The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaipbo.parliament, 2021-12-24 09:25:09

แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

กแรผะนทงราวนงบ...ูร.ณ....า..ก..า..ร..บ..ร..ิห...า..ร..จ..ัด..ก...า..ร.ท...รพั ยากรนำ้

แบบสำรวจความพึงพอใจ



วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนำ้

แผนงานบูรณาการบรหิ ารจดั การทรัพยากรนำ้

1. สรปุ ภาพรวมงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (จำแนกตามหน่วยงาน)

หนว่ ย : ลา้ นบาท

หนว่ ยงาน 2564 2565 เพมิ่ /ลด จากปี 2564

รวม งบ งบลงทนุ งบเงิน งบรายจา่ ย รวม จำนวน ร้อยละ
ดำเนินงาน 62,496.4938 อดุ หนนุ อืน่ 63,251.5096 2,922.3931 4.84

รวมท้ังสน้ิ 60,329.1165 331.5402 6.6288 416.8468

สำนัก 545.6215 - 359.7049 - 108.2375 467.9424 -77.6791 -14.24
นายกรฐั มนตรี

1. สำนักงาน 545.6215 - 359.7049 - 108.2375 467.9424 - 77.6791 -14.24
ทรพั ยากรน้ำ 9.2520
แห่งชาติ - - 6.6288 - 6.6288 - 2.6232 -28.35

กระทรวงการ
อดุ มศกึ ษา
วิทยาศาสตร์
วจิ ัยและนวัติ
กรรม

1. สถาบนั 9.2520 - - 6.6288 - 6.6288 - 2.6232 - 28.35
สารสนเทศ - - 49,962.6303 2,834.9852 6.02
ทรพั ยากรนำ้ 47,127.6451 327.5120 49,635.1183
(องคก์ารมหา
ชน)

กระทรวง
เกษตรและ
สหกรณ์

1. กรม 46,666.7935 - 49,596.9053 - - 49,596.9053 2,930.1118 6.28
ชลประทาน - - 327.5120 -124.9316 -27.61
452.4436 327.5120 - - - 38.2130 29.8050 354.48
2. กรมฝน - - 213.4783 14.9466 7.53
หลวงและการ 8.4080 - 38.2130
บนิ เกษตร
198.5317 - 213.4783
3. กรมพฒั นา
ทีด่ นิ

กระทรวง
คมนาคม

1. กรมเจา้ ทา่ 198.5317 - 213.4783 - - 213.4783 14.9466 7.53
193.5963 - 209.0012 - - 209.0012 15.4049 7.96
กระทรวง
ดิจทิ ัลเพือ่
เศรษฐกิจและ
สงั คม

1. กรม 193.5963 - 209.0012 - - 209.0012 15.4049 7.96
อตุ นุ ิยมวิทยา

สำนักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 1

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบริหารจดั การทรัพยากรนำ้

หน่วยงาน 2564 2565 เพิ่ม/ลด จากปี 2564
จำนวน ร้อยละ
กระทรวง รวม งบ งบลงทุน งบเงนิ งบรายจ่าย รวม
ทรัพยากร ดำเนินงาน อุดหนนุ อ่ืน 162.8400 3.13
ธรรมชาตแิ ละ
สง่ิ แวดล้อม 5,204.2284 - 5,058.4591 - 308.6093 5,367.0684

1. สำนกั งาน 83.4960 - 25.6050 - 38.7350 64.3400 -19.1560 -22.94
ปลัด 10.0070
กระทรวงฯ 3,692.8022 -- - 13.2391 13.2391 3.2321 32.30
2. กรมควบคุม 1,261.5721 - 3,543.4296 - 122.8000 3,666.2296 - 26.5726 -0.72
มลพิษ 55.0300 - 1,334.5624 -
3. กรม 101.3211 - 63.9391 206.8255 16.39
ทรัพยากรน้ำ - 90.9230 133.8352 1,468.3976 8.9091 16.19
4. กรม 4,388.7189 -10.3981 -10.26
ทรพั ยากรน้ำ - - 63.9391
บาดาล 32.4680
5. กรมป่าไม้ 4,356.2509 - - 90.9230
6. กรมอุทยาน
สัตวป์ า่ และ 4.0282 - 4,254.0943 - - 4,254.0943 -134.6246 -3.07
พันธ์ุพชื
กระทรวง -- -- - -32.4680 - 100.00
มหาดไทย 4,254.0943
-
1. กรมปอ้ งกัน - 4,254.0943 - 102.1566 -2.35
และบรรเทาสา
ธารณภยั 4.0282 - - - 4.0282 --
2. กรมโยธาธิ
การและผัง
เมอื ง
กระทรวง
สาธารณสุข

1. กรมอนามยั 4.0282 4.0282 - - - 4.0282 - -
รฐั วิสาหกิจ 2,657.4944 - 2,766.6377 - 4.11
- 2,766.6377 109.1433

1. การประปา 2,125.3828 - 2,108.7472 - - 2,108.7472 - 16.6356 - 0.78
ส่วนภมู ภิ าค

2. องคก์ าร 532.1116 - 657.8905 - - 657.8905 125.7789 23.64
จดั การน้ำเสีย

ท่ีมา เอกสารงบประมาณปี 2565 ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ที่ 18 หนา้ 231-234

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 2

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนำ้

สาระสำคัญ หน่วยงานท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณสูงท่ีสุด 3 อันดับแรก คือ กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ ได้รับงบประมาณ 49,962.6303 ล้านบาท รองลงมาคือ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ ม จำนวน 5,367.0684 ล้านบาท และกระทรวงมหาดไทย 4,254.0943 ล้านบาท

สดั ส่วนของงบลงทุนเท่ากับร้อยละ 99 ในขณะที่งบรายจ่ายอ่ืนมีสัดส่วนน้อยมากเม่ือเทียบกับวงเงิน
ของแผนงานบูรณาการฯ โดยงบเงินอดุ หนุนมีสัดส่วนร้อยละ 0.0001 งบดำเนินงานมีสัดส่วนรอ้ ยละ 0.01 และ
งบรายจ่ายอ่ืนมสี ดั ส่วนรอ้ ยละ 1

2. ผลสัมฤทธ์ิและประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รบั ปี 2564 – 2565

ผลสมั ฤทธแ์ิ ละประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ หน่วยนบั คา่ เปา้ หมาย

2564 2565

(1) ผลสัมฤทธิ์: ทุกหมู่บ้านมีน้ำสะอาดอุปโภค บริโภค น้ำเพ่ือการผลิตมั่นคง ความเสียหายจากอุทกภัยลดลง
คุณภาพน้ำอยใู่ นเกณฑ์มาตรฐาน บริหารจัดการนำ้ อยา่ งยงั่ ยนื ภายใตก้ ารพฒั นาอย่างสมดลุ โดยการมีส่วนร่วม
ของประชาขน

- ตัวช้ีวัด : จำนวนครัวเรือนนอกเขตกรุงเทพมหานครเข้าถึง ครัวเรือน 67,162 101,440
357,540 272,011
น้ำประปา

- ตัวช้วี ัด : พ้ืนท่รี บั ประโยชนจ์ ากแหล่งน้ำเพม่ิ ขนึ้ ไร่

- ตัวชวี้ ดั : ปริมาตรการเก็บกกั นำ้ /ปริมาณน้ำตน้ ทุนเพิม่ ขึ้น ลา้ น 157.89 254.96
ลกู บาศก์
- ตวั ชีว้ ัด : ครัวเรอื นไดร้ ับประโยชน์จากการพฒั นาแหลง่ นำ้ เมตร 98,841 133,408
- ตวั ช้วี ดั : พืน้ ที่ทไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากนำ้ ท่วมและอุทกภยั ลดลง ครัวเรือน 811,595 471,712

ไร่

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 3

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรพั ยากรน้ำ

ผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ หนว่ ยนับ ค่าเป้าหมาย

2564 2565

- ตวั ชวี้ ดั : เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการระบายนำ้ แห่ง 1 3

- ตวั ชว้ี ัด : เพิ่มประสิทธภิ าพการปอ้ งกนั ตลงิ่ เมตร 113,969 -
- ตวั ชี้วดั : แหล่งนำ้ ธรรมชาติได้รับการฟ้ืนฟพู ื้นท่ีไดร้ ับการพัฒนา แหง่ 133 34
และเพม่ิ ประสิทธภิ าพการจดั การน้ำเสยี
- ตัวชีว้ ัด : จำนวนพนื้ ท่ปี า่ ทีไ่ ดร้ ับการปลกู ฟื้นฟู ไร่ 20,900 23,839

- ตัวช้วี ดั : ปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดินในพน้ื ทีต่ ้นนำ้ ไร่ - 43,502

- ตัวชี้วัด : มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำครอบคลุมทุก ลมุ่ นำ้ 25 22

ลมุ่ น้ำอยา่ งสมดลุ

ทม่ี า : เอกสารงบประมาณฉบับที่ 3 เลม่ ท่ี 18 หนา้ 222 หนว่ ย : ล้านบาท

3. สรุปเปา้ หมายและงบประมาณ 2564 2565

เปา้ หมาย / ตวั ชี้วดั ปี 2564 และ 2565

เป้าหมายท่ี 1 : ทกุ หม่บู ้านและชมุ ชนเมืองมีนำ้ สะอาดเพื่ออปุ โภคบริโภค 2,489.9807 2,796.9289

จดั หาแหลง่ นำ้ สำรองในพ้นื ท่ีขาดแคลน และมคี ุณภาพมาตรฐานในราคาท่ี

เหมาะสมและประหยัดน้ำทกุ ภาคส่วน

ตัวชวี้ ัดท่ี 1 : จำนวนครัวเรือนนอกเขตกรงุ เทพมหานครเข้าถงึ นำ้ ประปา ปี

2564 = 67,162 ครัวเรอื น ปี 2565 = 101,440 ครวั เรอื น

เปา้ หมายท่ี 2 : การจัดการนำ้ ภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมอยา่ งสมดุล 36,179.0150 38,427.6900

รวมถงึ การเพมิ่ ผลติ ภาพการใช้นำ้

ตวั ชีว้ ัดท่ี 1 : พืน้ ทร่ี ับประโยชนจ์ ากแหลง่ น้ำเพ่มิ ขน้ึ ปี 2564 = 357,540

ไร่ ปี 2565 = 272,011ไร่

ตัวชี้วัดที่ 2 : ปริมาตรการเกบ็ กกั น้ำ/ปรมิ าณน้ำต้นทนุ เพม่ิ ข้ึน ปี 2564 =

157.89 ล้านลกู บาศกเ์ มตร ปี 2565 = 254.96 ล้านลกู บาศกเ์ มตร

ตัวชวี้ ัดที่ 3 : ครวั เรือนไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการพฒั นาแหลง่ นำ้ เพม่ิ ขึ้น ปี

2564 = 98,841 ครวั เรือน ปี 2565 = 133,408 ครวั เรือน

เปา้ หมายที่ 3 : การบรรเทาน้ำทว่ มและอทุ กภยั ในพืน้ ท่ีชุมชน พ้ืนที่ 19,983.5337 20,246.7681

เศรษฐกิจสำคัญและพนื้ ท่เี กษตรอยา่ งเปน็ ระบบ

ตวั ชี้วัดที่ 1 : พืน้ ทีท่ ่ีได้รับผลกระทบจากนำ้ ท่วมและอุทกภยั ลดลง ปี

2564 = 811,595 ครัวเรอื น ปี 2565 = 471,712 ไร่

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 4

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบริหารจดั การทรัพยากรน้ำ

เปา้ หมาย / ตัวช้ีวัด ปี 2564 และ 2565 2564 2565
ตัวช้วี ัดท่ี 2 : เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการระบายนำ้ ปี 2564 = 1 แหง่ ปี 2565 579.6186 693.4846
= 3 แห่ง 164.7591 193.0751
ตวั ชีว้ ัดที่ 3 : ป้องกนั ตลิง่ ปี 2564 = 113,969 เมตร ปี 2565 ไม่ 932.2094 893.5629
ดำเนนิ การ
เปา้ หมายท่ี 4 : การจัดการนำ้ เสยี และฟื้นฟูแหล่งน้ำธรรมชาติท่ัวประเทศ
ใหม้ ีคุณภาพอยใู่ นระดบั พอใชข้ น้ึ ไป รวมถงึ การนำน้ำเสยี กลับมาใช้ใหม่
และการจัดการน้ำเพ่อื รกั ษาสมดุลของระบบนิเวศน์
ตัวชว้ี ัดที่ 1 : แหล่งน้ำธรรมชาติได้รบั การฟ้นื ฟู พนื้ ทไี่ ดร้ ับการพัฒนาและ
เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการจดั การน้ำเสีย ปี 2564 = 133 แหง่ ปี 2565 = 34
แหง่
เปา้ หมายที่ 5 : พื้นท่ีปา่ ต้นน้ำทีเ่ สอ่ื มโทรมได้รับการอนุรักษ์ฟนื้ ฟู รวมถึง
การปอ้ งกนั การชะล้างพงั ทลายของดนิ ในพืน้ ทตี่ ้นนำ้ และพ้ืนทลี่ าดชัน
ตัวชว้ี ัดที่ 1 : จำนวนพ้ืนทีป่ า่ ทีไ่ ดร้ ับการปลูกฟนื้ ฟู ปี 2564 = 20,900 ไร่
ปี 2565 = 23,839 ไร่
ตัวชี้วัดที่ 2 : ป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ในพ้นื ท่ีต้นนำ้ ปี 2564
ไม่ได้ดำเนินการ ปี 2565 = 43,502 ไร่
เป้าหมายที่ 6 : บริหารจดั การทรัพยากรนำ้ ครอบคลมุ ทุกลุ่มนำ้ อย่างสมดุล
ตวั ชว้ี ัดที่ 1 : มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ ครอบคลุมทุกลมุ่ นำ้
อยา่ งสมดลุ ปี 2564 25 ลุ่มน้ำ ปี 2565 = 22 ลมุ่ นำ้

