The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jarurat Kaewrod, 2021-06-27 03:55:37

รายงานการอบรมหลักสูตรการเรียนการสอนฐานสมรรถนะฯ

หลักสูตรการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ

รายงานผลการอบรม

โครงการอบรมเพิ่มศักยภาพครูใหมีสมรรถนะของครูยุคใหม
สาํ หรับการเรียนรูศตวรรษท่ี ๒๑

“หลักสูตรการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ”

Inside the Exam
Week Issue

Hackademics - 2
Need a Tutor? - 3

จํานวนชว่ั โมงการพฒั นา | ๒๐ ช่ัวโมง

นางสาวจารุรัตน แกวรอด โรงเรียนรัตนาธิเบศร
ตาํ แหนง ครู คศ.๑ อาํ เภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี
กลุมสาระการเรียนรู สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

หนวยงานทจี่ ัด : สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (สสวท.) รวมกับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร

รายงานผลการอบรม

โ ค ร ง ก า ร อ บ ร ม เ พ่ิ ม ศั ก ย ภ า พ ค รู ใ ห มี ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง ค รู ยุ ค ใ ห ม
สํา ห รั บ ก า ร เ รี ย น รู ศ ต ว ร ร ษ ที่ 2 1

“ ห ลั ก สู ต ร ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ฐ า น ส ม ร ร ถ น ะ ”

โ ด ย น า ง ส า ว จ า รุ รั ต น์ แ ก้ ว ร อ ด

ตํา แ ห น่ ง ค รู ค ศ . 1 ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี

รายละเอียดการอบรม

โครงการอบรมเพิ มศักยภาพครใู หม้ ีสมรรถนะของครยู คุ ใหมส่ าํ หรับการเรยี นรู้ศตวรรษที 21 ภาระงาน &
“หลักสตู รการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ" โดยความรว่ มมอื ระหว่างสถาบนั ส่งเสรมิ การสอน กิจกรรม
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี(สสวท.) รว่ มกับมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร ซงึ จดั ขนึ ในระหวา่ ง
วนั ที 30 เมษายน -1 พฤษภาคม 2564 รวมระยะเวลา 2 วัน จาํ นวนชัวโมงอบรม 20 ชัวโมง 1. วทิ ยากรชีแจง
ซงึ จดั ในรปู แบบการอบรมออนไลนผ์ ่าน ZOOM ในการนขี ้าพเจา้ นางสาวจารรุ ัตน์ แกว้ รอด วัตถปุ ระสงค์และรายละเอียดการ
ตําแหน่ง ครู คศ.1 สงั กดั กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ไดส้ มคั รเข้ารว่ มการ อบรม ตลอดจนสรา้ งความเข้าใจ
อบรมดังกล่าว เพือนําความรูท้ ีได้มาปรับใชก้ บั การปฏิบตั งิ านตา่ ง ๆ ในโรงเรียน ร่วมกนั เกยี วกบั เรอื งของ
สมรรถนะวชิ าวิทยาศาสตรต์ าม
ประโยชน์ทีได้รับ นาํ ผลมาประยุกต์ใช้ใน แนวทาง PISA พรอ้ มทงั ทาํ
แบบทดสอบกอ่ นการอบรม
เกดิ องค์ความรูด้ ้านการออกแบบ โรงเรียน     2. กิจกรรมการวเิ คราะหต์ ัวชี
วดั วชิ าวิทยาศาสตร์กับตวั ชีวัด
กิจกรรมการเรยี นการสอนตามตัวชีวดั การออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนการ สมรรถนะวิชาวิทยาศาสตร์ตาม
สมรรถนะ  PISA  สอนเพือพัฒนาสมรรถนะ PISA วิชา แนวทาง  PISA
การออกแบบกิจกรรม  วทิ ยาศาสตร์ของผู้เรียน เพือเปนการเตรียม     3. กิจกรรมกลุม่ ยอ่ ย โดย
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ที ความพรอ้ มของ ผเู้ รียนตอ่ การทดสอบ วทิ ยากรไดแ้ บง่ กลมุ่ ผูเ้ ขา้ อบรม
สอดคลอ้ งกบั ประเด็นทมี ่งุ วดั   ระดับชาติ ออกเปนกลุ่มยอ่ ย เพื อวิเคราะห์
การวิเคราะหต์ วั ชีวัดกบั สมรรถนะรายวิชา การแลกเปลียนเรียนร้ผู า่ นกระบวนการ PLC แผนการจดั การเรียนรขู้ อง
วทิ ยาศาสตรต์ ามแนว PISA สงิ ทีได้รับจากการอบรมกับครูผู้สอนใน สสวท. ตามแนวทางสมรรถนะ
ลงมือปฏิจริงและนําไปสกู่ ารเขียนแผน กลุ่มสาระวิชาเดียวกนั หรือในระดบั โรงเรียน วทิ ยาศาสตร์ของ PISA
การจัดการเรยี นรู้เพือพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ี จัดตังชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ 1) การลาํ เลยี งสารเข้าออกเซลล์
สมรรถนะรายวชิ าวทิ ยาศาสตรต์ ามแนว (PLC) เพือพัฒนาสมรรถนะทาง 2) ปรากฎการณฝ์ นุ PM 2.5
PISA วทิ ยาศาสตร์ตามแนวทาง PISA ของผูเ้ รยี น 3) แรงและสนามของแรง
4) อยา่ งไหนเรยี กวา่ เดือด
5) สารละลายและปจจัยทีสง่ ผล
ตอ่ การละลาย
6) ความเข้มขน้ ของสารละลาย

ตลอดจนพัฒนาเปนนวัตกรรมการเรยี นรู้

หรอื จัดทําวจิ ัยทางการศึกษา

บนั ทกึ ขอ้ ความ

สว่ นราชการ โรงเรียนรัตนาธิเบศร์

ท่ี - วันท่ี ๑ มถิ ุนายน ๒๕๖๔

เร่ือง รายงานผลการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร โครงการอบรมเพ่ิมศกั ยภาพครูใหม้ ีสมรรถนะของครยู ุคใหม่

สาหรบั การเรยี นรศู้ ตวรรษที่ ๒๑ “หลกั สูตรการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ”

เรียน ผอู้ านวยการโรงเรยี นรัตนาธเิ บศร์

ตามที่มีการประกาศโครงการอบรมเพ่ิมศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่ สาหรับการเรียนรู้
ศตวรรษที่ ๒๑ “หลักสูตรการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ” ในรุ่นที่ ๑ โดยความร่วมมือระหว่างสถาบัน
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ระหว่างวันที่
๓๐ เมษายน – ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔ รวมระยะเวลา ๒ วัน จานวนชัว่ โมงอบรม ๒๐ ช่ัวโมง จัดในรูปแบบ
การอบรมออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM ในการนี้ข้าพเจ้า นางสาวจารุรัตน์ แก้วรอด ตาแหน่ง ครู คศ.๑
สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เข้าร่วมการอบรมดังกล่าว เพ่ือนาความรู้ที่ได้มา
ปรับใช้กับการปฏิบัติงานต่าง ๆ ในโรงเรียน บัดน้ีการอบรมดังกล่าวได้ดาเนินการแล้วเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ข้าพเจา้ ขอรายงานผลการอบรมใหฝ้ า่ ยบริหารรบั ทราบ ดังรายละเอยี ดท่แี นบมาพรอ้ มกันนี้

จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดทราบ

ลงชอ่ื .....................................................ผู้รายงาน
(นางสาวจารุรตั น์ แกว้ รอด)
ตาแหนง่ ครู คศ.๑

เรียน ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียนรัตนำธิเบศร์
...................................................................
...................................................................
...................................................................

