถนะการ
นเิ ทศการศึกษา โดยสรุป ดงั นี้
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา จะตอ้ งเป็นผู้มคี วามเป็นผ้นู ำทางวิชาการในการนิเทศเพอื่ พัฒนาครู ให้
จดั การเรียนร้ขู องผู้เรยี นใหเ้ ติบโตเตม็ ตามศกั ยภาพ
ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา จะตอ้ งเป็นผ้มู คี วามเปน็ ผ้นู ำทางวิชาการมีความรู้เก่ียวกบั การนเิ ทศ
การศกึ ษา เทคนิคการนเิ ทศการศึกษา ความสัมพันธ์ของการนิเทศการศึกษากับการบริหารการศึกษา สามารถ
นิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบโดยใช้วิธีการที่หลากหลายและสามารถ
พัฒนาระบบการนเิ ทศการศึกษาใหส้ อดคล้องกับการเปลีย่ นแปลง
ศึกษานิเทศก์ จะตอ้ งเปน็ ผ้มู มี าตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณว์ ชิ าชีพ สาระความรู้
สมรรถนะและมาตรฐานการปฏิบัติงานของผปู้ ระกอบวิชาชพี ศกึ ษานิเทศก์ สรปุ ไดด้ ังนี้
1) การพฒั นาวชิ าชพี จะตอ้ งเปน็ ผู้มีความรู้เก่ยี วกับสภาพงาน คุณลกั ษณะ และ
มาตรฐาน วิชาชีพศึกษานิเทศก์ ทักษะในการแสวงหาความรู้ในบริบทของการเปลี่ยนแปลง การจัดการความรู้
เก่ยี วกับ การนิเทศการศึกษา กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและมีสมรรถนะในการสร้างศรัทธา
ผู้รบั การนเิ ทศเพือ่ ให้ตระหนกั และเห็นประโยชนก์ ารนิเทศ สร้างความก้าวหนา้ และพฒั นาวิชาชพี อย่างตอ่ เน่ือง
2) การนิเทศการศกึ ษา โดยจะตอ้ งมคี วามรูเ้ กีย่ วกับ หลกั การ แนวคดิ แนวปฏิบตั ิ
เกี่ยวกับ การนิเทศ ผู้นำ ภาวะผู้นำ และภาวะผู้นำทางวิชาการ จิตวิทยาการนิเทศและการสื่อสาร กลวิธีการ
ถ่ายทอด ความรู้ แนวคิด ทฤษฎี และผลงานทางวิชาการ การเสริมแรง การสร้างพลังอำนาจและการพัฒนา
ศักยภาพครู และมีสมรรถนะในการใช้เทคนิคการนิเทศอย่างหลากหลายด้วยความเป็นกัลยาณมิตร และสร้าง
วัฒนธรรมใน การพฒั นางานวชิ าการ และนำสู่การเปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้
14
3) แผนและกจิ กรรมการนเิ ทศ จะตอ้ งเป็นผู้มีความรู้เกยี่ วกับนโยบายการศึกษาและ
การ เชื่อมโยงระบบการศึกษากับระบบอื่นในสังคม การวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การพัฒนาแผนการ
นเิ ทศตามบริบทมหภาคและภมู สิ งั คม และการจัดทำแผนปฏิบัตกิ ารนิเทศ โครงการ และ การนำสูก่ ารปฏบิ ตั แิ ละ
มีสมรรถนะทีส่ ามารถวางแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา และพัฒนาแผนการนเิ ทศที่ นำสูก่ ารปฏิบตั ไิ ดจ้ รงิ พรอ้ ม
ทั้งประเมินและปรบั ปรุงแผนการนิเทศ
4) การพัฒนาหลักสตู รและการจัดการเรยี นรู้เปน็ ผมู้ คี วามรเู้ ก่ยี วกบั หลกั การ แนวคดิ
ใน การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน รู้จักคิดวิเคราะห์ และสร้างสรรค์งานได้และการวดั
และการประเมินผลการเรยี นรู้และมีสมรรถนะ ในการสร้าง ใช้ ประเมิน และปรับปรุงหลักสูตร และนิเทศเพ่อื
พฒั นาหลักสตู ร การจดั การเรยี นรู้ และการวดั ประเมินผล
5) การวจิ ยั ทางการศกึ ษา เปน็ ผมู้ ีความร้เู กีย่ วกับหลกั การ แนวคิด แนวปฏิบัตใิ นการ
วจิ ยั การใชแ้ ละผลติ งานวิจยั เพ่อื พัฒนานวตั กรรมการนิเทศ และมสี มรรถนะท่ีสามารถดำเนินการวจิ ัยเพื่อพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษา และสามารถนำผลการวจิ ยั ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
6) นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา มีความรเู้ กี่ยวกับ หลักการ
แนวคิด การออกแบบสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ
สื่อสาร และมสี มรรถนะในการประยุกตใ์ ช้ และการประเมินส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
มี ความสามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการสอ่ื สาร
7) การประกันคุณภาพการศึกษา มคี วามรู้เก่ยี วกบั การบรหิ ารจัดการการศึกษา และ
ระบบ การประกนั คุณภาพการศกึ ษาท้ังภายในและภายนอก และมสี มรรถนะท่ีสามารถบรหิ ารจัดการการศึกษา
และ นำผลการประกันคณุ ภาพการศึกษาไปใช้เพ่อื พฒั นาสถานศกึ ษา
8) คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณ เป็นผมู้ คี วามร้เู กี่ยวกบั หลกั ธรรมาภบิ าล
และ ความซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรม และจริยธรรมของวิชาชีพศึกษานิเทศก์จรรยาบรรณของวิชาชีพที่คุรุสภา
กำหนด มสี มรรถนะในการปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งที่ดี มีจติ สำนึกสาธารณะและเสียสละให้สังคม และปฏิบัติตน
ตาม จรรยาบรรณของวิชาชีพ
การสบื สานศาสตรพ์ ระราชาสกู่ ารพฒั นาท่ียง่ั ยืน เป็นกระบวนการนำศาสตรพ์ ระราชา ไปสู่การปฏบิ ัติให้
เกิดผล หรือเรียกง่าย ๆ ว่าการนำความรู้ในศาสตร์ทั้ง ๓ ด้าน หรือ ๓ มิติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
และสิง่ แวดลอ้ ม สูก่ ารพัฒนาประเทศใหม้ ่นั คงย่ังยนื ไปส่กู ารปฏิบัติจริงหรอื เดนิ ตามรอยเทา้ พ่อ ในการปฏิบัติตน
ปฏิบตั ิงาน เพ่อื การพฒั นาประเทศอย่างยง่ั ยืน ประกอบดว้ ย การนำองคค์ วามรู้ ด้านการกำหนด เป้าหมายของ
การเรียนรหู้ รือการพฒั นางาน องค์ความรดู้ ้านเนอื้ หา ความรจู้ ากโครงการพระราชดำริ และอ่ืน ๆ รวมทง้ั การนำ
องคค์ วามรูใ้ นวธิ ีทรงงานมาใช้ในการดำเนนิ ชีวิต การทำงานของบคุ คล ครอบครวั ชุมชน หรอื ขององค์กร มลู นิธิ
หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาตนเอง พัฒนางานดำเนินชีวิต ดำเนินงานในหน้าท่ี
ความรับผิดชอบด้วยองค์ความรู้ตามศาสตรพ์ ระราชา หรือเรียกอีกอยา่ งหนึ่งว่า “เดินตาม รอยเท้าพ่อ สานต่อ
งานทพ่ี อ่ ทำ”
15
“ศาสตรพ์ ระราชา คอื การลงไปศึกษาเรียนรู้จากชุมชน ให้ชมุ ชนบอกวา่ ปญั หาคือ อะไร ความต้องการ
ของประชาชนคืออะไร โดยต้องคำนึงถึงความต่อเน่ืองและยั่งยืน” ซึ่งแสดงให้เห็นไดว้ ่าเป้าหมายในการพัฒนา
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว รัชกาลที่ ๙ คอื การพฒั นาท่ยี ัง่ ยนื เพอ่ื ปรบั ปรุงชีวิตความเปน็ อยู่ของคน โดย
ไมท่ ำลายส่งิ แวดล้อม ใหค้ นมคี วามสุข โดยต้อง คำนงึ เรอ่ื งสภาพภูมิศาสตร์ ความเชอ่ื ทางศาสนา เชื้อชาติ และ
ภมู ิหลังทางเศรษฐกิจ สงั คม แม้ว่าวิธีการพฒั นา มีหลากหลาย แต่ท่ีสำคัญคอื การพฒั นาจะต้องมคี วามรัก ความ
ห่วงใย ความรับผิดชอบ และการเคารพในเพื่อนมนุษย์จะเห็นได้ว่าการพัฒนาเกี่ยวขอ้ งกับมนุษยชาติ และเป็น
เรอ่ื งของจิตใจ
การนำหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ มาเป็นแนวทางใน การ
ปฏบิ ตั งิ านได้ดังนี้
1) เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตประจำวัน ให้สามารถอยู่ร่วมกับคนในหน่วยงานได้อย่างมี
ความสขุ
2) ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น ลดความฟุม่ เฟือย รู้จักคำวา่ “พอ” โดยไม่
เบียดเบยี นทั้งตนเองและผอู้ ื่น
3) มคี วามสขุ และความพอใจกับงานทป่ี ฏิบัติ กับชีวติ ท่ีพอเพียง ยึดทางสายกลางในการดำเนิน
ชวี ิต
4) พยายามใชท้ รพั ยากรทีเ่ กย่ี วข้องกบั การปฏิบตั ิงาน และชีวติ ประจำวนั อย่างประหยัด เพ่อื ให้
เกิดประโยชนม์ ากท่ีสดุ
5) ควรมีการวางแผนการทำงานประจำวันให้ดี โดยพจิ ารณาถงึ งานท่ีค้างจากวนั ก่อน งานที่ยัง
ไม่เสร็จในวันนี้ และงานที่ต้องทำในวันต่อไป โดยให้มีการเขยี นรายการของงานทีต่ ้องปฏิบตั ิลงในแผ่นกระดาษ
หรือสมุดบนั ทกึ ประจำวนั ท้ังนี้ควรระบใุ หช้ ัดเจน ว่ามีงานอะไรบา้ งทต่ี อ้ งทำให้วันนั้น ๆ
6) ควรมีการบริหารเวลาโดยจัดลำดับความสำคัญของงาน ซึ่งในแต่ละวันมีงานหลายอย่าง
ดังนั้น ควรจัดลำดับความสำคัญของงานว่าจะทำอะไร ก่อน – หลัง เพื่อให้มีความเหมาะสมกับเวลา (มูลนิธิชยั
พัฒนา. จุดเริ่มต้นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2561.จาก
http://www.chaipat.or.th/site_content/34-13/3579-2010-10-08-05-24-39.html)(ฤทธิไกร ไชยงาม.
ศาสตร์พระราชา _ 01 : ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ(1). สืบค้นเมื่อวันที่ 20
พฤศจกิ ายน 2561. จาก https://www.gotoknow.org/posts/591192.)
