แผนงานบรู ณาการ
เตรียมความพรอ้ มเพื่อรองรบั สงั คมสงู วยั
แบบสำรวจควำมพงึ พอใจ
รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย
แผนงานบรู ณาการเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรบั สังคมสูงวัย
(เอกสารงบประมาณฯ ฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 18 (1) หนา้ 195 - 220)
เป้าหมาย: ปี พ.ศ. 2565
1. ประชากรก่อนวัยสูงอายุ (อายุ 25 – 59 ป)ี
ปี พ.ศ. 2564 มคี วามพร้อมก่อนเขา้ สสู่ ังคมสูงวยั
1. ประชากรก่อนวยั สูงอายุ (อายุ 25 – 59 ป)ี
มีความพร้อมกอ่ นเขา้ สูส่ งั คมสงู วยั 2. ผู้สงู อายุมคี วามมน่ั คงทางเศรษฐกจิ สขุ ภาพ
สังคม และสภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสม
2. ผู้สงู อายุมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ สขุ ภาพ
สังคมและสภาพแวดลอ้ มทีเ่ หมาะสม
ตัวชีว้ ดั : ปี พ.ศ. 2565
1. ประชากรก่อนวัยสงู อายุ (อายุ 25 – 59 ปี)
ปี พ.ศ. 2564 มคี วามตระหนักรูต้ ่อการเตรียมความพร้อมกอ่ นเข้าสู่
สังคมสงู วัยทกุ มิติ และมกี ารนำไปใช้ 23.91 ล้านคน
1. ประชากรก่อนวัยสูงอายมุ ีความตระหนักรู้ 2. ผสู้ งู อายุมงี านทำและมรี ายได้ 77,000 คน
ตอ่ การเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับสงั คมสงู วัย
รอ้ ยละ 70 3. ผู้สงู อายไุ ดร้ บั การคมุ้ ครองทางสังคม 865,000 คน
2. ผ้สู ูงอายุมงี านทำและมีรายได้ 4. มีสภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสม 21,686 แห่ง
จำนวน 308,000 คน 5. ผู้สูงอายุทุกกลุ่มศักยภาพเข้าถึงระบบบรกิ ารสุขภาพ
ตามมาตรฐานและไดร้ ับการดูแลท่เี หมาะสม
3. ผสู้ ูงอายุอยู่ในสังคมท่ีดีและได้รบั การคุ้มครอง จำนวน 2.5486 ลา้ นคน
ทางสงั คม 643,695 คน และมีสภาพแวดลอ้ ม
ท่เี หมาะสม 15,509 แห่ง
4. ผสู้ ูงอายุเข้าถงึ ระบบการดูแลสุขภาพ
จำนวน 11.7 ล้านคน
แนวทางการดำเนนิ งาน:
ปี พ.ศ. 2564 ปี พ.ศ. 2565
แนวทางท่ี 1: สรา้ งการตระหนกั รู้ ในการเตรียมความ แนวทางท่ี 1: สร้างการตระหนักรู้ในการเตรยี มความ
พรอ้ มก่อนเข้าสู่สงั คมสูงวัย พร้อมก่อนเขา้ ส่สู ังคมสงู วัย
แนวทางท่ี 2: เสรมิ สร้างทกั ษะ ดา้ นอาชีพในการ แนวทางท่ี 2: เสริมสรา้ งทกั ษะดา้ นอาชีพในการ
ดำรงชีวติ อยา่ งมัน่ คง ดำรงชวี ติ อยา่ งมัน่ คง
แนวทางท่ี 3: พฒั นาเครือขา่ ยการคุ้มครองทางสังคม แนวทางที่ 3: พัฒนาเครือข่ายการคุ้มครองทางสังคม
และปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมส่ิงอำนวยความสะดวก และปรับปรงุ สภาพแวดล้อมสิ่งอำนวยความสะดวก
แนวทางที่ 4: พัฒนาระบบการดแู ลสขุ ภาพ แนวทางท่ี 4: พฒั นาระบบ และนวัตกรรมการดแู ล
และนวตั กรรม สุขภาพผู้สูงอายุ
หน่วยงานทรี่ บั ผิดชอบ
หนว่ ยงานที่เกีย่ วข้อง: 6 กระทรวง 17 หนว่ ยงาน
1. สำนักนายกรัฐมนตรี: 1) กรมประชาสมั พันธ์ และ 2) สำนักงานคณะกรรมการสขุ ภาพแห่งชาติ*
สำนักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 1 สำนักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรบั สังคมสงู วยั
2. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์: 3) กรมกิจการผสู้ ูงอายุ
3. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม : 4) สถาบันวทิ ยาลยั ชุมชน
5) มหาวิทยาลัยมหดิ ล 6) สำนกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ
และ 7) ศูนย์ความเป็นเลศิ ด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน)
4. กระทรวงดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คม: 8) สำนักงานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทัล
5. กระทรวงแรงงาน: 9) กรมการจัดหางาน 10) กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
และ 11) กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน
6. กระทรวงสาธารณสุข: 12) สำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 13) กรมการแพทย์ 14) กรมการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก* 15) กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ 16) กรมสุขภาพจิต
และ 17) กรมอนามยั
เจา้ ภาพหลัก: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์
กรมกจิ การผ้สู ูงอายุ
หมายเหตุ: * หนว่ ยงานใหม่ที่ไดร้ บั การจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
หน่วย: ล้านบาท
แผนงานบรู ณาการ ปี พ.ศ. 2564 ปี พ.ศ. 2565 เพม่ิ /-ลด
เตรียมความพร้อมเพอ่ื รองรับสังคมสูงวัย งบประมาณ สัดส่วน งบประมาณ สัดส่วน จานวน ร้อยละ
รวมทง้ั ส้ิน 922.0390 100.00 623.7986 100.00 -298.2404 -32.35
สานกั นายกรัฐมนตรี 6.4180 0.70 8.2540 1.32 1.8360 28.61
กรมประชาสัมพันธ์ 6.4180 0.70 3.2755 0.53 -3.1425 -48.96
สานกั งานคณะกรรมการสุขภาพแหง่ ชาติ* - - 4.9785 0.80 4.9785 100.00
กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ 320.9875 34.81 224.5315 35.99 -96.4560 -30.05
กรมกิจการผสู้ ูงอายุ 320.9875 34.81 224.5315 35.99 -96.4560 -30.05
กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม 367.9435 39.91 209.5285 33.59 -158.4150 -43.05
สถาบนั วิทยาลัยชุมชน 4.0000 0.43 6.0000 0.96 2.0000 50.00
มหาวิทยาลัยมหิดล 236.7228 25.67 99.4515 15.94 -137.2713 -57.99
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 74.9784 8.13 65.3440 10.48 -9.6344 -12.85
ศนู ย์ความเปน็ เลิศดา้ นชวี วิทยาศาสตร์ (องคก์ ารมหาชน) 52.2423 5.67 38.7330 6.21 -13.5093 -25.86
กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม 35.1429 3.81 41.2794 6.62 6.1365 17.46
สานกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ิทลั 35.1429 3.81 41.2794 6.62 6.1365 17.46
กระทรวงแรงงาน 41.0663 4.45 34.8499 5.59 -6.2164 -15.14
กรมการจัดหางาน 16.7026 1.81 10.7466 1.72 -5.9560 -35.66
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 20.5000 2.22 20.3360 3.26 -0.1640 -0.80
กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 3.8637 0.42 3.7673 0.60 -0.0964 -2.50
กระทรวงสาธารณสุข 150.4808 16.32 105.3553 16.89 -45.1255 -29.99
สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 35.2426 3.82 16.6940 2.68 -18.5486 -52.63
กรมการแพทย์ 26.3728 2.86 16.8535 2.70 -9.5193 -36.10
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก* - - 1.0000 0.16 1.0000 100.00
กรมสนับสนนุ บริการสุขภาพ 1.9805 0.21 1.2279 0.20 -0.7526 -38.00
กรมสขุ ภาพจิต 16.1676 1.75 10.4850 1.68 -5.6826 -35.15
กรมอนามัย 70.7173 7.67 59.0949 9.47 -11.6224 -16.44
ที่มา: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 18 (1) หน้า 201 ถึง 202
สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 2 สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
เอกสารสำหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรยี มความพรอ้ มเพอ่ื รองรบั สงั คมสูงวัย
สรปุ ภาพรวมงบประมาณและผลการเบกิ จ่าย
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย ได้รับการ
จัดสรรงบประมาณจำนวน 623.7986 ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 298.2404
ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 32.35 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้รับการจัดสรรงบประมาณจำนวน 922.0390
ลา้ นบาท)
งบประมาณจำแนกตามกระทรวง/หนว่ ยงาน
1. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย
มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำนวน 6 กระทรวง 17 หน่วยงาน โดยมีหน่วยงานที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
สูงสุด 3 ลำดบั แรก คอื
1.1 กรมกจิ การผสู้ ูงอายุ จำนวน 224.5315 ลา้ นบาท สัดสว่ นรอ้ ยละ 35.99
1.2 มหาวิทยาลยั มหิดล จำนวน 99.4515 ล้านบาท สัดส่วนรอ้ ยละ 15.94
1.3 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ จำนวน 65.3440 ล้านบาท สัดส่วน
รอ้ ยละ 10.48
2. หน่วยงานใหมท่ ่ไี ดร้ บั การจัดสรรงบประมาณในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 2 หนว่ ยงาน คอื
2.1 สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ จำนวน 4.9785 ล้านบาท เป็นงบประมาณ
โครงการสานพลงั เพอ่ื การขบั เคลอ่ื นนโยบายสาธารณะรองรับสงั คมสงู วยั อย่างมีคุณภาพ
2.2 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จำนวน 1.0000 ล้านบาท เปน็ งบประมาณ
โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพผสู้ งู อายุดว้ ยการแพทย์แผนไทยผสมผสาน
งบประมาณตามเปา้ หมาย/แนวทางการดำเนินงาน
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานบูรณา-
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย
มแี นวทางการดำเนนิ งานรวมท้งั ส้ิน 4 แนวทาง ดังน้ี
แนวทางที่ 1 สร้างการตระหนักรู้ในการ
เ ต ร ี ย ม ค ว า ม พ ร ้ อ ม ก ่ อ น เ ข ้ า ส ู ่ ส ั ง ค ม ส ู ง วั ย
งบประมาณจำนวน 29.1274 ล้านบาท มีหน่วยงาน
ท่ีเกีย่ วข้องจำนวน 7 หนว่ ยงาน
แนวทางที่ 2 เสริมสร้างทักษะด้านอาชีพ
ในการดำรงชีวิตอย่างมั่นคง งบประมาณจำนวน
65.2248 ล้านบาท มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำนวน
4 หน่วยงาน
แนวทางที่ 3 พัฒนาเครือข่ายการคุ้มครอง
ทางสังคม และปรับปรุงสภาพแวดล้อมสิ่งอำนวย
ความสะดวก งบประมาณจำนวน 298.8091
ลา้ นบาท มหี นว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ งจำนวน 4 หน่วยงาน ที่มา: เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับที่ 3
แนวทางที่ 4 พัฒนาระบบและนวัตกรรม เล่มท่ี 18 (1) หนา้ 203 ถงึ 209
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ งบประมาณจำนวน 230.6373 ลา้ นบาท มีหนว่ ยงานที่เกยี่ วข้องจำนวน 8 หน่วยงาน
สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร
เอกสารสำหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรบั สงั คมสงู วัย
หน่วย: ล้านบาท
แผนงานบรู ณาการ พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565 เพม่ิ /-ลด
เตรียมความพร้อมเพอื่ รองรับสังคมสูงวัย งบประมาณ สัดส่วน งบประมาณ สัดส่วน จานวน ร้อยละ
รวมทงั้ สิ้น 922.0390 100.00 623.7986 100.00 -298.2404 -32.35
แนวทางท่ี 1 สร้างการตระหนกั รใู้ นการเตรียมความพร้อมกอ่ นเข้าสู่สังคมสูงวัย 46.2590 5.02 29.1274 4.67 -17.1316 -37.03
สานักนายกรัฐมนตรี 6.4180 0.70 8.2540 1.32 1.8360 28.61
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ 9.8349 1.07 5.3217 0.85 -4.5132 -45.89
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 8.5000 0.92 - - -8.5000 -100.00
กระทรวงแรงงาน 2.7592 0.30 2.6492 0.42 -0.1100 -3.99
กระทรวงสาธารณสุข 18.7469 2.03 12.9025 2.07 -5.8444 -31.18
แนวทางที่ 2 เสริมสร้างทกั ษะดา้ นอาชีพในการดารงชีวิตอย่างมัน่ คง 67.0302 7.27 65.2248 10.46 -1.8054 -2.69
กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 4.0000 0.43 6.0000 0.96 2.0000 50.00
กระทรวงดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม 25.8276 2.80 28.1422 4.51 2.3146 8.96
กระทรวงแรงงาน 37.2026 4.03 31.0826 4.98 -6.1200 -16.45
แนวทางท่ี 3 พฒั นาเครือข่ายการคุ้มครองทางสังคม 396.5508 43.01 298.8091 47.90 -97.7417 -24.65
และปรับปรุงสภาพแวดล้อมสิ่งอานวยความสะดวก
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ 311.1526 33.75 219.2098 35.14 -91.9428 -29.55
กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 74.9784 8.13 65.3440 10.48 -9.6344 -12.85
กะทรวงดจิ ิทลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม 9.3153 1.01 13.1372 2.11 3.8219 41.03
กระทรวงแรงงาน 1.1045 0.12 1.1181 0.18 0.0136 1.23
แนวทางที่ 4 พฒั นาระบบและนวัตกรรมการดแู ลสุขภาพผ้สู ูงอายุ 412.1990 44.71 230.6373 36.97 -181.5617 -44.05
กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 280.4651 30.42 138.1845 22.15 -142.2806 -50.73
กระทรวงสาธารณสุข 131.7339 14.29 92.4528 14.82 -39.2811 -29.82
ทม่ี า: เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับท่ี 3 เลม่ ท่ี 18 (1) หนา้ 203 ถงึ 209
แนวทางที่ 1 สร้างการตระหนักรู้ในการเตรยี มความพร้อมก่อนเข้าสู่สังคมสูงวัย
งบประมาณจำนวน 29.1274 ล้านบาท
ตัวชี้วัดที่ 1. ประชากรอายุ 25 – 59 ปี รบั รู้ ข้อมลู การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่สังคมสูงวัยทุกมิติ
10,441,000 คน
มคี ่าใชจ้ า่ ยรายการสำคญั คือ
1. โครงการสรา้ งความรอบรูส้ ขุ ภาวะและสง่ เสริมสุขภาพ เพ่ือเตรยี มรองรบั สงั คมสูงวัยอยา่ งมีคุณภาพ
(กรมอนามยั ) งบประมาณจำนวน 10.5019 ล้านบาท
2. โครงการเสริมสร้างพัฒนากลไกเครือข่ายสร้างความมั่นคงทางสังคมเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ
(กรมกิจการผู้สงู อายุ) งบประมาณจำนวน 5.3217 ล้านบาท
3. โครงการสานพลังเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะรองรับสังคมสูงวัย อย่างมีคุณภาพ
(สำนักงานคณะกรรมการสขุ ภาพแห่งชาติ) งบประมาณจำนวน 4.9785 ลา้ นบาท
ขอ้ สังเกต PBO (แนวทางท่ี 1)
1. ตัวชี้วัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กำหนดว่า “ประชากรอายุ 25 – 59 ปี รับรู้ ข้อมูลการเตรียมความ
พรอ้ มก่อนเข้าสู่สังคมสงู วัยทกุ มิติ 10,441,000 คน”
1.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กำหนดตัวชี้วัดว่า “ประชากรอายุ 25 – 59 ปี รับรู้ และนำไปใช้
ในการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่สังคมสูงวัยทุกมิติ ร้อยละ 70” โดยท่ีสถิติจำนวนประชากรจากการ
สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 4 สำนักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรียมความพรอ้ มเพือ่ รองรับสังคมสงู วัย
ทะเบียน จำแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2562 ทั่วราชอาณาจักร ที่มีอายุ 25 – 59 ปี รวมจำนวน 34,183,442
คน เมอื่ คำนวณตามตัวช้วี ัดร้อยละ 70 คดิ เปน็ จำนวนประชากรทง้ั สน้ิ 23,928,410 คน
ท่ีมา: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับที่ 3 เล่มท่ี 18 (1) หน้า 203
1.2 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กำหนดตัวชี้วัดจำนวน 10,441,000 คน โดยที่สถิติจำนวน
ประชากรจากการทะเบียน จำแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2563 ทั่วราชอาณาจักร ที่มีอายุ 25 – 59 ปี
รวมจำนวน 34,166,785 คน หากคำนวณจากค่าเป้าหมายตัวชี้วัดคิดเป็นประชากรร้อยละ 30.56
(10,441,000 × 100 / 34,166,785)
1.3 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบตัวชี้วัดของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ พ.ศ. 2565 คิดเป็นร้อยละ
ของจำนวนประชากรท่ีมอี ายุ 25 – 59 ปี คือ ร้อยละ 70 และร้อยละ 30.56 ตามลำดบั พบว่า ปงี บประมาณ
พ.ศ. 2565 กำหนดค่าเป้าหมายตัวชี้วัดลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นอย่างมาก กล่าวคือ
คา่ รอ้ ยละท่ีลดลงเท่ากบั 39.44 (30.56 – 70.00) คดิ เป็นรอ้ ยละ 56.34 (39.44 × 100 / 70)
1.4 ในขณะที่งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 29.1274
ลา้ นบาท ลดลงจากปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 17.1316 ล้านบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 37.03
1.5 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีเหตุผลความจำเป็นหรือปัจจัยกำหนดอย่างไรที่ส่งผลต่อการกำหนด
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัดข้างต้น โดยท่ีลดลงถึงร้อยละ 56.34 เป็นสัดส่วนที่มากกว่างบประมาณที่ได้รับการ
จดั สรร ซึง่ ลดลงรอ้ ยละ 37.03
1.6 การกำหนดค่าเป้าหมายของตัวชี้วัดข้างต้นที่ลดลงเป็นอย่างมากสะท้อนความท้าทายในการ
พฒั นาศักยภาพการดำเนินงานของหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้องอย่างไร
1.7 การกำหนด “ประชากรอายุ 25 – 59 ปี” ค่อนข้างเป็นช่วงระยะ (Range) ท่ีกว้างมาก
เป็นประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ หากกำหนดกลุ่มเป้าหมายด้วยช่วงอายุประชากรท่ีแคบลง จะทำให้
กลมุ่ เปา้ หมายมขี นาดเล็กลง พร้อมกับการกำหนดระดับการรับรู้ท่เี หมาะสมกับช่วงอายุ ซ่ึงจะทำให้เกิดความ
ชัดเจนมากขน้ึ สามารถวดั ผลประเมินผลได้ดีกวา่ รวมถึงเป็นการใช้จา่ ยงบประมาณอยา่ งเหมาะสมและคุ้มค่า
1.8 นอกจากนี้ เพื่อให้ระดับการรับรู้มีความเหมาะสมกับช่วงอายุประชากรที่กำหนดให้แคบลง