(นำงสำวมุทติ ำ มศี รีสขุ ) ความเหน็ ผอู้ านวยการ
รองผอู้ ำนวยกำรกลุ่มบรหิ ำรงำนบุคคล  ทรำบ
 สง่ั กำร .........................................

.....................................................

(นำยนำวี ทรัพยห์ ว่ ง)
ผู้อำนวยกำรโรงเรียนรัตนำธิเบศร์

....../................./..............

๑. รายละเอยี ดโครงการ

ความสาคญั วตั ถปุ ระสงค์ และรปู แบบของการอบรม
โครงการเพ่ิมศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่สาหรับการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21 เป็นความ

ร่วมมือระหวา่ งสถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.)
38 แห่ง ท่ัวประเทศ เพ่ือยกระดับการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน มุ่งสู่การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะที่เน้น
เสริมสร้างผู้เรียนให้มีทักษะความสามารถท่ีจาเป็นสาหรับการเผชิญหน้ากับปัญหาและความท้าทายในโลก
อนาคต

สสวท. และ มรภ. เชื่อว่า ครเู ป็นหน่ึงในปัจจัยที่มีความสาคัญอย่างย่งิ ตอ่ การยกระดับคุณภาพการจัด
การเรียนรู้ของผู้เรียน โครงการฯ จึงมุ่งเป้าสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพครูในการปรับเปล่ียนกลวิธีการจัด
การเรียนรู้ เพื่อเปิดห้องเรยี นให้เป็นพ้ืนท่ีสาหรบั นักเรียนในการฝึกฝนสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยี อันเปน็ ศาสตร์วิชาที่เป็นพ้ืนฐานของการดารงชีวิตในยุคปจั จุบันท่ีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ได้เปล่ียนแปลงวถิ ชี ีวิตของผคู้ นไปโดยส้ินเชงิ ดังนนั้ เพื่อขับเคลอื่ นใหก้ ารจดั การเรียนรฐู้ านสมรรถนะเกดิ ขึ้นได้
อยา่ งเปน็ รูปธรรม โครงการฯ จงึ ใหค้ วามสาคญั กับการสนับสนุนผเู้ ขา้ ร่วมอบรม ใหไ้ ด้ทดลองปรบั ใช้สมรรถนะ
ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีตามแนวทาง สสวท. ที่จัดทาข้ึนโดยความร่วมมือกับอาจารย์
มหาวิทยาลัย ครู ศึกษานิเทศก์ และผู้เช่ียวชาญ เพื่อนาไปประกอบการจัดเตรียมแผนการจัดการเรียนรู้ฐาน
สมรรถนะ ท้ังนี้จะมีคณาจารย์ มรภ. ที่มีความรู้ความเข้าใจ เป็นผู้เช่ียวชาญท่ีจะช่วยส่งเสริม แนะนา
เสนอแนะความคิดเห็น และสนับสนุนเชิงวิชาการ ต้ังแต่การเริ่มจัดทาแผนการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ
การปรับเปล่ียนกลวิธีการสอนในห้องเรียน การออกแบบการวัดและประเมินผลสมรรถนะของนักเรียน
ตลอดจนการรว่ มแก้ไขปญั หา ท่เี กิดขนึ้ ระหวา่ งการดาเนนิ การในแต่ละขั้นตอน ผ่านการจัดกระบวนการชุมชน
แห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC)

เอกสาร สื่อประกอบการอบรม และการเตรียมตัวก่อนการอบรม
การจัดการอบรมของโครงการฯ จะเป็นไปในรูปแบบออนไลน์ ที่เน้นการเปิดเวทีสาหรับการ

แลกเปล่ียนเรยี นรรู้ ะหว่างคณาจารย์มหาวิทยาลยั ราชภัฏและครูผูเ้ ข้ารว่ มการอบรม ดงั นน้ั เพื่อเป็นการเตรียม
ความพร้อมให้การแลกเปล่ียนเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด ผู้เข้าร่วมอบรมควร
ศกึ ษาเอกสารและสือ่ ประกอบการอบรม ดงั น้ี

1) เอกสารประกอบการอบรม โครงการเพิม่ ศกั ยภาพครใู หม้ ีสมรรถนะของครยู คุ ใหม่สาหรบั การ
เรยี นรศู้ ตวรรษที่ 21

2) วีดทิ ัศน์อธบิ ายสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์
3) วดี ิทศั น์ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ วิชาวิทยาศาสตร์ โดยคณะครูโรงเรียนปทุมคงคา
เมื่อได้ศึกษาเอกสารและส่ือประกอบการอบรมข้างต้นแล้ว ผู้เข้าร่วมการอบรมจะต้องเข้าทาแบบทดสอบ
ความรคู้ วามเข้าใจ กอ่ นเขา้ ร่วมการอบรมกับ มรภ. ในวันและเวลาทแ่ี ต่ละ มรภ. ทม่ี ีเขตพื้นท่บี รกิ ารในจังหวัด
ของผ้เู ขา้ รว่ มการอบรมกาหนด

จดุ มุ่งหมาย
• รแู้ ละเข้าใจถงึ ความสาคญั วัตถปุ ระสงค์ และรูปแบบของการอบรม
• รแู้ ละเข้าใจแนวทางในการเตรียมตัวศึกษาเอกสารและส่ือประกอบก่อนเขา้ ร่วมการอบรม เพ่ือประโยชน์

สูงสุดต่อผเู้ ขา้ รว่ มการอบรม
• เล็งเหน็ และตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการเรยี นร้ฐู านสมรรถนะ
• รจู้ ักและเขา้ ใจสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวทาง สสวท.
• รูจ้ กั และเข้าใจระดับความสามารถทางวิทยาศาสตร์
• เพื่อนาไปใชใ้ นการจดั การเรียนร้ฐู านสมรรถนะท่ีเหมาะสมตามชว่ งวัยของผู้เรียน
• รู้จกั และเข้าใจสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรด์ า้ นตา่ ง ๆ เพ่อื ปรบั ใช้ ในการจดั การเรียนรทู้ ่ีจะฝึกฝนผเู้ รยี นให้

มีสมรรถนะท่ีจาเปน็ สาหรับศตวรรษท่ี 21
• สามารถนาระดับความสามารถของแต่ละสมรรถนะไปประยุกต์ใช้ สาหรับการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม

ให้กบั นักเรยี นในแต่ละชว่ งชัน้ ตามสาระการเรยี นร้แู ละบริบทที่แตกตา่ งกันในแตล่ ะหอ้ งเรยี น
• สรา้ งความรู้ความเข้าใจ รวมทัง้ ตระหนักถงึ ความสาคัญของ PLC ในการขับเคล่ือนการจัดการเรียนรู้ฐาน

สมรรถนะ
• เนน้ ให้เกิดความเขา้ ใจถงึ บทบาทหนา้ ท่ีของบุคคลที่มสี ่วนเก่ยี วขอ้ งกับกระบวนการ PLC โดยเฉพาะอย่าง

ยง่ิ ผู้บริหารโรงเรียน
• สามารถขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC ใหเ้ กิดขึน้ ในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการรว่ มกับอาจารย์มหาวทิ ยาลัย

ราชภฏั

กล่มุ เป้าหมาย
ครูผู้สอนรายวิชาวิชาวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ วิทยาการคานวณ และการออกแบบและเทคโนโลยี

ในระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นเป็นหลัก ท้ังน้ีเปิดโอกาสให้ผู้สนใจท่ี
รับผิดชอบสอนในระดบั ช้ันอืน่ ๆ เข้ารับการอบรมรว่ มด้วย

๒. สิ่งท่ีได้เรียนรู้จากการอบรม

วนั ท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๖๔
๑. วทิ ยากรชแ้ี จงวัตถุประสงค์และรายละเอียดการอบรม ตลอดจนสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับ

เรอ่ื งของสมรรถนะวชิ าวทิ ยาศาสตร์ตามแนว PISA พร้อมท้งั ทาแบบทดสอบก่อนการอบรม
๒. กิจกรรมการวิเคราะห์สมรรถนะวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวทาง PISA ซ่ึงสามารถแบ่งออกเป็น

3 ด้าน ไดแ้ ก่
1) การอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ (explain phenomena scientifically)
2) การประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (evaluate and
design scientific enquiry)
3) การแปลความหมายข้อมูลและการใช้ประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ (interprete data
and evidence scientifically)

นอกเหนือจากสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ท้ัง 3 ด้าน การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ จะต้องใช้
องค์ความรู้ด้านเน้ือหาทางวิทยาศาสตร์ สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ ได้แก่
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์กายภาพ และวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ รวมถึงทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษท่ี 21 ท่จี ะเป็นพ้ืนฐานสาคัญที่เม่อื ผู้เรยี นได้ฝกึ ฝนจนมคี วามชานาญแล้ว จะมีสมรรถนะในด้านต่าง ๆ
ที่จะใชใ้ นการแก้ปญั หาที่ซับซ้อนหรือไม่เคยเผชิญหน้ามาก่อนในอนาคตไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

ระดับความสามารถทางวิทยาศาสตร์
การนาเอาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ทั้ง 3 ด้าน ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน

สาหรับผู้เรียนในแต่ละช่วงวัย จะต้องคานึงถึงระดับความสามารถทางวิทยาศาสตร์ท่ีเหมาะสมสาหรับช่วงวัย
นั้น ๆ ด้วย สามารถแบ่งระดับความสามารถทางวิทยาศาสตร์สาหรับผู้เรียนได้เป็น 6 ระดับ ตามบริบทและ
ความซบั ซ้อนของสถานการณ์ทแ่ี ตกต่างกัน ดังแสดงในรูป

ระดบั ความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์

จากรูป จะเห็นว่า ระดับความสามารถ 1-2 จะมีความเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ใช้การแก้ไขปัญหา
ดว้ ยวิธกี ารท่ีคนุ้ เคย ไม่ซับซอ้ น และเป็นการใหเ้ หตุผลแบบตรงไปตรงมา ซ่ึงอยู่ในระดบั ท่ีเหมาะสมกับการจัด
การเรียนรู้สาหรับนักเรยี นระดับช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4-6 ในระดับความสามารถ 3-4 จะมคี วามเกี่ยวข้องกับ
สถานการณ์ที่ต้องใช้วิธีการแก้ไขปัญหาท่ีมีความซับซ้อนเพ่ิมมากข้ึน จึงเหมาะกับการจัดการเรียนรู้สาหรับ
นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 ซ่ึงเม่ือผู้เรียนสาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีเป็น
การศึกษาภาคบังคับตามระบบการศึกษาของประเทศไทยแล้ว ควรมีระดับความสามารถทางวิทยาศาสตร์ใน
ระดบั 3-4 เปน็ พืน้ ฐาน อย่างไรกต็ าม ปญั หาสาคัญทม่ี ีความจาเป็นต้องไดร้ ับการแก้ไขเร่งดว่ น คือ การพัฒนา
ผู้เรียนศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 แต่ยังมีระดับความสามารถทางวิทยาศาสตร์ต่ากว่าระดับพ้ืนฐาน
(ระดับ 1-2) ผ่านการประยุกต์ใช้การจดั การเรยี นรู้ฐานสมรรถนะ เพ่ือให้ผู้เรียนมีสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ท่ี
จาเปน็ เพียงพอสาหรับการดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ทั้งน้ีจะต้องไม่ละเลยท่ีจะเปิดโอกาสให้กับกลุ่มนักเรียน
ทีม่ ศี ักยภาพสูงกว่าระดบั พื้นฐาน (ระดับ 5-6 หรือสงู กว่า) โดยจดั การเรียนรู้ทีส่ ง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนได้ฝกึ การแก้ไข
ปัญหาในสถานการณ์ที่มีความซับซ้อนสูง หรืออาจเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในบริบทท่ีไม่คุ้นชิน โดยต้องสามารถ
เสนอวธิ ีการแกไ้ ขปญั หาในรปู แบบใหม่ เพ่ือให้ผู้เรียนกลมุ่ นี้ไดร้ ับการพฒั นาอย่างเตม็ ตามศกั ยภาพของตนเอง

อย่างไรก็ตาม ครูที่เป็นผู้อานวยการเรียนรู้ในห้องเรียนและเป็นผู้ที่เข้าใจธรรมชาติของนักเรียนมาก
ทส่ี ุด อาจปรบั ระดับของสถานการณ์ปญั หาที่กาหนดให้นักเรียนแก้ปัญหาร่วมกันในห้องเรียน ให้เหมาะสมกับ
ระดับความสามารถของนักเรียนแต่ละกลุ่ม ซึ่งอาจสูงหรือต่ากว่าระดับความสามารถตามช่วงชั้นท่ีกล่าวไป
ข้างตน้ กไ็ ด้

สมรรถนะการอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวทิ ยาศาสตร์ (A)
สมรรถนะการอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ ซ่ึงต่อไปในเอกสารนี้จะเรียกโดยย่อว่า A