ล้านบาท 45,100 36,179.02
40,100 38,427.69
35,100 19,983.53
30,100 20,246.77
25,100
20,100 2,489.98
15,100 2,796.93
10,100 579.6186
5,100 693.4846
164.7591
100 193.0751
932.2094
893.5629

เป้าหมายที่ เปา้ หมายที่ เป้าหมายที่ เปา้ หมายที่ เป้าหมายที่ เปา้ หมายที่

สำนักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 5

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนำ้

สาระสำคัญ เป้าหมายที่ได้รับจัดสรรงบประมาณสูงสุด คือ เป้าหมายท่ี 2 : การจัดการน้ำภาค
การเกษตรและอุตสาหกรรมอย่างสมดุล รวมถึงการเพิ่มผลิตภาพการใช้น้ำ 38,427.69 ล้านบาท หรือร้อยละ
61 รองลงมาคอื เป้าหมายที่ 3 : การบรรเทานำ้ ท่วมและอทุ กภัยในพ้ืนท่ชี ุมชน พื้นทเ่ี ศรษฐกจิ สำคัญและพื้นที่
เกษตรอย่างเป็นระบบ 20,246.77 ล้านบาท หรือร้อยละ 32 โดยส่วนใหญ่เป็นงบลงทุน ค่าก่อสร้างแหล่งน้ำ
ระบบกระจายน้ำ และปรับปรุงทางระบายน้ำ เปา้ หมายท่ไี ด้รับจัดสรรงบประมาณน้อยทสี่ ุด คือ เปา้ หมายที่ 5
พ้ืนท่ีป่าต้นนำ้ ท่ีเส่ือมโทรมได้รบั การอนรุ ักษ์ฟื้นฟู รวมถึงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินในพ้ืนทต่ี ้นน้ำ
และพ้ืนที่ลาดชัน 193.08 ล้านบาท หรือรอ้ ยละ 0.0031 โดยเป้าหมายท่ี 1-5 ได้รับจัดสรรงบประมาณเพิ่มขึ้น
ยกเว้นเป้าหมายที่ 6 ท่ีได้รบั จดั สรรงบประมาณลดลงร้อยละ 1.41

4. งบประมาณจำแนกตามเปา้ หมาย 2564 2565 หน่วย : ล้านบาท
2,489.98 2,796.93
เปา้ หมาย เพ่มิ / ลด

เป้าหมายท่ี 1 จำนวน รอ้ ยละ
น้ำเพอื่ การอุปโภคบรโิ ภค
เปา้ หมายท่ี 2 306.95 12.33
น้ำสำหรับภาคเกษตรและอตุ สาหกรรม
เปา้ หมายที่ 3 36,179.02 38,427.69 2,248.68 6.22
การบรรเทานำ้ ทว่ มและอทุ กภัย
เปา้ หมายท่ี 4 19,983.53 20,246.77 263.23 1.32
การจัดการนำ้ เสีย และฟื้นฟูแหล่งนำ้
เป้าหมายท่ี 5 579.6186 693.4846 113.87 19.64
การอนุรกั ษ์ ฟน้ื ฟพู น้ื ที่ปา่ ต้นน้ำ
เปา้ หมายที่ 6 164.7591 193.0751 28.32 17.19
การบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำ
รวมท้ังสิน้ 932.2094 893.5629 -38.65 -4.15

สำนักงบประมาณของรฐั สภา 60,329.12 63,251.51 2,922.39 4.84

หนา้ 6

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนำ้

สาระสำคัญ งบประมาณแผนงานบูรณาการฯ เปรียบเทียบระหว่างปี 2565 และ 2564 พบว่า

ภาพรวมของแผนงานบูรณาการฯ เพ่ิมข้ึนจำนวน 2,922.39 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.84 โดยเป้าหมายที่ 6

บรหิ ารจัดการทรพั ยากรน้ำครอบคลมุ ทุกลุ่มน้ำอยา่ งสมดุล เป็นเป้าหมายเดียวทไ่ี ดร้ ับจัดสรรงบประมาณลดลง

ร้อยละ 4.15 ส่วนเป้าหมายที่ 1-5 ไดร้ ับจัดสรรงบประมาณเพิม่ ขน้ึ ระหว่างรอ้ ยละ 1.32 ถงึ 19.64 (ตามตาราง

ขา้ งต้น)

5. ผลการเบิกจา่ ย

หนว่ ย : ล้านบาท

แผนงานบูรณาการ วงเงินงบประมาณ/ เบิกจา่ ย งบประมาณ

งปม.หลงั โอน/ปป. จำนวนเงิน รอ้ ยละ คงเหลือ
ทง้ั สิน้

แผนงานบรู ณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 65,548.68 22,395.31 34.17 65,548.33

รายจ่ายประจำ รายจ่ายลงทุน รวมทงั้ ส้ิน

พรบ. งบฯ หลงั เบิกจ่าย พรบ. งบฯ หลัง เบกิ จ่ายท้งั ส้นิ พรบ. งบฯ หลงั เบิกจา่ ย

โอน/ปป. ท้ังสิ้น โอน/ปป. โอน/ปป. ทั้งสนิ้

ท้ังสน้ิ ท้ังส้นิ ทงั้ ส้ิน

183.88 183.88 29.08 65,208.37 65,177.36 22,258.83 65,548.68 65,548.68 22,395.31

ทมี่ า : ระบบ GFMIS กรมบญั ชีกลาง ณ 30 เมษายน 2564

6. ประเดน็ ข้อสังเกตของกรรมาธิการฯ ที่สำคญั ในปีทีผ่ ่านมา

สำนักงานทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ (กรรมาธกิ ารฯสภาผแู้ ทนราษฎร)

(1) ควรจดั ทำแผนงานบรู ณาการให้สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาตโิ ดยมีความเช่ือมโยงกบั พนั ธ

กิจของหนว่ ยรับงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการฯ

(2) ควรนำผลการเบิกจ่ายงบประมาณปีที่ผ่านมาประกอบการพิจารณาจัดสรรงบประมาณปี

ปจั จุบนั

7. ประเด็นความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ

7.1 ความคิดเหน็ ของสำนักงบประมาณของรัฐสภา

(1) หน่วยงานเจา้ ภาพต้องกำหนดนโยบาย จัดทำแผนปฏิบตั ิงาน แนวทางการติดตาม

ประเมนิ ผลให้กับหนว่ ยงานภายใตแ้ ผนงานฯ อยา่ งชัดเจน

(2) การจดั ลำดับความสำคญั และกำหนดโครงการ/กจิ กรรม เพ่อื แกไ้ ขปยั หาดา้ นทรพั ยากรน้ำ

ควรพจิ ารณาทง้ั ทางด้านวิศวกรรม และความเปน็ ธรรมระหวา่ งกลมุ่ ผูไ้ ด้ประโยชนก์ ับผ้เู สียประโยชน์

(3) ภาครัฐควรเพิม่ พื้นทีช่ ลประทานใหค้ รอบคลุมพืน้ ท่ีทางการเกษตร เนือ่ งจากปจั จุบนั พ้นื ที่

ทางการเกษตรสว่ นใหญ่อยู่นอกพ้ืนที่ชลประทาน ทัง้ น้ีตอ้ งคำนึงถงึ ความสมดลุ และความคุ้มค่าระหวา่ ง

งบประมาณกับผลประโยชนท์ จี่ ะได้รบั ดว้ ย

(4) ควรสรา้ งการมสี ่วนรว่ มของประชาชนในการปลกู ป่า หรือฟ้ืนฟูอนรุ ักษ์พ้นื ที่ปา่ อนรุ ักษ์

เพ่ือใหเ้ กดิ ความยง่ั ยืนในการบริหารจัดการน้ำในอนาคต

สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 7

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบริหารจดั การทรัพยากรน้ำ

7.2 ความสอดคลอ้ งระหวา่ งแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจดั การทรัพยากรนำ้ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)

แผนแม่บทการบริหารจดั การ เปา้ หมายแผนบูรณาการฯ สรปุ การดำเนนิ งาน /กจิ กรรมตาม

ทรัพยากรนำ้ 20 ปี ปี 2565 แผนงานบรู ณาการ

(พ.ศ. 2561-2580)

ดา้ นท่ี 1 การจัดการน้ำอุปโภคบรโิ ภค เป้าหมายที่ 1 : ทกุ หมู่บ้านและชมุ ชน แนวทางท่ี 1.1 : จัดหา พัฒนาแหล่งน้ำ

1. ขยายเขต/เพิ่มประสิทธิภาพระบบ เมืองมีนำ้ สะอาดเพอ่ื อปุ โภคบริโภค ตน้ ทุน เพ่ิมประสิทธิภาพและ ขยายเขต

ประปา 14,534 หม่บู ้าน จัดหาแหลง่ น้ำสำรองในพนื้ ท่ขี าดแคลน ระบบประปาเพื่ออปุ โภคบริโภค

2. พัฒนาระบบประปาเมืองและพ้ืนที่ และมคี ุณภาพมาตรฐานในราคาท่ี ตัวชี้วดั

เศรษฐกิจ 388 เมอื ง เหมาะสมและประหยัดนำ้ ทกุ ภาคส่วน 1. 1. ห มู่ บ้ าน มี น้ ำส ะอ าดแล ะได้

3. พฒั นาน้ำดม่ื ให้ไดม้ าตรฐานและราคา ตวั ชีว้ ัดที่ 1 : จำนวนครัวเรอื นนอกเขต มาตรฐาน 728 แห่ง /19,450 ครัวเรือน
2. พัฒนาระบบประปาเมืองและพื้นที่
ท่ีเหมาะสมทกุ หมบู่ า้ น (4,015 หม่บู า้ น) กรงุ เทพมหานครเข้าถึงนำ้ ประปา เศรษฐกิจ 123 แห่ง /81,990 ครวั เรอื น
101,440 ครัวเรือน
4. การประหยัดน้ำในทุกภาคส่วน ไม่ งบประมาณ 2,796.9289 ลา้ นบาท
เกิน 215 ลติ ร/คน/วนั เงินนอกงบประมาณ 445.1258 ลา้ น

บาท

หนว่ ยงานรบั ผิดขอบ

1. สำนกั งานปลัดกระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติ 1 โครงการ

2. กรมทรพั ยากรนำ้ บาดาล 3 โครงการ

3. กรมอนามัย 1 โครงการ

4. การประปาส่วนภูมิภาค 2 โครงการ

ด้านท่ี 2 การสร้างความม่ันคงของน้ำ เป้าหมายที่ 2 : การจัดการนำ้ ภาค แ น ว ท า ง ท่ี 2 .1 : พั ฒ น า เพ่ิ ม

ภาคการผลิต (ภาคการเกษตรและ การเกษตรและอตุ สาหกรรมอย่างสมดุล ประสิทธิภาพ อนุรักษ์ ฟ้ืนฟูแหล่งน้ำ