16
แนวทางการใชร้ ปู แบบการนิเทศการศกึ ษา
บทบาทของผู้นเิ ทศ
โดยผนู้ เิ ทศจะต้องศกึ ษารายละเอียดและทำความเขา้ ใจ รูปแบบการนเิ ทศการศึกษาเพ่ือ
พฒั นารปู แบบกระบวนการนิเทศ แบบรว่ มพฒั นาการจัดการเรียนรโู้ ดยน้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง เพ่อื เสรมิ สร้างกระบวนการคิด ซึง่ ผูน้ ิเทศมีบทบาท ดังน้ี
1. ผู้นเิ ทศเป็นผ้ปู ระสานงาน แนวปฏบิ ัตกิ ารดำเนินการนิเทศการศกึ ษา โดยยึดแนวทางความเปน็
กัลยาณมติ รสร้างความสมั พันธท์ ีด่ ีโดยให้กำลงั ใจผ่านช่องทางการสือ่ สารที่เหมาะสม
2. ผู้นเิ ทศกระตุ้นให้ครแู สดงความรูแ้ ละประสบการณเ์ ดมิ ของตนเองแล้วให้คำชแี้ นะทีเ่ หมาะสม
ซ่ึงเป็นการปรบั ความรู้ ความเข้าใจให้ถูกต้อง สอดคลอ้ งกับสภาพ บรบิ ทในปัจจุบนั
3. ผ้นู เิ ทศให้ความรู้ และสร้างความเข้าใจเกีย่ วกับการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น
ดว้ ยการจดั กระบวนการเรยี นรใู้ นฐานการเรยี นรูท้ เ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
4. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้คำปรกึ ษาผู้รบั การนิเทศนำความรทู้ ไ่ี ด้จากการศกึ ษาไปประยกุ ตใ์ ช้
ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ในฐานการเรียนรู้
บทบาทของผู้รบั การนเิ ทศ
รบั ฟังการชี้แจงรายละเอยี ดจากผ้นู ิเทศ และศึกษาจุดประสงค์และวิธกี ารออกแบบการจัดกิจกรรมการ
เรียนร้ใู นฐานการเรียนรตู้ ามแผน ให้มคี วามรู้และเขา้ ใจ เพอ่ื นำไปใชใ้ นการออกแบบ วางแผนการ โดยน้อมนำ
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือเสรมิ สรา้ งกระบวนการคิด ผ้รู ับการนิเทศแสดงบทบาท ดังน้ี
1. ทำความเขา้ ในขัน้ ตอนของแผนฐานการเรียนรู้
2. ปฏบิ ตั ิตามข้นั ตอนในแต่ละกิจกรรมร่วมกับผ้นู ิเทศตามลำดับ
3. ปรบั ปรุง พฒั นาตนเองทั้งดา้ นความรู้ ความเข้าใจและการปฏบิ ัติ เพือ่ ให้สามารถจดั การเรยี นรู้
ให้สอดคล้องกับหลกั สตู รการศึกษาและแผนฐานการเรียนรู้ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
4. ถอดบทเรียน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
5. ยอมรบั ผลการประเมินจากผนู้ เิ ทศและรว่ มแสดงความคดิ เหน็ เพื่อหาแนวทางการส่งเสรมิ และ
การปรับปรงุ แกไ้ ข
6. ตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจที่มีตอ่ การนเิ ทศ
การนิเทศแบบรว่ มพฒั นา คอื ปฏสิ มั พนั ธท์ างการนเิ ทศระหว่างผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ศึกษานิเทศก์
และครู ในกระบวนการนเิ ทศการศึกษาทม่ี ุง่ แกป้ ัญหาและพัฒนาการเรียนการสอนอยา่ งเป็นระบบ โดยใช้เทคนิค
การนเิ ทศการสอนเปน็ ปัจจยั หลกั บนพื้นฐานของสมั พนั ธภ์ าพแหง่ การร่วมคดิ ร่วมทำ พึงพา ชว่ ยเหลอื ยอมรบั
ซ่ึงกนั และกนั ให้เกยี รติและจรงิ ใจต่อกนั ระหวา่ งผู้นเิ ทศ ผู้สอนและคู่สัญญา เพ่อื รว่ มกันพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี อัน
จะสง่ ผลโยตรงต่อการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
17
จดุ มงุ่ หมายทั่วไป การนิเทศแบบร่วมพัฒนาเป็นการนเิ ทศทมี่ งุ่ แก้ปญั หา และพฒั นาการเรียนการ
สอนอย่างเปน็ ระบบ เพอื่ ยกระดบั คุณภาพการเรยี นของนักเรยี น โดยการปรบั ปรงุ การปฏบิ ัติงานของครูใหเ้ กิด
ประสทิ ธิภาพบนพื้นฐานของกระบวนการท่ีเกดิ จากความตอ้ งการของครใู นการพฒั นาทกั ษะวชิ าชพี
จุดมุ่งหมายเฉพาะ
1. เพ่ือพัฒนาทักษะการสอนและทักษะการนิเทศแก่ครูอย่างเปน็ ระบบ โดยมีวิธกี ารนิเทศตนเอง
นเิ ทศโดยเพอ่ื นคู่สัญญา นเิ ทศโดยนเิ ทศภายในโรงเรียนและนิเทศโดยศกึ ษานิเทศก์
2. เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสัมพันธภาพทางวิชาชีพระหวา่ งครูและศกึ ษานิเทศก์ให้กระชบั มั่นย่งิ ข้ึน
3. เพือ่ สรา้ งเสรมิ เจตคติที่ดตี อ่ การนิเทศการสอนให้แกผ่ ู้บรหิ ารสถานศึกษาและครู ให้เกิดความมั่นใจ
ว่าการนเิ ทศการสอนสามารถช่วยครูแกป้ ญั หาและพัฒนาการเรียนการสอนได้
4. เพอื่ กระตุ้นใหค้ รเู ป็นผนู้ ำในการพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นการสอน เหน็ ความสำคญั และประโยชน์
ของการนิเทศ พฒั นาตนเองเปน็ ผู้นำการนเิ ทศภายในโรงเรยี น สามารถนิเทศตนเองและนเิ ทศเพื่อนครูดว้ ยกนั
อยา่ งมีหลักวชิ าและมรี ูปแบบทชี่ ัดเจน
5. เพ่ือใหค้ รูเกิดความภาคภูมิใจในวิชาชพี และม่งุ ม่ันพฒั นาตนเองเป็นครูมืออาชีพอยา่ งมาตรฐาน
และรักษาระดบั คุณภาพไว้อยา่ งต่อเน่อื ง
6. เพือ่ ให้ศกึ ษานเิ ทศก์ได้พฒั นาศกั ยภาพของตนเอง พฒั นาสื่อการนเิ ทศ พัฒนาเทคนิควิธกี ารนเิ ทศ
และนำไปสกู่ ารพัฒนาครูอย่างมีประสทิ ธิภาพ
7. เพือ่ พฒั นาศาสตรท์ างการนิเทศการศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการจำเปน็
ตลอดจนกระแสสงั คมและสภาพแวดลอ้ มในปจั จุบัน โดยเนน้ ให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาคุณภาพการศึกษาให้
มากทส่ี ดุ
ลกั ษณะสำคญั ของการนิเทศแบบรว่ มพฒั นา
ปฏิสมั พนั ธ์ทางการนเิ ทศจากใจถึงใจ บนพืน้ ฐานของความรัก ความเข้าใจและความจริงใจตอ่ กนั
ในการพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี ซ่งึ มลี กั ษณะสำคญั ดงั นี้
1. เปน็ การนิเทศทพ่ี ฒั นามาจากการผสมผสานกันระหวา่ งการนิเทศจากบุคลากรภายนอกและ
การนเิ ทศภายในโรงเรียน โยมจี ุดมงุ่ หมายเดยี วกนั คือการพฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอนด้วยวธิ กี ารท่เี ป็น
ระบบและมีข้นั ตอนการดำเนินงานที่ชดั เจน
2. ในกระบวนการปฏสิ มั พันธ์ทางการนิเทศแบบร่วมพัฒนา จะมศี นู ยก์ ลางอยทู่ ่ตี วั ครใู นกลมุ่ สาระ
การเรยี นรู้และโรงเรียน ซงึ มีบทบาทหนา้ ท่แี ตกต่างกนั เชน่ หวั หนา้ กุลม่ สาระการเรียนรู้มหี นา้ ทเี่ ป็นผนู้ เิ ทศหรือ
ค่สู ัญญา (ถ้าผู้รับนิเทศตอ้ งการ) เพ่อื นครูที่สนิทสนมไว้วางใจกันและพรอ้ มท่จี ะรว่ มมอื กนั ในการพฒั นาทกั ษะ
วชิ าชพี มีบทบาทหน้าท่ีเปน็ คู้สัญญา และครูที่มีความสนใจตอ้ งการมสี ว่ นร่วมแตย่ งั ขาดความพร้อม สามารถมี
ส่วนรว่ มได้ในบทบาทของเพอ่ื นร่วมอดุ มการณ์ และมเี ครอื ข่ายที่เป็นบุคลากรจากภายนอก เชน่ ศึกษานิเทศก์
หรอื ครผู รู้ ่วมนเิ ทศ ซ่งึ กจ็ ะมีบทบาทเป็นผ้นู เิ ทศหรือทีป่ รกึ ษา
18
3. เป็นรูปแบบการนเิ ทศทใ่ี ห้ความสำคัญทง้ั กระบวนการนเิ ทศทั่วไป และกระบวนการนเิ ทศการ
สอน โดยทง้ั สองกระบวนการจะเออื้ ประโยชนซ์ งึ่ กนั และกัน และส่งผลให้คณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนดขี ึน้
และสำหรบั การนิเทศการสอนในรูปแบบของการนเิ ทศแบบร่วมพฒั นาน้ีได้พัฒนามาจากแนวคดิ ในการนิเทศการ
สอนแบบคลินิกและการนเิ ทศเชงิ เน้นวัตถปุ ระสงค์
4. เป็นการวมกล่มุ กัน เพ่อื พัฒนาวิชาชีพของครูที่มคี วามรับผิดชอบต่อวิชาชพี สูงและมคี วาม
กระตอื รือร้นท่ีจะพฒั นาความเจริญงอกงามทางวิชาชีพ โดยกำหนดเปน็ โครงการนเิ ทศ มีระยะเวลาในการ
ดำเนินงาน สามารถติดตามผลการปฏบิ ตั ิงานได้ ซ่ึงผู้บรหิ ารสถานศึกษาและผนู้ ิเทศจะตอ้ งรับรู้ มีส่วนรว่ มในการ
ติดตามผล ใหค้ วามสนับสนุนและอำนวยความสะดวก
5. เนน้ หลกั ประชาธปิ ไตยในการนิเทศ โดยครจู ะมเี สรีภาพในการนเิ ทศ เลอื กผูน้ เิ ทศ เลือกค่สู ัญญา
เลอื กเวลาในการปฏบิ ัติการนิเทศ เลอื กบทเรียนที่จะสอน เลือกเครอ่ื งมือสังเกตการสอน ในการนิเทศการสอน ครู
สามารถเลือกวธิ ีการนิเทศตนเอง คือ สังเกตพฤตกิ รรมการสอนของตนเองแทนทจ่ี ะให้ผูน้ เิ ทศหรือคู่สัญญาหรอื
ศึกษานิเทศกเ์ ข้าไปสงั เกตการสอนหรอื ถา้ หากครูมคี วามพรอ้ มใจ ตอ้ งการให้ผู้นิเทศหรอื คู่สญั ญาเขา้ ไปสังเกต
การสอน ครูกส็ ามารถเลอื กหรือรบั รูท้ ำความเขา้ ใจกับเครื่องมอื สงั เกตการสอน จนเป็นทพี่ อใจและไมม่ คี วามวติ ก
กงั วลตอ่ ผลของการใช้เคร่ืองมือสงั เกตการสอนนัน้ ๆ