หมายถงึ ความสามารถของบคุ คลในการใช้ความรู้ด้านเนื้อหาเพื่อแปลความและให้คาอธิบายกับปรากฏการณ์
ท้ังที่เกิดข้ึนในชีวิตประจาวัน หรืออาจเป็นปรากฏการณ์ในบริบทที่ไม่คุ้นเคยได้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้รวมถึง
ความสามารถ ในการบรรยายและตีความ คาดการณ์หรือพยากรณ์การเปล่ียนแปลงที่อาจเกิดข้ึน อีกทั้ง
ยังสามารถประเมินได้ว่าการบรรยายหรือการอธิบายปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ น้ันสมเหตุสมผมหรือไม่ หรือ
การคาดการณ์นั้นจะเปน็ ไปได้หรือไม่ ด้วยเหตุผลอะไร สมรรถนะ A ประกอบดว้ ยสมรรถนะย่อย 5 ข้อ ดงั นี้

A1 นาความรูท้ างวทิ ยาศาสตรม์ าใช้สรา้ งคาอธิบายที่สมเหตสุ มผล
A2 ระบุ ใช้ และสรา้ งแบบจาลองและตัวแทนเชงิ อธิบาย
A3 พยากรณ์การเปลยี่ นแปลงในเชงิ วทิ ยาศาสตร์โดยใชค้ วามเป็นเหตุเปน็ ผลท่เี ปน็ ไปได้
A4 เสนอสมมติฐานเพ่ือใช้ในการอธบิ าย
A5 อธิบายถงึ ศกั ยภาพของความรทู้ างวิทยาศาสตร์ที่สามารถนาไปใช้เพอื่ สงั คม

สมรรถนะการประเมนิ และออกแบบกระบวนการสบื เสาะหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์ (B)
สมรรถนะการประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงต่อไปใน

เอกสารน้ีจะเรียกโดยย่อว่า B หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการประเมินข้อค้นพบทางวิทยาศาสตร์
อย่างมีวิจารณญาณ สามารถแยกแยะได้ว่าคาถามหรือปัญหาใดสามารถตอบหรือแก้ไขได้ด้วยวิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการและแนวปฏิบัติที่ดีในการสารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์
เช่น การดาเนินการทดสอบที่เท่ียงตรงสามารถทาได้อย่างไร ต้องเปรยี บเทียบข้อมูลที่ได้กับอะไรบ้าง ตัวแปร
ใดบ้างที่ต้องควบคุม และตัวแปรใดบ้างท่ีต้องทาการเปล่ียนแปลงเพื่อสารวจตรวจสอบในส่ิงที่ต้องการรู้ หรือ
จาเป็นจะต้องค้นคว้าข้อมูลอะไรเพิ่มเติมบ้าง หรือมีสิ่งใดบ้างที่ต้องดาเนินการเพื่อเก็บข้อมูลที่ต้องการ และ
จะต้องดาเนินการอย่างไร นอกจากน้ี ยงั รวมถงึ การตระหนักถึงความสาคัญและคุณค่าของงานวจิ ัยทีส่ ่งผลต่อ
การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ในอนาคต และความสาคัญของการต้ังข้อสงสัยในการรายงานการวิจัย
ทางวิทยาศาสตร์ว่าอาจมีความคลุมเครือ ไม่แน่นอน หรือมีความลาเอียงหรือไม่ สมรรถนะ B ประกอบด้วย
สมรรถนะยอ่ ย 5 ขอ้ ดังน้ี

B1 สามารถระบุประเด็นปัญหาที่ตอ้ งการสารวจตรวจสอบจากการศึกษาทางวทิ ยาศาสตร์ทก่ี าหนดให้
B2 แยกแยะไดว้ า่ ประเดน็ ปญั หาหรอื คาถามใดสามารถตรวจสอบได้ดว้ ยวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์
B3 เสนอวธิ ีสารวจตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตรท์ ่ีกาหนดให้
B4 ประเมนิ วธิ สี ารวจตรวจสอบปญั หาทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่กาหนดให้
B5 บรรยายและประเมนิ วิธีการตา่ ง ๆ ท่ีนักวิทยาศาสตรใ์ ช้ในการยืนยันถึงความน่าเชื่อถือของข้อมูล
และความเปน็ กลางและการสรปุ อา้ งองิ จากคาอธบิ าย

สมรรถนะการแปลความหมายขอ้ มูลและการใช้ประจักษ์พยาน ในเชงิ วิทยาศาสตร์ (C)
สมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและการใช้ประจกั ษพ์ ยานในเชิงวทิ ยาศาสตร์ ซึ่งต่อไปในเอกสาร

นจี้ ะเรียกโดยย่อว่า C หมายถงึ ความสามารถของบุคคลในการตคี วามขอ้ มูลและหลักฐานทางวทิ ยาศาสตรท์ ีใ่ ช้
ในการสร้างคากลา่ วอ้างหรือลงขอ้ สรุป และนาเสนอขอ้ มลู ทไี่ ด้รบั มาในรปู แบบอน่ื เชน่ การใช้คาพูดของตนเอง
แผนภาพ หรือการแสดงแทนอ่ืน ๆ ซึ่งจาเป็นจะต้องใช้เคร่ืองมือทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์หรือสรุป
ข้อมูล รวมถึงจะต้องสามารถแปลงข้อมูลน้ันให้อยู่ในรูปของการแสดงแทนรูปแบบอ่ืน ๆ นอกจากน้ี จะต้อง
สามารถสร้างข้อสรุปท่ีสมเหตุสมผลบนพื้นฐานของประจักษ์พยาน ข้อมูล หรือประเมินขอ้ สรุปของผู้อื่นได้ว่า
สอดคลอ้ งกับประจักษ์พยานท่ีมีหรือไม่ รวมถึงสามารถให้เหตผุ ลสนับสนุนหรือโต้แย้งข้อสรุปเหล่าน้ันได้อย่าง
สมเหตสุ มผล สมรรถนะ C ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 5 ขอ้ ดงั น้ี

C1 แปลงขอ้ มูลท่ีนาเสนอในรปู แบบหนึ่งไปสรู่ ปู แบบอน่ื
C2 วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายขอ้ มูลทางวิทยาศาสตร์ และลงข้อสรุป
C3 ระบุขอ้ สันนิษฐาน ประจกั ษ์พยาน และเหตุผลในเรือ่ งทเี่ กี่ยวกับวิทยาศาสตร์
C4 แยกแยะระหว่างข้อโต้แย้งที่มาจากประจักษ์พยานและทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ กับที่มาจาก
การพจิ ารณาจากสงิ่ อ่นื
C5 ประเมินข้อโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์และประจักษ์พยานจากแหล่งที่มาท่ีหลากหลาย
(เช่น หนงั สือพมิ พ์ อนิ เทอร์เน็ต และวารสาร)

๓. กิจกรรมวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรู้ตามสมรรถนะ PISA จากวิทยากร จานวน ๓ แผน
การจดั การเรยี นรู้ ได้แก่

1) การลาเลยี งสารเขา้ ออกเซลล์
2) ปรากฎการณ์ฝนุ่ PM ๒.๕
3) แรงและสนามของแรง
ประเด็นหลักของกิจกรรมน้ีคือการพิจารณาองค์ประกอบแต่ละส่วนของแผนตั้งแต่จุดประสงค์การ
เรียนรู้ รูปแบบกิจกรรม ใบกิจกรรม การวัดและประเมินผล เกณฑ์การวดั และประเมินผล เพื่อวิเคราะห์
ดวู ่ากจิ กรรมการเรียนรทู้ จ่ี ัดใหต้ รงกบั สมรรถนะยอ่ ย/ระดับใดในสมรรถนะ PISA สอดคล้องหรือไม่ อย่างไร

