วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงพาณชิ ย์
สานักงานสภาเกษตรกรแห่งชาติ
สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 1
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : สานกั งานสภาเกษตรกรแหง่ ชาติ
สานักงานสภาเกษตรกรแห่งชาติ
(เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบับที่ 3 เล่มที่ 17 หน้า 19-32)
1. วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ ผลสมั ฤทธิ์ และประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ ในปี 2565
1.1 วิสัยทัศน์: สภาเกษตรกรแห่งชาติ เป็นสถาบันแกนหลักประสานการพัฒนาภาคเกษตรกรรม มุ่งให้
เกษตรกรและองคก์ รเกษตรกรมีความเข้มแข็งในอาชพี
1.2 พนั ธกิจ:
1.2.1 เพิ่มประสิทธิภาพพัฒนาบุคลากรในการจัดทาฐานข้อมูลด้านการเกษตร รวมท้ังการวิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลเพ่ือจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบาย ตลอดจนการจัดทาแผนพัฒนาเกษตรกรรมในระดับท้องถิ่น
ท่ีมีคุณภาพจากล่างสู่บน รวมทั้งจัดทาแผนแม่บทเพื่อพัฒนาเกษตรกรรมเสนอต่อคณะรัฐมนตรี และติดตาม
ตรวจสอบการปฏิบัติงานตามแผนแม่บท พร้อมทั้งรายงานปัญหาอุปสรรคและเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
ดงั กลา่ วให้นายกรัฐมนตรพี จิ ารณา
1.2.2 การส่งเสริมองค์ความรู้แก่เกษตรกร ด้านการวางแผนการผลิต ดาเนินการผลิต การแปรรูป
และการตลาดรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงวิธีการผลิตใหม่ การดาเนินการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรม
และสรา้ งเครอื ข่ายระดบั หมบู่ า้ น ตาบล และอาเภอ
1.2.3 กาหนดนโยบายการส่งเสริมและพัฒนาความเข้มแข็งแก่เกษตรกร และองค์กรเกษตรกรตาม
แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การผลิต การแปรรูป การตลาด และการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม ส่งเสริม
สนบั สนนุ ใหเ้ กษตรกรรวมตัวเป็นกลมุ่ /องค์กรเกษตรรายสนิ ค้าและพัฒนาการจัดการธุรกิจ
1.2.4 ประสานงานกับหน่วยงานท้ังภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคประชาชน ภาคเอกชน และภาค
ประชาสังคมเพื่อบูรณาการการขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาของเกษตรกรและองค์กรเกษตรกรในระดับพื้นท่ีให้
อาชพี เกษตรกรรมมคี วามมน่ั คง ม่งั คั่ง ย่งั ยืน
1.3 ผลสมั ฤทธ์ิ:
ปัญหาหรือความต้องการของเกษตรกรไดร้ บั การพจิ ารณาแก้ไข
1.4 ตัวชว้ี ัด:
ปญั หาหรือความต้องการของเกษตรกรไดร้ บั การตอบสนองเพ่ือดาเนินการไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 65
สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 1
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : สานกั งานสภาเกษตรกรแหง่ ชาติ
2. หนา้ ทตี่ ามกฎหมายของสภาเกษตรกรแห่งชาตแิ ละสานกั งานสภาเกษตรกรแหง่ ชาติ
หน้าทีข่ องสภาเกษตรกรแหง่ ชาติ (12 ขอ้ ) หน้าท่ีของสานกั งานสภาเกษตรกรแห่งชาติ (8 ข้อ)
1. เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือกาหนดนโยบายการส่งเสริม 1. เพื่อรับผิดชอบงานด้านธุรการ และทาหน้าท่ีเป็น
และพฒั นาความเข้มแข็งแกเ่ กษตรกร และองค์กรเกษตรกร เลขานุการของสภาเกษตรกรแหง่ ชาติ
ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การผลิต การแปรรูป
การตลาด และการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม
2. เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือกาหนดนโยบายและแนว 2. รวบรวม ศึกษา วิจัย พัฒนา และวิเคราะห์ข้อมูล