6. การสงั เกตการสอนในกระบวนการนิเทศแบบรว่ มพัฒนา ผู้นิเทศต้องไม่สร้างภาพพจนใ์ นการ
วดั ผลหรอื ประเมนิ ผลการสอน แต่จะเปน็ การบันทกึ และอธบิ ายภาพท่เี กิดขึน้ ในหอ้ งเรียนวา่ ผ้สู อนมีพฤตกิ รรม
อย่างไร มากนอ้ ยเทา่ ใด ไมใ่ ชด่ หี รอื ไม่ดอี ยา่ งไรเพราะไม่ต้องการให้ครเู กดิ ความร้หู วัน่ กลัวการประเมนิ และวติ ก
กงั วลต่อปฏิสัมพนั ธท์ างการนิเทศ
7. การสงั เกตการสอนในกระบวนการนเิ ทศแบบร่วมพัฒนาจะเนน้ ทีก่ ารสงั เกตตนเองเชงิ เนน้
วัตถุประสงค์เปน็ หลกั โดยมเี คร่ืองมอื สงั เกตการสอนทสี่ อดคล้องกับจุดประสงค์ท่ตี อ้ งการนเิ ทศซ่งึ ขึน้ อยู่กับ
ปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน สว่ นการสังเกตการสอนโดยค่สู ญั ญาหรอื ผนู้ เิ ทศอน่ื ๆ เช่น
หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ หรอื ศึกษานเิ ทศก์ จะเกดิ ขึ้นได้ตอ่ เม่อื เป็นความตอ้ งการของครูผูน้ ัน้
8. การวเิ คราะหพ์ ฤติกรรมการสอนของครู จะตอ้ งขน้ึ อยกู่ บั ข้อมลู ท่ไี ด้จากการสังเกตการสอน
ไมใ่ ชจ่ ากความคิดเหน็ ส่วนตวั คา่ นิยม หรอื ประสบการณข์ องผนู้ เิ ทศเอง
9. การใช้ขอ้ มูลปอ้ นกลบั หลังจากการสังเกตการสอน และการวิเคราะห์พฤติกรรมการสอนผนู้ เิ ทศ
จะใช้เทคนคิ นเิ ทศทางอ้อม เพือ่ พัฒนาใหค้ รสู ามารถวางแผนการสอนได้เอง วิเคราะหก์ ารสอนของตนเองได้
ประเมินผลการสอนของตนเองได้ และสามารถนเิ ทศตนเอวไดใ้ นทส่ี ุด
10. การปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศ ยดึ หลกั การนเิ ทศแบบมีสว่ นรว่ ม คอื ท้ังผ้นู เิ ทศและผรู้ ับการนเิ ทศจะ
ทำงานร่วมกนั ทั่งกระบวนการ ตง้ั แตก่ ารหาความตอ้ งการจำเปน็ ในการนเิ ทศ การกำหนดวัตถุประสงค์ในการ
นเิ ทศ การวางแผนการนิเทศ การดำเนินการนเิ ทศและการประเมินผลการนิเทศด้วยความเสมอภาคกัน ยอมรับ
ยกยอ่ ง ใหเ้ กยี รตซิ ่งึ กนั และกนั ในฐานะผู้ร่วมวิชาชพี
19
11.ในกระบวนการนิเทศแบบรว่ มพฒั นา ได้ให้ความสำคญั ต่อการเสรมิ ขวัญและกำลังใจแก่ผู้
ปฏบิ ตั กิ ารในทุกขั้นตอนของการดำเนินงาน ทั้งนี้เพอื่ ให้ครูเกิดความภาคภูมใิ จและเกดิ ความสุขในวิชาชพี มีพลังท่ี
จะแก้ไข ปรบั ปรงุ การปฏิบตั ิงาน แลละมีความพึงพอใจท่ีจะนำขอ้ นิเทศไปปฏิบัตใิ หเ้ กิดผลอย่างต่อเน่อื ง
12. การนเิ ทศแบบรว่ มพัฒนา เปน็ การนิเทศทย่ี ดึ วัตถปุ ระสงคเ์ ปน็ หลกั สำคญั ในการแกป้ ัญหาและ
พฒั นาการเรียนการสอน เป็นการทำงานอยา่ งเป็นระบบ แตส่ ามารถยดื หย่นุ ไดต้ ามสถานการณ์ท่ีเหมาะสม
13. เป็นการนเิ ทศทีย่ ดึ หลักการเชงิ มนุษย์นิยม เปน็ การทำงานร่วมกนั ดว้ ยความจริงใจ เชอื่ มน่ั
เข้าใจซ่งึ กันและกัน ช่วยเหลือรว่ มมอื และสนับสนุนต่อกนั ในการพัฒนาความก้าวหนา้ ทางวชิ าชีพ
14. ผนู้ ิเทศและครมู ีโอกาสวเิ คราะห์พฤตกิ รรมการนิเทศและปฏิสมั พันธ์ทางการนิเทศร่วมกนั เพอื่
จะไดแ้ ก้ไขข้อบกพรอ่ ง และช่วยกนั วางแผนในการพฒั นาปฏิสัมพนั ธ์ทางการนเิ ทศให้เกิดประสทิ ธิภาพและ
สมั พันธภาพท่ดี ีตอ่ กัน
15. มรี ปู แบบในการสรา้ งและพัฒนาเครอื ข่ายแนวรว่ มในการขยายผลตามลำดบั ข้ันของการมีส่วน
ร่วม เปน็ การสร้างแรงจูงใจใหแ้ ก่ผู้ดำเนินงาน และผทู้ ีม่ คี วามสนใจจะอาสาเข้ารว่ มดำเนนิ งาน ใชเ้ ทคนคิ วิธกี าร
ขยายผลโดยการ "ขายตรง" และ "การมีสว่ นร่วม" โดยค่อยๆขายบความคิดและเชญิ ชวนให้เข้ามามีส่วนร่วมทล่ี ะ
นอ้ ย ในฐานะ "เพอื่ นร่วมอดุ มการณ์"จนกว่าจะเกดิ ความพร้อมทีจ่ ะอาสาเขา้ รว่ มดำเนินการด้วยอยา่ งเต็มตวั และ
เม่อื เขา้ ร่วมดำเนนิ การแล้ว มีผลการดำเนนิ งานดีเด่น มปี ระสิทธภิ าพ มเี ครือข่ายแนวร่วมเป็นจำนวนมาก กจ็ ะ
ไดร้ บั การเสริมแรงในลกั ษณะตา่ งๆ ซึง่ เทคนคิ น้ีเรยี กวา่ เทคนคิ "การสรา้ งรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธ์ิ" เพอ่ื การพฒั นาที่
ต่อเน่ืองและไมห่ ยุดย้งั
กระบวนการนิเทศแบบร่วมพฒั นา
ขั้นท่ี 1 การวางแผนการดำเนินงาน (Planning-P) เป็นขน้ั ตอนท่ีผมู้ ีสว่ นร่วมในการดำเนินงานทุกฝ่ายจะ
ประชมุ หารือกนั ถึงปญั หาในการจดั การเรียนการสอนท่ีเป็นปญั หาสำคญั เร่งด่วนควรแกไ้ ขก่อน และหรอื นโยบาย
ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนโดยจะระดมสมองหาความต้องการจำเป็น ( Need
Assessment) ในเรื่องที่จะต้องมีการนิเทศ รวมทั้งร่วมกันวางแผนและกำหนดขั้นตอนการปฏบิ ัติงานนเทศ ซึ่ง
อาจจะดำเนนิ การในลักษณะของงานหรือโครงการนเิ ทศเพ่ือแกป้ ัญหา หรือพฒั นาการเรยี นการสอน
ขั้นที่ 2 การเสริมสร้างความรู้ในการปฏิบัติงาน (Informing-I) เป็นขั้นตอนของการทำความเข้าใจ
กระบวนการนิเทศท้ังระบบ และวิธกี ารดำเนินงานในแต่ละขนั้ ของการนิเทศ เพอื่ ให้ผู้ดำเนนิ งานมีความรู้ ความ
เข้าใจ มีทักษะ และมีเทคนิคในการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพขั้นตอนนี้นอกจากจะเป็นการช่วยให้ผู้
ดำเนินงานสามารถทำงานได้อย่างมีคุณภาพแล้ว ยังเป็นการเสริมสร้างความมั่นใจในการทำง านให้แก่ผู้
ดำเนินงานอีกดว้ ย
ขั้นที่ 3การปฏิบัติงานตามแผน (Doing - D) เมื่อผู้ดำเนินงานได้ผ่านขี่นตอนการวางแผนและขั้นตอนการ
เสรมิ สร้างความรู้ในการปฏิบัตงิ านไปแล้ว การปฏิบตั งิ านตามแผนทวี่ างไว้ในแต่ละขัน้ ตอนอย่างเป็นระบบทั้งใน
ส่วนของผู้ให้การนิเทศ ผู้รับการนิเทศ และผู้สนับสนุนการนิเทศก็จะดำเนินไปตามปฏทิ ินปฏิบตั ิงานที่ได้รตกลง
รว่ มกนั และกำหนเดไวใ้ นแผน โดยจะไดร้ ับความช่วยเหลอื และรว่ มมอื จากผ้นู ิเทศภายนอก เช่น ศึกษานเิ ทศก์ ครู
20
ผู้รว่ มนเิ ทศ ศูนยพ์ ัฒนาการเรียนการสอน และเครอื ขา่ ยจากหน่วยงานต่างๆท้งั ภาครัฐและเอกชน รวมท้ังผู้นิเทศ
ภายในโรงเรียนเช่น หัวหน้ากลุ่มสาระ คู่สัญญา รองผู้อำนวยการสถานศึกษาฝ่ายวิชาการและผู้บริหาร
สถานศึกษา
ขนั้ ท่ี 4 การประเมินผลการปฏิบัตงิ าน (Evaluation - E) การประเมินผลการปฏิบัตงิ านหรือโครงการนิเทศ
ควรดำเนินการประเมินทั้งระบบ เพื่อให้ทราบประสิทธิภาพของโครงการจึงควรจะประเมินสิ่งต่างๆ ตามลำดับ
ของความสำคญั ดังนี้
4.1 ผลผลิตที่ได้จากการนิเทศ (Output) คือ สัมฤทธิผลการเรียนของผู้เรียน และการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้รับการนิเทศตามเป้าหมายของการนิเทศนั้น ได้แก่ ผลที่เกิดขึ้นจากการนิเทศ
(ระดับความสามารถในการทำงานของผู้รับการนิเทศ การเพิ่มจำนวนของบุคลากรทีม่ ีคุณภาพภายในหน่วยงาน
ความต้งั ใจในการทำงานของบุคลากร และความสมั พันธ์ระหว่างบุคลากรในหน่วยงาน) และผลทีเ่ กิดขึ้นระหว่าง
การดำเนินการนิเทศ(เจตคติของผู้รับการนิเทศที่มีต่องานและต่อผู้ร่วมงาน ระดับความพึงพอใจในการทำงาน
ความผกู พันของผ้รู ับการนเิ ทศท่ีมตี ่อเป้าหมายในการทำงาน ระดบั ของจุดมุ่งหมายท่ีจัดตั้งขึน้ ระดับความร่วมมือ
ร่วมใจที่มีต่อกลุ่มทำงาน ความเชื่อมั่นและความไว้ว่างใจในตนเอง เพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา และ
ความรสู้ ึกของผรู้ บั การนเิ ทศทม่ี ตี อ่ สภาพแวดล้อมในการทำงาน)
4.2 กระบวนการดำเนินงาน (Process) คือ ความเหมาะสมของขั้นตอนในการทำงาน ความ
เหมาะสมของการจัดกจิ กรรม ปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งผรู้ เิ ทศกับผูร้ บั การนเิ ทศและบรรยากาศในการทำงาน
4.3 ปัจจัยป้อนเข้า (Input) คือ การลงทุนในด้านทรัพยากรมนุษย์ วัสดุอุปกรณ์ สื่อการนิเทศ
เครื่องอำนวยความสะดวกต่าง ๆ งบประมาณการเงนิ รวมท้ังระยะเวลาท่ีใชใ้ นการดำเนนิ งานตามโครงการ
ข้นั ที่ 5 การเผยแพร่ขยายผล (Diffusing - D) ในรูปแบบท่หี ลากหลาย เพอื่ เป็นการเสรมิ สร้างขวัญและ
กำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน ส่วนการขยายเครืออข่ายการดำเนินงานนิเทศ โดยใช้เทคนิคการขายความคิด ให้เกิด
ความเชื่อถือ ศรัทธา แล้วจึงใช้เทคนิคการเชิญชวนให้เข้ามามีส่วนร่วมที่ละน้อย ในฐานะเพื่อร่วมอาชีพหรือ
อุดมการณ์ จนเกิดความพร้อมที่จะเข้าร่วมดำเนินการด้วยอย่างเต็มตัว ในฐานะ "ครูปฏิบัติการ" หรือ ฐานะ