อุตสาหกรรม) รวมถงึ การเพมิ่ ผลิตภาพการใชน้ ้ำ ระบบกระจายนำ้ และเช่ือมโยงวางระบบ

1. จัดการด้านความต้องการ 182ล้าน ตวั ช้วี ดั ที่ 1 : พ้ืนทร่ี บั ประโยชน์จาก เครือข่ายน้ำ/ลุ่มน้ำท้ังในและนอกเขต
ชลประทาน
ลบ.ม./ปี แหล่งนำ้ เพ่ิมขึ้น 272,011 ไร่ ตวั ช้ีวัด
1. ก่อสร้างแหล่งน้ำ/ระบบกระจายน้ำ
2. เพิ่มประสิทธิภาพโครงการแหล่งน้ำ ตัวช้ีวดั ท่ี 2 : ปริมาตรการเก็บกักนำ้ / (ให ม่)จ ำนวนแห ล่งน้ำ/น้ำบาดาล
ปรมิ าณน้ำต้นทุนเพมิ่ ข้ึน 254.96 ล้าน เพ่ิมขึ้น 478 แห่ง พ้ืนท่ีท่ีรับประโยชน์
6,356 ลา้ น ลบ.ม. จากแหล่งน้ำเพ่ิมขึ้น 26,200 ไร่ /พ้ืนที่
3. จัด ห าน้ ำในพ้ื น ท่ี เกษ ตรน้ ำฝ น ลกู บาศกเ์ มตร ชลประทานเพ่มิ ขึ้น 162,700 ไร่
ตัวช้วี ดั ที่ 3 : ครวั เรอื นไดร้ ับประโยชน์ ปริมาตรการเก็บกักน้ำ/ปริมาณ น้ำ
13,860 ลา้ น ลบ.ม. ต้นทุนเพิ่มขึ้น 152.28 ล้านลูกบาศก์
จากการพฒั นาแหล่งน้ำ 133,408 เมตร 105,533 ครวั เรอื น
4. พัฒนาแหล่งกักเก็บน้ำ 13,439 ล้าน ครวั เรอื น 2. เพ่มิ ประสิทธภิ าพแหล่งน้ำและระบบ
ลบ.ม. พนื้ ท่สี ่งน้ำ 18 ลา้ นไร่ งบประมาณ 38,427.6900 ล้านบาท กร ะ จ าย น้ ำเดิ ม 1 22 แห่ ง พื้ น ท่ี
ช ล ป ร ะ ท า น เดิ ม ไ ด้ รั บ ก า ร ป รั บ ป รุ ง
5. พั ฒ น าร ะบ บ ผั นน้ ำแล ะระบ บ หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ
เช่ือมโยงแหลง่ น้ำ 2.596 ลา้ น ลบ.ม. 1. กรมชลประทาน 14 โครงการ

6. เพิ่มผลิตภาพมูลค่าภาคการผลิต 2. กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร1
โครงการ
1.242 แปลง (6.210 ไร)่
3. กรมทรพั ยากรน้ำ 2 โครงการ
7. เพิ่มน้ำต้นทุนจากการปฏิบัติการฝน 4. กรมทรัพยากรน้ำบาดาล 2 โครงการ
หลวง

74,331 ไร่

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 8

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจดั การทรัพยากรนำ้

แผนแม่บทการบริหารจดั การ เปา้ หมายแผนบูรณาการฯ สรปุ การดำเนินงาน /กจิ กรรมตาม

ทรัพยากรน้ำ 20 ปี ปี 2565 แผนงานบรู ณาการ

(พ.ศ. 2561-2580)

3. จัดหาน้ำในพื้นท่ีเกษตรน้ำฝน 97

แห่ง/บ่อ 102.68 ล้านลูกบาศก์เมตร

พื้นที่รับประโยชน์ 83,111 ไร่ 27,875

ครัวเรอื น

4. ปริมาณฝนจากการปฏิบัติการฝน

หลวงในพื้นที่การเกษตร 1,100 ล้าน

ลบ.ม.

5. ปริมาณฝนจากการปฏิบัติการฝน

หลวงในเข่ือนและอ่างเก็บน้ำ 500 ล้าน

ลบ.ม

ด้านท่ี 3 การจัดการน้ำท่วมแล ะ เปา้ หมายที่ 3 : การบรรเทาน้ำท่วมและ แนวทางที่ 3.1 : ปรับปรุงทางน้ำ ทาง

อุทกภยั อทุ กภัยในพ้นื ทชี่ ุมชน พื้นทเ่ี ศรษฐกจิ ผันน้ำ พื้ นที่รับน้ำนอง เขตการใช้

1. ปรับปรุงลำน้ำธรรมชาตสิ ายหลกั และ สำคญั และพ้นื ทีเ่ กษตรอย่างเป็นระบบ ประโยชน์ทดี่ ิน จัดทำผงั เมอื ง

สาขา 6,721 กม. และปรับปรุงส่ิงกีด ตวั ช้ีวดั ท่ี 1 : พ้ืนท่ีท่ไี ด้รับผลกระทบ และระบบป้องกันน้ำท่วมชุมชนและ
พน้ื ทีเ่ ศรษฐกจิ
ขวางทางนำ้ 562 แห่ง จากน้ำทว่ มและอทุ กภัยลดลง 471,712 ตัวชี้วัด
1. เพ่ิมประสิทธิภาพการระบายน้ำ 3
2. ป้องกันน้ำท่วมชุมชนเมือง 764 แห่ง ไร่ แหง่ ความยาว 18,455 เมตร
ตวั ชีว้ ัดท่ี 2 : เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการ 2. พื้ น ท่ีได้รับ การป้ องกัน แล ะล ด
พ้นื ท่ี 1.7 ลา้ นไร่ และจัดทำผงั น้ำ ระบายน้ำ 3 แหง่ ผลกระทบ 154 แห่ง / 471,712 ไร่/
3. การจัดการพ้ืนท่ีน้ำท่วม/พ้ืนท่ีชะลอ งบประมาณ 20,246.7681 ล้านบาท 49,180 ครัวเรอื น
นำ้ 4,612 ล้าน ลบ.ม.
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ

1. กรมชลประทาน 7 โครงการ

2. กระทรวงคมนาคม 1 โครงการ

3. กร ม โย ธาธิการ แล ะผังเมื อง 1

โครงการ

ด้านท่ี 4 การจัดการคุณภาพน้ำและ เปา้ หมายที่ 4 : การจดั การน้ำเสีย และ แ น ว ท า ง ท่ี 4 .1 : พั ฒ น า เพ่ิ ม

อนรุ กั ษท์ รัพยากรนำ้ ฟน้ื ฟูแหลง่ นำ้ ธรรมชาตทิ ่ัวประเทศใหม้ ี ประสิ ท ธิภ าพ ระบ บ บ ำบั ด น้ ำเสี ย

1. การป้องกันและลดการเกิดน้ำเสียท่ี คณุ ภาพอย่ใู นระดบั พอใชข้ ้นึ ไป รวมถึง ป้องกันระดับความเค็มและลดน้ำเสีย

ตน้ ทางทกุ ครวั เรอื นในชุมชนเมือง การนำนำ้ เสียกลบั มาใช้ใหม่ จากแห ล่งกำเนิ ดชุมช นแล ะพ้ื นที่

2. ระบบบำบดั นำ้ เสยี 741 แห่ง และนำ และการจัดการนำ้ เพอ่ื รักษาสมดุลของ เศรษฐกจิ

น้ำเสียกลับมาใช้ใหม่ 132 ล้าน ลบ.ม./ ระบบนิเวศ ตัวชวี้ ัด

ปี ตัวชี้วัดท่ี 1 : แหล่งน้ำธรรมชาติได้รับ 1. พัฒนาและเพ่ิมประสิทธิภาพการ

3. การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ 13 การฟื้นฟู และ พื้นที่ได้รับการพัฒนา จดั การน้ำเสีย 18 แห่ง

ลุ่มนำ้ หลกั และเพ่ิมประสทิ ธิภาพการจัดการนำ้ เสีย 2. แหลง่ น้ำธรรมชาติได้รบั การฟ้ืนฟู (ลำ

4. อนุรกั ษ์และฟื้นฟูแม่น้ำลำคลอง และ 34 แห่ง น้ำสายหลัก สาขา และลำคลองที่ผ่าน

แหล่งนำ้ ธรรมชาติทวั่ ประเทศ งบประมาณ 693.4846 ลา้ นบาท เมืองและชุมชนพ้นื ที่ชุ่มน้ำ) 16 แหง่

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 9

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

แผนแม่บทการบริหารจัดการ เป้าหมายแผนบูรณาการฯ สรุปการดำเนินงาน /กจิ กรรมตาม

ทรพั ยากรนำ้ 20 ปี ปี 2565 แผนงานบรู ณาการ

(พ.ศ. 2561-2580)

หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ

1 . ส ำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 1

โครงการ

2. กรมควบคุมมลพิษ 2 โครงการ

3. องคก์ ารจัดการน้ำเสีย 1 โครงการ

ด้านท่ี 5 การอนุรกั ษ์ฟ้นื ฟสู ภาพป่าต้น เปา้ หมายท่ี 5 : พ้นื ท่ีป่าต้นนำ้ ท่ีเสอ่ื ม แนวทางที่ 5.1 : อนุรักษ์ ฟ้ืนฟูพื้นท่ีป่า

น้ำที่ เส่ื อ ม โท รม แ ล ะป้ อ งกันกา ร โทรมไดร้ บั การอนุรักษฟ์ ืน้ ฟู รวมถึงการ ต้นน้ำ ท่ีเสื่อมโทรม ป้องกันการชะล้าง

พงั ทลายของดนิ ป้องกันการชะล้างพงั ทลายของดินใน พงั ทลายของดนิ

1. การอนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นท่ีป่าต้นน้ำท่ี พนื้ ทต่ี ้นน้ำ และพื้นที่ลาดชัน ในพน้ื ทตี่ ้นน้ำ

เสอ่ื มโทรม 3.52 ลา้ นไร่ ตวั ชีว้ ดั ท่ี 1 : จำนวนพ้นื ทป่ี ่าทีไ่ ด้รับ ตัวขวี้ ัด
2. การป้ องกั นแล ะล ดการช ะ ล้าง การปลูกฟ้นื ฟูและป้องกนั การชะล้าง 1. จำนวนพื้นท่ีป่าที่ได้รับการปลกู ฟื้นฟู
พังทลายของดิน 21.45 ล้านไร่ ฝายต้น เน้ือที่ 23,839 ไร่
น้ำ 541,894 แหง่ พงั ทลายของดินในพน้ื ทตี่ ้นน้ำ 23,839ไร่ 2. จำนวนพ้ืนท่ีป้องกันการชะล้าง
งบประมาณ 193.075 ล้านบาท พงั ทลายของดนิ ในพน้ื ที่ตน้ น้ำ และพนื้ ที่
ดา้ นที่ 6 การบริหารจดั การ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ ลาดชนั 3,742 แห่ง / 43,502 ไร่
1. กรมพัฒนาทีด่ นิ 1 โครงการ
2. กรมปา่ ไม้ 1 โครงการ แนวทางที่ 6.1 : จัดทำแผนยุทธศาสตร์
3. กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และ
พนั ธ์พุ ืช 1 โครงการ

เป้าหมายที่ 6 : บริหารจัดการ

1. จดั ต้ังองค์กรบริหารจัดการทรพั ยากร ทรพั ยากรนำ้ ครอบคลุมทกุ ลมุ่ นำ้ อย่าง การบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ ในลุ่มน้ำ

นำ้ และปรับปรงุ กฎหมาย สมดุล แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จ ำ ปี เพ่ิ ม

2. ก าร จั ด ท ำแ ผ น บ ริห าร จั ด ก าร ตัวชี้วัดท่ี 1 : มีแผนการบริหารจัดการ ป ร ะสิท ธิภ าพ ก ารบ ริห าร จัด การ

ทรพั ยากรนำ้ ทรัพยากรน้ำครอบคลุมทุกลุ่มน้ำอย่าง สนับสนุนองค์กรลุ่มน้ำ พัฒนาระบบ

3. การติดตามประเมินผล สมดุล 22 ลมุ่ น้ำ ฐ า น ข้ อ มู ล ติ ด ต า ม ป ร ะ เมิ น ผ ล

งบประมาณ 893.5629 ล้านบาท ประชาสัมพนั ธ์และการมีส่วนรว่ ม

หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ ตัวช้ีวัด

1. สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ 2 1.องค์กรลุ่มน้ำ เครือข่าย ประชาชน

โครงการ ได้รับการพัฒนาเพ่ิมประสิทธิภาพการ

2. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ครบทุกลุ่ม

(องค์การมหาชน) 1 โครงการ น้ำ

3. กรมอุตนุ ิยมวิทยา 3 โครงการ (ก าร จัด ท ำแผ น งา น ก าร ติ ด ต าม

4. กรมทรัพยากรนำ้ 1 โครงการ ประเมินผล การจดั สรรน้ำ การอบรมให้

5. กรมทรัพยากรนำ้ บาดาล 2 โครงการ ความรู้ งานเลขานุการลุ่มน้ำ)

2.มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

ทกุ ระดบั 3 รายการ

สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 10

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการบริหารจดั การทรพั ยากรน้ำ

แผนแม่บทการบรหิ ารจดั การ เปา้ หมายแผนบูรณาการฯ สรปุ การดำเนินงาน /กจิ กรรมตาม
ทรัพยากรน้ำ 20 ปี ปี 2565 แผนงานบรู ณาการ
(พ.ศ. 2561-2580)

3.กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับด้าน
ทรัพยากรน้ำ 4 ฉบับ
4.มีงานศึกษา วิจัย นวตั กรรม แนวทาง
บรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำ 2 เร่ือง
5. พัฒ นาเพ่ิมประสิทธิภ าพระบบ
ฐานข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ 6
เรือ่ ง 5 ระบบ
6.ข้อตกลงความรว่ มมอื ระหว่างประเทศ
2 เร่ือง