ทางการส่งเสริมและพัฒนาการทาเกษตร แบบผสมผสาน ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวกับการดาเนินงานของสภาเกษตรกร
ระบบวนเกษตร ระบบเกษตรธรรมชาตริ ะบบไรน่ าสวนผสม แห่งชาติ สภาเกษตรกรจังหวัด สานักงาน และ
ระบบเกษตรอนิ ทรีย์และเกษตรกรรมรูปแบบอน่ื สานกั งานสภาเกษตรกรจังหวัด
3. ให้คาปรึกษาและข้อเสนอต่อคณะรัฐมนตรีในการแก้ไข 3. ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกร และองค์กรเกษตรกร
ปัญหาของเกษตรกร การพัฒนา เกษตรกรรม รวมท้ังการ ได้ทราบถึงนโยบาย แผนแม่บท และ การดาเนินงาน
อนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ ของสภาเกษตรกรแหง่ ชาติ
สิง่ แวดลอ้ ม
4. เสนอแผนแมบ่ ทตอ่ คณะรฐั มนตรี 4. รบั ขึน้ ทะเบยี นเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร
5. เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือกาหนดแนวทางการส่งเสริม 5. จัดให้มีฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรและองค์กร
และสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา องค์ความรู้ทางด้าน เกษตรกร ระบบขอ้ มูลและการเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร
พันธุกรรมพืชและสัตว์ท้องถิ่น ผลผลิตทางเกษตรกรรม เกี่ยวกับการเกษตรและกิจการอื่นที่เก่ียวข้อง ท้ังใน
และผลิตภณั ฑท์ ่ไี ดจ้ ากการแปรรูป ผลผลิตทางเกษตรกรรม ด้านการบริหารจัดการ การวิจัย การผลิต การแปรรูป
การ ตล าด แล ะรา คา ท้ังภ าย ในป ระ เทศ แล ะ
ต่างประเทศ รวมท้ังต้องการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
6. เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกาหนดแนวทางการประกัน 6. ประสานการดาเนินงานกับสภาเกษตรกรจังหวัด
ความเส่ียงของราคาและผลผลิตทางเกษตรกรรม รวมทั้ง และหน่วยงานอน่ื ท่เี กี่ยวขอ้ ง
กาหนดสวสั ดกิ ารให้แก่เกษตรกร
7. เสริมสร้างความร่วมมือและประสานงานกับภาครัฐและ 7. จดั ทารายงานประจาปีของสภาเกษตรกร
เอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ และองค์กรระหว่าง แหง่ ชาติ
ประเทศ เพือ่ พฒั นาเกษตรกรรม
8. พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกรและ 8. ปฏบิ ตั ิหน้าท่อี ่ืนใดตามท่สี ภาเกษตรกรแห่งชาติ
องคก์ รเกษตรกร มอบหมาย
9. ให้ความเห็นต่อนโยบาย กฎหมาย หรอื ข้อตกลงทเ่ี กย่ี วขอ้ งและมีผลกระทบตอ่ เกษตรกร
10. ใหค้ าปรึกษาและข้อแนะนาแก่เกษตรกร องคก์ รเกษตรกร และตามทส่ี ภาเกษตรกรจังหวดั เสนอ
11. แต่งต้ังคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทางาน หรือ ทีป่ รึกษาตามความจาเปน็
12. ปฏิบัตกิ ารอ่นื ใดตามท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของสภาเกษตรกรแห่งชาติ หรือตามที่คณะรัฐมนตรี
มอบหมาย
สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 2
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : สานักงานสภาเกษตรกรแหง่ ชาติ
3. ภาพรวมการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ขี องสานกั งานสภาเกษตรกรแห่งชาติ
ในปี 2553 ได้มีการจัดตั้งสานักงานสภาเกษตรกรแห่งชาติ เพื่อปฏิบัติหน้าท่ีเป็นหน่วยธุรการของ
สภาเกษตรกรแหง่ ชาติ โดยที่สภาเกษตรกรแหง่ ชาตมิ ีหน้าที่คล้ายกบั สภาที่ปรกึ ษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 แต่ภารกิจของสภาเกษตรกรแห่งชาติ
มีขอบเขตเฉพาะด้านเกษตรกรรม โดยเป็นความมุ่งหวังให้ตัวแทนเกษตรกรจากแต่ละสาขา/จังหวัดต่าง ๆ
ได้สะท้อนความเห็นและนาเสนอแนวทางการพัฒนาเกษตรกรรมต่อคณะรัฐมนตรีและหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การวางแผนทางการเกษตรจากล่างขึ้นบน (bottom-up planning)
