The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติงานกับ
สารเคมีอันตรายอย่างปลอดภัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nook, 2024-02-15 00:01:21

คู่มือการปฏิบัติงานกับ สารเคมีอันตรายอย่างปลอดภัย

คู่มือการปฏิบัติงานกับ
สารเคมีอันตรายอย่างปลอดภัย

BY ADMIN SECTION คู่มือการปฏิบัติงานกับ สารเคมีอันตรายอย่างปลอดภัย KANOKWAN YOMJINDA


KANOKWAN YOMJINDA 1. KANOKWAN YOMJINDA


ข้อสอบ PRE-TEST 2. KANOKWAN YOMJINDA


สารเคมีอันตราย หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบที่มี คุณสมบัติเป็นพิษหรือเป็นอันตราย 3. KANOKWAN YOMJINDA


ลักษณะของสารเคมีสารเคมีชนิดต่าง ๆ ฝุ่น (DUST) สารเคมีที่เป็นอนุภาคของของแข็งที่มีขนาดเล็กเกิดการที่ของแข็ง ถูกตี บด กระทบ กระแทกKANOKWAN YOMJINDA 4.ฟูม (FUME) อนุภาคที่เป็นของแข็งขนาดเล็กมีขนาดอนุภาคเล็กกว่า 1 ไมครอนของเหลว (LIQUID) สารที่มีรูปร่างไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ เช่น สารตัวทําละลาย (SOLVENTS)


ลักษณะของสารเคมี สารเคมีชนิดต่าง ๆ KANOKWAN YOMJINDA 5. ละออง (MIST) อนุภาคของของเหลวที่มีขนาด ไม่เกิน 10 ไมครอน แขวนลอยอยู่ในอากาศ ไอสารหรือไอระเหย (VAPOR) สภาวะก๊าซของสารที่เป็น ของเหลว หรือของแข็งที่อุณหภูมิและความกดดันปกติ


ลักษณะของสารเคมี สารเคมีชนิดต่าง ๆ KANOKWAN YOMJINDA 6. ก๊าซ (GAS) ของไหล (FLUID) ซึ่งไม่มีรูปร่างที่ แน่นอน ขึ้นกับภาชนะที่ใช้บรรจุ ควัน (SMOKE) อนุภาคเล็กละเอียดที่ลอยอยู่ในอากาศมีขนาด เล็กกว่า 1 ไมครอนเกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์


การเข้าสู่ร่างกายของสารเคมี 1. การหายใจ : สารเคมีที่อยู่ในรูปของ ไอระเหย ก๊าซ ละออง เมื่อเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจอาจทำ ลายระบบทางเดินหายใจ KANOKWAN YOMJINDA 7. 2. ดูดซึมผ่านผิวหนัง : โดยการสัมผัสหรือจับสารพิษ อาจส่งผลกระทบตั้งแต่ค่อนข้างน้อยจนถึงรุนแรงมาก เช่น เป็นผื่นแดง 3. การกินเข้าไป : หากสารที่กินเข้าไปมีฤทธิ์กัดกร่อนจะ ทำ ให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร


การดูดซึมและการกระจายของสารเคมีในร่างกาย 1 2 3 สารพิษจะเข้าสู่ร่างกายได้ 3 ทาง คือ ทางผิวหนัง ทางลมหายใจ และทางปาก 8. KANOKWAN YOMJINDA


การขจัดสารเคมี ออกจากร่างกาย ทางลมหายใจ ทางปัสสาวะ ทางอุจจาระ ทางเหงื่่อ ทางน้ำ ตา ทางน้ำ นม ทางน้ำ ลาย 9. KANOKWAN YOMJINDA


กฎหมายที่เกี่ยวกับสารเคมีอันตราย กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. 2556 KANOKWAN YOMJINDA 10.


หลัลั ลักลัการทั่ทั่ ทั่ วทั่ วไปในการควบคุคุ คุ ม คุ มและป้ป้ป้ อ ป้ องกักั กั นกั นอัอั อั นอั นตรายจากสารเคมีมี มีมี 1. แหล่งกําเนิดของสารเคมี(SOURCE) 11. KANOKWAN YOMJINDA ต้องนํามาพิจารณาเป็นอันดับแรกเป็นวิธีการที่ให้ประสิทธิภาพมากที่สุด วิธีการ ป้องกันอันตรายจากสารเคมีที่แหล่งกําเนิด มีดังต่อไปนี้ 1 2 3 ใช้สารเคมีอื่นที่มีพิษน้อยกว่าแทน เปลี่ยนกระบวนการผลิตใหม่ แยกกระบวนการผลิตที่มีอันตรายออก