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 11

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรพั ยากรน้ำ

ขอ้ มลู ประกอบการพิจารณา

1. ปริมาณความต้องการใช้น้ำทั้งประเทศต่อปี พ.ศ. 2560

หน่วย : ล้านลูกบาศกเ์ มตร

การใช้น้ำ ความตอ้ งการใช้น้ำ พ.ศ.2560 รอ้ ยละ

อปุ โภคบริโภค 6,490 4.28

เกษตร 113,960 75.10

อตุ สาหกรรม 4,206 2.77

รกั ษาระบบนเิ วศ 27,090 17.85

รวม 151,746 100.00

ทมี่ า : กรมทรพั ยากรน้ำ (2562)

ประเทศไทยมีความต้องการใช้น้ำปี พ.ศ. 2560 อยู่ท่ีประมาณ 151,746 ล้านลูกบาศก์เมตร

ประกอบดว้ ย

1. ความต้องการใช้น้ำเพ่ือการเกษตรสูงถึง 113,960 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 75.10 ของ

ความต้องการน้ำทั้งหมด ในจำนวนนี้อยู่ในเขตแหล่งกักเก็บน้ำและระบบชลประทานน้ำอยู่แล้ว 65,000 ล้าน

ลูกบาศกเ์ มตร ส่วนท่เี หลือ 48,960 ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นความต้องการใช้น้ำเพื่อการเกษตรในพ้นื ที่นอกเขต

ชลประทาน (พ้นื ทเี่ กษตรน้ำฝน)

2. ความต้องการใช้น้ำเพ่ือรักษาระบบนิเวศประมาณ 27,090 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ

17.85 ของความต้องการใช้น้ำท้ังหมด

3. ความตอ้ งการใช้น้ำเพ่ือการอุปโภคบริโภคประมาณ 6,490 ลา้ นลกู บาศก์เมตร คดิ เปน็ ร้อยละ 4.28

ของความต้องการใชน้ ้ำทงั้ หมด

4. ความต้องการใช้น้ำเพ่ืออุตสาหกรรม 4,206 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 2.77 ของความ

ตอ้ งการใชน้ ้ำทัง้ หมด

ท่ีมา : ฐานข้อมูลเพื่อการรายงานสถานการณ์ คุณภาพส่ิ งแวดล้อมของประเทศไทย สำนักนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม http://www.onep.go.th

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 12

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบริหารจัดการทรพั ยากรน้ำ

2. ฐานข้อมลู แหล่งนำ้ ท่ัวประเทศ (ขอ้ มลู ณ วันท่ี 3 ก.ค.2562)

ทม่ี า : เว็บไซต์สำนักงานทรัพยากรนำ้ แหง่ ชาติ

จากฐานขอ้ มูลแห่งนำ้ ทั่วประเทศ ปี 2562 ประเทศไทยมีแหล่งนำ้ ขนาดใหญ่ 38 แห่ง
ปริมาณน้ำรวม 35,515 ลา้ นลกู บาศก์เมตร แหล่งน้ำขนาดกลาง 660 แหง่ ปริมาณนำ้ รวม 2,054 ล้านลูกบาศก์
เมตร แหลง่ น้ำขนาดเล็ก 142,234 แหง่ ปรมิ าณน้ำรวม 2,027 ล้านลูกบาศกเ์ มตร โดยแบง่ เป็น ภาคตะวนั ตก
18,144 ลา้ นลูกบาศกเ์ มตร ภาคเหนือ 10,007 ล้านลูกบาศก์เมตร ภาคใต้ 5,513 ลา้ นลกู บาศก์เมตร ภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื 4,491 ลา้ นลูกบาศก์เมตร ภาคตะวันออก 1,083 ล้านลูกบาศกเ์ มตร และภาคกลาง
523 ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 13

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ

เป้าหมายที่ 1 : การจัดการนำ้ เพอ่ื การอุปโภค

1.1 งบประมาณ กจิ กรรม ตวั ช้ีวัด และลักษณะค่าใชจ้ ่าย

เป้าหมาย / แนวทาง / ตวั ช้ีวดั หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ/กจิ กรรม-โครงการ งบประมาณ /

รายละเอียด

เป้าหมายท่ี 1 : ทกุ หมู่บา้ นและชมุ ชนเมืองมีนำ้ สะอาดเพ่ืออปุ โภคบรโิ ภค จัดหาแหล่งนำ้ สำรองในพนื้ ที่ขาดแคลน และมี

คณุ ภาพมาตรฐานในราคาทีเ่ หมาะสมและประหยดั น้ำทกุ ภาคสว่ น

ตวั ชว้ี ัดท่ี 1 : จำนวนครัวเรอื นนอกเขตกรงุ เทพมหานครเข้าถงึ นำ้ ประปา 101,440 ครัวเรอื น

แนวทางท่ี 1.1 : จดั หา พัฒนาแหล่งน้ำต้นทนุ เพิม่ ประสิทธภิ าพและ

ขยายเขตระบบประปาเพอ่ื อุปโภคบรโิ ภค

ตัวช้วี ัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม งบประมาณ

11. หม่บู ้านมนี ้ำสะอาดและได้ 1. สำนกั งานปลัดกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ 2,796.9289 ลา้ นบาท

มาตรฐาน 728 แหง่ /19,450 ส่งิ แวดลอ้ ม เงินนอกงบประมาณ

ครัวเรือน - โครงการพัฒนาคณุ ภาพแหล่งน้ำดิบเพอ่ื พฒั นา 445.1258 ลา้ นบาท

2. พัฒนาระบบประปาเมอื งและพน้ื ที่ คณุ ภาพชีวิตของประชาชน 41.9850 ล้านบาท คา่

เศรษฐกิจ 123 แห่ง /81,990 ครภุ ณั ฑ์ และงบรายจา่ ยอ่นื 24.0850 ล้านบาท

ครวั เรอื น (คา่ ใชจ้ า่ ยโครงการพฒั นาแหล่งน้ำดิบเพือ่ คุณภาพ

ชวี ิตประชาชน)

2. กรมทรัพยากรน้ำบาดาล

- โครงการจัดหาแหลง่ น้ำบาดาลระยะไกลเพ่ือ

แก้ป้ญหาในพ้ืนที่แลง้ ซ้ำซากหรอื นำ้ เค็ม 223.0913

บาท (คา่ ทด่ี ินและสิ่งกอ่ สรา้ งในการจดั หาแหลง่ นำ้

บาดาล)

- โครงการสำรวจและประเมนิ ศกั ยภาพน้ำบาดาลเพ่ือ

พฒั นาเป็นแหลง่ น้ำตน้ ทุนขนาดใหญ่ 64.7292 ล้าน

บาท (รายจ่ายอื่น)

- โครงการพัฒนานำ้ บาดาลเพื่อความมน่ั คงระดบั ชุม

ขน 354.348 ล้านบาท รายการเปน็ คา่ กอ่ สร้างแหลง่

น้ำทีม่ รี าคาตอ่ หนว่ ยต่ำกว่า 10 ลา้ นบาท 68 รายการ

กระทรวงสาธารณสขุ

1. กรมอนามยั

- โครงการเพม่ิ ประสิทธิภาพการจัดการนำ้ เพื่อการ

บรโิ ภค 4.0282 ลา้ นบาท เป็นคา่ จ้างเหมาบริการ

ค่าใช้จ่ายสมั มนาฝกึ อบรม และคา่ ใชจ้ า่ ยตดิ ตาม

สนับสนุนโครงการ

รัฐวสิ าหกจิ

1. การประปาส่วนภมู ิภาค

- โครงการพัฒนาเพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบประปาเมือง

และพ้ืนทเ่ี ศรษฐกจิ งบประมาณ 2,099.8 ลา้ นบาท

บาท เงนิ นอกงปม. 445.1258 ลา้ นบาท ส่วนใหญ่

เปน็ ค่าก่อสรา้ ง /ปรบั ปรุงขยายการประปาซง่ึ รวม

รายการผกู พนั

- โครงการพัฒนาเพิม่ ประสทิ ธิภาพระบบประปา

หมบู่ า้ น งบประมาณ 8.9498 ล้านบาท

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 14

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบริหารจดั การทรพั ยากรน้ำ

เปา้ หมาย / แนวทาง / ตวั ช้ีวัด หนว่ ยงานที่รับผิดชอบ/กจิ กรรม-โครงการ งบประมาณ /
รายละเอียด

เป็นคา่ กอ่ สราง และปรับปรงุ กิจการประปาภายหลงั
การรับโอน
ทม่ี า : สรุปจากเอกสารงบประมาณฉบบั ที่ 3 เล่มท่ี 18 (1)

1.2 ขอ้ มูลประกอบการพิจารณา :

เป้าหมายการจัดหาน้ำเพ่ือการอุปโภคบริโภคท่ีสำคญั ประกอบด้วย กิจกรรม (1) การพัฒนาคุณภาพ

แหล่งน้ำดิบเพ่ือพัฒนา (2) การจัดหา ประเมิน และพัฒนาแหล่งน้ำบาดาล (3) การเพ่ิมประสิทธิภาพระบบ

น้ำประปาเขตเมอื ง พืน้ ท่ีเศรษฐกจิ และประปาหมู่บา้ น

1. ข้อมูลความต้องการใช้น้ำเพื่ออุปโภคบริโภคต่อปี ในปี พ.ศ. 2560 ระบุว่า มีความต้องการใช้น้ำ

6,490 ล้านลูกบาศก์เมตร และได้มีการคาดการณ์ความต้องการใช้น้ำอุปโภคบริโภคในปี พ.ศ. 2570 ไว้ท่ี

8,260 ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร

2. เมอ่ื เกดิ สภาวะรกุ ตวั ของน้ำเคม็ จำเป็นตอ้ งใชน้ ้ำจืดจากระบบชลประทานในการผลักดันนำ้ เค็มเพื่อ

รักษาคุณภาพในเกษตรและนำ้ ตน้ ทุนในการผลติ นำ้ ประปาเพ่ือใชใ้ นการอปุ โภคบรโิ ภคในกรุงเทพมหานครและ

ปริมณฑล ซ่ึงจะสง่ ผลต่อปริมาณนำ้ ในพ้ืนที่ต้นน้ำทีจ่ ะใชใ้ นการอปุ โภคบริโภค

3. จากข้อมลู การสำรวจของกรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถิ่น ปี พ.ศ.2562 พบว่า ยงั มีหมบู่ ้านที่ไม่

มีระบบประปา จำนวน 135 หม่บู ้าน ภายใน 21 จังหวัด (สว่ นใหญ่อยูใ่ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ) ดังนั้น การ

จัดสรรงบประมาณจงึ ควรเน้นไปท่ีกลุ่มหมู่บ้านท่ียังไดร้ ับความเดือดร้อนจากการไม่มีน้ำสำหรับอุปโภคบรโิ ภค

เปน็ ลำดบั แรก

ความเห็น PBO : การจัดสรรงบประมาณ

1. ควรนำข้อมูลความต้องการการใช้น้ำอุปโภคบริโภคแต่ละพ้ืนท่ีไปประกอบการพิจารณาจัดสรร

งบประมาณในการพฒั นาแหลง่ น้ำดิบและการผลิตน้ำประปา

2. ควรพิจารณาจัดลำดับความสำคัญของการกำหนดพื้นท่ีโครงการเพื่อจัดสรรงบประมาณควรจะ

พิจารณาขอ้ มูลความหนาแน่นของประชากร พ้ืนที่หมู่บา้ นท่ียังไมม่ ีน้ำประปาใช้

3. ควรปรับปรุง ตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา และน้ำบาดาลที่ให้บริการให้เป็นไปตามมาตรฐานที่

กำหนด

4. ค่าใช้จ่ายในการสำรวจและประเมินศักยภาพน้ำบาดาลเพ่ือการพัฒนาเป็นแหล่งน้ำต้นทุนขนาดใหญ่

ในหมวดรายจา่ ยอืน่ ควรพจิ ารณาถงึ ความเปน็ ไปได้ของการศึกษา และดำเนนิ การได้จรงิ เพ่ือใหม้ ีความคมุ้ คา่

สำนักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 15

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบริหารจดั การทรัพยากรน้ำ

เปา้ หมายท่ี 2 : นำ้ สำหรบั ภาคการเกษตรและอตุ สาหกรรม

1.1 งบประมาณ กิจกรรม ตัวชีว้ ัด และลกั ษณะคา่ ใช้จา่ ย

เปา้ หมาย / แนวทาง / ตวั ชี้วัด หนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบ/กิจกรรม-โครงการ งบประมาณ /

รายละเอยี ด

เปา้ หมายท่ี 2 : การจดั การนำ้ ภาคการเกษตรและอตุ สาหกรรมอยา่ งสมดุล รวมถึงการเพ่ิมผลติ ภาพการใช้
นำ้

ตัวชี้วัดท่ี 1 : พ้ืนทีร่ บั ประโยชน์จากแหลง่ น้ำเพ่ิมข้ึน 272,011 ไร่

ตัวชี้วัดที่ 2 : ปริมาตรการเกบ็ กักนำ้ /ปรมิ าณน้ำต้นทนุ เพิ่มขน้ึ 254.96 ล้านลกู บาศก์เมตร