ควรวัดผลประเมินผลเกี่ยวกับ “การนำไปใช้ในการเตรียมความพร้อม” โดยเฉพาะประชากรที่มีอายุ 45 –
59 ปี
สำนักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 5 สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
เอกสารสำหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสงั คมสงู วยั
2. โครงการสร้างความรอบรู้สุขภาวะและส่งเสริมสุขภาพ เพื่อเตรียมรองรับสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ
(กรมอนามัย) งบประมาณจำนวน 10.5019 ล้านบาท กิจกรรมพัฒนาความรอบรู้ด้านการบริโภคอาหาร
กจิ กรรมทางกาย การนอน และการดูแลสุขภาพชอ่ งปาก
ทม่ี า: เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 18 (1) หนา้ 205
2.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 คา่ เปา้ หมายตัวชี้วัดกิจกรรม : ประชากรก่อนสงู อายุ (อายุ 25 - 59)
ปี ได้รับการพัฒนาทักษะการเตรียมความพร้อมเพื่อการเป็นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพที่ดี จำนวน 8,000,000 คน
โดยท่ีปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ค่าเปา้ หมายตัวช้วี ัดกิจกรรม : ประชากรก่อนสงู อายุ (อายุ 25 - 59) ปี ได้รับ
การถ่ายทอดการเตรียมความพร้อมเพื่อการเป็นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพที่ดี จำนวน 7,500,000 คน เพิ่มข้ึน
จำนวน 500,000 คน คิดเป็นร้อยละ 6.67 ในขณะท่ีงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 จำนวน 10.5019 ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 3.5194 ล้านบาท
คิดเปน็ รอ้ ยละ 25.10
2.1.1 กรมอนามัย มีเหตุผลความจำเป็นหรือปัจจัยกำหนดอย่างไรที่ส่งผลต่อการกำหนด
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัดข้างต้นที่เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 6.67 สวนทางกลับงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ทลี่ ดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รอ้ ยละ 25.10
2.1.2 กรมอนามัย มีแนวทางการยกระดับศักยภาพการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุค่าเป้าหมาย
ของตวั ช้วี ัดทเ่ี พิ่มสูงขึน้ ดว้ ยการบริหารจดั การงบประมาณท่ีไดร้ บั การจัดสรรลดลงอย่างไร
สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 6 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรียมความพรอ้ มเพอ่ื รองรบั สังคมสูงวัย
ท่ีมา: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ท่ี 3 เล่มท่ี 18 (1) หนา้ 214
2.2 ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ มีรายการสำคัญ คือ ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาองค์ความรู้และการ
จัดการความรเู้ พื่อพัฒนาเครือขา่ ยวิชาการ จำนวน 2.6660 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.39 ของงบประมาณ
โครงการนี้ ค่าใช้จ่ายในการสัมมนาและฝึกอบรม จำนวน 1.9258 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.34
และค่าใชจ้ ่ายในการจดั ประชมุ ราชการ จำนวน 1.4995 ล้านบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 14.28
2.2.1 ค่าใช้จ่ายในการสัมมนาและฝึกอบรม กรมอนามัย มีการบูรณาการร่วมกับหน่วยงาน
อื่น ๆ เพื่อขบั เคลอ่ื นการเตรยี มความพร้อมในทุกมิตอิ ยา่ งไร
2.2.2 กรมอนามัย มีแนวทางการสร้างความยั่งยืนในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน รวมถึงการ
ต่อยอดหรอื เพิ่มเตมิ จากการสมั มนาและฝึกอบรมอยา่ งไร
2.2.3 กรมอนามัย ได้พจิ ารณารูปแบบการสัมมนาและฝึกอบรมผ่านส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ ซ่ึงจะทำ
ให้การใช้จ่ายงบประมาณมีความคุ้มค่า และสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้กว้างขวางมากขึ้น โดยอาจ
พิจารณาดำเนินการเฉพาะกิจกรรมที่มีความเป็นไปได้ พร้อมกับการถอดบทเรียนเพื่อพัฒนาการดำเนินงาน
ในระยะตอ่ ไป หรือไม่ อย่างไร
2.3 คา่ จา้ งเหมาบริการ จำนวน 1.2240 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 11.66
2.3.1 กรมอนามยั มเี หตุผลความจำเปน็ ในการดำเนินงานด้วยคา่ จา้ งเหมาบรกิ ารอย่างไร
2.3.2 กรมอนามัย ในระยะที่ผ่านมาได้มีการศึกษาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงโครงสร้างการ
ดำเนนิ งานหน่วยงาน รวมถงึ การพฒั นาหรือยกระดับประสิทธภิ าพการดำเนินงานท่เี กีย่ วข้อง หรอื ไม่ อยา่ งไร
2.4 งบประมาณรายการสำคัญข้างต้น และการกำหนดค่าเป้าหมายตัวชี้วัดกิจกรรมในลักษณะเช่นน้ี
กรมอนามัย มีแนวทางการดำเนินงานโครงการนี้อย่างไร โดยท่ีให้ความสำคัญกับการสัมมนาและฝึกอบรม
และการจัดกิจกรรมรณรงค์ใช่หรือไม่ อย่างไร เช่นนี้ กลุ่มเป้าหมายที่มุ่งเน้นดำเนินการคือกลุ่มใด
มหี ลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารในการคดั เลือกกลุม่ เป้าหมายหรอื ไม่อยา่ งไร
2.5 กรมอนามัย ได้พิจารณารูปแบบวิธีการดำเนินงาน โดยที่มุ่งเน้นภาคีเครือข่าย แล้วสนับสนุน
ส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายเหล่านั้นไปขยายผลในระดับพื้นที่หรือระดับเครือข่ายย่อยต่อไป จะก่อให้เกิดความ
ยงั่ ยืนของการดำเนินงานมากยงิ่ ขน้ึ หรือไม่ อยา่ งไร
3. โครงการเสริมสร้างพัฒนากลไกเครือข่ายสร้างความมั่นคงทางสังคมเพื่อรองรับสังคมผู้สูง อายุ
(กรมกิจการผู้สูงอายุ) งบประมาณจำนวน 5.3217 ล้านบาท กิจกรรมการเสริมสร้างและพัฒนากลไก
เพ่ือรองรับการเขา้ สงั คมสูงวัย
เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับที่ 3 เล่มที่ 2 หน้า 422 ระบุวัตถุประสงค์