วันท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔

๑. กิจกรรมวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรู้ตามสมรรถนะ PISA จานวน ๓ แผนการจัดการเรียนรู้
ได้แก่

1) อยา่ งไหนเรยี กว่าเดือด
2) สารละลายและปจั จยั ที่สง่ ผลต่อการละลาย
3) ความเขม้ ข้นของสารละลาย
กิจกรรมในวนั น้ีผเู้ ข้าอบรมไม่ลงมือปฏิบัติโดยการแบ่งกลุ่มยอ่ ย เพื่อวิเคราะหแ์ ผนการจดั การเรียนร็
ตามสมรรถนะ PISA ภายในประเดน็ ดงั ตอ่ ไปนี้
 กิจกรรมการเรียนรตู้ รงกบั สมรรถนะย่อย/ระดบั ในในสมรรถนะ PISA
 กิจกรรมการเรยี นรู้ตรงตามจุดประสงค์การเรียนรแู้ ละสมรรถนะทตี่ ้งั ไว้หรือไม่ อยา่ งไร
 การวัดและประเมินผลเหมาะสมหรือไม่ อยา่ งไร
 หากทา่ นนาไปใชช้จะมกี ารปรับปรงุ แผนนีใ้ ห้เหมาะสมกับบรบิ ทอย่างไร

หลังการอภิปรายร่วมกันในห้องกลุ่มย่อย ๓๐ นาที ก็จะเป็นการนาเสนอผลการวิเคราะห์ในห้อง
ประชมุ ใหญ่ ซง่ึ ข้าพเจา้ ได้อาสาเป็นผูน้ าเสนอผลงานของกลุ่ม เพือ่ แลกเปล่ยี นเรยี นร้กู ับผเู้ ข้าอบรมท่านอื่น ๆ

๒. PLC เพ่ือการพฒั นา การจัดการเรยี นรู้ฐานสมรรถนะ
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เป็นกระบวนการ
สรา้ งการเปล่ยี นแปลง โดยเรียนรู้จากการปฏิบัติงานของกลุ่มนักการศึกษาที่มีความสนใจตรงกัน มารวมตัวกัน
อยา่ งต่อเนื่องเพ่ือทางานรว่ มกนั แบ่งปนั ประสบการณ์ และสนับสนนุ ซ่งึ กนั และกัน โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือร่วม
วางเป้าหมายในการยกระดับการจัดการเรียนรู้ของครู รวมท้ังแก้ปัญหาที่เกิดข้ึน มุ่งเน้นส่งเสริมการพัฒนา
คุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน รวมทั้งตรวจสอบ และสะท้อนผลการปฏิบัติงาน ทั้งในส่วนบุคคลและผลที่
เกิดขึ้นโดยรวมผา่ นกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การวพิ ากษว์ จิ ารณ์ การทางานร่วมกนั และการรว่ มมอื รวม
พลงั เพ่อื ส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นร้อู ย่างเปน็ องค์รวม โดยมีการดาเนนิ การอย่างนอ้ ย 5 ประการ ดงั น้ี
1) การสรา้ งบรรทดั ฐานและคา่ นิยมรว่ มกนั (shared values and norms)
2) การปฏิบตั ิทมี่ เี ปา้ หมายมงุ่ สู่การเรียนร้ขู องผูเ้ รียน (collective focus on student learning)
3) การร่วมมอื กันทางานของนกั การศึกษาและบคุ คลทีเ่ ก่ียวขอ้ ง (collaboration)

4) การสังเกตช้ันเรียนและการเปดิ รบั ฟังการสะท้อนความคดิ (expert advice and study visit and
classroom observation)

5) การสนทนาท่ีสร้างสรรค์สะท้อนผลการปฏิบัติ (Reflection dialogue and constructive
feedback) ผา่ นการสร้าง HOPE (เรวณี ชัยเชาวรัตน์, 2558) ให้บคุ คลท่ี อนั ประกอบดว้ ย

• honesty & humanity เปน็ การยดึ ข้อมลู จริงที่เกดิ ข้ึนและใหก้ ารเคารพกนั อย่างจรงิ ใจ
• option & openness เป็นการเลือกสรรส่ิงท่ีดีท่ีสุดให้ผู้เรียนและพร้อมเปิดเผยเปิดใจเรียนรู้
จากผอู้ น่ื
• patience & persistence เป็นการพัฒนาความอดทนและความมุ่งมั่นทุ่มเทพยายามจนเกิดผล
ชดั เจน
• efficacy & enthusiasm เป็นการสร้างความเช่ือม่ันในผลของวิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับ
ผูเ้ รยี นวา่ จะทาใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรู้และกระตอื รือรน้ ทจ่ี ะพัฒนาตนเองอย่างเต็มที่
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มุ่งตอบสนองวัตถุประสงค์สาคัญ 2 ประการ ประการแรก คือ
มุง่ ยกระดับศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ของครูและนักการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
การแลกเปลี่ยนประสบการณแ์ ละความเชยี่ วชาญ และการพูดคุยกนั อย่างมอื อาชีพ ประการทีส่ อง คือ มุ่งสรา้ ง
แรงบันดาลใจ ในการเรียนให้กับนักเรียน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิและความสาเร็จในการเรียนรู้ การดาเนิน
การจัดกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพให้ตอบโจทย์วัตถุประสงค์สาคัญสองประการข้างต้นนั้น
ควรจดั ใหม้ รี ูปแบบการดาเนินการในลักษณะเดียวกันกบั การวิจัยปฏิบัตกิ าร (action research) น่ันคือจะต้อง
มีการตั้งคาถามอย่างต่อเนื่อง การหม่ันทบทวนและทดสอบผลสัมฤทธ์ิ การคิด วิเคราะห์ และพิจารณาอย่าง
รอบคอบรอบด้าน รวมถึงการยกระดบั กลยุทธก์ ารจดั การเรียนการสอน

ความสาคัญของกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีผ่านมา บุคคลท่มี ีสว่ นเก่ยี วข้องกบั การจัดการเรียนการ