ตวั ช้วี ัดที่ 3 : ครัวเรือนได้รบั ประโยชน์จากการพฒั นาแหล่งน้ำ 133,408ครวั เรอื น

แนวทางท่ี 2.1 : พฒั นา เพิ่มประสทิ ธิภาพ อนุรักษ์ ฟนื้ ฟแู หลง่ นำ้ ระบบกระจายนำ้ และเชอื่ มโยงวาง
ระบบเครอื ขา่ ยน้ำ/ลุม่ น้ำ ทั้งในและนอกเขตชลประทาน

แนวทางท่ี 2.1 : พัฒ นา เพ่ิม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมงบประมาณ
รายจ่าย
ประสิทธิภาพ อนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่ง 1. กรมชลประทาน ท้ังหมดเป็นงบลงทุน 33,995.5014 ล้าน
นำ้ ระบบกระจายน้ำและเช่ือมโยง เพ่อื ซอ้ื ทด่ี นิ /ก่อสร้าง/ปรบั ปรุงส่ิงก่อสร้าง บาท
ระบบระบายน้ำระบบส่งนำ้ และคลองสง่ น้ำ
วางระบบเครือข่ายน้ำ/ลุ่มน้ำท้ัง การสร้างฝาย / อาคารบังคบั น้ำ / สถานีสูบ
ในและนอกเขตชลประทาน น้ำ /ระบบส่งนำ้

ตัวชวี้ ดั ค่าจา้ งสำรวจออกแบบโครงการอ่างเก็บนำ้
1. ก่ อ สร้างแ ห ล่ง น้ ำ/ระ บ บ 2. กรมฝนหลวงและการบินเกษตร

กระจายน้ำ (ใหม่)จำนวนแหล่ง - โครงการดัดแปรสภาพอากาศ เป็นงบ
น้ำ/น้ำบาดาล เพิ่มข้ึน 478 แห่ง ดำเนนิ งาน
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
พ้ืนท่ีที่รับประโยชน์จากแหล่งน้ำ สิง่ แวดลอ้ ม
เพิ่ ม ข้ึ น 2 6 ,2 0 0 ไร่ /พ้ื น ที่ 1. กรมทรัพยากรนำ้
ชลประทานเพ่มิ ขึน้ 162,700 ไร่ - โครงการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู พฒั นาแหล่งน้ำและ

ปริมาตรการเก็บกักน้ำ/ปริมาณ บรหิ ารจดั การน้ำ 1,671.6330 ล้านบาท เป็น
น้ำต้นทุนเพ่ิมขึ้น 152.28 ล้าน งบลงทนุ เพือ่ ปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมอ่างเก็บนำ้

ลู ก บ า ศ ก์ เม ต ร 1 0 5 ,5 3 3 ปรบั ปรงุ อนรุ กั ษ์แหลง่ น้ำ
- โครงการพัฒนาและเพิม่ ประสิทธิภาพระบบ
ครวั เรอื น
กระจายน้ำ 1,853.7121 ลา้ นบาท เปน็ งบ
2. เพิ่มประสิทธิภาพแหล่งน้ำและ ลงทุน คา่ อนุรกั ษ์ฟื้นฟแู หล่งน้ำ
ระบบกระจายน้ำเดิม 122 แห่ง 2. กรมทรพั ยากรนำ้ บาดาล

พื้นท่ีชลประทานเดิมได้รับการ - โครงการพัฒนาน้ำบาดาลเพอ่ื การเกษตร
ปรบั ปรุง 74,331 ไร่
713.6222 ล้านบาท เปน็ คากอสรางแหลงนำ้

3. จัดหาน้ำในพื้นท่ีเกษตรน้ำฝน ที่มรี าคาตอหนวยตำ่ กวา 10 ล้านบาท 179
9 7 แ ห่ ง /บ่ อ 1 0 2 .6 8 ล้ า น หน่วย ค่าใช้จา่ ยการพฒั นาน้ำบาดาลพ้นื ท่ี

แปลงใหญ่

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 16

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ

เป้าหมาย / แนวทาง / ตัวชี้วัด หน่วยงานทร่ี ับผิดชอบ/กิจกรรม-โครงการ งบประมาณ /
รายละเอียด
ลูกบาศก์เมตร พื้นท่ีรับประโยชน์ - โครงการพฒั นาแหล่งนำ้ บาดาลขนาดใหญ่
83,111 ไร่ 27,875 ครัวเรือน รมิ แม่นำ้ 43.5009 ลา้ นบาท ค่าทด่ี ินและ
4. ปริมาณฝนจากการปฏิบัติการ สง่ิ ก่อสร้าง
ฝน ห ลวงใน พื้ น ท่ี ก ารเก ษ ต ร
1,100 ลา้ น ลบ.ม.

5. ปรมิ าณฝนจากการปฏบิ ัติการ
ฝนหลวงในเขือ่ นและอา่ งเกบ็ นำ้
500 ล้าน ลบ.ม

ทม่ี า : สรุปจากเอกสารงบประมาณฉบับที่ 3 เล่มท่ี 18 (1)

1.2 ข้อมูลประกอบการพจิ ารณา :

1. ป ร ะ เท ศ ไท ยมี พ้ื น ที่ 3 2 1 .2 ล้ าน ไร่ เป็ น พื้ น ที่ ก าร เก ษ ต ร 1 4 9 .2 ล้ าน ไร่

โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นท่ีการเกษตรมากที่สดุ 63.6 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 43 ของพ้ืนที่การเกษตร
ท้ังประเทศ รองลงมา คือภาคกลางมีพ้ืนท่ีการเกษตร 27.2 ล้านไร่ คิดเป็นรอ้ ยละ 18 ของพื้นท่ีการเกษตรท้ัง
ประเทศ ที่ผ่านมาจนถึงส้ินปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้มีการพัฒนาพ้ืนท่ีชลประทานรวม 34.77 ล้านไร่ คิด

เป็นรอ้ ยละ 23 ของพื้นท่ีทางการเกษตร นอกจากนั้นเป็นพื้นทน่ี อกเขตชลประทานท่ีปลูกพืชโดยใช้น้ำฝนเป็น
หลัก ซึ่งมีความเสยี่ งตอ่ การขาดแคลนน้ำ อนั เน่ืองมาจากความผันแปรของสภาพภูมิอากาศ อีกท้งั ในพื้นที่ยงั มี
สภาพทางกายภาพที่ไม่เออ้ื อำนวยตอ่ การลำเลียงน้ำจากแหลง่ นำ้ มาใช้ประโยชน์ด้วย

สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 17

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำ

ทม่ี า : รายงานประจำปี กรมชลประทาน ปี 2563

2. ข้อมูลความต้องการน้ำสำหรับภาคการเกษตร ปี 2560 เท่ากับ 113,960 ล้านลูกบาศก์
เมตรต่อปี หรือร้อยละ 75.10 ของความต้องการใช้น้ำทั้งประเทศ และภาคอุตสาหกรรม เท่ากับ 4,206 ล้าน
ลูกบาศก์เมตรต่อปี หรอื ร้อยละ 2.77 ของความต้องการใช้น้ำทั้งประเทศ อย่างไรก็ตาม เป้าหมายที่กำหนดใน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 น้ี เน้นไปทภ่ี าคเกษตรกรรมมากกว่าภาคอุตสาหกรรม

3. จากรายงานการศึกษาวิเคราะห์แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและการ
จดั สรรงบประมาณ” ของสำนกั งบประมาณของรัฐสภา พบว่า

3.1 ขอ้ มูลพืน้ ท่ีท่ีประสบภยั แลง้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 – 2558 พบวา่ มีจงั หวัดทไี่ ม่
เกดิ ภัยแล้งในรอบ 5 ปี จำนวน 7 จงั หวัด โดยมีจังหวัดทีม่ ีพ้นื ท่ีเกดิ ภัยแล้งซำ้ ท้ัง 5 ปี จำนวน 27 จังหวดั

3.2 ปริมาณน้ำเพ่ือการเกษตรมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 75 หรือคิดเป็นปริมาณน้ำ
113,960 ล้านลูกบาศก์เมตร จำแนกเป็นการเกษตรในเขตชลประทาน 30.22 ล้านไร่ ซ่ึงจัดสรรน้ำได้แล้ว
ปริมาณ 65,000 ล้านลูกบาศก์เมตร (โดยลุ่มน้ำท่ีมีการจัดสรรน้ำในเขตชลประทานมากท่ีสุด ได้แก่ ลุ่มน้ำ
เจ้าพระยา ท่าจีน น่าน ชี มูล และปิง) สำหรับการเกษตรนอกเขตชลประทานพื้นท่ี 120 ล้านไร่ เป็นความ
ต้องการน้ำเพื่อไปทดแทนน้ำฝนที่ตกไม่เพียงพอกับความต้องการของพืชโดยคิดเฉพาะปลูกพืชฤดูฝนเท่าน้ัน
มปี ระมาณ 48,960 ล้านลกู บาศก์เมตร (ลุ่มน้ำท่ีมคี วามตอ้ งการนำ้ เพื่อการเกษตรนอกเขตชลประทานมากที่สุด
ได้แก่ ลมุ่ นำ้ มลู โขง (อสี าน) ชี ชายฝงั่ ทะเลตะวนั ออก ภาคใต้ฝง่ั ตะวันออก และภาคใต้ฝ่งั ตะวนั ตก ตามลำดับ)

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 18

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการบริหารจดั การทรพั ยากรน้ำ

ความเห็นของ PBO
1. การประเมินผลการดำเนินการตามแผนแมบ่ ทฯ ควรต้องรวมภารกิจของหนว่ ยงานต่างๆที่

เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้ำ และทุกแผนงานที่เก่ียวข้อง ไม่ว่าจะเป็นแผนงานพื้นฐาน แผนงาน
ยุทธศาสตร์ และแผนงานบรู ณาการ

2. โครงการส่วนใหญ่ภายใต้เป้าหมายที่ 2 เป็นโครงการขนาดเล็กจำนวนมาก ซ่ึงอาจเปน็ งาน
ตามภารกิจหน่วยงานที่ต้องดำเนินการอยู่แล้ว มีพ้ืนที่การดำเนินการกระจายอยู่ท่ัวประเทศ การติดตาม
ประเมินผลตามแผนแม่บทฯ อาจดำเนินการได้ยาก และการดำเนินการตามแผนงานบูรณาการควรเป็นการ
ดำเนินงานท่ี มีการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานอื่นเพ่ือดำเนินการตามเป้าห มายที่ กำหนดใน
เปา้ หมายของแผนงานบรู ณาการและแผนแม่บท

3. เป้าหมายพื้นที่ชลประทานที่กำหนดในแผนงานบูรณาการ และแผนงานพื้นฐานอาจไม่
สอดคล้องกับการพัฒนาพื้นท่ีชลประทานที่มีศักยภาพ กล่าวคือ พ้ืนท่ีที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นพ้ืนที่
ชลประทานมีจำนวน 60.29 ล้านไร่ แต่ผลการดำเนินงานในแต่ละปีมีเพียงประมาณ 1-2 แสนไร่ต่อปี ดังน้ัน
การดำเนนิ การพฒั นาเป็นพืน้ ท่ีชลประทานใหค้ รอบคลมุ จงึ ใช้ระยะเวลานาน

4. การบริหารจัดการด้านการเกษตรควรบูรณาการกับหน่วยงานอื่น โดยการสนับสนุนให้
ปลูกพืชที่เหมาะสมกับปริมาณแหล่งน้ำท่ีมี หากอยู่นอกเขตชลประทานอาจสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกท่ี
เหมาะสม

5. การจดั สรรงบประมาณด้านสิง่ ก่อสร้างควรเน้นการสรา้ งระบบกระจายน้ำในพื้นทที่ ่มี ีความ
จเุ ก็บกักแหล่งน้ำใกล้เคียงกับความต้องการใช้น้ำการเกษตร เพ่ือพัฒนาแหล่งน้ำเดิมให้สามารถกระจายน้ำให้
เต็มประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม พ้ืนที่ที่มีแหล่งกักเก็บน้อยและมีภาวะภัยแห้งซ้ำซากควรพิจารณาเน้นการ
จัดสรรงบประมาณเพื่อก่อสร้างแหล่งเก็บกักน้ำเพ่ิมเติมเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการการใช้น้ำ ตามความ
เหมาะสมในแตล่ ะพื้นที่

สำนักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 19

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจดั การทรัพยากรนำ้

เปา้ หมายที่ 3 : การจดั การนำ้ ทว่ มและอทุ กภยั

3.1 งบประมาณ กิจกรรม ตวั ชวี้ ดั และลักษณะคา่ ใชจ้ ่าย

เป้าหมาย / แนวทาง / ตัวชี้วดั หนว่ ยงานท่ีรบั ผิดชอบ/กิจกรรม-โครงการ งบประมาณ /

รายละเอียด

เป้าหมายที่ 3 : การบรรเทานำ้ ทว่ มและอทุ กภยั ในพื้นทชี่ มุ ชน พ้ืนที่เศรษฐกจิ สำคัญและพนื้ ท่ีเกษตรอย่างเป็นระบบ