ว่า เพื่อเตรียมความพร้อมประชากรทุกช่วงวัยในทุกมิติ โดยส่งเสริมความรู้และทักษะในด้านเศรษฐกิจ สังคม
สขุ ภาพ สภาพแวดล้อม เพือ่ ให้พรอ้ มต่อการเข้าสูส่ ังคมสูงวัย และปรากฏผลการดำเนนิ งานของปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 (6 เดือน) ของตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : จำนวนเครือข่ายที่ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะ
พร้อมเขา้ สสู่ งั คมสงู วยั เท่ากับ 165 เครอื ขา่ ย จากคา่ เป้าหมาย 650 เครอื ขาย คิดเปน็ ร้อยละ 25.38
สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 7 สำนักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรบั คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรบั สงั คมสงู วัย
ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ที่ 2 หนา้ 422
3.1 กรมกิจการผู้สูงอายุ มีผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 คืบหน้า
อยา่ งไร รวมทั้งพบปัญหาและอุปสรรค รวมถึงบทเรียนในการดำเนินงานหรือไมอ่ ย่างไร
3.2 หากผลการดำเนินงานยังอยู่ในระดับต่ำ กรมกิจการผู้สูงอายุ จะมีแนวทางในการยกระดับ
ศกั ยภาพการดำเนินงานเพอ่ื ให้บรรลเุ ป้าหมายโครงการได้อยา่ งไร
3.3 กรมกิจการผู้สูงอายุ มีแนวคิดหรือแนวทางในการสนับสนุนให้ “เครือข่ายที่ได้รับการพัฒนา”
ตามตัวชี้วัด ไปขับเคลื่อนการดำเนินงานในพื้นท่ีเพื่อสร้างความยั่งยืนและความมั่นคงทางสังคมต่อไปอย่างไร
โดยเฉพาะทีเ่ กยี่ วข้องงบประมาณหรอื ทรัพยากรทส่ี นบั สนนุ การขบั เคลื่อนการดำเนนิ งานในพื้นท่ีในระยะต่อไป
4. โครงการสานพลังเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะรองรับสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ (สำนักงาน
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ) งบประมาณจำนวน 4.9785 ล้านบาท กิจกรรมสนับสนุนการสานพลัง
เพอื่ การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะรองรับสงั คมสงู วัยอยา่ งมคี ุณภาพ
ที่มา: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับที่ 3 เล่มท่ี 18 (1) หน้า 213
4.1 สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เป็นหน่วยงานใหม่ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เปน็ รายการ “คา่ ใช้จ่ายดำเนินงาน” ท้งั หมด ทงั้ น้ี มรี ายละเอียดการดำเนินงาน
ของโครงการนอี้ ย่างไร
4.2 สำนักงานคณะกรรมการสุ ขภ า พ
แห่งชาติ ได้นำมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ สมัชชา
สุขภาพเฉพาะพื้นท่ี และสมัชชาสุขภาพเฉพาะ
ประเด็น ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ
ม ต ิ ส ม ั ช ช า เ ฉ พ า ะ ป ร ะ เ ด็ น
ว่าด้วยนโยบายรองรับสังคมสูง
วัย คร้งั ท่ี 1 พ.ศ. 2562 ไปสูก่ าร
ขับเคลื่อนให้เกิดผลเป็นรูปธรรม
อย่างไร ที่มา: มติสมัชชาเฉพาะประเด็น ว่าด้วยนโยบายรองรับสังคมสูงวัย ครั้งท่ี 1 พ.ศ. 2562 จากเว็บไซต์
https://infocenter.nationalhealth.or.th/node/27881
สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 8 สำนักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรบั คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพอ่ื รองรับสังคมสูงวัย
4.3 สำนักงานคณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ ไดพ้ ิจารณากลไก “เขตสุขภาพเพ่อื ประชาชน” ซึ่งเปน็
เขตพื้นที่สำหรับดำเนินการปฏิรูประบบสุขภาพให้เกิดการบูรณาการ โดยเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
ในสังคม และให้เกิดความสอดคล้องต่อความจำเป็นด้านสขุ ภาพของประชาชน ครอบครัว และชุมชน เป็นการ
ดำเนินการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดตั้งเขตสุขภาพเพื่อประชาชน พ.ศ. 2559 ในการ
ขับเคลื่อนและสร้างการตระหนักรู้การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่สังคมสูงวัย อย่างไร ทั้งนี้ มีผลการ
ดำเนินงานคบื หน้าอยา่ งไร รวมทงั้ พบปัญหาและอปุ สรรค รวมถึงบทเรยี นในการดำเนินงานหรือไม่อย่างไร
แนวทางที่ 2 เสริมสร้างทักษะด้านอาชีพในการดำรงชีวิตอย่างมั่นคง
งบประมาณจำนวน 65.2248 ล้านบาท
ตัวชว้ี ดั ที่ 1. ผู้สูงอายุไดร้ ับการเสรมิ สรา้ งทักษะ การมีรายได้ และมงี านทำ จำนวน 25,395 คน
มคี ่าใช้จา่ ยรายการสำคัญ คือ
1. โครงการ Coding เพื่อผู้สูงอายุ (สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล) งบประมาณจำนวน 28.1422
ลา้ นบาท
2. โครงการฝึกอบรมแรงงานผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ (กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน)
งบประมาณจำนวน 20.3360 ล้านบาท
3. โครงการขยายโอกาสการมีงานทำให้ผู้สูงอายุ (กรมการจัดหางาน) งบประมาณจำนวน 10.7466
ลา้ นบาท
ข้อสงั เกต PBO (แนวทางท่ี 2)
1. โครงการ Coding เพื่อผู้สูงอายุ (สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล) งบประมาณจำนวน 28.1422
ล้านบาท กิจกรรม Coding เพ่ือผสู้ ูงอายุ
ท่ีมา: เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ที่ 18 (1) หนา้ 206
สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 9 สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร
เอกสารสำหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการเตรียมความพรอ้ มเพ่ือรองรบั สงั คมสูงวยั
1.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กำหนดตัวชี้วัดกิจกรรม : สร้างและพัฒนาทักษะผู้สูงอายุ จำนวน
2,500 คน เพียงตัวชี้วัดเดียว ต่อมาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้กำหนดตัวชี้วัดกิจกรรม 4 ตัวชี้วัด