2. ทางผ่านของสารเคมี (PATH) ควรจะได้รับการพิจารณาเป็นอันดับสองรองจากการป้องกันที่แหล่งกําเนิดเพราะเป็นวิธี การที่ให้ผลดีพอสมควร หลักการป้องกันอันตรายที่ทางผ่าน มีดังต่อไปนี้ หลัลั ลักลัการทั่ทั่ ทั่ วทั่ วไปในการควบคุคุ คุ ม คุ มและป้ป้ป้ อ ป้ องกักั กั นกั นอัอั อั นอั นตรายจากสารเคมีมี มีมี 1 2 3 12. KANOKWAN YOMJINDA การบํารุงรักษาสถานที่ทํางานให้สะอาดเรียบร้อย การติดตั้งระบบระบายอากาศทั่วไป เพิ่มระยะทางระหว่างแหล่งกําเนิดของสารเคมีกับตัว บุคคลมากขึ้น


3. ที่ตัวบุคคล (RECEIVER) 1 2 3 หลัลั ลักลัการทั่ทั่ ทั่ วทั่ วไปในการควบคุคุ คุ ม คุ มและป้ป้ป้ อ ป้ องกักั กั นกั นอัอั อั นอั นตรายจากสารเคมีมี มีมี 13. KANOKWAN YOMJINDA การป้องกันอันตรายส่วนบุคคลควรพิจารณาเป็นอันดับสุดท้ายเสียค่าใช้จ่ายต่ำ และทําง่ายการป้องกันอันตรายที่ตัวบุคคล มีดังต่อไปนี้ การให้การศึกษาและฝึกอบรมแก่ผู้ปฏิบัติงานให้ทราบถึงอันตรายจากสารเคมีวิธีการ ป้องกันอันตรายที่ถูกต้อง การหมุนเวียน หรือสับเปลี่ยนหน้าที่การปฏิบัติงาน การลดชั่วโมงการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย


สัญลักษณ์แสดงอันตรายของสารเคมีและ ข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย รระะบบบบ GGHHSS 14. KANOKWAN YOMJINDA ระบบGHSเป็นระบบสากลในการจําแนกประเภทความเป็นอันตราย การสื่อสารข้อมูลสารเคมี ข้อควรระวังผ่าน การติดฉลาก และเอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SAFETY DATA SHEET,SDS) ได้กําหนดไว้ 9 ชนิด ดังนี้


วัตถุระเบิด GHS01 : EXPLOSIVE สารที่ทำ ปฏิกิริยาได้ด้วยตนเอง สัญลักษณ์ 15. K A N O K W A N Y O M J I N D A รร ะะบบบบ GGHHSS


รร ะะบบบบ GGHHSS 16. สารที่ลุกติดไฟได้เอง GHS02 : FLAMMABLE สารที่ทำ ปฏิกิริยาได้ด้วยตนเอง สารไวไฟ สัญลักษณ์ K A N O K W A N Y O M J I N D A


รร ะะบบบบ GGHHSS สารออกซิไดส์ สารเปอร์ออกไซด์ GHS02 : GHS03 : OXIDIZING สัญลักษณ์ 17. K A N O K W A N Y O M J I N D A


รร ะะบบบบ GGHHSS ก๊าซบรรจุภายใต้ ความดัน GHS04 : COMPRESSED GAS สัญลักษณ์ 18. K A N O K W A N Y O M J I N D A


รร ะะบบบบ GGHHSS สารกัดกร่อน มีพิษ ต่อดวงตาและผิวหนัง GHS05 : CORROSIVE สัญลักษณ์ 19. K A N O K W A N Y O M J I N D A


รร ะะบบบบ GGHHSS สัญลักษณ์ สารที่มีพิษเฉียบพลัน อันตรายถึงชีวิต GHS05 : CORROSIVE 20. K A N O K W A N Y O M J I N D A ความเป็นพิษเฉียบพลัน (รุนแรง)


สัญลักษณ์ รร ะะบบบบ GGHHSS สารที่มีพิษเฉียบพลัน เป็นอันตราย ทำ ให้เกิด อาการแพ้ที่ผิวหนัง GHS07 : HARMFUL 21. K A N O K W A N Y O M J I N D A


รร ะะบบบบ GGHHSS สัญลักษณ์ สารที่เป็นพิษต่อ สุขภาพ, สารก่อมะเร็ง GHS08 : HEALTH HAZARD 22. K A N O K W A N Y O M J I N D A


รร ะะบบบบ GGHHSS สัญลักษณ์ สารที่เป็นพิษต่อ สิ่งแวดล้อม GHS09 : ENVIRONMENTAL HAZARD 23. K A N O K W A N Y O M J I N D A


สัญลักษณ์แสดงอันตรายของสารเคมีและ ข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย KANOKWAN YOMJINDA 24. รระะบบบบ EEEECC


สัญลักษณ์ รร ะะบบบบ EEEECC วัตถุระเบิดได้ (E: EXPLOSIVE) 25. K A N O K W A N Y O M J I N D A สารเคมีที่เกิดปฏิกิริยาแล้วให้ความร้อน และแก๊สอย่างรวดเร็ว