"คู่สัญญา" และเมื่อดำเนินการงานได้ผลดี มีเครือข่ายแนวร่วมเพิ่มมากขึ้น ครูปฏิบัติการก็จะได้ปรับเปลี่ยน
บทบาทขนึ้ เป็นผู้นิเทศเครือข่ายผู้ปฏิบตั กิ ารร่นุ ต่อไป ซง่ึ นบั วา่ เปน็ การให้แรงเสริมแกผ่ ปู้ ฏบิ ัติงาน หรอื เรียกว่าใช้
เทคนิค "การสร้างแรงจงู ใจใฝ่สมั ฤทธ"์ิ นับวา่ เป็นกลวธิ กี ารเผยแพรแ่ ละขยายผลที่มีประสิทธิภาพ โดยเน้นความ
พร้อมหรือความสมัครใจของครูเป็นหลัก ขั้นเสริม การร่วมใจและการเสริมสร้างขวัญและกำลังใจ
(Cooperating - C Reinforcing - R) นบั ว่าเป็นกลไกสำคัญทจ่ี ะทำให้ผลการดำเนินงานได้ทัง้ คน งานและจิตใจ
ทผี่ ูกพันอย่กู ับงาน
21
กระบวนการนเิ ทศการสอนแบบรว่ มพัฒนา
กระบวนการนเทศการสอนแบบร่วมพัฒนา เป็นกระบวนการนิเทศการสอนในชั้นเรียนอย่างมี
ระบบครบวงจร โดยเน้นการสังเกตการสอนอย่างมีวัตถุประสงค์ เพื่อนำข้อมลู มาแก้ปัญหาและพัฒนาการเรียน
การสอน โดยมขี ัน้ ตอนการดำเนินงาน ดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 คู่สัญญาตกลงร่วมกัน เป็นขั้นตอนทคี่ รู 2 คนที่สนิทสนมไว้วางใจซ่ึงกันและกัน
ไดต้ กลงร่วมกันในการท่ีจะพัฒนาทักษะวิชาชีพ โดยมีวัตถุประสงค์จะรว่ มกนั แก้ปญั หาการจัดการเรียนการสอน
หรือปรับปรุงพฤติกรรมการสอน โดยฝ่ายหนึ่งเป็นผู้สอน และอีกฝ่ายหนึ่งทำหน้าที่เป็นคู่สัญญา คอยให้ความ
ช่วยเหลือ แนะนำ ให้คำปรึกษาและให้กำลังใจ ซ่ึงสัมพันธภาพของคู่สัญญา จะดำเนินไปในลักษณะของเพื่อน
ร่วมอาชีพที่มเจตนารมณ์และอมุ การณ์เดียวกัน ความสัมพันธ์ของคู่สัญญาทั้งสองจะอยู่บนพื้นฐานของความ
เป็นประชาธิปไตย ความเสมอภาค การยอมรับซึ่งกันและกัน มีความจริงใจ ให้เกียรติกัน มีความพร้อมที่จะ
ร่วมมือชว่ ยเหลือกันในการแก้ปญั หา และพัฒนาการเรยี นการสอนให้เกดิ สมั ฤทธิผลจนเป็นทพี่ อใจรว่ มกัน
ขั้นตอนท่ี 2 วิเคราะห์ปญั หาการเรยี นการสอนรว่ มกนั เป็นข้นั ทีค่ รูผสู้ อนจะนำปญั หาท่ีพบใน
การจัดการเรยี นการสอนมาปรึกษาหารือกับคู่สัญญา เพอ่ื แลกเปลย่ี นประสบการณ์ในการแก้ปัญหา และร่วมกัน
วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ซึ่งอาจใช้แผนภูมิก้างปลาในการศึกษาสาเหตุของปัญหา และช่วยกันรวบรวม
ข้อมูลต่าง ๆ ที่จะเป็นแนวฃทางในการวางแผนแก้ปัญหา โดยอาจนำปัญหาและสาเหตทุ ี่วิเคราะหไ์ ดไ้ ปปรกึ ษา
หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ซึ่งมีบทบาทเป็นผนู้ ิเทศโดยตรงอยูแ่ ลว้ หรอื ปรกึ ษาหารอื เพือ่ นร่วมงานในกล่มุ สาระ
การเรยี นรู้ ซึ่งอาจเป็นผเู้ ชรายวชาญหรือมีประสบการณ์เกีย่ วกบั ปญั หาในลักษณะเดยี วกันมาแล้ว
ขั้นตอนที่ 3 กำหนดวตั ถุประสงค์ในการแก้ปัญหาหรือพฒั นา เป็นข้นั ตอนทีผ่ สู้ อนจะตกลงใจ
เลือกปัญหาที่สำคัญ และต้องการแก้ไขกอ่ นมาระบุวัตถุประสงค์ในการแกป้ ัญหาหรือพัฒนา ส่วนคู่สัญญาจะมี
หน้าท่คี อยเปน็ คู่คดิ ให้คำปรึกษาและให้กำลงั ใจ
ขั้นตอนที่ 4 วางแผนการสอนและผลิตสื่อ เป็นขั้นตอนที่ผู้สอนจะนำจุดประสงค์การเรียนรู้
และเนื้อหาที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนทั้งจากในบทเรียน และสื่ออื่น ๆ มาวิเคราะห์ร่วมกับคู่สัญญา เพื่อวาง
แผนการสอนและเตรียมการผลิตสื่อประกอบการสอน โดยคู่สัญญาจะทำงานร่วมกันกับผู้สอนพร้อมทั้งช่วย
ปรับปรงุ แก้ไขแผนการสอน และสอ่ื ให้มปี ระสทิ ธภิ าพยิ่งข้ึน โดยทั้งคจู่ ะรับผดิ ชอบรว่ มกันในผลของการสอน ใน
การณที ่ีผสู้ อนตอ้ งการใหค้ ู่สัญญาเข้าไปสงั เกตการสอน คู่สัญญาจะไดเ้ ขา้ ใจบทเรียนเพิม่ ขนึ้ จากการเขา้ ไปมีส่วน
ร่วมในการวางแผนการสอน เมื่อผู้สอนเตรียมการสอนเรียบร้อยแล้ว คู่สัญญากจ็ ะให้กำลังใจ เพื่อช่วยใหผ้ ู้สอน
เกดิ ความมัน่ ใจ และเกิดพลงั ทจี่ ะดำเนินการสอนใหเ้ กิดสัมฤทธิผลตามจุดประสงค์ทต่ี ง้ั ไว้
ขั้นตอนที่ 5 วางแผนการนิเทศการสอน เป็นขั้นที่ทั้งผู้สอนและคูส่ ัญญาจะวางแผนรว่ มกัน
โดยกำหนดวธิ กี ารและแนวปฏิบัตใิ นการสงั เกตการสอนในชน้ั เรียน รวมทงั้ ช่วยกันสร้างเครื่องมอื สังเกตการสอน
ที่เฉพาะเจาะจงตามวัตถุประสงค์ในการนิเทศแต่ละครั้งหรือเลือกเครื่องมือสังเกตการสอนที่มีอยู่แล้ว และทำ
ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือสังเกตการสอนที่จะใช้รวมทั้งอุ ปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในขณะสังเกตการสอน
ตลอดจนสร้างข้อตกลงรว่ มกนั ว่าในขณะสอนและสังเกตการสอน ผู้สอนจะอนญุ าตให้คู่สัญญาเข้าไปสังเกตการ
สอนอยู่หลงั ช้ันเรียน หรอื จะให้คู่สัญญามสี ่วนรว่ มในการจดั การเรียนการสอนหรอื ร่วมกิจกรรมด้วย ตลอดจนตก
22
ลงร่วมกันว่าจะแจ้งให้ผู้เรียนทราบหรือไม่ว่าคาบเรียนรี้จะมีผู้มาสังเกตการสอน จะสังเกตตลอดทั้งคาบลเรียน
หรอื ชว่ งเวลาหนง่ึ ทงั้ น้ี ข้อตกลงท้ังหมดตอ้ งอยใู่ นความยินยอมพร้อมใจ หรอื ความตอ้ งการของผสู้ อนทัง้ สนิ้ เพื่อ
ผสู้ อนจะได้สบายใจไม่วิตกกังวลต่อพฤติกรรมการสงั เกตการสอนของคู่สัญญา ในกรณีที่ผู้สอนตอ้ งการจะสังเกต
การสอนด้วยตนเอง คู่สัญญาก็จะมีหน้าที่เพียงให้ความร่วมมือช่วยเหลือและให้ข้อเสนอแนะในการสร้างหรือ
เลือกใช้เครอื่ งมอื สงั เกตการสอนทีเ่ หมาะสมเทา่ นั้น
ขั้นตอนที่ 6 สอนและสังเกตการสอน เป็นการรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับพฤติกรรมการเรียนการ
สอนของนักเรยี นและครู ตลอดจนสภาพการณฺทกุ อย่างท่ีเกิดขึ้นในหอ้ งเรียน การสังเกตการสอนเปรยี บเสมือน
การนำกระจกบานใหญ่ไปตั้งไว้หลังวชั้นเรียน เพื่อสะท้อนให้เห็นว่าในห้องเรียนนั้นมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง และผู้
สังเกตก็จะบันทึกข้อมูลที่รวบรวมได้ไปวิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือพิจารณา วินิจฉัย เพื่อหาแนวทางในการ
ปรบั ปรงุ แก้ไขพฤตกิ รรมการเรยี นการสอนต่อไป
ขั้นตอนที่7วิเคราะห์ผลการสอนและผลการสังเกตการสอน เป็นขั้นที่คู่สัญญาจะร่วมกัน
วิเคราะหข์ ้อมูลทรี่ วบรวมได้จากการสังเกตการสอน ซ่ึงจะคน้ พบพฤติกรรมทง้ั ที่ประสบความสำเร็จอย่างเด่นชัด
ของผู้สอน และพฤติกรรมที่ควรปรับปรุง แก้ไข ในด้านต่าง ๆ ซึ่งผู้สังเกตได้รวบรวมไว้ทั้งหมด ตลอดจนข้อมูล
หรือเหตุการณืต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในขณะการเรยี นการสอนกำลังดำเนินอยู่ ผู้สังเกตการสอนและผู้สอนจะร่วมกนั
วิเคราะห์ แปลความ ตีความพฤติกรรมท่ีสังเกตได้ และนำผลการวิเคราะห์ มาอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนร้ซู ึ่งกัน
และกันบนพื้นฐานของความเสมอภาคจรงิ ใจ และมีความมุ่งหวงั อย่างเดยี วกนั คือ การพัฒนาคุณภาพการเรียน
การสอน
ขั้นตอนที่ 8 ให้ข้อมูลป้อนกลับซึ่งกันและกัน เป็นขั้นตอนเสรมี สร้างขวัญ ที่ผู้ทำหน้าที่นิเทศ
จะต้องใชเ้ ทคนิคหรอื กลวธิ หี รอื ทกั ษะท่ีละเอียดออ่ น ทม่ี ปี ระสิทธิภาพ (เทคนคิ วธิ กี ารนเิ ทศทางออ้ ม ของ นิพนธ์
ไทยพานชิ ดงั นี้ คอื ผนู้ ิเทศจะตอ้ งพูดน้อย ฟงั มาก ยอมรับและใช้ความคิดของครใู ห้เปน็ ประโยชน์ต่อการนิเทศ
ใชค้ ำถามช่วยคลี่คลายทำให้กระจ่างชัดเจนข้นึ ให้คำยกย่อง ชมเชยในผลงานของครู หลกี เล่ียงการให้คำแนะนำ
โดยตรง หากจำเป็นควรเสนอทางเลือกให้หลาย ๆ วิธีเพื่อให้ครูเลือกวิธีการที่เหมาะสมเอง การสนับสนุนครูคำ
พ๔ด แบะการยอมรบั และใชค้ วามรสู้ ึกของครูให้เป็นประโยชน์ หรอื ใชแ้ ซนวชิ เทคนิค ของ Bittlle ดงั น้ี ชมเชย
ยกย่อง ยอมรับในผลงานที่ประสบความสำเร็จของครู อภิปราย-พูดคุยถึงพฤติกรรมที่ควรปรับปรุงแก้ไขเพียง
เล็กน้อย สรุปผลงาน แนะวิธีแก้ไข ให้กำลังใจครูซ้ำอีกเพื่อจะได้เกิดพลังในการนำข้อเสนอแนะไปปฏิบัติให้
เกิดผล) ประกอบกับต้องมีศิลปะในการพูดผนวกกับการใช้จิตวิทยาในการให้คำปรึกษาซึง่ ไม่ควรให้มากเกินไป
และไมค่ วรให้ในสิง่ ที่เปน็ ข้อจำกดั ผ้นู เิ ทศจะตอ้ งเลอื กเฉพาะพฤตกิ รรมทค่ี าดคะเนวา่ ครจู ะสามารถปรับปรุงหรือ