เกยี่ วกบั ผสู้ งู อายใุ นด้านการพฒั นาทักษะดิจิทัล แพลตฟอร์มส่งเสริมงานด้านดจิ ิทลั รายไดจ้ ากผู้สูงอายุแรงงาน
ใหม่ และการลงทุนของภาคเอกชนในการดำเนินการร่วมกับรัฐ รายละเอียดดังตาราง ทั้งนี้ สำนักงานส่งเสริม
เศรษฐกิจดิจิทัล มีผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำหรับตัวชี้วัดกิจกรรม :
สร้างและพัฒนาทักษะผู้สูงอายุ จำนวน 2,500 คน คืบหน้าอย่างไร รวมทั้งพบปัญหาและอุปสรรค รวมถึง
บทเรียนในการดำเนินงานหรือไม่อย่างไร อนึ่ง หากผลการดำเนินงานยังอยู่ในระดับต่ำ จะมีแนวทางในการ
ยกระดับศักยภาพการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายโครงการได้อย่างไร นอกจากนี้ มีหลักการและเหตผุ ล
ทไี่ ม่กำหนดคา่ เป้าหมายของตัวช้วี ัดขา้ งต้นในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 อย่างไร
1.2 สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล มีหลักการและเหตุผลในการกำหนดตัวชี้วัดกิจกรรม
4 ตวั ช้วี ัดใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 อย่างไร
ทมี่ า: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 18 (1) หนา้ 215
1.3 งบประมาณทั้งหมดเป็นงบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โดยส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่าย
ดำเนินงาน เช่นนี้ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล มีแนวทางการดำเนินงานโครงการนี้อย่างไร และมี
รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณข้างต้นนี้อย่างไร นอกจากนี้ ได้บูรณาการการดำเนินงานกับนโยบาย
Coding ของกระทรวงศกึ ษาธิการหรือไม่ อย่างไร
2. โครงการฝึกอบรมแรงงานผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ (กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน)
งบประมาณจำนวน 20.3360 ล้านบาท กิจกรรมฝึกอบรมแรงงานผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบ
อาชีพ และโครงการขยายโอกาสการมีงานทำให้ผู้สูงอายุ (กรมการจัดหางาน) งบประมาณจำนวน
10.7466 ล้านบาท กิจกรรมส่งเสริมการประกอบอาชีพให้ผู้สูงอายุ และกิจกรรมส่งเสริมการมีงานทำ
ของผูส้ ูงอายุ
2.1 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และกรมการจัดหางาน มีผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน
ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำหรับตัวชี้วัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง คืบหน้าอย่างไร รวมทั้งพบปัญหา
และอุปสรรค รวมถึงบทเรียนในการดำเนินงานหรือไม่อย่างไร อนึ่ง หากผลการดำเนินงานยังอยู่ในระดับต่ำ
จะมีแนวทางในการยกระดับศักยภาพการดำเนนิ งานเพ่อื ใหบ้ รรลุเป้าหมายโครงการไดอ้ ย่างไร
2.2 การวัดผลประเมินผลของโครงการ/กิจกรรมควรมุ่งเน้นที่ผลสัมฤทธิ์เป็นสำคัญ กล่าวคือ
การประกอบอาชีพหรือการมีงานทำของผู้สูงอายุ ในทางหนึ่งควรสะท้อนได้จากการสร้างรายได้ให้กับระบบ
เศรษฐกจิ หรือการมรี ายได้ครอบครัวที่เพิม่ สงู ข้นึ และมัน่ คง และการมคี ณุ ภาพชวี ติ ที่ดี
สำนักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 10 สำนกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการเตรยี มความพร้อมเพื่อรองรบั สงั คมสงู วัย
ที่มา: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 18 (1) หน้า 207
ท่มี า: เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับท่ี 3 เลม่ ที่ 18 (1) หนา้ 215
2.3 งบประมาณทั้งหมดเป็นงบรายจ่ายอื่น เช่นนี้ กรมการจัดหางาน และกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
มีแนวทางการดำเนินงานโครงการนี้อย่างไร และมีรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณข้างต้นนี้อย่างไร
นอกจากนี้ ไดบ้ รู ณาการการดำเนนิ งานกบั หน่วยงานอน่ื ๆ ที่เกย่ี วขอ้ งหรอื ไม่ อย่างไร
2.4 ควรบูรณาการสร้างมาตรการกลไกด้านการตลาดรองรับการฝึกอาชีพที่เป็นหลักสูตรที่เน้นการ
สอนด้านผลติ ภัณฑ์ โดยบรู ณาการร่วมกบั หน่วยงานตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้อง เพ่อื ขยายตลาดรองรับผลิตภัณฑ์ที่ผลิต
ข้นึ ใหส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของตลาด
2.5 ควรส่งเสริมอาชีพท่ีสอดคล้องกับภูมิสังคม และวัฒนธรรม เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมั่นคง
และนอ้ มนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชใ้ นการดำรงชีวิต มอี าชีพรายได้ท่ีม่ันคง
สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 11 สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการเตรยี มความพร้อมเพอื่ รองรบั สงั คมสูงวยั
2.6 ควรส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเป็นผู้ให้ความรู้และทักษะอาชีพมากกว่าการเป็นผู้รับฝึกอบรมแต่เพียง
อย่างใด เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นพลังของสังคมและเป็นคลังปัญญาผู้สูงอายุ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับภูมิปัญญา
ศิลปวฒั นธรรม
แนวทางที่ 3 พัฒนาเครือข่ายการคุ้มครองทางสังคม และปรับปรุง
สภาพแวดล้อมสิ่งอำนวยความสะดวก งบประมาณจำนวน 298.8091 ล้านบาท
ตวั ช้ีวัดที่ 1. พัฒนาผูส้ งู อายแุ ละเครือข่ายความค้มุ ครองทางสงั คม จำนวน 221,420 คน
ตัวชี้วัดที่ 2. ที่อยู่อาศัย และสถานที่สาธารณะได้รับการปรับปรุงให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ จำนวน
7,709 แหง่
มคี า่ ใชจ้ า่ ยรายการสำคญั คือ