สัญลักษณ์ รร ะะบบบบ EEEECC วัตถุไวไฟสูงมาก (F+: EXTREMELY FLAMMABLE) 26. K A N O K W A N Y O M J I N D A ของเหลวที่มีจุดวาบไฟต่ำ กว่า 0°Cและ จุดเดือดไม่เกิน 35°C แก๊สผสมซึ่งไวไฟ ในอากาศที่อุณหภูมิและความดันปกติ


สัญลักษณ์ รร ะะบบบบ EEEECC วัตถุไวไฟมาก (F: HIGHLY FLAMMABLE) 27. K A N O K W A N Y O M J I N D A ของเหลวที่มีจุดวาบไฟต่ำ กว่า 0°Cและ จุดเดือดไม่เกิน 35°C แก๊สผสมซึ่งไวไฟ ในอากาศที่อุณหภูมิและความดันปกติ


สัญลักษณ์ รร ะะบบบบ EEEECC สารออกซิไดส์ (O: OXIDIZING) 28. K A N O K W A N Y O M J I N D A สารเคมีซึ่งโดยปกติไม่ลุกไหม้เอง แต่ เมื่อสัมผัสกับสารซึ่งลุกไหม้ได้สามารถให้ ออกซิเจนแล้วเร่งการลุกไหม้ได้


สัญลักษณ์ รระะบบบบ EEEECC สารพิษ(T+/T: TOXIC) 29. KANOKWAN YOMJINDAการสูดดม กลืนกิน ดูดซึมผ่านผิวหนังเพียงปริมาณเล็กน้อยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพหรืออาจถึงตายได้และอาจก่อให้เกิดมะเร็ง


สัญลักษณ์ รร ะะบบบบ EEEECC สารอันตราย (XN : HARMFUL) 30. K A N O K W A N Y O M J I N D A การสูดดม การกลืนกิน หรือซึมผ่าน ผิวหนังก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ แบบเฉียบพลัน หรือเรื้อรังโดยเฉพาะ สารก่อมะเร็ง


รร ะะบบบบ EEEECC สัญลักษณ์ สารกัดกร่อน (C : CORROSIVE) 31. K A N O K W A N Y O M J I N D A สารซึ่งโดยปฏิกิริยาเคมีจะก่อให้เกิด ความเสียหายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต และกัดกร่อนอุปกรณ์ปฏิบัติการ


สัญลักษณ์ รร ะะบบบบ EEEECC สารระคายเคือง (XI : CORROSIVE) 32. K A N O K W A N Y O M J I N D A ไม่ได้มีคุณสมบัติกัดกร่อน หากผิวหนังสัมผัสสารนี้ซ้ำ ๆเป็น เวลานาน อาจก่อให้เกิดอาการบวม อาจก่อให้เกิดอาการแพ้


สัญลักษณ์ รร ะะบบบบ EEEECC สารที่เป็นอันตรายต่อ สิ่งแวดล้อม (N : DANGEROUS FOR THE ENVIRONMENT) 33. K A N O K W A N Y O M J I N D A การปล่อยสู่สภาพแวดล้อม จะทำ ให้เกิด ความเสียหายต่อองค์ประกอบของ สิ่งแวดล้อมทันที


34. KANOKWAN YOMJINDA ข้อปฏิบัติการระงับเหตุฉุกเฉิน สารเคมีหกรั่วไหล ผู้พบเห็นตะโกนบอกเพื่อน ร่วมงาน หัวหน้างาน ผู้สั่งการ ผพบเห็นกดปุ่มสัญญาณ ฉุกเฉิน


ข้อปฏิบัติการระงับเหตุฉุกเฉิน สารเคมีหกรั่วไหล ตรวจสอบประเมินความรุนแรง ดูข้อมูล MSDS เพื่อจัดการ สารเคมีหกรั่วไหล กั้นพื้นที่โดยใช้เทปขาว-แดง เพื่อแสดงเขตความเป็นอันตราย 35. KANOKWAN YOMJINDA


KANOKWAN YOMJINDA ข้อปฏิบัติการระงับเหตุฉุกเฉิน สารเคมีหกรั่วไหล ผจัดเตรียมวัสดุดูดซับ เช่น ทราย ขี้เรื่อย และอุปกรณ์ตักสารเคมี สวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน สารเคมีอันตราย 36.


37. KANOKWAN YOMJINDA ข้อปฏิบัติการระงับเหตุฉุกเฉิน สารเคมีหกรั่วไหล เข้าควบคุมหยุดการรั่วไหลของสาร เคมีและดูดซับสารเคมี ไปที่จุดรวมพล พร้อมตรวจนับ เพื่อนร่วมงานแจ้งผู้อำ นวยการ ควบคุมเหตุฉุกเฉินทราบ


38. ข้อสอบ POST-TEST KANOKWAN YOMJINDA


THANK YOU! 39. KANOKWAN YOMJINDA


Click to View FlipBook Version