เปลย่ี นแปลงได้เทา่ น้ัน การใหข้ ้อมลู ป้อนกลับ ต้องคำนึงสมั พนั ธภาพทางวิชาชีพท่ตี งั้ อยูบ่ นพน้ื ฐานของพฤติกรรม
ดังต่อไปนี้ คือ ต้องเกิดจากความต้องการของครู มุ่งพัฒนาทักษะวิชาชีพ ร่วมมือกันในฐานะเพื่อนรว่ มวิชาชีพ
มุ่งเฉพาะพฤตกิ รรมการเรียนการสอนไม่ใชบ่ ุคลกิ ภาพของครู ครมู ีความพร้อมท่จี ะรับ สถานท่ีและจังหวะเวลาที่
เหมาะสม ครูมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน อย่าให้มากเกินไป หลีกเลี่ยงการใช้คำนิยมส่วนตัว ให้ในลักษณะเชิญชวน
ไมใ่ ชก่ ารวดั ผลการสอนของครู อย่บู นพื้นฐานของการนเิ ทศทางอ้อม ประชาธิปไตย เสมอภาค จรงิ ใจ ให้เกียรติ
กัน ยอมรบั ซง่ึ กนั และกนั
23
ขั้นตอนที่ 9 วางแผนการสอนและการนิเทศการสอนต่อเนื่อง เป็นการเริ่มต้นวัฏจักรของ
กระบวนการนเิ ทศอีกรอบหนึ่ง เพ่อื ให้ครู และผูน้ เิ ทศมีโอกาสทบทวนกระบวนการเรียนการสอนร่วมกันอีกคร้ัง
หนึ่ง และมีโอกาสเลือกพฤติกรรมการเรียนการสอนที่ประสบความสำเร็จไปในการสอนครั้งต่อไป รวมทั้งเลือก
พฤตกิ รรมการเรยี นการสอนท่ีควรปรับปรงุ ในวัฏจกั รเก่าไปรว่ มกันศึกษาหาแนวทางและวางแผนในการปรับปรุง
โดยการนำพไปทดลองสอนและสังเกตการสอนอีกครั้งหนึ่งในวัฏจักรใหม่ เทคนิคในการนิเทศของผู้นิเทศและ
ความมงุ่ ม่นั ของผรู้ บั การนเิ ทศจะนำไปสู่ความเปน็ ครมู อื อาชีพ (Professional Teacher)
ท่มี า : (ศริ วิ รรณ์ ฉายะเกษริน 2542)
http://www.suphet.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=97360&Ntype=5
24
สว่ นที่ 3
ผลการดำเนินงาน
ผลการใช้นวัตกรรม การนิเทศการศึกษา
ผลเกิดข้นึ กบั สถานศึกษา
1. ขอ้ มลู สารสนเทศของสถานศึกษา
1.1 วิเคราะห์สภาพแวดล้อม ประเมินสถานภาพสถานศึกษา เพื่อกำหนดวิสัยทัศน์
ภารกจิ เปา้ หมาย คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
1.2 จัดทำโครงสรา้ งหลักสูตร สาระตา่ ง ๆ ทกี่ ำหนดใหม้ ีในหลกั สูตรสถานศึกษา และ
ออกแบบแผนการเรียนรปู้ ระจำฐานการเรยี นรู้
1.3 นำหลักสตู รไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน
1.4 นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม การจดั กจิ กรรมการเรยี นรภู้ ายในสถานศึกษา
1.5 ปรบั ปรงุ พัฒนา และเผยแพร่
2. การดำเนินงาน/การบริหารจัดการของสถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศกึ ษาและแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี มคี ำสง่ั มอบหมายงาน ในรปู ของคณะกรรมการนเิ ทศภายใน
สถานศกึ ษามีแผนการนิเทศ กำกบั ตดิ ตาม การจัดกิจกรรมการเรยี นร้ดู ำเนินการนเิ ทศ ติดตาม อยา่ งต่อเนอ่ื ง
สรปุ รายงานผล เพ่ือปรบั ปรุง พฒั นาเปน็ ระยะๆ
3. การมเี ครือข่ายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
3.1 สร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ร่วมวางแผน ร่วม
ดำเนนิ กจิ กรรมอย่างตอ่ เนอ่ื ง
3.2 ชุมชน เครือข่าย คณะกรรมการสถานศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วน
ร่วมกันการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ นิเทศ กำกบั ติดตาม รว่ มกันอย่างต่อเนื่อง
3.3 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และถอดบทเรียน องค์ความรู้ร่วมกันกับชุมชน ภาคี
เครือขา่ ยของแต่ละ กศน.ตำบล โดยการจัดกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นเวียนไปแต่ละฐานการเรียนรใู้ นตำบล
3.4 สรปุ การแลกเปลี่ยนผลการปฏิบัตงิ านเพือ่ สะท้อนผลและแนวทางการพัฒนาต่อไป
โดยการจดั ประชมุ บุคลากร กศน.อำเภอแมพ่ ริกและเครอื ขา่ ย เพ่อื การพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั
4. การยอมรับท่ีมีตอ่ สถานศึกษา
4.1 ผบู้ รหิ ารยอมรับและใหก้ ารสนับสนุนการพฒั นานวัตกรรมดา้ นการนิเทศการศกึ ษา
4.2 ครผู ู้สอนยอมรับและใหค้ วามรว่ มมอื ในการดำเนนิ งานการพฒั นาตามนวตั กรรมท่ี
รว่ มกนั สร้างสรรค์แนวทางการพัฒนาข้ึน
25
4.3 นักศึกษามีสว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรียนร้ตู ามนวัตกรรมอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
4.4 ภาคี เครือข่ายและชุมชนให้การสนบั สนนุ มสี ่วนรว่ มในการเป็นวทิ ยากรใหค้ วามรู้
แหล่งเรยี นรู้ใหก้ บั นกั ศกึ ษาในการพัฒนานวตั กรรม
4.5 ครู มีความพงึ พอใจในระดับดีขึน้ ไป ร้อยละ 86.67
ผลทเ่ี กิดข้ึนกบั ครผู สู้ อน
1. การออกแบบการจัดการเรียนรู้
1.1 มีการนำรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบ
โรงเรียน(N-net) ของแต่ละระดับ ในรายวิชาที่ต่ำกว่าระดับประเทศ มาวิเคราะห์เพื่อวางแผน ออกแบบการ
จดั การเรียนรู้
1.2 กำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์สภาพความต้องการ สร้าง
ฐานการเรยี นรูท้ ่ีสอดคล้องกับผ้เู รยี น
1.3 ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แผนฐานการเรียนรู้ บูรณาการให้สอดคล้อง
กบั มาตรฐานรายวิชาท่ีลงทะเบียนเรียน
1.5 ใช้หลกั การการนเิ ทศ และ ทฤษฎี 4C ร่วมกบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1.5 มีแผนการจัดกิจกรรมโดยเน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ โดยบูรณาการเข้ากับการพัฒนา
นวตั กรรมในฐานการเรียนรู้ ทมี่ อี งคป์ ระกอบของแผนการเรียนรู้ครบถ้วนและผ่านการตรวจสอบแผนการเรียนรู้
ก่อนนำไปใชจ้ ริงไดร้ ับการตรวจสอบว่ามคี วามถกู ต้อง เหมาะสมจากผูเ้ ช่ียวชาญ
การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามแผนฐานการเรยี นรู้ ผเู้ รียนมสี ว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ ใชส้ อื่ นวัตกรรม เทคโนโลยีมาประกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ที่มีความหลากหลายมีการกำกับ นิเทศ
ตดิ ตาม เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ มีการปรับปรงุ และพัฒนากิจกรรมการเรยี นรูอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง
การพฒั นาสอื่ การเรยี นรู้
ครูมีการออกแบบและพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ เหมาะสมและ
สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบ เลือกใช้สื่อ นวัตกรรม แหล่งเรียนรู้
สอดคลอ้ มกับผู้เรียนและกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่จัดข้นึ พรอ้ มท้งั รว่ มกันผลติ และพฒั นาคณุ ภาพของส่ือ นวัตกรรม
และแหล่งเรียนรู้ มีการประเมินการใช้สื่อ โดยการมีส่วนร่วมของผู้เรียน นำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนา
ปรบั ปรุงส่อื การเรียนรใู้ หม้ คี ุณภาพ
การวัดและประเมินผล
มเี คร่ืองมอื วธิ กี ารวัด ประเมนิ ผลทีส่ อดคล้องกบั วัตถุประสงคข์ องนวตั กรรมสร้างและ
พัฒนาคณุ ภาพของเครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการวัด ประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้กำเกณฑก์ ารประเมินที่ชัดเจน
ในกจิ กรรมแตล่ ะฐานการเรยี นรู้ ใชผ้ ลของการวดั และประเมนิ ผล ในการออกแบบ วางแผน และดำเนินการ
26
พฒั นา คณุ ภาพทางการศกึ ษา ทง้ั ดา้ นการบรหิ าร การจัดการเรยี นรู้ การกำกบั นิเทศ ตดิ ตามอย่างเป็นระบบ
และต่อเนื่อง ร่วมกันวิเคราะห์ผลสรุปการวัดและประเมินผล นำสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศยั อยา่ งตอ่ เนื่อง
ผลทีเ่ กดิ ขึน้ กับผเู้ รียน
ผเู้ รียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ การศกึ ษานอกระบบโรงเรียน
(N-NET)ในแตล่ ะรายวิชาเพม่ิ ขึ้น
รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET)
กศน.อำเภอแมพ่ ริก
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
ลำดบั ที่ รายวิชาชา 2562 2563 ผลตา่ ง
คา่ เป้าหมาย
1 ทกั ษะการเรียนรู้ สถานศึกษา 12 เพม่ิ ขึ้น
2 ภาษาไทย 37.50 40.07 เพิ่มขึ้น
3 ภาองั กฤษ 40.83 48.13 50.56 ลดลง(สงู กว่าค่าเป้าหมาย)