ดังน้ันลักษณะการปฏิบัติหน้าที่ของสานักงานสภาเกษตรฯ จึงเป็นเรื่องจัดระบบการประชุมระดับต่าง ๆ
ระบบสารสนเทศ ระบบการสื่อสารของสภาเกษตรกรจังหวัด ฯลฯ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้สภาเกษตรกร
แหง่ ชาติ ได้นาเสนอแนวทางการพัฒนาเกษตรกรรมต่อคณะรัฐมนตรีและหน่วยงานที่รับผิดชอบ
4. การจัดสรรงบประมาณระหวา่ ง พ.ศ. 2556-2565 (อนึ่ง งบประมาณปี 2565 อยู่ระหวา่ งการพจิ ารณา)
ปีงบประมาณ พ.ศ. จานวนเงิน (ล้านบาท) เพิ่ม/ลด (ล้านบาท) อตั ราการขยายตัว (ร้อยละ)
2556 468 - -
2557 488 20 4.27
2558 509 21 4.30
2559 396 -113 -22.20
2560 407 11 2.78
2561 403 -4 -0.98
2562 390 -13 -3.23
2563 362 -28 -7.18
2564 371 9 2.49
2565 312 -59 -15.90
ทีม่ า: 1. สานกั งานสภาเกษตรกรแห่งชาต,ิ 2558-2563
2. สานกั งบประมาณ, 2564ก, น. 296
สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 3
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : สานักงานสภาเกษตรกรแหง่ ชาติ
ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2565 สานักงานสภาเกษตรกรฯ ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
แต่ละปีไม่คงที่ บางปีเพิ่มข้ึนบางปีลดลง อย่างไรก็ตามงบประมาณลดอย่างมีนัยสาคัญจาก 468 ล้านบาทใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 มาเป็น 312 ล้านบาทในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ทั้งนี้มีความเป็นไปได้ว่า
ในระยะแรกของการจัดตั้งหน่วยงานใหม่ มีความจาเป็นต่อการใช้งบประมาณเพื่อการซ้ือครุภัณฑ์ทั้งอุปกรณ์
สานักงาน/เครื่องคอมพิวเตอร์ รถยนต์ ตลอดจนการตกแต่งสถานที่ แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไประยะหน่ึงแล้ว
ความจาเป็นอาจลดลง อีกทั้งมีความเป็นไปได้ว่า หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้ดาเนินการควบคุมมิให้งบประมาณ
ของสานักงานสภาเกษตรกรฯ สูงเกินไปจนเกินความจาเป็น ด้วยเหตุที่ความเป็นหน่วยธุรการมิใช่หน่วย
ปฏิบตั ิการ
สานักงานสภาเกษตรกรฯ มีสภาวะการพึ่งพิงงบประมาณจากรัฐค่อนข้างสูงมาก รายได้ประมาณ
ร้อยละ 95 มาจากงบประมาณอุดหนุนของรัฐ เน่ืองจากไม่มีช่องทางแสวงหารายได้เหมือนกับรัฐวิสาหกิจ/
องค์การมหาชน ทั้งน้ีรายได้อ่ืน ๆ ก็มาจากการสนับสนุนขององค์กรต่าง ๆ แต่ก็มีความไม่แน่นอน
เม่ือตรวจสอบจากงบการเงนิ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 พบว่า ส่วนของทุน (net worth) หรือสินทรัพย์สุทธิ
เท่ากับ 35 ล้านบาท และมียอดเงินสด/รายการเทียบเท่าเงินสด เพ่ือดารงสภาพคล่องทางการเงิน ประมาณ
24 ล้านบาทเท่าน้ันซึ่งไม่ได้สูงมากเม่ือเปรียบเทียบกับรายจ่ายแต่ละปีประมาณ 300-400 ล้านบาท
(สภาเกษตรกรแหง่ ชาต,ิ 2563, น. 194-195 และ น. 201)
5. สรุปภาพรวมงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และงบประมาณตามแผนงาน
แผนงาน ปีงบประมาณ เพ่ิม/ลด สัดส่วน(ร้อยละ)
2564 2565 จานวน ร้อยละ 2564 2565
รวมทั้งส้ิน 371.2234 312.3898 -58.8336 -15.85 100.00 100.00
1.แผนงานบุคลากรภาครัฐ 215.4863 204.3678 -11.1185 -5.16 58.05 65.42
2.แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 150.6311 103.9373 -46.6938 -31.00 40.58 33.27
3.แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานราก 5.1060 4.0847 -1.0213 -20.00 1.38 1.31
ทมี่ า: สานักงบประมาณ, 2564ก, น. 296
สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 4