ตัวชว้ี ดั ท่ี 1 : พน้ื ที่ท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากนำ้ ทว่ มและอทุ กภัยลดลง 471,712 ไร่

ตวั ชวี้ ัดที่ 2 : เพ่มิ ประสิทธิภาพการระบายน้ำ 3 แห่ง

แนวทางท่ี 3.1 : ปรับปรุงทางน้ำ ทาง

ผนั นำ้ พ้ืนทรี่ ับน้ำนอง เขตการใช้

ประโยชน์ทดี่ นิ จดั ทำผงั เมอื ง

และระบบป้องกันน้ำทว่ มชมุ ชนและ

พื้นทเี่ ศรษฐกิจ

ตัวชว้ี ัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ งบประมาณ

1. เพิ่มประสิทธภิ าพการระบายน้ำ 3 1. กรมชลประทาน 20,246.7681 ล้านบาท

แห่ง ความยาว 18,455 เมตร เป็นงบลงทุน สว่ นใหญก่ อ่ สร้างระบบระบายน้ำ

2. พน้ื ทไี่ ด้รับการป้องกนั และลด พร้อมอาคารประกอบ/ประตรู ะบายนำ้ ซ่ีงมที ั้ง

ผลกระทบ 154 แหง่ / 471,712 ไร/่ รายการปีเดียวและรายการผูกพนั

49,180 ครวั เรอื น คา่ สำรวจออกแบบ และค่ากอ่ สร้าง

คาร้อื ยายในการจัดหาท่ดี นิ

กระทรวงคมนาคม

1. กรมเจา้ ทา่

- โครงการการพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานเพ่ือ

สนบั สนุนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

213.4783 ลา้ นบาท เป็นงบลงทุน ค่าสำรวจ

ออกแบบ จา้ งเหมาขดุ ลอกและบำรุงรักษาร่องนำ้

แมน่ ้ำสายหลัก

กระทรวงมหาดไทย

1. กรมโยธาธกิ ารและการผงั เมอื ง

- โครงการป้องกนั น้ำทว่ มพ้ืนที่ชมุ ชน 4,254.0943

ล้านบาท เป็นงบลงทุน คา่ ควบคุมงานท่ีมีราคาต่อ

หน่วยตำ่ กว่า 10 ล้านบาท และก่อสร้างสรา้ งระบบ

ระบายนำ้ /ป้องกันน้ำทว่ ม

ทมี่ า : สรุปจากเอกสารงบประมาณฉบบั ที่ 3 เลม่ ท่ี 18 (1)

3.2 ข้อมูลประกอบการพจิ ารณา :

จากขอ้ มูลพ้ืนทท่ี ่ีประสบอทุ กภัยของกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยมาวเิ คราะห์และจดั ทำแผนที่
พื้นท่ีประสบอทุ กภัยตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2554 – 2558 พบวา่ ทุกจังหวดั ในประเทศไทยมีพ้นื ทท่ี ่ีเคยเกิดอุทกภัย โดยมี
จังหวัดที่มีพื้นท่ีประสบอุทกภัยซ้ำทั้ง 5 ปถี งึ 27 จังหวดั รายละเอียดแสดงตามภาพ

สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 20

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ้

ท่ีมา : “รายงานการศกึ ษาวิเคราะหแ์ ผนงานบรู ณาการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนำ้ และการจดั สรรงบประมาณ” สำนัก
งบประมาณของรัฐสภา

การจดั ลำดับความสำคญั ควรให้ความสำคัญกับพ้ืนท่ีการเกิดอุทกภัยซ้ำซากเป็นอันดับแรก โดยพื้นที่
สว่ นใหญ่อยใู่ นกล่มุ ลุ่มนำ้ ภาคเหนอื และภาคกลาง กล่มุ ลุ่มน้ำภาคตะวนั ออก กลมุ่ ล่มุ นำ้ ภาคใต้ และกลุ่มลมุ่ น้ำ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางส่วน และเมื่อวเิ คราะห์การจัดสรรงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการบริหาร
จดั การทรัพยากรนำ้ ท่ีผ่านมา พบวา่ โครงการ/กิจกรรมส่วนใหญเ่ ป็นมาตรการการแก้ไขโดยใช้สง่ิ ก่อสร้าง

อยา่ งไรก็ตาม เมื่อนำขอ้ มลู ภัยแลง้ และอุทกภัยมาประมวลผลร่วมกนั พบวา่ มีจงั หวดั ที่มีการเกิดพ้ืนที่
ท่เี กิดอุทกภยั และภยั แลง้ ในปีเดียวกนั 14 จงั หวดั

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 21

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการบริหารจดั การทรพั ยากรนำ้

ท่ีมา : “รายงานการศกึ ษาวิเคราะหแ์ ผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ และการจดั สรรงบประมาณ” สำนัก
งบประมาณของรฐั สภา

ความคดิ เห็นของ PBO
1. การจัดสรรงบประมาณในการแก้ปัญหาอุทกภัย ควรพิจารณาควบคู่กับภัยแล้ง โดยจัดสรร

งบประมาณให้พ้ืนที่ท่ีเกิดอุทกภัยและภัยแล้งในพื้นที่เดียวกัน โดยใช้วิธีที่เหมาะสมในแต่ละพื้นท่ีโดยไม่
จำเป็นต้องใช้สง่ิ ก่อสรา้ งเท่านน้ั เช่น การกอ่ สร้างทางผันนำ้ การปรับปรงุ และตกแตง่ ลำน้ำ

2. ควรจัดทำมาตรการเชิงรุก ป้องกันเหตุ และให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม เช่น การจัดทำระบบ
เตือนภัย โดยการแจ้งเตือนพื้นที่ต่างๆ กรณีฝนตกหนักมากอาจมีน้ำท่วมรุนแรง เพ่ือลดผลกระทบและความ
สูญเสียโดยใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ นอกจากนค้ี วรสร้างความตระหนกั และความรู้ให้กบั ประชาชนกรณีทต่ี อ้ งเผชิญ
เหตุ การจดั การกรณเี กดิ ภยั พบิ ัตริ ุนแรง

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 22

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

เปา้ หมายที่ 4 : การจดั การคุณภาพน้ำ

4.1 งบประมาณ กิจกรรม ตัวชว้ี ัด และลกั ษณะคา่ ใชจ้ า่ ย

เป้าหมาย / แนวทาง / ตวั ช้ีวัด หนว่ ยงานทรี่ ับผิดชอบ/กิจกรรม-โครงการ งบประมาณ /

รายละเอยี ด

เปา้ หมายที่ 4 : การจดั การน้ำเสีย และฟ้นื ฟูแหลง่ น้ำธรรมชาตทิ ่ัวประเทศให้มีคณุ ภาพอยู่ในระดบั พอใชข้ ้นึ ไป รวมถึงการ

นำน้ำเสียกลบั มาใช้ใหม่และการจดั การนำ้ เพอื่ รกั ษาสมดุลของระบบนเิ วศ

ตัวชว้ี ัดท่ี 1 : : แหล่งน้ำธรรมชาติได้รบั การฟน้ื ฟู และ พื้นท่ีไดร้ ับการพฒั นาและเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการนำ้ เสีย 34

แห่ง

แนวทางท่ี 4.1 : พัฒนา เพิ่มประสทิ ธิภาพระบบบำบัดน้ำเสีย ป้องกันระดับความเค็มและลดนำ้ เสียจากแหล่งกำเนดิ ชุมชน

และพ้นื ทเี่ ศรษฐกจิ

ตวั ชี้วดั กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม งบประมาณ 693.4846

1. พัฒนาและเพิม่ ประสทิ ธิภาพการ 1. สำนกั งานปลดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ ลา้ นบาท

จดั การนำ้ เสยี 18 แหง่ และสิ่งแวดลอ้ ม

2. แหลง่ น้ำธรรมชาตไิ ด้รบั การฟนื้ ฟู - โครงการเพิม่ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการ

(ลำน้ำสายหลัก สาขา และลำคลองท่ี คณุ ภาพน้ำ 22.3550 บาท เป็นคา่ ครภุ ณั ฑ์

ผา่ นเมอื งและชุมชนพนื้ ทชี่ มุ่ นำ้ ) 16 วิทยาศาสตร์ 4 รายการและรายจ่ายอื่น คา่ ใชจ้ ่าย

แห่ง โครงการลดของเสียในแหลง่ นำ้ วิกฤติและจดั การ

คณุ ภาพน้ำในแหลง่ น้ำหลัก งบรายจา่ ยอ่ืน 14.650

ล้านบาท เป็นค่าใช้จ่ายโครงการลดของเสียในแหลง่

นำ้ หลัก

2. กรมควบคุมมลพิษ

- โครงการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาคณุ ภาพนำ้ และ

นำ้ เสยี 10 ล้านบาท เป็นงบรายจา่ ยอืน่ ค่าใช้จา่ ยใน

การดำเนนิ โครงการปอ้ งกันและแก้ไข

ปัญหาคุณภาพนำ้ และน้ำเสยี 1 เรอื่ ง

- โครงการตรวจสอบและบงั คบั ใช้กฏหมายกับ

แหล่งกำเนิดมลพษิ ทางนำ้ 3.2391 ลา้ นบาท เปน็

รายจ่ายอน่ื ค่าใชจ้ า่ ยในการตรวจสอบและบังคบั

กำกบั แหล่งกำเนิดมลพษิ

รฐั วิสาหกจิ

1. องค์การจัดการนำ้ เสีย

- โครงการปรับปรุง ฟื้นฟแู ละบรหิ ารจัดการ

คุณภาพน้ำ 657.8905 ลา้ นบาท เปน็ งบลงทุน

ค่าจา้ งท่ปี รกึ ษาควบคมุ งาน และก่อสรา้ งศนู ย์

บรหิ ารจัดการคุณภาพน้ำ

4.2 ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณา :

คุณภาพนำ้ ในภาพรวมของประเทศมแี นวโนม้ เสอ่ื มโทรมลงอนั เน่ืองมาจากการปนเปอ้ื นของน้ำเสยี จาก
ชมุ ชน จากอุตสาหกรรมและจากเกษตรกรรม การประเมนิ คณุ ภาพน้ำจะใช้ค่ามาตรฐานตามประเภทของแหล่ง
นำ้ ผวิ ดิน โดยกำหนดค่าคะแนน และเกณฑ์คุณภาพนำ้ ไว้

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 23

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ้

ตารางแสดงคณุ ภาพน้ำแหลง่ ผวิ ดนิ ที่ทำการตรวจวัดคุณภาพ ปี พ.ศ. 2557 แยกตามภูมภิ าค

เกณฑ์ แหล่งน้ำผวิ ดนิ ในภาคต่างๆของประเทศ ร้อยละ
คุณภาพ เหนอื กลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวนั ออก ใต้ ของ
แหล่ง
น้ำ วัง แควนอ้ ย มลู ตราด ตาปตี อนบน นำ้
ดี กก เพชรบรุ ี ลำชี เวฬุ ตรงั 29
(71-90) อิง ตอนบน หนองหาร จนั ทบุรี สายบุรี
แม่จาง สงคราม พงั ราด ปัตตานี 49
พอใช้ ลำตะคองตอนบน ตอนล่าง ตอนบน
(61-70) ปิง เจา้ พระยา ลำปาว 22
ยม ตอนบน เลย บางปะกง ชมุ พร
เสอ่ื มโทรม นา่ น เจ้าพระยา ชี ประแสร์ ตาปตี อนลา่ ง
(51-60) ล้ี ตอนกลาง พอง ปราจีนบุรี หลงั สวน
กว้านพระ กยุ บุรี อนู
เยา ปราณบรุ ี เสยี ว ตอนลา่ ง
หลังสวน
นอ้ ย ลำตะคองตอนล่าง ตอนบน
ท่าจนี ตอนบน พุมดวง
ปากพนงั
แควใหญ่ ทะเลนอ้ ย
แม่กลอง ทะเลหลวง
ทะเลสาบ
กวง เจา้ พระยา สงขลา
บึง ตอนลา่ ง ปตั ตานี
บอระเพด็ ทา่ จนี ตอนล่าง

ตอนกลาง นครนายก
ท่าจีนตอนล่าง ระยอง
ตอนบน
ปา่ สกั ระยอง -
เพชรบุรี ตอนลา่ ง
ตอนลา่ ง พงั ราด
ลพบุรี ตอนบน
สะแกกรัง

ที่มา : “รายงานการศึกษาวิเคราะห์แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและการจัดสรรงบประมาณ” สำนัก
งบประมาณของรฐั สภา

