The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

map-รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย-พุทธศักราช-2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nisara Wongboonmak, 2019-11-23 01:17:55

map-รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย-พุทธศักราช-2560

map-รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย-พุทธศักราช-2560

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560

เป็ นกฎหมายหลกั ในการปกครองประเทศ

คานึงถงึ ความคิดเห็น หลกั การ ส่ งเสริมการปกครอง
ของประชาชน ระบอบประชาธิปไตย
เป็ นสาคัญ
ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ
ปรับปรุงโครงสร้างทางการเมืองให้ เสรีภาพของประชาชน
มี เสถยี รภาพและประสิทธิภาพ

มากยง่ิ ขนึ้

สามารถตรวจสอบอานาจรัฐได้เพมิ่ ขนึ้ ประชาชนมสี ่วนร่วมในการปกครอง

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560

ปรับปรุงโครงสร้างทางการเมอื ง

ปฏริ ูปการเมอื งการปกครอง เจตนารมณ์ ปฏริ ูปการเมอื งการปกครอง
ไปสู่ระบบทช่ี อบธรรม ให้เป็ นประชาธิปไตย

พฒั นาสังคมไทยไปสู่สังคม
ประชาธิปไตยอย่างแท้จริง

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560

หมวดที่ 16 การปฏิรูปประเทศ บทเฉพาะกาล หมวดท่ี 1 บททว่ั ไป
(ม. 257-261) (ม. 262 -279) (ม. 1-5)

หมวดท่ี 15 การแกไ้ ขเพิ่มเติม หมวดท่ี 2 พระมหากษตั ริย์
รัฐธรรมนูญ (ม. 255-256) (ม.6-24)

หมวดที่ 14 การปกครองทอ้ งถ่ิน หมวดท่ี 3 สิทธิและเสรีภาพ
(ม. 249-254) (ม. 25-49)

หมวดท่ี 13 องคก์ รอยั การ โครงสร้าง หมวดที่ 4 หนา้ ที่ของ
(ม. 248) ชนชาวไทย (ม. 50)

หมวดที่ 12 องคก์ รอิสระ หมวดท่ี 5 หนา้ ท่ีของรัฐ
(ม. 215-247) (ม. 51-63)

หมวดท่ี 11 ศาลรัฐธรรมนูญ หมวดที่ 6 นโยบายแห่งรัฐ
(ม. 200-214) (ม. 64-78)

หมวดที่ 10 ศาล

(ม. 188-199)

หมวดท่ี 9 ขดั กนั แห่ง
ผลประโยชน์ (ม. 184-187)

หมวดท่ี 8 คณะรัฐมนตรี หมวดท่ี 7 รัฐสภา
(ม. 158-183) (ม. 79-157)

รา่ งรฐั ธรรมนญู ฉบบั ลงประชามติ สาระสาคญั

รา่ งรัฐธรรมนูญฉบบั นมี้ ี 279 มาตรา 16 หมวด และบทเฉพาะกาล โดยแตล่ ะ
หมวดมดี ังนี้

1. หมวดท่ัวไป
2. หมวดพระมหากษัตรยิ ์
3. หมวดสทิ ธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย
4. หมวดหนา้ ทข่ี องปวงชนชาวไทย
5. หมวดหนา้ ทขี่ องรัฐ
6. หมวดนโยบายแหง่ รัฐ
7. หมวดรัฐสภา
8. หมวดคณะรัฐมนตรี
9. หมวดขดั กนั แหง่ ผลประโยชน์
10. หมวดศาล
11. หมวดศาลรัฐธรรมนูญ
12. หมวดองคก์ รอสิ ระ
13. หมวดองคก์ รอยั การ
14. หมวดการปกครองทอ้ งถนิ่
15. หมวดการแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ รัฐธรรมนูญ
16. หมวดการปฏริ ปู ประเทศ

บทเฉพาะกาล

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560

สิทธิในการเสนอเรื่องใหอ้ ยั การ
สูงสุดตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง

สิทธิท่ีจะไดร้ ับการสนั นิษฐานวา่ ศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์
ไม่มีความผดิ

สิทธิและเสรีภาพในร่างกาย มีสิทธิเลือกต้งั

สิทธิที่จะต่อตา้ นโดยสนั ติวธิ ี มีสิทธ์ิลงคะแนนเสียง

สิทธิท่ีจะเสนอเร่ืองราวร้องทุกข์ มีสิทธิสมคั รรับเลือกต้งั

สิทธิท่ีจะไดร้ ับขอ้ มูล คาช้ีแจง สิทธิของ มีสิทธิเสมอกนั ในการรับ
และเหตผุ ล คนไทย การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
ไม่นอ้ ยกวา่ 12 ปี
สิทธิที่จะไดร้ ับทราบขอ้ มูลหรือ
ข่าวสาธารณะ ความเท่าเทียมกนั