สอนในโรงเรียนมักมีความเช่ือว่า การดูแลช้ันเรียนและการเรียนการสอนในแต่ละชั่วโมงและแต่ละวิชาเป็น
หน้าท่ีของครูแต่ละคนที่รับผิดชอบในวิชาน้ัน ๆ เสมือนกับครูคนนั้นเป็นเจ้าของห้องเรียนแต่เพียงผู้เดียว
(king of the classroom) ซ่ึงการท่ีทุกคนมอบความไว้วางใจและทุก ๆ ส่ิงในห้องเรียนให้กับครูคนหน่ึงเข้า
ปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนกับนักเรียนจานวนหนึ่งในชั้นเรียน ครูคนน้ันจะมีแนวทางการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนอย่างไร จะเตรียมการสอนมาดีหรอื ไม่ จะใหค้ วามสนใจนักเรียนทกุ คนท่ัวถงึ กันท้งั ห้องเรยี น
หรือไม่ ไม่มีใครล่วงรู้ได้ นอกจากนักเรียนที่เป็นผู้สัมผัสกับครูคนน้ัน การจัดการเรียนการสอนในลักษณะน้ี
ตงั้ อยู่บนพื้นฐานความเชื่อดัง้ เดิมของระบบโรงเรียนในประเทศไทย ซ่งึ แตกตา่ งจากแนวคิดของการสร้างชมุ ชน
แห่งการเรียนร้ทู างวิชาชพี โดยส้ินเชิง การผลักดันให้เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพท่ีมีประสิทธิภาพนั้น
จงึ จาเป็นจะต้องสร้างการรบั รูใ้ หม่และความเช่ือพ้นื ฐานของบุคคลทมี่ ีส่วนเก่ยี วข้อง ดังน้ี

1) มุง่ ลดความโดดเดย่ี วของครูในการจดั การเรยี นการสอนแตเ่ พียงลาพงั คนเดียว
2) สรา้ งความรบั ผิดชอบร่วมกันของบคุ คลทมี่ ีส่วนเกยี่ วข้องกับความสาเรจ็ ของการเรียนรขู้ องนกั เรยี น
โดยมงุ่ ผลใหน้ กั เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ที่ดที ี่สดุ
3) ใหค้ วามสาคญั กบั การตอบสนองตอ่ การแก้ปัญหานกั เรยี นทีเ่ รยี นรไู้ มไ่ ดห้ รอื ไม่สาเร็จเปน็ รายบคุ คล
โดยหาแนวทางช่วยเหลอื สง่ เสริม และสนบั สนนุ ให้นกั เรยี นเหลา่ นนั้ ไดม้ โี อกาสเรยี นรู้อย่างท่วั ถงึ เทา่ กันทุกคน
4) สร้างวัฒนธรรมการทางานร่วมกนั อยา่ งมีคณุ ภาพและเป็นกัลยาณมิตร

5) การแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนจะต้องทาอย่างต่อเนื่อง จนกว่าจะเกิดความสาเร็จของการ
เรียนรู้ของนักเรียนอยา่ งแท้จริง ส่ิงทห่ี ลงเหลือจากการแกไ้ ขปัญหาการเรยี นรูผ้ ่านกระบวนการชุมชนแหง่ การ
เรียนรู้ ทางวิชาชีพ คือ แนวปฏิบัติท่ีดีที่สุด (best practice) ภายใต้บริบท (context) หรือปรากฏการณ์
(phenomena) หน่ึง ๆ ซ่ึงนับเป็นนวัตกรรมการแก้ปัญหาท่ีเหมาะสมที่สุดสาหรับแต่ละโรงเรียน การจะนา
แนวทางการแก้ปัญหาเดียวกันน้ันไปใช้ในโรงเรียนอื่น ๆ ท่ีมีบริบทหรือปรากฏการณ์ท่ีแตกต่างกัน บุคคลที่
เกี่ยวข้องจาเป็นจะต้องเร่มิ เรยี นรู้ร่วมกนั ใหมอ่ กี ครงั้ หนึง่

จากที่กล่าวมาข้างตน้ สามารถสรุปความสาคัญของการจดั กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ าง
วชิ าชพี ท่ีมีต่อผูเ้ รียนและครไู ด้ ดงั นี้

ด้านผู้เรยี น
• ปญั หาการเรียนรูข้ องนักเรยี นเปน็ ส่ิงสาคัญที่สุด
• คน้ หาวิธีการแกป้ ัญหาท่ีเหมาะสมท่ีสุดสาหรบั นักเรยี นแตล่ ะคน แต่ละห้องเรยี น และแตล่ ะโรงเรียน
• ตอบสนองตอ่ พฤติกรรมการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นดว้ ยความรวดเร็ว
• เพมิ่ พลังอานาจคุณภาพการจัดการเรยี นการสอนให้มีการปฏิบัตทิ ีด่ ีและเหมาะกับผ้เู รยี น

ด้านครูผูส้ อน
• เปลี่ยนวัฒนธรรมการทางานของครเู พ่ือนักเรียน
• ลดความโดดเดย่ี วของครู
• รว่ มกนั แบง่ ปนั ความรับผิดชอบตอ่ ความสาเร็จของนกั เรยี น
• สรา้ งวัฒนธรรมการทางานรว่ มกนั อย่างมคี ณุ ภาพและเป็นกัลยาณมิตร
• ทาให้เกดิ แนวปฏบิ ัติทด่ี ีท่ีสดุ สาหรับบริบทนั้น ๆ

บทบาทของผู้บริหารกับการขบั เคล่อื นชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพ
กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มิใช่แค่การสร้างกลุ่มครูเพียงกลุ่มเล็ก ๆ ข้ึนมาเพื่อ

พัฒนาหรือแก้ไขปัญหาการเรยี นรู้ของนักเรยี นเทา่ นั้น หากแต่เป็นการสร้างให้เกิดความร่วมมือร่วมใจของครู
ท้งั โรงเรียน การจะทาใหเ้ กดิ ภาพดังกลา่ วขนึ้ ในโรงเรียนไดน้ ัน้ ผู้บรหิ ารเป็นบุคคลสาคญั ในการสรา้ งบรรยากาศ
ของการเรียนรู้แนวทางการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนร่วมกันอย่างเป็นกัลยาณมิตร พร้อมทั้ง
ขบั เคลื่อนกระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพด้วยความสุข ความสนุกสนาน และความอ่ิมเอมใจกับ
ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นกับลูกศิษย์ จนกระทั่งเกิดข้ึนเป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning
Community: SLC) สามารถสรุปบทบาทของผ้บู ริหารในชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชพี ได้ ดังน้ี

1) ผู้นาทางวิชาการ ทมี่ ีวสิ ัยทัศน์ทางวิชาการท่คี มชัด รวมทง้ั มีทศิ ทางท่ีชดั เจนในการกาหนดแนวทาง
การดาเนินงานให้ตอบโจทย์ของชมุ ชนและนโยบายของรัฐ โดยไมไ่ ด้ใช้เพยี งอานาจส่ังการ แต่จะต้องเป็นผู้ที่มี
ภาวะผู้นาแบบแบ่งปัน (shared leadership) สร้างให้เกิดความรับผิดชอบร่วมกันของบุคคลในทุก ๆ ระดับ
และตาแหน่ง อีกท้ังผู้บริหารโรงเรียนควรจะต้องเคารพ ให้เกียรติ ให้ความสาคัญ และรับฟังความเห็นของ
ทุกฝา่ ย เพอื่ นามาประมวลและลงขอ้ สรุปอยา่ งมีศลิ ปะเพ่อื ให้เกิดการทางานรว่ มกนั ไดอ้ ย่างมคี ุณภาพ