4 คณิตศาสตร์ 53.75 38.13 31.67 ลดลง
5 วิทยาศาสตร์ 20.00 24.17 20.74 เพิ่มขน้ึ
6 ช่องทางการพัฒนาอาชพี 35.00 15.00 24.44 เพมิ่ ขน้ึ
7 ทักษะการพัฒนาอาชพี 13.33 36.25 53.33 เพิ่มขน้ึ
8 พัฒนาอาชีพใหม้ คี วามเข้มแขง็ 50.00 41.88 42.78 เพม่ิ ขึ้น
9 สขุ ศึกษา พลศกึ ษา 31.25 15.00 30.00 ลดลง
10 เศรษฐกจิ พอเพียง 27.50 67.50 55.56 เพมิ่ ข้นึ
11 ศิลปศึกษา 60.00 51.25 61.11 เพ่มิ ขึ้น
12 สงั คมศกึ ษา 67.50 21.25 60.00 ลดลง
13 ศาสนาและหนา้ ที่พลเมอื ง 25.00 40.00 36.67 เพ่ิมข้นึ
14 การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม 42.50 37.50 56.67 ลดลง(สูงกว่าคา่ เป้าหมาย)
20.00 50.00 40.00
30.00
27
จากตารางดังกล่าว ขา้ งตน้ นี้ เมอื่ มนี ิเทศ กำกบั ติดตาม การจัดการศกึ ษานอกระบบระดับ
การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ดว้ ยกระบวนการนเิ ทศแบบ 4C ผนวกกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2 เงอื่ นไข 3
หลักการ 4 มิติ ที่มผี ูน้ เิ ทศคอยชว่ ยเหลอื ครู กศน.ตำบล ด้วยกระบวนการ ประสานสร้างมติ ร รว่ มคดิ รว่ มทำ
เรียนรูไ้ ปด้วยกนั และ สรา้ งสรรคผ์ ลงาน ภายในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 เง่อื นไข คอื ความรู้
คุณธรรม 3 หลกั การ คอื ความพอประมาณ มเี หตุผล ภูมคิ ุ้มกนั และ 4 มติ ิ คือ ด้านวัตถุ ด้านสังคม ด้าน
สิ่งแวดลอ้ ม และ ด้านวฒั นธรรม พบวา่ ผ้เู รยี นมีผลสมั ฤทธิ์จากภาคเรียนที่ผา่ น จำนวน 9 รายวิชา คือ รายวชิ า
ทกั ษะการเรยี นรู้ ผ้เู รยี นมผี ลสัมฤทธ์พิ เพ่มิ ข้นึ 2.57 รายวชิ าภาษาไทย ผ้เู รยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ เพิ่มขึ้น 2.43 รายวิชา
วทิ ยาศาสตร์ ผเู้ รียนมผี ลสัมฤทธิ์ เพิ่มขน้ึ 9.44 รายวชิ าช่องทางการพัฒนาอาชีพ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ เพ่ิมขน้ึ
17.08 รายวิชาทักษะพัฒนาอาชพี ผู้เรียนมีผลสมั ฤทธิ์ เพิม่ ข้นึ 0.90 รายวชิ าพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง
ผเู้ รียนมีผลสมั ฤทธิ์ เพม่ิ ข้นึ 15.00 รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผู้เรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ เพมิ่ ขึน้ 9.86 รายวิชา
ศลิ ปศกึ ษา ผู้เรยี นมีผลสัมฤทธิ์ เพ่ิมขึน้ 38.75 รายวชิ าศาสนาและหนา้ ท่พี ลเมอื ง ผเู้ รียนมผี ลสัมฤทธ์ิ เพม่ิ ขึน้
19.17 และ พบกว่า มีรายวชิ าทล่ี ดลง แต่ยงั สูงกวา่ ค่าเปา้ หมายท่กี ำหนดไวใ้ นปงี บประมาณ 2563 จำนวน 2
รายวชิ า คอื รายวชิ าภาษาองั กฤษ ผเู้ รียนมผี ลสัมฤทธส์ิ ูงกวา่ ค่าเปา้ หมายที่กำหนดไว้ 11.67 และ รายวิชาการ
พัฒนาตนเอง ชมุ ชนและสงั คม ผเู้ รยี นมีผลสัมฤทธส์ิ ูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ 11.67 และวิชาท่ียงั ลดลง
จำนวน 3 รายวิชา ไดแ้ ก่ รายวชิ าคณิตศาสตร์ รายวชิ าสขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา และ รายวชิ าสังคมศึกษา
ความพงึ พอใจต่อการใช้นวตั กรรม การนเิ ทศติดตามและประเมินผล
ผู้บริหาร มีความพึงพอใจ ในระดับร้อยละ 94 ซึ่งให้การยอมรับและสนับสนุนในการพัฒนา
นวัตกรรมอย่างต่อเนอื่ ง
ครูผู้สอน มีความพึงพอใจ ในระดับร้อยละ 88 ให้การยอมรับและร่วมมือในการดำเนินงาน
พัฒนาตามแผนการดำเนินงาน
คณะกรรมการนเิ ทศภายในสถานศึกษา มีความพงึ พอใจ ในระดบั ร้อยละ 90 ซ่ึงมีผู้รู้ ภมู ิปัญญา
เครอื ขา่ ย ใหก้ ารสนับสนนุ ร่วมเป็นวทิ ยากรให้ความรู้ อำนวยความสะดวก แหลง่ เรียนร้ใู ห้ผ้เู รียนได้เข้าไปศึกษา
เรยี นรู้ไดต้ ลอด
28
ภาคผนวก
29
คำส่ังศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอแมพ่ รกิ
ท่ี 001.1 / 2564
เรอ่ื ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการนเิ ทศภายในสถานศึกษา
ด้วยนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ 2564 ข้อที่ 6
ด้านบุคลากรระบบการบริหารจดั การ และการมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วน 6.4 การกํากับ นิเทศติดตามประเมนิ
และรายงานผล 1) สรางกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนนิ งานการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยใหเชอื่ มโยงกบั หนวยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือขายท้ังระบบ 2) ใหหนวย
งานและสถานศึกษาท่ีเกี่ยวของทุกระดบั พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและรายงานผลการนํานโยบายสู
การปฏบิ ัติ ใหสามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแตละเรอ่ื งไดอยางมีประสิทธภิ าพ 3)สงเสริมการ
ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร และส่ืออ่นื ๆ ทเี่ หมาะสม เพอื่ การกาํ กบั นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และ
รายงานผล อยางมีประสิทธิภาพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการ
ปฏบิ ตั ริ าชการประจําปของหนวยงาน สถานศกึ ษา เพอ่ื การรายงานผลตามตัวช้วี ัดในคาํ รับรองการปฏิบัตริ าชการ
ประจําป ของสํานักงาน กศน.ใหดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาท่ี
กําหนดใหมีการเชื่อมโยงระบบการนเิ ทศในทุกระดับ ทั้งหนวยงานภายในและภายนอกองคกร ตั้งแตสวนกลาง
ภมู ิภาค กลุมจงั หวดั จังหวัด อาํ เภอ/เขต และตําบล/แขวง เพอ่ื ความเปนเอกภาพในการใชขอมลู และการพัฒนา
งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั น้ัน
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่พริก ได้เห็นความสำคัญของการนิเทศ
กำกับ ติดตาม และประเมนิ ผล เพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพงานการศึกษานอกระบบและงานการศึกษาตามอัธยาศัย
ให้การดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บรรลุวัตถุประสงค์ จึงอาศัยคำสั่งสำนักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ 489/2551 ลงวันที่ 21 เมษายน 2551 เรื่อง มอบอำนาจให้ผู้อำนวยการ
สถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ และผู้อำนวยการสถานศึกษาศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขต ปฏิบัติราชการแทน แต่งตั้งบุคลากรเป็นคณะกรรมการ
นเิ ทศ กำกบั ติดตามและประเมนิ ผล ภายในสถานศกึ ษา ดังตอ่ ไปนี้
1. คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศกึ ษา กศน.อำเภอแมพ่ ริก 30
1) นางจนั ทนี อนิ นนั ชยั ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอแม่พริก ประธานกรรมการ
กรรมการ
2) ว่าที่ รต.ปฎิพล สวุ รรณลพ ครู กรรมการ
กรรมการ
3) คณะกรรมการสถานศกึ ษาทุกคน กรรมการ
4) นางรัตนนิ ปฐมวงศ์ ครูอาสาสมคั ร กรรมการและเลขนกุ าร
5) นางสาวชนดิ า ยาลงั กา ครอู าสาสมคั ร
6) นางสาวปรชิ าติ ก้านบัวไชย ครูผูช้ ว่ ย
มีหน้าที่ นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม ประเมินและรายงานผล งานการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั
พ้นื ฐาน การส่งเสรมิ การรูห้ นังสือ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย งาน
การศึกษาตอ่ เน่อื ง และ งานการศึกษาตามอธั ยาศัย ของศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
อำเภอแม่พรกิ
2. คณะกรรมการนเิ ทศงานการศึกษาต่อเน่อื ง และงานการศกึ ษาตามอัธยาศยั
1) นางสาวพัชรียพ์ ร ภาสรุ วฒั น์ ครู กศน.ตำบล กรรมการ
2) นางมณั ฑนา จอมดวง ครู กศน.ตำบล กรรมการ
3) นางสาวอมั รนิ ทร์ กอ้ งธำรง ครู กศน.ตำบล กรรมการ
4) นางสาวนนชิ า ทาวิลูน ครู กศน.ตำบล กรรมการ
5) ผู้นำชุมชน กำนัน ผใู้ หญ่บ้าน ในพ้ืนที่ ท่จี ัดกิจกรรม กรรมการ
มีหนา้ ที่ นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผล งานการศึกษาตอ่ เน่ือง ด้านงานการศึกษาเพื่อ
พัฒนาอาชีพ งานการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวิต งานการศึกษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน และ งาน
