รายงานวจิ ยั
เรอื่ ง
การบริหารงานตามแนวพุทธ
จัดทาโดย
ประวฒุ ิ อุดมปละ
รหสั นสิ ิต ๖๓๒๘๔๐๔๐๐๒
รายงานนเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของรายวิชาจริยธรรมทางการบริหาร
ตามหลกั สูตรปรญิ ญารัฐประศาสนศาสนบณั ฑิต
สาขาวชิ ารัฐประศาสศาสตร์
วิทยาลยั สงฆ์เชียงราย
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
รายงาน
เรื่อง
การบรหิ ารงานตามแนวพทุ ธ
จัดทาโดย
ประวฒุ ิ อดุ มปละ
รหัสนิสิต ๖๓๒๘๔๐๔๐๐๒
ก
คานา
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา เป็นที่มาของขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีชีวิต ทัศนคติ
ในด้านความรู้สึกนึกคิดต่าง ๆ ของคนไทยจะมีหลักพระพุทธศาสนามาเกี่ยงข้อง ซ่ึงหลักธรรมของ
พระพทุ ธศาสนา จะมอี ทิ ธิพลต่อชีวติ จิตใจของคนไทยมาก และสามารถนามาประยุกต์ใชใ้ นการบริหาร
จัดการ โดยยึดแนวทางการปฏิบัติที่เรียกว่า ทางสายกลาง ซึ่งในทางสายกลางของพุทธศาสนา
เกย่ี วข้องทงั้ กาย วาจา ใจ สมาธิหรอื ว่าปัญญาสามารถนาประยุกตใ์ ช้กบั การบริหารจดั การธุรกิจได้
รายงานเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวิชาจริยธรรมทางการบริหาร โดยมีจุดประสงค์เพื่อ
ใช้ในการศึกษาหาความรู้ท่ีได้จากเรื่อง จริยธรรม หลักการบริหารทางพุทธศาสนา หลักธรรมท่ี
นามาใช้ในการบริหารงาน เพื่อนาไปปรับใช้ในการดาเนินชวี ิตประจาวัน อย่างมีประสิทธิภาพ ในการ
ค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อให้ผู้อ่านได้ศึกษาหาความรู้จากรายงานเล่มน้ีเพื่อที่จะนาเป็นแนวคิดนา ไป
ประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั
หากมขี อ้ ผดิ พลาดประการใดกข็ อ อภยั มา ณ ท่ีนดี้ ้วย
ประวุฒิ อดุ มปละ
ผู้จดั ทา
๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๓
สารบญั ข
เร่ือง หน้า
คานา ก
สารบญั ข
บทท่ี ๑ จรยิ ธรรม ๑
บทที่ ๒ หลักการบริหารทางพุทธศาสนา ๒
บทท่ี ๓ หลักธรรมท่ีนามาใช้ในการบริหารงาน ๔
บรรณานกุ รม ๖
๑
บทท่ี ๑
จรยิ ธรรม
๑.๑ ความหมายจริยธรรม
จริยธรรม (ethics) สามารถใชคาไทยไดหลายคานอกเหนือจากคาวาจริยธรรม เชน
หลกั จรรยา หรอื จรรยาบรรณ หรอื ธรรมะ หรอื คุณธรรม ซ่ึงมคี วามหมายวาขอพึงปฏบิ ัติ
ตามพจนานกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 คาวา ธรรม หมายถึง ความดีสวน
คาวา จรยิ หมายถงึ ความประพฤติ กิริยาทีค่ วรประพฤติ ดงั นนั้ ความหมายของจรยิ ธรรม คอื ธรรมที่
เปนขอประพฤติปฏบิ ัติ
๑.๒ ประเภทจรยิ ธรรม
จรยิ ธรรมแบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท ได้แก่
๑.๒.๑ จริยธรรมภายนอก เป็นจริยธรรมท่ีบุคคลแสดงออกทางพฤติกรรมภายนอก