2) ผู้นาในการกระตนุ้ และอานวยการจดั ตัง้ Professional Learning Team (PLT) ให้สามารถเกิดขึ้น
ในโรงเรียนอย่างกว้างขวางและทั่วถึง พร้อมทั้งสนับสนุนส่ิงอานวยความสะดวกท่ีจะทาให้การทางานเป็นไป
อย่างราบร่ืนและต่อเน่ือง ตัวอย่างคาถามท่ีผู้บริหารจะต้องสามารถตอบได้เกี่ยวกับการดาเนินงานของ PLT
เช่น

• ประเด็นปัญหาที่ครูในโรงเรียนกาลังเผชิญหน้าอยู่มีอะไรบ้าง และมีทิศทางในการแก้ไขปัญหาผ่าน
กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพได้อยา่ งไร

• ลักษณะการดาเนินงานของ PLT ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นอย่างไร อาจแสดงโดยใช้
แผนภาพการดาเนนิ งานแบ่งตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ และระดบั ชน้ั เพื่อแสดงใหเ้ ห็นภาพรวมของโรงเรยี น

• แผนการดาเนินงานของแต่ละ PLT เป็นอย่างไร อาจแสดงโดยใช้กาหนดการการจัดกระบวนการ
ชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพของแตล่ ะ PLT โดยระบุว่าแต่ละข้ันตอนจะเกิดขึน้ เมอ่ื ใดบา้ ง

• ความก้าวหน้าการดาเนินงานตามกาหนดการของแตล่ ะ PLT เปน็ อยา่ งไร อาจแสดงโดยใชแ้ ผนภาพ
แสดงความก้าวหน้า (PLT progress chart) ของแต่ละทมี ว่าขน้ั ตอนใดมกี ารดาเนินการไปแล้วบ้าง

• นวัตกรรมการศึกษาหรือแนวปฏิบัติท่ีดีที่สุดของครูแต่ละคน หรือของแต่ละ PLT ท่ีใช้ในการแก้ไข
ปัญหาการเรยี นร้ขู องนักเรียนไดป้ ระสบความสาเร็จเป็นอยา่ งไรบ้าง

นอกจากน้ี ผู้บริหารยังควรส่งเสริมและสนับสนุน PLT ในการจัดกิจกรรมเพ่ือสนับสนุนการจัด
กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี ดงั นี้

• จัดให้มีการประชุมวิชาการย่อยภายในโรงเรียนเป็นระยะ ๆ เพื่อให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้
กระบวนการแกไ้ ขปญั หาการเรยี นรขู้ องนกั เรียนรว่ มกัน

• ส่งเสริมให้เกดิ กระบวนการร่วมสงั เกตชั้นเรียน (open class) เป็นคร้ังคราว เพ่ือเป็นการพัฒนาครู
ผ่านการสังเกตการณ์การจัดการเรียนรู้สอนของเพ่ือนครูที่มีแนวทางการจัดการเรียนรู้และศิลปะการสอนท่ีดี
จนสามารถเป็นแบบอย่างใหค้ รูคนอืน่ ๆ นาไปใช้ต่อได้

โดยสรุปแล้ว การบรหิ ารกระบวนการพฒั นานกั เรยี นผ่านชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวชิ าชีพ จะต้องเกิด
จากผู้บริหารท่ีมีความเข้าใจถึงหลักการ ปรัชญาพื้นฐาน รวมถึงกระบวนการทางานที่ถูกต้องเหมาะสมเป็น
ลาดบั แรก จากนั้นผู้บรหิ ารจะต้องใชบ้ ทบาทของการบรหิ ารของตนเองในการจัดการให้เกดิ ความรว่ มมือรว่ มใจ
จนกระท่ังครใู นโรงเรยี นมีเปา้ หมายรว่ มกนั ไมใ่ ชก่ ารใชอ้ านาจสัง่ การ แต่เป็นการเปดิ เวทีให้เกิดการแสดงความ
คิดเห็นเพ่ือให้ได้ข้อสรุปท่ีบุคคลทีม่ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งจะรบั ผิดชอบร่วมกัน นอกจากนี้ ผูบ้ รหิ ารโรงเรียนจะตอ้ งเป็น
ผ้ทู เี่ ข้าใจกระบวนการการทางานของแตล่ ะ PLT ในโรงเรียน เพ่ือกาหนดทศิ ทางการดาเนินงานของชุมชนแห่ง
การเรียนรู้ทางวิชาชีพทั้งโรงเรียนให้เป็นไปในรูปแบบเดียวกัน รวมถึงสร้างทีมประเมินกลยุทธ์ ภารกิจ และ
ความก้าวหน้าของการดาเนินงานตามเป้าหมายรวมของโรงเรียน ถ้าผู้บริหารสามารถดาเนินงานได้ดังกล่าว
ขา้ งตน้ จะทาให้การขับเคลื่อนชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพเป็นไปอยา่ งมแี บบแผนและมเี ปา้ หมายท่ีชดั เจน
ครูและบุคคล ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องไม่จาเป็นจะต้องรอคาสั่งรายวันจากผู้บรหิ าร ด้วยรูแ้ ละเข้าใจความรับผดิ ชอบ
ของตนเองที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี ผลสาเร็จที่เกิดข้ึนจากการทาให้นักเรียนได้รับการเรียนรู้ท่ีดีที่สุดจะ
เป็นความภาคภูมิใจของครูและบุคคลท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในการทางานร่วมกันอย่างมีคุณภาพและเป็น
กลั ยาณมติ ร

ข้ันตอนการจัดกระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี
การจัดกระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ดังนี้

1) ข้นั ตอนการวางแผน (Plan) ประกอบดว้ ย
• การสรา้ งทมี
• การกาหนดปญั หา
• การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้
• การสะทอ้ นกจิ กรรมการเรยี นรกู้ ารนาไปใช้สอน

2) ข้ันสงั เกตขัน้ เรยี น (Do) ประกอบดว้ ย
• ครูผู้สอนนากจิ กรรมการเรียนรทู้ ผ่ี า่ นการสะทอ้ นสกู่ ารจดั การเรยี นรูใ้ นช้ันเรยี น
• สมาชิกในทีมร่วมสังเกตชัน้ เรียน พรอ้ มบันทึกการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของ
• ครูผู้สอนตามประเด็นท่ไี ด้ตกลงรว่ มกัน

3) ขน้ั การสะท้อนผลการสังเกตชั้นเรยี น (See) ประกอบด้วย
• ครูผู้สอนเป็นผสู้ ะทอ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรขู้ องตนเอง ทง้ั ในสิง่ ท่ีทาไดด้ ีและสิ่งที่ตอ้ ง

ปรับปรุง แกไ้ ข หรือพัฒนาให้ดขี น้ึ
• เพอ่ื นครูรว่ มสะท้อนการจดั กจิ กรรมการเรียนรขู้ องครูผู้สอน ท้งั ในสง่ิ ท่ีทาได้ดีและสง่ิ ทต่ี อ้ ง