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : สานักงานสภาเกษตรกรแหง่ ชาติ
เม่ือพิจารณาการตั้งงบประมาณตามแผนงานแล้วจะพบว่า รายจ่ายท่ีมีลักษณะการปฏิบัติงานเป็น
งานประจา คือ แผนงานบุคลากรภาครัฐ ร้อยละ 65.42 และ แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถใน
การแข่งขัน ร้อยละ 33.27 ท้ัง 2 แผนงานรวมกันสงู มากเท่ากับรอ้ ยละ 98.69 ขณะท่ีงบประมาณตามแผนงาน
บรู ณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก เท่ากับร้อยละ 1.31 เท่าน้นั ซึ่งมีสดั ส่วนค่อนขา้ งน้อย
อย่างไรก็ตามงบประมาณตามแผนงานดังกล่าวก็สะท้อนให้เห็นถึงลักษณะงานของสานักงาน สภา
เกษตรกรฯ ท่ีปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีหน่วยธรุ การ จงึ มีค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการบริหารค่อนข้างมาก ประกอบกับสถานภาพ
ของหน่วยงานไม่ใช่ส่วนราชการ ดังน้ันบุคลากรจึงมีอัตราเงินเดือนสูงกว่าข้าราชการ และเม่ือจาแนกตาม
ประเภทรายจ่ายแล้วปรากฏว่า เป็นรายจ่ายประจาทั้งหมด 312.3898 ล้านบาท ไม่มีรายจ่ายลงทุนเลย
นอกจากน้นั ไม่มกี ารนาเงินนอกงบประมาณมาสมทบกับเงนิ งบประมาณ
6. รายจา่ ยท่คี าดว่ามีความสาคัญ (สานกั งบประมาณ, 2564ข, น. 28-31)
6.1 โครงการจัดทาแผนพัฒนาอาชีพในระดบั ตาบล วงเงิน 3.0147 ล้านบาท โดยเป็นการกาหนดให้มี
แผนพฒั นาเกษตรกรรมระดบั ตาบลแบบมสี ว่ นร่วม สาหรับใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาอาชีพ จานวน 888
ตาบลท่ัวประเทศ ขณะนี้ได้ดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 77 ตาบ ล และกาหนดให้
ดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 อีก 77 ตาบล ส่วนท่ีเหลืออีก 734 ตาบล จะดาเนินการระหว่าง
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2566-2568
6.2 โครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพท้ังในและนอกภาคเกษตร วงเงิน 1.0700
ล้านบาท เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในการพฒั นาอาชพี เกษตรกรโดยการปลกู ไผเ่ ชงิ เศรษฐกิจ
6.3 นอกเหนือจากคา่ ใช้จา่ ยบคุ ลากร (เงนิ เดือน) ตามแผนงานบุคลากรภาครัฐที่มีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ
65 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามที่อ้างแล้ว และมีรายจ่ายประจาที่เป็นค่าใช้จ่ายบริหารงานสาหรับ
สานักงานสภาเกษตรกรทง้ั สว่ นกลาง/ส่วนจังหวัด ที่อยู่ในแผนงานพื้นฐานฯ อีกท้ังมีค่าเบี้ยประชุมซึ่งมีสัดส่วน
ค่อนข้างสูง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มคี า่ เบ้ยี ประชมุ 59 ล้านบาทจากค่าใชจ้ ่ายทั้งหมด 422 ล้านบาท
คดิ เปน็ ร้อยละ 14 ของคา่ ใช้จา่ ยทง้ั หมด (สานกั งานสภาเกษตรกรแหง่ ชาต,ิ น. 195 และ น. 212)
สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 5
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : สานกั งานสภาเกษตรกรแหง่ ชาติ
7. ขอ้ สงั เกตของ PBO
7.1 โครงการจัดทาแผนพัฒนาอาชีพในระดับตาบล วงเงิน 3.0147 ล้านบาท และโครงการส่งเสริม
และสร้างทักษะในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร วงเงิน 1.0700 ล้านบาท เป็นค่าใช้จ่ายในการ
พัฒนาอาชีพเกษตรกรโดยการปลูกไผ่เชิงเศรษฐกิจ รวมกันเท่ากับ 4.0847 ล้านบาท ไม่น่าจะเป็นหน้าท่ีของ
หน่วยธุรการที่ควรทาหน้าที่สนับสนุนการจัดประชุม การบริหารสารสนเทศ การจัดทาแผนแม่บท เป็นสาคัญ
โดยโครงการที่ 1 นา่ จะเปน็ ความรับผิดชอบของกรมพัฒนาชุมชนหรือไม่ สว่ นโครงการท่ี 2 น่าจะเป็นความ
รับผิดชอบของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์หรือไม่ ดังนั้นการจัดทาโครงการดังกล่าวอาจมีลักษณะเป็น
“เบี้ยหัวแหลกหัวแตก” ที่ไม่มีผลลัพธ์ที่ชัดเจน ดังนั้นในโอกาสต่อไปอาจพิจารณาให้หน่วยงานฝ่ายบริหารท่ีมี
หนา้ ทต่ี ามกฎหมายโดยตรงรับไปดาเนนิ การ ก็อาจสรา้ งประสิทธภิ าพของการใชง้ บประมาณไดม้ ากกวา่
7.2 จากความในข้อ 6.1 แม้ว่าบทบัญญัติตามมาตรา 11 (8) ของพระราชบัญญัติสภาเกษตรกร
แห่งชาติ พ.ศ. 2553 จะกาหนด_ห_น__้า_ท_ี่ข_อ_ง_ส_ภ_า_เ_ก_ษ_ต_ร_ก_ร_ฯ__ว_่า_“__พ_ัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่
เกษตรกรและองค์กรเกษตรกร” แต่การดาเนบินรรกณาราดนังกุ กรลม่าวน่าจะมีความหมายถึง การสร้างความเข้มแข็งแก่
เกษตรกรในด้านการรวมกลุ่มหรือด้านการเสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี ตามกรอบของกฎหมายการจัดต้ัง
คงมิใช่ไปปฏิบัติหน้าท่ีแทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์หรือหน่วยงานที่อยู่ในการกากับของคณะรัฐมนตรี
เพราะได้อ้างถึงแล้วว่า ภารกิจของสานักงานสภาเกษตรกรฯ เป็นหน่วยธุรการของสภาเกษตรกรฯ มิใช่เป็น
หน่วยปฏิบตั กิ าร (operating unit) ในสายบังคบั บญั ชาของคณะรฐั มนตรี แต่อย่างใด
7.3 หน้าท่ีของสานักงานสภาเกษตรกรฯ ประการหนึ่ง คือ การจัดทาฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร
และองค์กรเกษตรกร ซึง่ โดยขอ้ เท็จจริงแล้ว ข้อมูลเกษตรกรส่วนหน่ึงอยู่ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมท้ัง
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ดังน้ันในฐานะองคาพยพหรือหน่วยงานของรัฐด้วยกัน
แล้ว จึงควรสนับสนุนหน่วยงานของรัฐตามท่ีอ้างถึงข้างต้นสาหรับการจัดทาข้อมูลขนาดใหญ่ (big data)
เพอ่ื เปน็ ข้อมลู ประกอบการปฏิบตั หิ นา้ ที่ของสภาเกษตรกรฯ และสานกั งานสภาเกษตรกรฯ เองดว้ ย
7.4 ยังไม่มีความชัดเจนของการจ้างการวิจัยหรือการจ้างที่ปรึกษา เพื่อจัดทาข้อมูลสารสนเทศด้าน
การวจิ ัยและพฒั นาเกย่ี วกบั เกษตรกรรม อันเป็นข้อมูลสนับสนุนการทาข้อเสนอแก่คณะรัฐมนตรีและหน่วยงาน
ที่เกี่ยวขอ้ ง
7.5 การเตรียมการประชุมทางไกลหรือการประชุมทางอิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากสานักงานสภา
เกษตรกรฯ มีสานักงานสภาเกษตรจังหวัดเท่ากับจานวนจังหวัด โดยระบบดังกล่าวข้างต้นจะยังประโยชน์ต่อ
การสื่อสารท่มี ีประสิทธิภาพและลดค่าใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทาง
7.6 การจัดต้ังเขตการค้าเสรี เช่น ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional
Comprehensive Economic Partnership Agreement: RCEP) อาจส่งผลกระทบต่อเกษตรกร ซ่ึงประเด็น
เหล่านี้ อาจเป็นหน้าที่ของสานักงานสภาเกษตรฯ ในการติดตามสถานการณ์ เพื่อรายงานต่อสภาเกษตรกรฯ
ตอ่ ไป
สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 6
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : สานักงานสภาเกษตรกรแหง่ ชาติ
บรรณานุกรม
สภาเกษตรกรแห่งชาติ. (2557-2563). รายงานประจาปี 2556-2562. กรุงเทพฯ: สภาเกษตรกรแหง่ ชาติ.
__________. (2563). รายงานประจาปี 2562. กรุงเทพฯ: สภาเกษตรกรแหง่ ชาต.ิ
สานักงบประมาณ. (2564ก). เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 1 รายรับรายจา่ ยเปรียบเทยี บประจา
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565. กรงุ เทพฯ: พี.เอ.ลฟี วงิ่ .
__________. (2564ข). เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 เลม่ ท่ี 17. กรุงเทพฯ: สานกั งบประมาณ.
สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 7