The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aomzap69, 2022-07-11 09:48:37

สมุดเล่มเล็ก

F49114BB-C1D0-44F9-B6AC-85F1AB2BAFAA

เครื่องหมายเตือนส
ารเคมีอันตราย
จัดทำ
โดย

ด.ญ.พิชชาภา เขตคาม เลขที่19

ด.ญ.กวินตรา โพธิ์ปัดชา เลขที่ 3

นำเสนอโดย



อ.พรพรรณ ยิ่งยง

คำนำ

สารเคมีอันตราย วัตถุอันตรายหรือสารอันตราย หมายถึง
ธาตุหรือสารประกอบที่มีคุณสมบัตรเป็นพิษหรือเป็น

อันตรายต่อมนุษย์ พืช สัตว์ทำให้ทรัพย์สินและสิ่งแวดล้อม
เสื่อมโทรม

ประเภทที่ 1 ระเบิดได้




ประเภทที่ 1 วัตถุระเบิด (Explosives) หมายถึง วัตถุที่สามารถระเบิดได้
เมื่อได้รับความร้อน ประกายไฟ เปลวไฟ หรือเมื่อเกิดการเสียดสี กระทบ

กระเทือน หรือถูกกระทำโดยตัวจุดระเบิด

ประเภทที่ 2 ก๊าซ

ประเภทที่ 2 ก๊าซ (Gases) หมายถึง สารที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส
มีความดันไอมากกว่า 300 กิโลปาสกาล หรือมีสภาพเป็นก๊าซอย่าง

สมบูรณ์ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส และมีความดัน 101.3 กิโลปาสกาล

ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ

ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ (Flammable liquids) หมายถึง ของเหลว
หรือของเหลวผสมที่มีจุดวาบไฟ (Flash Point) ไม่เกิน 60.5 องศา

เซลเซียสจากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยปิด (Closed-cup Test) หรือไม่เกิน
65.6 องศาเซลเซียส

ประเภทที่ 4 ของแข็งไวไฟ

เพิ่มหัวเรื่องย่อยประเภทที่ 4 ของแข็งไวไฟ สารที่มีความเสี่ยงต่อการลุกไหม้
ได้เอง และสารที่สัมผัสกับน้ำแล้วทำให้เกิดก๊าซไวไฟ (Flammable
Solids, Substances Liable to spontaneous combustion,

Substances whice in contact with water emit flammable
gases) วัตถุที่จัดไว้ในประเภทนี้ เป็นวัตถุที่เป็นอันตราย อาจเป็นสาเหตุให้

ประเภทที่ 5 วัตถุออกซิไดส์และ
ออร์แกนิกเตอร์ออกไซด์

ประเภทที่ 5 วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุอินทรีย์เปอร์ออกไซด์ (Oxidizing substances and Organic
peroxides) คือวัตถุออกซิไดซ์ (Oxidizing substances) หมายถึงวัตถุที่สามารถให้ออกซิเจนออกมาโดยที่
วัตถุนี้ไม่จำเป็นต้องเกิดการ เผาไหม้หรือเป็นวัตถุที่ทำให้เกิดขบวนการ oxidationในลักษณะที่คล้ายกันทำให้

เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดไฟไหม้ต่อวัตถุ อื่นที่วางไว้ใกล้เคียง และมีความรุนแรงยิ่งขึ้น

ประเภทที่ 6 วัตถุมีพิษและวัตถุติดเชื้อ

ประเภทที่ 6 วัตถุมีพิษและวัตถุติดเชื้อ (Toxic and Infectious Substances)
1. วัตถุมีพิษ (Toxic Sustances) วัตถุเหล่านี้อาจทำให้เสียชีวิตหรือทำให้เกิดการเจ็บป่วยอย่าง

รุนแรงเมื่อ เข้าสู่ร่างกายโดยสัมผัสกับผิวหนัง หรือหายใจ หรือกลืนกินเข้าไป

2.วัตถุติดเชื้อ (Infectious Substanc
es ) เป็นวัตถุที่มีเชื้อจุลินทรีย์ (Micro
organism) อันเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในมนุษย์และสัตว์

ประเภทที่ 7 วัตพุกัมมันตรังสี

ประเภทที่ 7 วัตถุกัมมันตรังสี (Radioactive material) หมายถึง
วัตถุที่สลายตัวแล้วให้รังสีออกมามากกว่า 0.002 ไมโครคิวรีต่อ น้ำ
หนักของวัตถุนั้น 1 กรัม หรือ 70 k Bq/kg. รังสีนี้มองไม่เห็นด้วยตา

เปล่า

ประเภทที่ 8 วัตถุกัดกร่อน

ประเภทที่ 8 วัตถุกัดกร่อน (Corrosives Substances)
หมายถึง ของแข็ง หรือของเหลว ซึ่งโดยปฏิกิริยาเคมีมีฤทธิ์
กัดกร่อน ทำความเสียหายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตอย่างรุนแรง
หรือทำลายสินค้า/ยานพาหนะที่ทำการขนส่งเมื่อเกิดการรั่วไหล

ของสารระเหย

ประเภทที่ 9 วัตถุอื่นๆที่เป็นอันตราย

ประเภทที่ 9 วัสดุอันตรายเบ็ดเตล็ด (Miscellaneous Dangerous
Substances and Articles) หมายถึง วัตถุและสิ่งของที่มีความเป็น
อันตราย ซึ่งไม่จัดอยู่ในประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 8 และให้รวมถึงสารที่มี
อุณหภูมิไม่ต่ำกว่า 100 องศาเซลเซียสในสภาพของเหลว หรือมีอุณหภูมิไม่
ต่ำกว่า 240 องศาเซลเซียสในสภาพของแข็ง เช่น ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรท
ชนิด B (UN.2071), Asbestos, Zinc hydrosulfite, PBC เป็นต้น


Click to View FlipBook Version