ที่ปรากฏให้เป็นที่สังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน เช่น ความรับผิดชอบ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยความ
มวี นิ ัย การตรงต่อเวลาเปน็ ต้น
๑.๒.๒ จริยธรรมภายใน เป็นจริยธรรมท่ีเก่ียวข้องกับความรู้สึกนึกคิดหรือทัศนคติของ
บุคคลตามสภาพของจิตใจและสภาวะแวดล้อม เช่น ความซื่อสัตย์ ความยุติธรรม ความเมตตากรุณา
ความกตัญญกู ตเวที เปน็ ต้น
๑.๓ ความสาคญั จรยิ ธรรม
๑.๓.๑ ช่วยใหช้ ีวติ ดาเนนิ ไปดว้ ยความราบรนื่ และสงบสุขไมพ่ บอุปสรรค
๑.๓.๒ ช่วยให้คนเรามีสติสัมปชัญญะอยู่ตลอดเวลา ไม่เผลอตัว ไม่ลืมตัว จะประพฤติ
ปฏิบตั ใิ นสง่ิ ใดก็จะระมัดระวังตัวอยเู่ สมอ
๑.๓.๓ ช่วยสรา้ งความมรี ะเบยี บวนิ ยั ใหแ้ ก่บคุ คลในชาติ
๑.๓.๔ ช่วยควบคุมไม่ใหค้ นช่ัวมีจานวนเพ่ิมมากขนึ้ การปฏิบตั ิตนให้เปน็ ตวั อย่างแกผ่ ู้อน่ื
๑.๓.๕ ช่วยใหม้ นษุ ย์นาความร้แู ละประสบการณ์ ที่รา่ เรยี นมาสร้างสรรค์ส่งิ ท่ีมคี ณุ คา่
๑.๓.๖ ช่วยควบคุมการเจริญทางดา้ นวตั ถุและจิตใจของคนใหเ้ จริญไปพร้อมๆกนั
๑.๓.๗ ชว่ ยสร้างความมน่ั คงทางจติ ใจให้มนุษย์
๑.๔ สรุป
จริยธรรม หมายถึง หลักความประพฤติแนวทางแบบแผน หรือหลักการท่ีวาดวยความดี
งามซ่ึงมีพื้นฐานมาจากหลักการของศาสนา หรือสิ่งที่คนในสังคมยอมรับวาเปนความดีความถูกตอง
เปนตนวา หลักของศีล สมาธิ หลักของการยึดประโยชนสวนรวม หรือหลักของการพัฒนาประเทศ
ฯลฯ เพ่ือความสามารถในการอยู ร่วมกันในสังคมอย างมีความสุขการปลูกฝ ง จริยธรรม
จงึ เปรยี บเสมือนการพฒั นาคณุ ภาพจติ ท่ีมอี ิทธิพลตอความประพฤตขิ องมนษุ ยในสงั คม
๒
บทที่ ๒
หลักการบริหารทางพทุ ธศาสนา
๒.๑ บทนา
การบริหาร มีนักวิชาการหลายท่านให้ความหมายในหลักการบริหารอย่างมากมาย
ซ่ึงการบริหารจัดการมีแนวคิดมาจากธรรมชาติของมนุษย์ที่เป็นสัตว์สังคม ซึ่งจะต้องอยู่รวมกันเป็น
กลุ่ม โดยจะต้องมีผู้นากลุ่มและมีแนวทางหรือวิธีการควบคุมดูแลกันภายในกลุ่มให้เกิดความสุขและ
ความสงบเรียบร้อย การทางานให้สาเร็จโดยอาศัยคนอื่นช่วยทา (Gettingthings done through
other people) น้ันคือ นักบริหารจะไม่ทางานคนเดียว ต้องอาศัยลูกน้องชว่ ยกันทา โดยผู้บริหารจะ
ใช้ศาสตร์ และศิลป์ในการรีดเอาความสามารถของลูกน้องออกมาใช้ให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ถ้า
ทางานคนเดียวจะไมเ่ รียกว่า การบริหาร
๒.๒ หลกั การบริหารทางพทุ ธศาสนา
หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา คือ การเพียรพยายามขัดเกลาจิตตน ด้วยการเพิ่ม
ปัญญา วิชา อันเป็นตัวความรู้ให้สามารถบริหารตนได้มากพอสมควร ท่ีจะเข้าไปมีส่วนในการบริหาร