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 24

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนำ้

จะเห็นได้ว่า แหล่งน้ำผิวดินท่ีมีสภาพเส่ือมโทรม อันเนื่องมาจากการปนเปื้อนของน้ำเสีย
ชุมชน พ้ืนท่ีอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม ไดแ้ ก่ กวง บึงบอระเพด็ เจา้ พระยาตอนล่าง ท่าจีนตอนกลาง ทา่ จีน
ตอนล่าง ป่าสัก เพชรบุรีตอนล่าง ลพบุรี สะแกกรัง ลำตะคองตอนล่าง นครนายก ระยองตอนบน ระยอง
ตอนล่าง พังราดตอนบน ซึ่งอยู่ในพื้นที่ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ซึ่งจะต้องเร่งแก้ไขปัญหา
คุณภาพน้ำ นอกจากนี้ หนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ งควรเปิดเผยผลการสำรวจใหป้ ระชาชนรับทราบอย่เู สมอ

ความคดิ เห็นของ PBO
1. โครงการก่อสร้างและการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการคุณภาพน้ำ ควรคำนึงถึง ขนาดของ

ปญั หา ความรุนแรง และขนาดของโครงการควรมีสอดคลอ้ งกนั ในเชงิ พนื้ ท่ี
2. จากข้อมูลคุณภาพน้ำจากแหล่งนำ้ ต่างๆ หนว่ ยงานท่ีเกีย่ วขอ้ งควรจัดทำข้อมลู ใหเ้ ปน็ ปัจจุบัน และนำ

ขอ้ มลู ดังกลา่ วกำหนดความสำคัญของการจดั สรรงบประมาณให้กบั แหล่งน้ำที่เสื่อมโทรมเป็นอันดับแรก
3. ควรสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับเอกชน และท้องถิ่นในการป้องกัน รักษา ติดตามคุณภาพ

แหล่งน้ำผวิ ดิน
4. โครงการที่ได้รับจัดสรรปี 2565 ส่วนใหญ่เป็นโครงการก่อสร้างขนาดเล็กจำนวนมาก การประเมิน

ผลลพั ธ์ตามยทุ ธศาสตร์จากโครงการต่างๆเหล่าน้ี อาจดำเนินการไดย้ ากหากขาดแผนการดำเนนิ การท่ชี ัดเจน

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 25

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการบริหารจดั การทรพั ยากรนำ้

เปา้ หมายท่ี 5 : การอนรุ ักษฟ์ น้ื ฟพู ื้นที่ป่าตน้ น้ำที่เสอ่ื มโทรมและป้องกันการพงั ทลายของดิน

5.1 งบประมาณ กิจกรรม ตัวชว้ี ัด และลกั ษณะค่าใช้จา่ ย

เปา้ หมาย / แนวทาง / ตัวช้ีวดั หนว่ ยงานท่ีรับผดิ ชอบ/กิจกรรม-โครงการ งบประมาณ /

รายละเอยี ด

เป้าหมายที่ 5 : พืน้ ท่ีปา่ ต้นน้ำที่เสื่อมโทรมได้รบั การอนรุ กั ษ์ฟ้ืนฟู รวมถึงการปอ้ งกันการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ในพื้นทีต่ ้น

น้ำ และพืน้ ทล่ี าดชัน

ตัวชว้ี ดั ที่ 1 : จำนวนพืน้ ทปี่ ่าท่ีไดร้ บั การปลูกฟ้นื ฟูและป้องกันการชะล้างพงั ทลายของดินในพื้นที่ต้นนำ้ 23,839 ไร่

แนวทางที่ 5.1 : อนรุ ักษ์ ฟ้ืนฟูพ้ืนทป่ี า่ ต้นนำ้ ท่ีเส่อื มโทรม ปอ้ งกันการชะล้างพงั ทลายของดินในพ้ืนทต่ี ้นน้ำ

ตวั ช้ีวัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ งบประมาณ 193.075

1. จำนวนพ้ืนทปี่ า่ ที่ได้รบั การปลูก 1. กรมพฒั นาทด่ี ิน ลา้ นบาท

ฟื้นฟูเนือ้ ที่ 23,839 ไร่ - โครงการป้องกนั การชะล้างพงั ทลายของดินและ

2. จำนวนพ้ืนทีป่ ้องกนั การชะล้าง ฟน้ื ฟพู ้ืนทีเ่ กษตรกรรมด้วยระบบอนรุ ักษด์ นิ และน้ำ

พังทลายของดนิ ในพ้นื ที่ต้นน้ำ และ 38.2130 บาท เปน็ คา่ สิ่งก่อสรา้ ง

พืน้ ทล่ี าดชนั 3,742 แหง่ / 43,502 ไร่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

1. กรมป่าไม้

- โครงการปลูกป่าเพื่อฟื้นฟรู ะบบนเิ วศ 63.9391

บาท เปน็ งบลงทนุ คา่ ก่อสร้างที่มีราคาตอ่ หนว่ ยตำ่

กวา่ 10 ลา้ นบาท 21 รายการ (10,089 หน่วย)

2. กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธพ์ุ ชื

- โครงการฟื้นฟูพนื้ ทีป่ า่ อนุรกั ษ์ (ลุ่มนำ้ ) ระยะท่ี 1

90.9230 ล้านบาท เป็นงบลงทนุ ค่าก่อสร้างท่มี ี

ราคาต่อหน่วยตำ่ กว่า 10 ลา้ น รวม 68 รายการ

(รวม 2,147,491 หนวย)

ท่มี า : สรปุ จากเอกสารงบประมาณฉบับท่ี 3 เลม่ ท่ี 18 (เอกสารคาดแดง)

5.2 ข้อมลู ประกอบการพจิ ารณา :

1. เปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประกาศนโยบายป่าไม้แห่งชาติเพือ่ เพิ่มพ้ืนทีป่ ่าไม้ท้ัง
ป่าเพ่ือการอนุรักษ์และเพื่อเศรษฐกิจไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของพื้นท่ีประเทศไทย (แบ่งออกเป็นพ้ืนที่ป่า
อนุรักษ์ 25% และพื้นท่ีป่าเศรษฐกิจและป่าชุมชน 15%) ปัจจุบันพ้ืนที่ป่าไม้ท่ัวประเทศในปี พ.ศ. 2561 –
2562 จำนวน 102,484,072.71ไร่ หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ 31.58 ของประเทศ ซ่ึงลดลงจากปี พ.ศ. 2560 – 2561
จำนวน 4,229.48 ไร่

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 26

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการบริหารจดั การทรพั ยากรนำ้

ท่ีมา : www.bltbangkok.com

ที่มา : www.bltbangkok.com หน้า 27

สำนักงบประมาณของรัฐสภา

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบริหารจัดการทรพั ยากรน้ำ

สถานการณ์ป่าไม้ของประเทศไทยลดลงอย่างต่อเนื่อง จากปี พ.ศ. 2504 เท่ากับร้อยละ
53.33 ปี พ.ศ.2562 เท่ากบั ร้อยละ 31.58 จังหวัดท่ีมีพ้ืนที่ป่าไม้ลดลงมากมท่ีสุด ได้แก่ มหาสารคาม
สมุทรปราการ นครพนม สมทุ รสาคร และพิจิตร

งบประมาณ ปี พ.ศ.2565 ส่วนใหญ่เป็นงบลงทุน ค่าก่อสร้างท่ีต่ำกว่า 10 ล้านบาท ยังขาด
ประเด็นเกี่ยวกับการศึกษาให้ให้ประชาชนอยู่ร่วมกับป่าได้ เพื่อบริหารจัดการและใช้ประโยชน์จาก
ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งเหมาะสม และยง่ั ยืน

ความเห็นของ PBO

1. งบประมาณท่ีได้รับจัดสรรในแผนงานบูรณาการฯ ส่วนใหญ่เป็นงบลงทุน ซ่ึงการอนุรักษ์พ้ืนท่ีป่าอาจ
ต้องดำเนินการร่วมกันระหว่างประชาชน และภาครัฐ ดังนั้น ควรมีงบประมาณสำหรับรายการดังกล่าว อาจ
จัดสรรไวภ้ ายใต้แผนงานบรู ณาการฯ หรือแผนงานพ้นื ฐานของหน่วยรบั งบประมาณ

2. การปลกู ป่าจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมอื ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ท้องถ่ิน และประชาชน เพื่อให้
เขา้ รว่ มปลูก ดูแล ฟื้นฟู และรักษาปา่ ให้ยงั่ ยืน ซง่ึ จะลดภาระงบประมาณในระยะยาว

3. ศึกษาองค์ความรู้เก่ยี วกับการอนรุ ักษ์ฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีป่าต้นน้ำที่เส่ือมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน
โดยใชพ้ นั ธไ์ุ มท้ ี่เหมาะสมกับพ้ืนท่ี

4. การจัดสรรงบประมาณในการศึกษาวิจัยในเรือ่ งความสมั พันธร์ ะหว่างประเภทของการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน
และปริมาณของป่าไม้กับปริมาณของน้ำท่ีเกิดจากป่าต้นน้ำ อีกท้ังจะต้องนำมาเผยแพร่ให้ความรู้แก่เจ้าหน้าท่ี
และประชาชนเพ่อื ให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการบรหิ ารจัดการนำ้ อย่างเป็นธรรม มีประสทิ ธิภาพและยั่งยืน

สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 28

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบริหารจดั การทรพั ยากรนำ้

เปา้ หมายท่ี 6 : การบรหิ ารจัดการ

6.1 งบประมาณ กิจกรรม ตวั ช้ีวัด และลักษณะคา่ ใช้จา่ ย

เปา้ หมาย / แนวทาง / ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ/กจิ กรรม-โครงการ งบประมาณ /

รายละเอยี ด

เปา้ หมายท่ี 6 : บริหารจัดการทรัพยากรนำ้ ครอบคลมุ ทกุ ล่มุ นำ้ อย่างสมดุล

ตัวชว้ี ดั ที่ 1 : มแี ผนการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำครอบคลมุ ทกุ ลุม่ น้ำอย่างสมดุล 22 ลุ่มนำ้

แนวทางท่ี 6.1 : จัดทำแผนยุทธศาสตรก์ ารบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำในลุ่มนำ้ แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ

การบริหารจัดการสนบั สนุนองคก์ รลุม่ น้ำ พัฒนาระบบ ฐานข้อมูล ติดตามประเมินผล ประชาสมั พนั ธแ์ ละการมสี ว่ นร่วม

ตัวชี้วัด สำนกั นายกรฐั มนตรี งบประมาณ 893.5629

1.องค์กรลุ่มน้ำ เครอื ขา่ ย ประชาชน 1. สำนกั งานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ล้านบาท

ไดร้ ับการพฒั นาเพ่ิมประสทิ ธิภาพการ - โครงการขบั เคลอ่ื นการดำเนินการตามกฎหมาย

บรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ ครบทกุ ลุ่ม นโยบาย และแผนแม่บทดา้ นการบริหารจดั การ

น้ำ ทรพั ยากรน้ำ 455.9424 บาท เป็นงบลงทุน ค่า

(การจัดทำแผนงาน การตดิ ตาม สำรวจออกแบบ โครงการจัดทำผงั น้ำลมุ่ นำ้ ตา่ งๆ

ประเมินผล การจดั สรรน้ำ การอบรม และงบรายจา่ ยอื่น 96.2375 ล้านบาท เพอื่ เปน็

ใหค้ วามรู้ งานเลขานุการลุ่มน้ำ) คา่ ใช้จ่ายโครงการต่างๆ 9 โครงการ

2.มแี ผนการบริหารจดั การทรัพยากร - โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมลู และระบบ

น้ำทุกระดบั 3 รายการ สนับสนนุ การตดั สินใจแบบบูรณาการ 12 ล้านบาท

3.กฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ดา้ น เป็นงบรายจา่ ยอน่ื 3 โครงการ

ทรพั ยากรน้ำ 4 ฉบับ กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและ

4.มีงานศกึ ษา วจิ ยั นวัตกรรม แนวทาง นวัตกรรม

บริหารจัดการทรัพยากรนำ้ 2 เร่อื ง 1. สถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรนำ้ (องคก์ าร

5. พัฒนาเพิม่ ประสทิ ธิภาพระบบ มหาชน)

ฐานข้อมูลสนับสนนุ การตัดสินใจ 6 - โครงการพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐาน และเทคโนโลยี

เร่ือง 5 ระบบ ดา้ นการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ 6.6288 ลา้ น

6.ขอ้ ตกลงความร่วมมือระหว่าง บาท เป็นเงนิ อุดหนนุ เพือ่ เปน็ ครภุ ัณฑ์ระบบตดิ ตาม

ประเทศ 2 เรอ่ื ง และพยากรณ์ภัยแลง้

กระทรวงดจิ ิทลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม

1. กรมอตุ ุนยิ มวทิ ยา

- โครงการปรบั ปรงุ เคร่อื งเรดารต์ รวจอากาศแบบ

Dual Polarization 111.6192 ลา้ นบาท เป็นงบ

ลงทุนค่าครภุ ณั ฑ์ปรบั ปรุงเครื่องเรดาหต์ รวจอากาศ

- โครงการปรับปรุงระบบตรวจวดั ระดับน้ำอัตโนมัติ

เพอ่ื การพยากรณ์อุตุนิยมวทิ ยาอุทกและเตือนภยั

5.0345 บาท เปน็ งบลงทุน เพ่ือปรบั ปรงุ ระบบ

ตรวจวดั ระดับน้ำอัตโนมัติเพอ่ื การพยากรณ์

อตุ นุ ยิ มวทิ ยาอทุ กและเตอื นภัย (รายการผกู พนั )