การศึกษาตามอธั ยาศัย โดยนเิ ทศการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของวิทยากร ในเขตพ้นื ท่รี ับผดิ ชอบของแต่ละ
ตำบล พรอ้ มทง้ั รายงานผลให้กบั ผู้บรหิ ารสถานศึกษาทราบเป็นระยะ ๆ
ให้ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้ง ปฏิบัติตามคำสั่งอย่างเคร่งครัด รวดเร็ว เรียบร้อย ถูกต้อง และตระหนักรู้ใน
บทบาทหน้าท่ขี องตน มุง่ เนน้ ผลประโยชน์ของทางราชการเป็นหลกั เพ่อื ประโยชน์สูงสดุ ตอ่ ทางราชการ
ท้ังนี้ ตั้งแต่บัดน้ีเป็นต้นไป
สง่ั ณ วนั ที่ 5 เดอื น มกราคม 2564
31
(นางจันทนี อนิ นันชัย)
ผ้อู ำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอแม่พริก
ขอบเขตการดำเนนิ งาน 32
ปจั จยั สนบั สนุน กระบวนการนิเทศแบบ 4C
- ผูบ้ รหิ าร C1 :ประสานสร้างมติ ร(Coordinate)
- ครู C2 :ร่วมคิดร่วมทำ (Collaborate)
- งบประมาณ C3 :เรยี นรู้ไปด้วยกนั
- ภมู ปิ ญั ญา /ผรู้ ู้ (Co-Learning)
แหลง่ เรียนรู้ C4 :สรา้ งสรรคผ์ ลงาน (Create)
- ศาสตร์พระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
กิจกรรมฐานการเรยี นรู้
ฐานการเรียนรู้เรอื่ งนักรบใต้พภิ พ
ฐานการเรียนรเู้ รอ่ื งกล้วยๆ แต่ไม่กล้วย
ฐานการเรียนรู้เร่ืองเกษตรยกแคร่แบบแคร์คณุ
ฐานการเรียนฐรา้เูนรก่ือางรไผเร่มียหนัศรู้เจรร่ือรงยไ์ผม่ หศั จรรย์
ฐานการเรียนฐราเู้นรกื่อางรหเ้อรียงสนมรเู้ดุ รหื่อรงหรษ้อางสมดุ หรรษา
INPUT PROCESS
การมี
ส่วนรว่ ม
OUTCOME OUTPUT สถานศึกษามรี ปู แบบ
กระบวนการนเิ ทศแบบร่วม
พฒั นาการจัดการเรยี นรู้โดยน้อม
นำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
ผเู้ รยี นมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นเพ่ิมขึน้
ผู้บรหิ ารพัฒนากระบวนการนเิ ทศแบบ 4C โดยน้อมนำ
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ครูออกแบบ และจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ พฒั นาส่อื วัด
และประเมนิ ผลการเรียนรู้ โดยนอ้ มนำหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง 2 เงือ่ นไข 3 หลกั การ 4 มติ ิ สอดแทรก
ในกิจกรรมฐานการเรยี นรู้
33
แบบบันทึกการนิเทศผลการดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบขั้นพืน้ ฐาน
ดว้ ยกระบวนการนเิ ทศแบบ 4C รว่ มกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงอ่ื นไข 3 หลกั การ 4 มิติ
เพอ่ื พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน(N-NET)
คำชี้แจง ให้ศึกษานเิ ทศก์หรือผู้รับผดิ ชอบการนิเทศ สอบถาม สัมภาษณ์ ผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน ครูผู้สอน
และผทู้ ่ีเก่ยี วข้อง สังเกตสภาพจริง สถานท่ี กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลกั สูตร ส่ือ ฯลฯ
แลว้ บนั ทกึ ภาพ สภาพท่ีพบ (จดุ เด่น - จุดทคี่ วรพฒั นา) และขอ้ นเิ ทศ พร้อมท้ังขอ้ เสนอแนะ เพอื่ การพัฒนาลงใน
แบบบนั ทึกการนิเทศ
กศน.อำเภอ..................................................กศน.ตำบล/ศรช./ศศช. ................................................................
ผรู้ ับการนเิ ทศ.......................................................................................................................................................
ประเดน็ การนเิ ทศ สอดคลอ้ งกับ สภาพทพ่ี บ ระดับคะแนน
หลักปรัชญา 54321
ของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
1. ประสานสร้างมติ ร (Coordinate)
1.1 มีการประสานแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ความรู้
หลักสูตร
1.2 มคี วามม่งุ มั่นในการนำหลักสูตรไปใช้ คณุ ธรรม
อย่างมีประสิทธิภาพ
1.3 เน้ือหาของหลักสูตรสอดคล้องกับบรบิ ท ความ
สภาพความต้องการ ความจำเป็นของชมุ ชน พอประมาณ
และยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาจงั หวัด/ท้องถนิ่
1.4 มกี ารแจง้ วัตถปุ ระสงค์ของหลกั สูตรใน มเี หตผุ ล
การนำไปใช้
1.5 กระบวนการพฒั นาหลกั สูตรเป็นไปตาม ภูมคิ มุ กัน
ขัน้ ตอนของการพัฒนาหลกั สูตร มคี วาม
น่าเชือ่ ถือ มีการศึกษาวเิ คราะหข์ อ้ มูล/
ตรวจสอบคุณภาพและนำหลักสูตรไปใช้
ประเดน็ การนเิ ทศ สอดคลอ้ งกับ สภาพท่พี บ 34
หลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ ระดบั คะแนน
พอเพียง 54321
2. รว่ มคิดร่วมทำ (Collaborate)
2.1 มกี ารวิเคราะหร์ ายงานผลการทดสอบ ความรู้
ทางการศกึ ษาระดับชาติ ด้านการศกึ ษานอก
ระบบโรงเรียน (N-NET)
2.2 มีการนำผลการวิเคราะห์ข้อมูลไปใช้ใน ภมู ิคมุ้ กัน
การจัดแผนการสอนเพือ่ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของผ้เู รยี น
2.3 มีการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ี ความ
สอดคล้องกับสภาพปัญหาของผ้เู รยี น พอประมาณ
2.4 ครจู ดั กระบวนการเรยี นรตู้ ามแผนการ มีเหตุผล
จดั การเรยี นรูเ้ พ่อื ยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการ
เรียน
2.5 ครมู กี ารตดิ ตามชว่ ยเหลอื ผูเ้ รยี นอยา่ ง คณุ ธรรม
เป็นระบบ
2.6 มกี ารจัดกิจกรรมการพัฒนาผเู้ รียน มีเหตุผล
พรอ้ มท้งั ส่งเสริมการเรียนรูข้ องผู้เรียนเพอ่ื
ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
2.7 มกี ารบนั ทกึ หลงั สอนทเ่ี นน้ ปัญหาจาก ภูมคิ ุม้ กนั
การจดั กิจกรรมการเรียนรู้และมีการนำผลไป
ปรับปรุงแกไ้ ข
2.8 มกี ารวิจัยในชน้ั เรียนทส่ี อดคลอ้ งกบั ภูมคิ มุ้ กนั
สภาพปญั หาเชื่อมโยงกับบันทกึ การสอนและ
ชว่ ยพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอน
ประเด็นการนิเทศ สอดคลอ้ งกบั สภาพท่พี บ 35
หลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกจิ ระดับคะแนน
พอเพียง 54321
3. เรยี นรไู้ ปดว้ ยกัน (Co-Learning)
3.1 สถานศึกษามีการสรปุ รายงานผลการ ภูมคิ ุม้ กนั
ดำเนนิ งานเมอ่ื ส้นิ สดุ ภาคเรยี น และนำสรุป
รายงานผลของครูมาศึกษา วเิ คราะห์และ
กำหนดแนวทางแกไ้ ข ปรับปรงุ พัฒาหรือไม่
อยา่ งไร
3.2 มีการอบรมดิจทิ ัลพ้นื ฐานใหค้ รูและ ภูมิคมุ้ กนั
บคุ ลากรกศน. เพื่อใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ ภูมิคุ้มกนั
และการสร้างกระบวนการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
3.3 มีการพฒั นาครูและผเู้ รียนมีการใช้
เทคโนโลยีทางการศึกษา ระบบชว่ ยเหลอื
ผู้เรยี นและการเรยี นรายบคุ ลคล
ออนไลน์/Google Classroom/E-Learning
MOOC
3.4 มีการนิเทศตดิ ตามผลการดำเนินงาน ภูมิคุ้มกนั
3.5 มกี ารนำผลจากการนเิ ทศไปปรับปรงุ ภูมิคุ้มกัน
พฒั นา
4. สรา้ งสรรค์ผลงาน (Create)
4.1 สื่อที่ใชม้ ีความหลากหลาย เหมาะสมกบั ความ
เนือ้ หา ทันสมัย กระตุ้นความสนใจผู้เรยี น พอประมาณ
4.2 สื่อท่ีใช้ (ระบบชว่ ยเหลือผเู้ รียนและการ ความ
เรียนรายบคุ ลคลออนไลน์/Google พอประมาณ
Classroom/ส่อื ออนไลน/์ Clip/สื่อ
ประเดน็ การนิเทศ สอดคลอ้ งกับ สภาพที่พบ 36
หลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจ ระดบั คะแนน
พอเพยี ง 54321
แบบเรยี น/ผู้รู้ ฯลฯ)เหมาะสมกับกิจกรรมการ
เรยี นร/ู้ กลุ่มผู้เรยี นที่หลากหลาย
4.3 สถานศึกษามีการชี้แจงหลักเกณฑ์การวดั ความรู้
ประเมินผลตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาไว้
4.4 มกี ารออกแบบวธิ กี ารวัดผล ประเมนิ ผล ความรู้
ดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย ตรงตามจุดประสงค์
การเรยี นรทู้ ่กี ำหนด
37
สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงท้งั 4 มติ ิ ดงั น้ี
ประเดน็ การนิเทศ สภาพท่ีพบ
1. ดา้ นวตั ถ/ุ เศรษฐกจิ
- มีส่ือการสอนทม่ี ีประสทิ ธิภาพ
- สามารถใช้ส่ือการสอนไดอ้ ยา่ งคมุ้ คา่
2. ด้านสังคม
- ครมู กี ารแลกเปลย่ี นรู้ร่วมกันเพอ่ื ยกระดบั