คนอื่นจากคนหนึ่งไปถึงหลายๆ คน จนถึงบริหารองค์การต่างๆ ที่ถ้ามองในแง่ของความจริงแล้ว การ
บริหารทุกอย่างต้องเริ่มที่การบริหารตนมาก่อนท้ังน้ัน การบริหารองค์การตลอดถึงประเทศชาติ การ
ทางาน ประสานงาน ร่วมแรงร่วมใจกันในการทาหน้าท่ีป้องกัน บาบัด บารุง รักษาองค์การของคนท่ี
ศึกษา ฝึกหรืออบรมตนมาดีแล้วนั่นเอง การบริหารองค์การจึงเป็นผลสืบเนื่องมาจากคนเป็นจานวน
มากท่ฝี กึ ปรือกนั มาในดา้ นต่างๆ จนเกดิ ความรู้ ความคิด ความสามารถ คุณธรรมเหมาะสมที่จะทางาน
ในฐานะน้ันๆ การนาหลักท่ีพระพุทธเจ้าได้ทรงตรัสเก่ียวกับการบริหารงานทุกระดบั ผู้บริหารท่ีจะให้
การบริหารงานสาเรจ็ ลุล่วงได้ตอ้ งมี
คณุ ลักษณะ ๓ ประการ คอื
๑. จกั ขมุ า มีปัญญามองไกล ตอ้ งมีความชานาญในการใชค้ วามคดิ
๒. วธิ โุ ร มกี ารจดั การธรุ ะได้ดี ต้องมีความชานาญดา้ นเทคนคิ
๓. นสิ สยสมั ปนั โน มกี ารพึง่ พาอาศยั คนอน่ื ไดต้ อ้ งมีความชานาญดา้ นมนุษย์สมั พนั ธ์
จะเห็นได้ว่า หลักธรรมทางพุทธศาสนา มีส่วนสาคัญในการสร้างเสริมความเป็นผู้นา
เพราะเป็นหลักธรรมสาหรับการปกครองตนเองและผู้อ่ืน สามารถนามาประยุกต์ใช้กับการบริหารงาน
ทุกประเภท ทงั้ ยงั เป็นหลกั ธรรมนาชวี ิตใหป้ ระสบสขุ ในแนวทางจรยิ ธรรมของพทุ ธศาสนาด้วยเชน่ กัน
๓
๒.๓ สรุป
การบริหารการศึกษาตามแนวพุทธธรรม คือ การดาเนินการของผู้บริหารในการนา
หลักธรรมท่ีปรากฏในพุทธวิธี มาสร้างเป็นแรงจูงใจผลักดันให้บุคลากรแสดงพฤติกรรมอย่างมีทิศทาง
เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมาย หรือเง่ือนไขที่ต้องการ พร้อมชักนาโน้มน้าว กระตุ้น สนับสนุน ส่งเสริมสร้าง
ขวญั กาลังใจให้แก่บุคลากรทางการศึกษาให้ปฏิบัติงานอย่างต้ังใจ เต็มใจ และทุ่มเท เพื่อทาให้งานเกิด
ประสิทธิภาพ และประสทิ ธิผล สามารถนาความรู้ และศักยภาพท่ีมีอยู่ออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่าง
สูงสุด สร้างเป็นแรงผลักนาองค์การให้ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ดาเนินการไปอย่างรอบคอบ
รอบด้าน ซ่ึงจะเป็นด้วยความเพียรพยายามในทางท่ีชอบ ความเพยี รชอบนั้นเองคือกุศลธรรม และผล
จากความเพียรชอบก็จะสร้างสรรค์พัฒนาการบริหารทุกระดับ ที่อาจสรุปเป็นการบริหารตน บริหาร
คน และบริหารงาน
๔
บทที่ ๓
หลักธรรมทนี่ ามาใชใ้ นการบรหิ ารงาน
๓.๑ บทนา
หลกั ในการพิจารณาเลือกคาสอนพทุ ธศาสนามาใช้ในการบริหารจดั การนั้นต้องเลอื กมา
ใหเ้ หมาะกับวิถชี ีวิต และองคก์ รโดยหลกั ๆ เก่ียวกบั การปกครอง เกีย่ วกับการบรหิ ารองคก์ รตา่ ง ๆ
จะต้องใช้หลกั ธรรม
๓.๒ อิทธบิ าท ๔
อิทธิบาท ๔ หมายถึง ทางดาเนินไปสู่ความสาเร็จ ประกอบด้วย ฉันทะ วิริยะ จิตตะ