- โครงการปรบั ปรงุ เพิ่มประสทิ ธภิ าพการตรวจวดั

ขอ้ มูลอุตุนิยมวทิ ยาระดบั อำเภอให้เป็นอัตโนมัติ ค่า

ครภุ ัณฑ์ 92.3475 ลา้ นบาท

สำนักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 29

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบริหารจัดการทรพั ยากรนำ้

เป้าหมาย / แนวทาง / ตัวช้ีวดั หนว่ ยงานทรี่ บั ผิดชอบ/กิจกรรม-โครงการ งบประมาณ /
รายละเอียด

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

1. กรมทรัพยากรนำ้
-โครงการพัฒนากลไกและเพ่ิมประสิทธิภาพการ
บริหารจดั การน้ำ ค่าใชจ้ า่ ยสำรวจออกแบบ และ
รายจ่ายอืน่ 140.8845 ลา้ นบาท
กรมทรพั ยาน้ำบาดาล
-คา่ ที่ดิน/ส่ิงกอ่ สรา้ ง คา่ ใช้จา่ ยจดั ทำระบบตดิ ตาม
เฝ้าระวังน้ำบาดาล 30.2586 ล้านบาท
-รายจา่ ยอืน่ ค่าใชจ้ ่ายในการเตมิ น้ำระดับต้ืน
38.8464 ลา้ นบาท

6.2 ข้อมลู ประกอบการพจิ ารณา :

1. พระราชบญั ญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 มกี ารกำหนดอำนาจหนา้ ที่ของหน่วยงานในการ
ใช้ การพัฒนา การจัดการ การบำรุงรักษา การฟ้ืนฟู และการอนุรักษ์ให้เกิดประโยชน์และย่ังยืน โดยแบ่ง
องค์กรบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเป็น 2 ระดบั คอื ระดับชาติ (คณะกรรมการทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ) ระดับลุ่ม
นำ้ (คณะกรรมการลุ่มน้ำ) มีการจัดแบ่งการจัดสรรน้ำและการใชน้ ้ำ การวางแผนเพอื่ แก้ปญั หานำ้ ทว่ ม น้ำแล้ง
การอนุรักษ์ ดังน้ัน จะเห็นว่า มีความชัดเจนในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำมากขึ้น แผนงานพื้นฐาน และ
แผนงานบูรณาการจะได้นำมาบูรณาการร่วมกนั

2. พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 กำหนดให้ สทนช. ในฐานะสำนักงานเลขานุการ
ของคณะกรรมการทรัพยากรน้ำ (กนช.) ที่มนี ายกรัฐมนตรีเป็นประธาน เป็นผู้จดั ทำผังนำ้ เสนอ กนช. เม่ือผ่าน
การอนุมัติจะประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาบังคับใช้ ซึ่งต้องเร่งดำเนินการภายใน 2 ปีนับแต่ พ.ร.บ.
ทรัพยากรน้ำมีผลบังคับใช้ เม่ือวันที่ 27 มกราคม 2562 ที่ผ่านมา ท้ังน้ี การจัดทำผังน้ำต้องจัดให้มีรายการ
ประกอบผังน้ำเพ่ืออธิบายวัตถุประสงค์ของผังน้ำ และรายละเอียดที่ปรากฏอยู่ในผังน้ำ ท้ังน้ี การจัดทำผังน้ำ
ต้องจดั ใหม้ กี ารรับฟงั ความคดิ เห็นของคณะกรรมการลมุ่ นำ้ หน่วยงานของรฐั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน และ
ประชาชนท่เี กยี่ วข้องตามความเหมาะสม

สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 30

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบริหารจัดการทรัพยากรนำ้

ความเห็น PBO ในภาพรวมที่มีตอ่ การจดั สรรงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565

1. การกำหนดเป้าหมาย และงบประมาณมีการเปลี่ยนแปลงจากปีก่อนหน้า : เป้าหมาย และ
งบประมาณของแผนงานบรู ณาการมีการเปล่ียนแปลงจากเอกสารงบประมาณปีกอ่ นหนา้ อาจเกิดจากการปรับ
ฐานการคำนวณ อย่างไรก็ตาม ในแง่ของการติดตามและประเมินผลอาจจะส่งผลให้หน่วยงานเจ้าภาพไม่
สามารถตดิ ตาม ประเมินผลตวั ช้วี ัดต่างๆในระยะยาวได้

2. ความสอดคล้องกับแผนหลัก : เป้าหมายแต่ละด้านที่กำหนดมีความสอดคล้องกับแผนแม่บทการ
บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) อย่างไรก็ตาม โครงการท่ีบรรจุอยู่ในแผนบูรณาการฯ
และตัวชวี้ ัดเปน็ การกำหนดกลมุ่ เป้าหมายที่มจี ำนวนน้อยเกินกวา่ ที่จะบรรลเุ ป้าหมายเชิงนโยบายได้

3. งบประมาณกระจายตัวไม่สมดุล : เป้าหมายท่ีได้รับงบประมาณสูงสุด ได้แก่ เป้าหมายที่ 2 น้ำภาค
เกษตรและอุตสาหกรรม ร้อยละ 60.75 ซ่ึงท้ังหมดเป็นงบลงทุน รองลงมาคือ เป้าหมายท่ี 3 บรรเทาน้ำท่วม
และอุทกภัย ร้อยละ 32.01 ส่วนใหญ่เป็นงบประมาณของกรมชลประทาน เพ่ือก่อสร้าง/ปรับปรุงสิ่งก่อสร้าง
ระบบระบายน้ำระบบส่งน้ำ และคลองส่งน้ำ ดังนั้น ควรพิจารณากำหนดเป้าหมายและจัดลำดับความสำคัญ
โดยดำเนนิ การแก้ปัญหาในพนื้ ที่ลมุ่ นำ้ กล่มุ ลุม่ นำ้ ที่ประสบปญั หาทรี่ นุ แรงและเกิดขน้ึ บ่อยเปน็ อนั ดับแรก ทั้งน้ี
ควรมขี อ้ มลู ความตอ้ งการใช้นำ้ ท่ีแท้จริงของแตล่ ะพื้นที่ และกำหนดการกอ่ สรา้ งทเ่ี ก็บกักน้ำและระบบส่งน้ำให้
เหมาะสม สำหรับ เป้าหมายที่ 1 น้ำเพ่ือการอุปโภค บริโภค เป้าหมายที่ 4 การจัดการน้ำเสีย และเป้าหมายท่ี
5 การอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ ได้รับงบประมาณไม่เกินร้อยละ 5 ของแผนงานบูรณาการฯ ดังนั้น การบริหาร
ทรัพยากรน้ำในระยะยาวจำเปน็ ต้องให้ความสำคัญกบั ด้านอ่ืน ๆ ไม่ว่าจะเป็นการอนุรกั ษ์ ฟื้นฟูปา่ ต้นน้ำ และ
ด้านนโยบายดว้ ย

4. โครงการภายใต้แผนงานบูรณาการใกล้เคียงกับงานประจำ : งบประมาณแผนงานบูรณาการทั้งสิ้น
63,251.5096 ล้านบาท แบ่งเป็น รายจ่ายประจำ 491.7518 ล้านบาท (ร้อยละ 0.78) และรายจ่ายลงทุน
62,759.7578 ลา้ นบาท (รอ้ ยละ 99.22) งบประมาณสว่ นใหญ่เป็นงบลงทุนมกี ารกอ่ สรา้ งประเภทต่างท้ังขนาด
เล็กและขนาดใหญ่จำนวนมาก บางโครงการเป็นลักษณะงานประจำของหน่วยงาน ดังน้ัน การประเมิน
ผลสัมฤทธิ์เชิงนโยบาย จึงควรผนวกผลสำเร็จจากงบประมาณในแผนงานพ้ืนฐาน แผนงานยุทธศาสตร์ และ
แผนงานบูรณาการ

5. การกำหนดราคามาตรฐาน : การก่อสร้างที่มีมาตรฐานใกล้เคียงกันควรกำหนดค่าใช้จ่ายต่อหน่วย
เบือ้ งตน้ ไว้ เพื่อให้การจดั สรรงบประมาณสะดวก และมีเหตผุ ลมากย่ิงขึ้น

6. การให้ความสำคญั กับการมีสว่ นร่วมของประชาชน : ประชาชนควรมสี ่วนรว่ มไมว่ ่าจะเปน็ การเสนอ
ความต้องการ หรือการจัดสรรงบประมาณ ตลอดระยะเวลาการดำเนินโครงการและได้ร่วมประเมินผลเมื่อ
โครงการแลว้ เสรจ็ ไม่ใชม่ ีส่วนร่วมเฉพาะการทำประชาพิจารณ์ซึง่ การจัดสรรงบประมาณ ปี พ.ศ. 2565 ควรให้
ความสำคัญกับภารกิจดงั กลา่ ว นอกจากน้ี การจดั ต้ังองค์กรผใู้ ช้น้ำควรมีการดำเนนิ การอยา่ งเป็นรปู ธรรม

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 31

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำ

ข้อเสนอแนะระดบั นโยบาย

1. ควรกำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการตามแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี
(พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ทั้งนี้อาจจัดทำแผนปฏิบัติการระยะสั้นและระยะยาวให้ชัดเจน โดยครอบคลุมพ้ืนที่ทั่ว
ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่นอกเขตชลประทาน และควรศึกษาระบบเชื่อมโยงการกระจายน้ำจากแหล่ง
นำ้ ไปยงั พ้นื ท่ีเป้าหมาย

2. สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ควรเป็นหน่วยงานหลักด้านนโยบายเก่ียวกับการบริหารจัดการ
ทรัพยากรนำ้ อยา่ งมเี อกภาพ มกี ารวางนโยบาย แผนงาน และกำกับ ตดิ ตามเพอ่ื ให้เห็นผลอยา่ งเปน็ รปู ธรรม

3. ควรมีการพิจารณาสภาพปัญหาที่เกิดข้ึนจริงแต่ละพื้นที่ จัดลำดับความสำคัญ โดยคำนึงถึงความเป็น
ธรรมระหว่างประชาชนกลุ่มผูไ้ ดร้ บั ผลประโยชนก์ บั ผเู้ สียผลประโยชนด์ ว้ ย

4. การอนุรักษแ์ ม่นำ้ ลำคลอง แหล่งนำ้ ธรรมชาติอนื่ ๆ ควรบังคับใชก้ ฎหมายอย่างเข้มงวด

5. การเพ่ิมพื้นที่ชลประทานควรคำนึงถึงความสมดุลและความคุ้มค่าของการใช้จ่ายงบประมาณกับ
ผลประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ ทั้งน้ี อาจจัดทำทางเลือกให้เกษตรกรแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำโดย
ปรับเปลย่ี นให้เพาะปลกู พืชท่ีมีมูลค่าสูง แต่มีความต้องการน้ำต่ำ การสร้างระบบกระจายน้ำที่เหมาะสมในแต่
ละพน้ื ท่ีเพอื่ ลดการสร้างสง่ิ กอ่ สร้างขนาดใหญ่

6. การดแู ลและส่งเสริมการปลูกปา่ ต้นนำ้ อยา่ งจริงจังโดยการบรู ณาการภารกิจกบั หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง

7. การบรหิ ารจัดการทรัพยากรนำ้ ควรเปน็ ไปตามหลักธรรมาภิบาล กล่าวคอื

7.1 หลักนิติธรรม บริหารจัดการน้ำให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับ กฎหมาย และระเบียบทาง
สงั คมรวมท้งั จารตี ประเพณีของชมุ ชนในพ้นื ทีน่ ้นั ๆ

7.2 หลักคุณธรรม บรหิ ารจัดการน้ำโดยยึดเอาหลักคุณธรรมเป็นใหญ่ สง่ิ ท่ีต้องคำนึงถึง และยึด
เป็นบรรทัดฐานคอื ความเสมอภาคและเท่าเทยี มในการบงั คับใชท้ างกฎหมาย ไม่เลือกปฏบิ ัติ

7.3 หลักความโปร่งใส บริหารจัดการน้ำโดยปราศจากอคติความลำเอียง ตรงไปตรงมา มีความ
โปรง่ ใสสามารถตรวจสอบได้ มีกระบวนการในการบรหิ ารจดั การนำ้ ที่ตรวจสอบไดอ้ ย่างเปน็ ขน้ั ตอน

7.4 หลักความมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียได้มีส่วนร่วมในการบริหาร
จดั การนำ้ ร่วมคิดรว่ มทำ ร่วมตดั สนิ ใจ รว่ มรับผลประโยชน์

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 32

PBO วเิ คราะหง์ บประมาณอยา่ งมอื อาชพี เป็นกลาง และสรา้ งสรรค์


Click to View FlipBook Version