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
- ครแู ละผู้เรียนมปี ฏิสัมพันธ์ท่ดี ีตอ่ กนั
3. ด้านสิ่งแวดลอ้ ม
- สภาพแวดลอ้ มเอ้ือตอ่ การเรียนรู้
(สะอาด,ร่มรื่น,ปลอดภยั )
4. ด้านวฒั นธรรม
-ใชแ้ หล่งเรียนร้ใู นทอ้ งถ่นิ /ภูมปิ ญั ญา
ท้องถ่นิ /วิทยากรท้องถิ่น ตรงตามรายวิชา
ของผเู้ รียน
เกณฑ์การประเมนิ ผล ………………………………….ผ้ปู ระเมิน
124 – 140 ระดับคณุ ภาพ ดมี าก
100 – 123 ระดับคณุ ภาพ ดี เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 5 คะแนน
75 – 99 ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง พฤตกิ รรมที่ปฏิบตั ิชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน
52 – 75 ระดับคุณภาพ พอใช้ พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ตั ชิ ัดเจนและบอ่ ยคร้งั ให้ 3 คะแนน
28 – 51 ระดับคณุ ภาพ ควรปรบั ปรุง พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบตั ิบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตบิ างครัง้ ให้ 1 คะแนน
สรปุ การประเมินผล พฤตกิ รรมที่ปฏิบัตบิ างครั้งและไม่ชดั เจน
ดีมาก ดี ปานกลาง
พอใช้ ควรปรับปรุง
38
แบบประเมนิ ความพึงพอใจต่อแบบการนเิ ทศงานการศึกษานอกระบบข้ันพน้ื ฐาน
ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ 4c ร่วมกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2 เง่ือนไข 3 หลกั การ 4 มิติ
เพอ่ื พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนn - net ส่วนทห่ี นงึ่ ข้อมูลผ้นู เิ ทศผู้รับการนเิ ทศและผู้เก่ียวข้อง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอแม่พริก จงั หวัดลาปาง
ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ผ้นู ิเทศ ผ้รู ับการนเิ ทศและผู้เกยี่ วข้อง
ผูบ้ ริหาร
คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา
ครู
ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจต่อแบบบนั ทกึ การนิเทศ
คาชีแ้ จงโปรดใส่เคร่ืองหมาย √ ลงในช่องท่ีตรงกับความคิดเหน็ ของท่านมากที่สุด
ที่ รายการ มากทสี่ ุด ระดบั ความพงึ พอใจ นอ้ ยทส่ี ุด
1 แบบบนั ทึกการนิเทศมีประโยชนต์ อ่ การพฒั นากระบวนการกากบั มาก ปานกลาง นอ้ ย
/ /
ติดตามประเมินผลของผนู้ ิเทศ /
2 แบบบนั ทกึ การนิเทศมีประโยชนต์ อ่ การพฒั นากระบวนการจดั การ / /
/
เรียนรู้ของครูผสู้ อน / /
3 แบบบนั ทกึ การนิเทศมีประโยชน์ตอ่ การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิของผเู้ รียน /
4 ประเด็นเน้ือหาสอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องการนิเทศ /
5 แบบบนั ทึกการนิเทศมกี ารออกแบบทง่ี ่ายต่อการใชง้ านและจดั
องคป์ ระกอบไดเ้ หมาะสม
6 จดั ลาดบั ประเด็นการนิเทศไดเ้ หมาะสม
7 แบบบนั ทึกนิเทศมคี วามยดื หย่นุ ตามสภาพบริบทและผูร้ บั การนิเทศ
8 แบบบนั ทึกการนิเทศถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษาไทยและเขา้ ใจงา่ ย
9 แบบบนั ทึกการนิเทศเหมาะสมกบั ระยะเวลาท่ีใชใ้ นนิเทศ
10 ท่านมคี วามพึงพอใจตอ่ แบบบนั ทกึ การนิเทศ
รวมทงั้ สนิ้ 94 %
39
แบบประเมินความพงึ พอใจต่อแบบการนิเทศงานการศึกษานอกระบบข้นั พ้นื ฐาน
ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ 4c ร่วมกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 เง่ือนไข 3 หลกั การ 4 มิติ
เพ่ือพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนn - net ส่วนทห่ี นงึ่ ข้อมลู ผ้นู ิเทศผู้รับการนิเทศและผ้เู กีย่ วข้อง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่พริก จงั หวดั ลาปาง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลผ้นู เิ ทศ ผ้รู ับการนิเทศและผู้เกีย่ วข้อง
ผูบ้ ริหาร
คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศกึ ษา จานวน 4 คน
ครู
ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจต่อแบบบนั ทกึ การนิเทศ
คาชี้แจงโปรดใส่เครื่องหมาย √ ลงในช่องท่ีตรงกบั ความคดิ เห็นของท่านมากท่ีสุด
ท่ี รายการ มากทีส่ ุด ระดบั ความพงึ พอใจ นอ้ ยทีส่ ุด
1 แบบบนั ทกึ การนิเทศมีประโยชนต์ อ่ การพฒั นากระบวนการกากบั มาก ปานกลาง นอ้ ย
3
ติดตามประเมินผลของผนู้ ิเทศ 1
2 แบบบนั ทกึ การนิเทศมีประโยชน์ตอ่ การพฒั นากระบวนการจดั การ 2
2
เรียนรู้ของครูผสู้ อน 2
3 แบบบนั ทกึ การนิเทศมีประโยชน์ต่อการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิของผเู้ รียน 3 11
4 ประเดน็ เน้ือหาสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องการนิเทศ 3 1
5 แบบบนั ทึกการนิเทศมีการออกแบบทง่ี ่ายตอ่ การใชง้ านและจดั
3 1
องคป์ ระกอบไดเ้ หมาะสม 3
6 จดั ลาดบั ประเดน็ การนิเทศไดเ้ หมาะสม 2 1
7 แบบบนั ทึกนิเทศมีความยดื หยุ่นตามสภาพบริบทและผูร้ ับการนิเทศ 2 1
8 แบบบนั ทกึ การนิเทศถูกตอ้ งตามหลกั ภาษาไทยและเขา้ ใจง่าย 3
9 แบบบนั ทึกการนิเทศเหมาะสมกบั ระยะเวลาท่ีใชใ้ นนิเทศ 11
10 ท่านมีความพึงพอใจต่อแบบบนั ทึกการนิเทศ 11
รวมทงั้ สนิ้ 90 %
1
40
แบบประเมนิ ความพึงพอใจต่อแบบการนเิ ทศงานการศึกษานอกระบบข้นั พืน้ ฐาน
เพือ่ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนn - net ส่วนท่ีหนงึ่ ข้อมูลผ้นู ิเทศผู้รับการนเิ ทศและผู้เก่ียวข้อง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอแม่พริก จังหวัดลาปาง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลผ้นู เิ ทศ ผู้รับการนเิ ทศและผู้เกี่ยวข้อง
ผูบ้ ริหาร
คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา
ครู จานวน 5 คน
ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจต่อแบบบนั ทกึ การนิเทศ
คาชีแ้ จงโปรดใส่เครื่องหมาย √ ลงในช่องท่ีตรงกับความคดิ เห็นของท่านมากท่ีสุด
ท่ี รายการ มากที่สุด ระดบั ความพึงพอใจ นอ้ ยท่สี ุด
1 แบบบนั ทกึ การนิเทศมีประโยชน์ตอ่ การพฒั นากระบวนการกากบั มาก ปานกลาง นอ้ ย
3
ตดิ ตามประเมนิ ผลของผนู้ ิเทศ 2
2 แบบบนั ทึกการนิเทศมีประโยชน์ต่อการพฒั นากระบวนการจดั การ 2
3
เรียนรูข้ องครูผสู้ อน 1
3 แบบบนั ทกึ การนิเทศมีประโยชน์ตอ่ การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิของผเู้ รียน 3 31
4 ประเดน็ เน้ือหาสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องการนิเทศ 3 2
5 แบบบนั ทกึ การนิเทศมกี ารออกแบบทีง่ า่ ยต่อการใชง้ านและจดั 2
2
องคป์ ระกอบไดเ้ หมาะสม 3 21
6 จดั ลาดบั ประเด็นการนิเทศไดเ้ หมาะสม 2 11
7 แบบบนั ทึกนิเทศมีความยดื หย่นุ ตามสภาพบริบทและผูร้ ับการนิเทศ 3 3
8 แบบบนั ทึกการนิเทศถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษาไทยและเขา้ ใจง่าย 2 11
9 แบบบนั ทกึ การนิเทศเหมาะสมกบั ระยะเวลาทีใ่ ช้ในนิเทศ 3
10 ทา่ นมคี วามพึงพอใจตอ่ แบบบนั ทกึ การนิเทศ
รวมทงั้ สนิ้ 88 %
41
ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กศน.อำเภอแมพ่ รกิ
42
การนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล
การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน กศน.อำเภอแมพ่ รกิ ภาคเรยี นท่ี 2/2563
ณ กศน.ตำบลผาปงั
การนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กศน.อำเภอแมพ่ รกิ
ภาคเรยี นที่ 2/2563
การนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล
การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน กศน.อำเภอแม่พรกิ
ภาคเรยี นท่ี 2/2563
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นในการบูรณาการความรูส้ ู่ชีวติ จริง
การนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล
การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET)
ครัง้ ที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 วนั ท่ี 7 มนี าคม 2564
ณ โรงเรียนศักดิ์สุนันทว์ ิทยา อ.แมพ่ รกิ จ.ลำปาง
แมพ่ ริกโมเดล