สิทธิในฐานะผบู้ ริโภค สิทธิในครอบครัว เกียรติยศ
ช่ือเสียง ความเป็ นอยสู่ ่วนตวั

สิทธิที่จะฟ้ องหน่วยงานราชการ สิทธิที่จะรวมกนั เป็ นชุมชน
สิทธิที่จะมีส่วนร่วมกบั ชุมชน ทอ้ งถ่ินเดิม

สิทธิในทรัพยส์ ิน

สิทธิของผพู้ ิการและทุพพลภาพ สิทธิท่ีจะไม่ถกู เกณฑแ์ รงงาน

สิทธิของผมู้ ีอายเุ กิน 60 ปี และมีรายไดไ้ ม่ สิทธิการรับบริการทาง
เพยี งพอตอ้ งไดร้ ับการช่วยเหลือ สาธารณสุขท่ีไดม้ าตรฐาน

สิทธิเด็กและบุคคลในครอบครัวตอ้ งไดร้ ับ
การคุม้ ครอง เล้ียงดู ศึกษาอบรม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560

การอยอู่ าศยั หรือครอบครองเคหสถาน (ม.35) การเดินทางและเลือกที่อย(ู่ ม.36)

ประกอบกิจการหรืออาชีพ เสรีภาพ การสื่อสารถึงกนั (ม.37)
และการแข่งขนั โดยเสรี ของคนไทย
อยา่ งเป็ นธรรม (ม. 50) การนบั ถือศาสนา (ม. 38)

รวมกนั จดั ต้งั เป็นพรรค การแสดงความคิดเห็น
การเมือง (ม.47) การพดู การเขียน การพมิ พ์

การรวมตวั กนั เป็ นสมาคม สหภาพ การโฆษณา (ม.39)
สหพนั ธ์ สหกรณ์ กลุม่ เกษตร
องคก์ รเอกชน (ม. 45) การเสนอขา่ วและการแสดง
ความคิดเห็น (ม. 41)

การชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวธุ เสรีภาพทางวชิ าการ (ม. 42)

หมวด ๔ หนา้ ท่ีของปวงชนชาวไทย
มาตรา ๕๐ บุคคลมีหนา้ ที่ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) พทิ กั ษร์ ักษาไวซ้ ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และการปกครอง
ระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
(๒) ป้ องกนั ประเทศ พิทกั ษร์ ักษาเกียรติภูมิผลประโยชน์ของชาติ และ
สาธารณสมบตั ิของแผน่ ดิน รวมท้งั ใหค้ วามร่วมมือในการป้ องกนั และ
บรรเทาสาธารณภยั
(๓) ปฏิบตั ิตามกฎหมายอยา่ งเคร่งครัด
(๔) เขา้ รับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบงั คบั
(๕) รับราชการทหารตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ
(๖) เคารพและไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น และไม่กระทา
การใดท่ีอาจ ก่อใหเ้ กิดความแตกแยกหรือเกลียดชงั ในสังคม
(๗) ไปใชส้ ิทธิเลือกต้งั หรือลงประชามติอยา่ งอิสระโดยคานึงถึง
ประโยชนส์ ่วนรวม ของประเทศเป็นสาคญั
(๘) ร่วมมือและสนบั สนุนการอนุรักษแ์ ละคุม้ ครองส่ิงแวดลอ้ ม
ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมท้งั มรดกทาง
วฒั นธรรม
(๙) เสียภาษีอากรตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ
(๑๐) ไม่ร่วมมือหรือสนบั สนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560

รักษาไว้ซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
และการปกครองระบอบประชาธิปไตย

ข้าราชการหรือพนักงาน หน้าที่ ปฏิบัตติ ามกฎหมาย
ของรัฐมหี น้าทีร่ ักษาไว้ ของคนไทย ไปใช้สิทธิเลอื กต้งั
ซ่ึงประโยชน์ ส่ วนรวม
อานวยความสะดวกและ
การบริการแก่ประชาชน

วางตนเป็ นกลาง
ทางการเมอื ง ชี้แจง
แสดงเหตุผลตามหน้าที่

ป้ องกนั ประเทศ รับราชการทหาร เสียภาษีอากร
ช่วยเหลอื ราชการ รับการศึกษาอบรม พทิ กั ษ์ ปกป้ อง
สืบสานศิลปวฒั นธรรมของชาตแิ ละภูมิปัญญาท้องถน่ิ

อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


Click to View FlipBook Version