ปรบั ปรงุ แกไ้ ข หรือพัฒนาให้ดีขน้ึ
• ฝา่ ยบรหิ ารร่วมสะท้อนและสรุปส่ิงท่ีจะสนับสนุนหรอื เสริมแรงให้แกค่ รผู สู้ อน
• ศึกษานิเทศกห์ รอื บุคคลภายนอกท่เี ข้ารว่ มสังเกตชัน้ เรียน (ถา้ มี) ร่วมสะทอ้ นปัจจัยที่ช่วย

สง่ เสรมิ ประสิทธภิ าพในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

สมาชกิ ในชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชพี
ในการจัดกระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ ประกอบดว้ ยบุคคลที่มสี ว่ นเกีย่ วขอ้ ง เรยี กวา่

Professional Learning Team (PLT) ดงั นี้
1) model teacher คอื ครูผู้สอน
2) buddy teacher คือ เพ่อื นครูค่คู ดิ
3) administrator คอื ผู้บริหารหรือฝา่ ยบริหารที่จะคอยชว่ ยสนบั สนุน ทงั้ ในดา้ นวสั ดุอุปกรณ์ วธิ ีการ

ตลอดจนเสรมิ แรงและให้ขวัญกาลงั ใจ
4) mentor คือ ผมู้ ีความรู้ความสามารถท่จี ะเปน็ พ่เี ลยี้ งดูแลอย่างใกล้ชิดจนครูผูส้ อนสามารถปฏิบัติ

ในเรอื่ งหนึ่ง ๆ ได้ดี โดยอาจเปน็ ครใู นโรงเรยี นท่มี ีความรคู้ วามสามารถ เชน่ หวั หนา้ กล่มุ สาระ หรือ
ศกึ ษานิเทศก์

5) expert คือ ผูเ้ ชีย่ วชาญทส่ี ามารถให้คาแนะนาแก่ครูผู้สอนได้ โดยอาจเปน็ ศึกษานิเทศก์ อาจารย์
มหาวทิ ยาลยั ครหู รือบุคลากรในโรงเรียน วิทยากรท้องถนิ่ หรือปราชญ์ชมุ ชนท่มี คี วามเชีย่ วชาญในเรื่องนนั้ ๆ

** หมายเหตุ การจัดกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ไม่จาเป็นจะต้องมีสมาชิกครบ
ท้ังหมดท่ีกล่าวมาข้างต้น มีเพียง model teacher ที่เป็นครูผู้สอนจริงในห้องเรียน และ buddy teacher ที่
เป็นเพ่ือนครูคู่คิดก็สามารถจัดกระบวนการให้เกิดขึ้นได้เช่นกัน ท้ังน้ีการมี administrator mentor และ
expert ใน PLT จะช่วยยืนยันถึงความน่าเชื่อถือของข้อมูล แนวทางการแก้ไขปัญหา และข้อเสนอแนะที่
สมาชิกได้สะท้อนคิดและแลกเปล่ียนเรียนรู้กัน รวมถึงสามารถกาหนดแนวทางเพ่ือสนับสนุนการพัฒนาการ
จัดการเรียนรใู้ หเ้ หมาะสมและมคี ณุ ภาพสงู สุดสาหรับนกั เรยี น

๓. ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั และการนาผลการอบรมมาใช้ในโรงเรียน

 ประโยชนท์ ่ีได้รับ
เกิดองค์ความรู้ดา้ นการออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอนตามตัวชี้วัดสมรรถนะ PISA การออกแบบ

กจิ กรรม การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับประเดน็ ที่มุ่งวัด ก่อนเร่ิมตน้ จัดกิจกรรมการเรียน
การสอน ผู้สอนต้องทาการการวิเคราะห์ตัวชี้วัดกับสมรรถนะรายวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนว PISA โดย
สมรรถนะรายวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนว PISA ประกอบไปด้วย ๑.การอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์
๒. การประเมินและการออกแบบกระบวนการสบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และ ๓. การแปล
ความหมายข้อมลู และการใชป้ ระจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์

เนื่องจากเป็นการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร จึงได้ลงมือปฏจิ ริงและนาไปสู่การเขียนแผนการจดั การเรียนรู้เพ่ือ
พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะรายวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนว PISA จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการวัด
ประเมินผลผูเ้ รียน เพอื่ นาผลจากการจัดกิจกรรมไปนาเสนอการแลกเปล่ียนเรียนรู้รว่ มกันระหวา่ งครูผสู้ อนท่ี
เข้ารับการอบรมและวิทยากร ทั้งน้ีได้นาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงกิจกรรมและใช้เป็นแนวทางในการเขียน
แผนการจดั การเรียนรอู้ ่นื ๆ ต่อไป

 การนาผลมาประยุกต์ใชใ้ นโรงเรียน
๑. การออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาสมรรถนะ PISA วิชาวิทยาศาสตร์ของ

ผู้เรียน เริ่มต้นได้จากตัวเอง เช่น การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้เป็นแผนการ
จัดการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมหรือพัฒนาสมรรถนะ PISA วิชาวิทยาศาสตร์ได้จริง มีการบันทึกหลังสอน
มกี ระบวนการวดั และประเมินทสี่ ามารถตรวจสอบได้เป็นไปตามแนวทางของ PISA เพื่อเป็นการเตรยี มความ
พรอ้ มของผเู้ รยี นต่อการทดสอบระดับชาติ หากผู้เรยี นมีองค์ความรู้และสมรรถนะที่ดี จะส่งผลใหค้ ะแนนการ
ทดสอบตา่ ง ๆ อย่ใู นระดับท่ดี ี สร้างช่อื เสยี งมาสู่โรงเรยี น

๒. การแลกเปล่ียนเรียนรู้สิ่งที่ได้รับจากการอบรมกับครูผู้สอนในกลุ่มสาระวิชาเดยี วกัน เนอื่ งจากการ
พัฒนาผู้เรียนไม่ได้เกิดมาจากความสามารถของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แต่เกิดมาจากการร่วมมือร่วมใจกันของ
บคุ ลากรทุกคนทจ่ี ะสง่ เสรมิ และพัฒนาผู้เรียนให้เปน็ บุคคลคุณภาพ มสี มรรถนะทพ่ี รอ้ มสาหรับการทดสอบใน
ระดบั ตา่ ง ๆ ตลอดจนนาความรู้ท่ไี ด้รบั ไปใช้ในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ

๓. จัดตั้งชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวทาง
PISA ของผู้เรียน ตลอดจนพัฒนางานเปน็ นวัตกรรมการเรยี นรหู้ รอื จัดทาวจิ ัยทางการศกึ ษา

ภาพประกอบการอบรม
กจิ กรรมสรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจเรอ่ื งสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ตามแนวทาง PISA

กจิ กรรมวเิ คราะหแ์ ผนการจัดการเรียนรู้กบั สมรรถนะวิทยาศาสตร์ตามแนวทาง PISA
และแนวทางการออกข้อสอบ

กจิ กรรมกลุ่มยอ่ ยการวิเคราะหแ์ ผนการจัดการเรียนรู้กบั สมรรถนะวทิ ยาศาสตร์ตามแนวทาง PISA


Click to View FlipBook Version