วิมังสา คาว่า อิทธิบาท แปลว่า บาทฐานแห่งความสาเร็จ หมายถึง สิ่งซึ่งมีคุณธรรม เคร่ืองให้ลุถึง
ความสาเร็จตามท่ีตนประสงค์ ผู้หวังความสาเร็จในสิ่งใด ต้องทาตนให้สมบูรณ์ ด้วยส่ิงที่เรียกว่า อิทธิ
บาท ซง่ึ จาแนกไว้เปน็ ๔ ประการคอื
ฉันทะ ความพอใจรักใครใ่ นส่งิ น้ัน
วิรยิ ะ ความพากเพยี รในสิ่งนั้น
จิตตะ ความเอาใจใสฝ่ กั ใฝ่ในส่ิงน้ัน
วิมังสา ความหมนั่ สอดส่องในเหตุผลของส่ิงน้ัน
๓.๒.๑ ฉันทะ หมายถึง ความพอใจ คือ ความต้องการท่ีจะทา ใฝ่ใจรักจะทาส่ิงน้ันอยู่
เสมอ และปรารถนาจะทาให้ ไดผ้ ลดียง่ิ ๆขึน้ ไป
ฉันทะ คือความพอใจ ในฐานะเป็นสิ่งที่ ตนถือว่า ดีท่ีสุด ท่ีมนุษย์เรา ควรจะได้ ข้อนี้
เปน็ กาลงั ใจ อนั แรก ท่ที าใหเ้ กิด คณุ ธรรม ข้อต่อไป ทกุ ข้อ
๓.๒.๒ วิริยะ หมายถึง ความเพียร คือ ขยันหมั่นประกอบส่ิงน้ันด้วยความพยายาม
เข้มแข็ง อดทน เอาธรุ ะไมท่ อ้ ถอย
วิริยะ คือความพากเพียร หมายถึง การการะทาท่ีติดต่อ ไม่ขาดตอน เป็นระยะยาว จน
ประสบ ความสาเร็จ คานี้ มคี วามหมายของ ความกล้าหาญ เจืออยู่ดว้ ย ส่วนหนงึ่
๕
๓.๒.๓ จิตตะ หมายถึง ความไม่ทอดท้ิง ส่ิงน้ัน ไปจากความรู้สึก ของตัว ทาส่ิงซ่ึงเป็น
วัตถปุ ระสงค์ น้ันให้เดน่ ชัด อยู่ในใจเสมอ คานี้ รวมความหมาย ของคาวา่ สมาธิ อย่ดู ้วยอย่างเตม็ ท่ี
จิตตะ คือ ความคิด คือ ตั้งจิตรับรู้ในส่ิงที่ทา และทาสิ่งน้ันด้วยความคิด เอาจิตฝักใฝ่ ไม่
ปลอ่ ยใจให้ฟุ้งซ่านเลอื่ นลอยไป
๓.๒.๔ วิมังสา หมายถึง ความไตร่ตรอง หรือ ทดลอง ความสอดส่องใน เหตุและผล
แห่งความสาเร็จ เก่ียวกับเร่ืองนั้นๆ ให้ลึกซ้ึงย่ิงๆ ขึ้นไปตลอดเวลา คาน้ี รวมความหมาย ของคาว่า
ปัญญา ไว้อย่างเตม็ ท่ี
วิมังสา คือ หมั่นใช้ปัญญา พิจารณาใคร่ครวญ ตรวจหาเหตุผล และตรวจสอบข้อย่ิง
หย่อนในสง่ิ ที่ทาน้นั มกี ารวางแผน วัดผล คิดคน้ วธิ แี ก้ไขปรบั ปรุง เป็นตน้
๓.๓ สรุป
อิทธิบาท หรือ อิทธิบาท 4 เป็นศัพท์ในพระพุทธศาสนา หมายถึง ฐานหรือหนทาง
สู่ความสาเร็จ หรือ คุณเครื่องให้ถึงความสาเร็จ คุณเครื่องสาเร็จสมประสงค์ ทางแห่งความสาเร็จ
คุณธรรมที่นาไปสู่ความสาเร็จแหง่ ผลทีม่ ุ่งหมาย
๖
บรรณานุกรม
๑.ข้อมูลออนไลน์
ผชู วยศาสตราจารยกติ ติภูมิ มีประดิษฐ, จรยิ ธรรม, ข้อมลู ออนไลน์. เขา้ ถึงไดจ้ าก.
http://dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/771/1/จริยธรรม.pdf
พระมหามงคล สารนิ ทร, การบรหิ ารงานตามแนวพุทธธรรม, ข้อมูลออนไลน.์ เข้าถึงได้จาก.
http://ejournals.swu.ac.th/index.php/EAJ/article/download/4118/4082
นายติวฟรี, อทิ ธบิ าท 4, ขอ้ มูลออนไลน.์ เขา้ ถึงไดจ้ าก.
https://www.tewfree.com/อิทธิบาท4/