1. โครงการปรับปรุงที่อยู่อาศัยและสถานที่สาธารณะที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและทุกวัย (กรมกิจการ
ผ้สู งู อายุ) งบประมาณจำนวน 176.7977 ลา้ นบาท
2. โครงการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแหง่ ชาต)ิ งบประมาณจำนวน 65.3440 ลา้ นบาท
3. โครงการพฒั นาระบบการคมุ้ ครองทางสังคมของผสู้ ูงอายุ (กรมกจิ การผสู้ ูงอาย)ุ งบประมาณจำนวน
41.4505 ลา้ นบาท
4. โครงการสร้างผ้สู ูงวัยและผู้ด้อยโอกาสเปน็ กำลงั คนดจิ ิทลั สภู้ ยั ไซเบอร์ (สำนกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจ
ดิจิทลั ) งบประมาณจำนวน 13.1372 ลา้ นบาท
ขอ้ สังเกต PBO (แนวทางที่ 3)
1. โครงการปรับปรุงที่อยู่อาศัยและสถานที่สาธารณะที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและทุกวัย (กรมกิจการ
ผู้สูงอายุ) งบประมาณจำนวน 176.7977 ล้านบาท กิจกรรมการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิต
ในสังคมผ้สู งู อายุ
เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับที่ 3 เล่มที่ 2 หน้า 426 ระบุวัตถุประสงค์
ว่า เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาทางสังคมที่มีที่อยู่ไม่เหมาะสม ได้รับการปรับปรุง/ซ่อมแซมที่อยู่อาศัย
ให้เหมาะสมและปลอดภัย และปรากฏผลการดำเนินงานของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (6 เดือน)
ของตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : จำนวนบ้านและสถานที่ที่ได้รับการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมเพื่อรองรับสังคม
ผสู้ ูงอายุ เทา่ กับ 1,788 หลัง จากคา่ เป้าหมาย 4,000 เครอื ขาย คิดเป็นรอ้ ยละ 44.70
ทมี่ า : เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ท่ี 2 หนา้ 426
สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 12 สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการเตรียมความพรอ้ มเพอ่ื รองรบั สงั คมสงู วัย
1.1 กรมกิจการผู้สูงอายุ มีผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำหรับ
โครงการต่าง ๆ ภายใต้แผนงานบูรณาการนี้ คืบหน้าอย่างไร รวมทั้งพบปัญหาและอุปสรรค รวมถึงบทเรียน
ในการดำเนนิ งานหรอื ไมอ่ ยา่ งไร
1.2 หากผลการดำเนินงานยังอยู่ในระดับต่ำ กรมกิจการผู้สูงอายุ จะมีแนวทางในการยกระดับ
ศักยภาพการดำเนนิ งานเพอื่ ให้บรรลเุ ปา้ หมายโครงการไดอ้ ย่างไร
1.3 การปรับปรุงที่อยู่อาศัย กรมกิจการผู้สูงอายุ มีหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
ที่เข้าร่วมโครงการอย่างไร และมีแนวทางในการส่งเสริมการเข้าถึงโครงการอย่างไร ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดการ
กระจายตวั และเขา้ ถงึ กล่มุ เปา้ หมายทีม่ ีความต้องการมากท่ีสดุ
1.4 กรมกิจการผู้สูงอายุ มีการบูรณาการเกี่ยวกับการปรับปรุงที่อยู่อาศัย ร่วมกับภาคส่วนต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้อง อาทิ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท้องที่ รวมถึงองค์กรภาคประชาสังคม องค์กรพัฒนาเอกชน
หน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเคหะแห่งชาติ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
(องค์การมหาชน) ทั้งนี้ บทบาทการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายย่อมจะช่วยเสริมสร้างความยั่งยืนในการ
ดำเนินงานไดด้ ีย่ิงขน้ึ
1.5 นอกเหนือจากสวัสดิการดังกล่าวนี้ กรมกิจการผู้สูงอายุ มีมาตรการหรือกลไกในการช่วยเหลือ
อย่างย่ังยนื อยา่ งไร
ที่มา: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ที่ 3 เล่มท่ี 18 (1) หน้า 217
1.6 งบประมาณส่วนใหญ่เป็นงบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนปรับปรุงซ่อมแซมบ้าน
ผู้สูงอายุให้มีความเหมาะสมและปลอดภัย จำนวน 173.2500 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 97.99
ของงบประมาณโครงการ เมอื่ พิจารณาจากงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปจำนวน กบั ตวั ชว้ี ัดเชงิ ปรมิ าณ จำนวน
7,000 หลัง พบว่า โดยเฉลี่ยหลังละ 43,312.50 บาท ในขณะที่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เฉลี่ยหลังละ
22,500 บาท (90,000,000 บาท / 4,000 แห่ง) อาจพิจารณาได้ว่าค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อหลัง/แห่ง เพิ่มขึ้น
20,821.50 บาท (43,312.50 – 22,500) คิดเป็นร้อยละ 92.54 เช่นนี้ กรมกิจการผู้สูงอายุ มีเหตุผลความ
จำเป็นหรือปัจจัยกำหนดที่ส่งผลต่อการกำหนดค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยต่อหลังที่เพิ่มสูงขึ้นเกือบเท่าตัว (ร้อยละ
92.54) รวมถงึ ค่าเป้าหมายของตวั ช้วี ดั ขา้ งตน้ อยา่ งไร
ที่มา: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบบั ที่ 3 เล่มที่ 18 (1) หนา้ 234
2. โครงการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ) งบประมาณจำนวน 65.3440 ล้านบาท กิจกรรมขยายผลการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี
และนวตั กรรมบรกิ าร ในศนู ย์พัฒนาการจดั สวสั ดกิ ารสงั คมผู้สูงอายุ
2.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ได้รบั การจัดสรร
งบประมาณแผนงานบรู ณาการน้ีเป็นปแี รก ภายใตโ้ ครงการ กจิ กรรม และตวั ช้ีวดั ที่เหมอื นกับปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 รวมถึงค่าเป้าหมายตัวชี้วัดที่เท่ากันทั้ง 2 ปี คือ จำนวน 6 แห่ง โดยที่งบประมาณที่ได้รับการ
สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 13 สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร
เอกสารสำหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรยี มความพรอ้ มเพ่อื รองรบั สงั คมสูงวยั
จัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 65.3440 ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน
9.6344 ล้านบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 12.85
ที่มา: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 18 (1) หน้า 208
2.2 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนลียีแห่งชาติ ได้กำหนดนิยามของ “นวัตกรรม”
ตามโครงการนีอ้ ย่างไร และปัจจุบนั มีตวั อย่างนวัตกรรมอะไรบา้ ง และนวัตกรรมเหลา่ น้ันก่อให้เกดิ ประโยชน์
แก่กลุม่ เป้าหมายอยา่ งไร
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ท่ีมา: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ที่ 18 (1) หน้า 217
2.3 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รายละเอียดงบประมาณจำนวน 3 รายการ คงมีชื่อเช่นเหมือนกับ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และส่วนใหญ่ได้รับการจดั สรรงบประมาณจำนวนใกล้เคียงกันด้วย โดยที่รายการ
สำคญั ยงั คงดำเนินการเกยี่ วกบั “การพฒั นาต้นแบบ” และ “ระบบครภุ ณั ฑ์”
2.4 งบประมาณส่วนใหญ่เป็นรายการที่ตั้งอยู่ ณ “ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัด
ปทุมธานี” เช่นเดียวกับปีงบประมณ พ.ศ. 2564 ได้แก่ (1) ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาต้นแบบนวัตกรรม
และเทคโนโลยีเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 1 งาน จำนวน
สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 14 สำนกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการเตรียมความพรอ้ มเพ่อื รองรบั สงั คมสงู วยั
42.3000 ล้านบาท และ (2) ครุภณั ฑน์ วัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่อื การดแู ลผู้สูงอายุ ตำบลคลองหน่ึง อำเภอ
คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 1 ระบบ จำนวน 11.3010 ล้านบาท รวมงบประมาณ 2 รายการนี้เท่ากับ
จำนวน 53.6010 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 82.03 ของงบประมาณโครงการนี้
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ทีม่ า: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับท่ี 3 เลม่ ที่ 18 (1) หน้า 234
2.5 เมือ่ พิจารณาจากตัวชวี้ ัดกิจกรรม : ศูนยพ์ ฒั นาการจดั สวัสดกิ ารสังคมผู้สูงอายุได้รับการติดต้ัง
และใช้งานนวัตกรรม จำนวน 6 แห่ง ซึ่งปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบประมาณรายการเงินอุดหนุนทั่วไป
ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน จำนวน 11.7430 ล้านบาท อาจจะพิจารณาได้ว่าต้นทุนต่อหน่วย/แห่ง เท่ากับ 1.9572
ล้านบาท ในขณะท่ปี งี บประมาณ พ.ศ. 2564 เท่ากับ 3.2364 ลา้ นบาทต่อหน่วย/แหง่ (19.4184 / 6)
2.6 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโยลีแห่งชาติ มีผลการ
ดำเนินงานศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสงั คมผูส้ ูงอายุไดร้ ับการติดตั้งและใช้งานนวัตกรรม จำนวน 6 แห่ง
ที่ใดบ้าง และมีหลักเกณฑ์วิธีการในการคัดเลือกพื้นที่ดำเนินการอย่างไร ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
มีแผนการดำเนินงานที่ใดบ้าง และมีหลักการหรือแนวทางการขยายผลไปสู่ศูนย์บริการหรือหน่วยงาน
ในระดบั พนื้ ท่หี รือทอ้ งถ่ินต่อไปหรือไม่ อยา่ งไร
3. โครงการพัฒนาระบบการคุ้มครองทางสังคมของผู้สูงอายุ (กรมกิจการผู้สูงอายุ) งบประมาณจำนวน
41.4505 ล้านบาท กิจกรรมการเสริมสร้างกลไกการพัฒนาผู้สูงอายุในชุมชน และกิจกรรมระบบดูแล
และค้มุ ครองพทิ ักษส์ ิทธผิ สู้ งู อายุ
เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับที่ 3 เล่มที่ 2 หน้า 424 ระบุวัตถุประสงค์
ว่า เพื่อสร้างกลไกการพัฒนาผู้สูงอายุในชุมชน ควบคู่กับการพัฒนาระบบคุ้มครองทางสังคมและพัฒนา
ศักยภาพผู้ดแู ลผู้สูงอายุให้เป็นไปตามมาตรฐาน และปรากฏผลการดำเนินงานของปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
(6 เดอื น) ของตัวชวี้ ดั เชงิ ปรมิ าณ : จำนวนผสู้ งู อายทุ ีส่ ามารถเข้าถงึ ระบบการดูแลและคุ้มครอง เท่ากบั 17,316
คน จากค่าเปา้ หมาย 64,000 เครอื ขาย คดิ เปน็ ร้อยละ 27.06
3.1 กรมกิจการผู้สูงอายุ มีผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 คืบหน้า
อยา่ งไร รวมท้ังพบปัญหาและอปุ สรรค รวมถงึ บทเรยี นในการดำเนนิ งานหรือไมอ่ ยา่ งไร
สำนักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 15 สำนักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการเตรยี มความพรอ้ มเพอื่ รองรับสงั คมสูงวยั
ทีม่ า : เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 2 หนา้ 424
3.2 หากผลการดำเนินงานยังอยู่ในระดับต่ำ กรมกิจการผู้สูงอายุ จะมีแนวทางในการยกระดับ
ศักยภาพการดำเนนิ งานเพอื่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายโครงการได้อยา่ งไร
ที่มา: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 18 (1) หน้า 216
3.3 งบประมาณส่วนใหญ่เป็นงบเงินอุดหนุน ค่าที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง ค่าปรับปรุงอาคารที่ทำการ
และสิ่งก่อสร้างประกอบที่มีราคาต่อหน่วยต่ำกว่า 10 ล้านบาท รวม 26 รายการ (รวม 26 หน่วย) จำนวน
25.0496 ลา้ นบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 60.43 ของงบประมาณโครงการนี้ ทั้งนี้ ค่าที่ดิน/สิ่งก่อสรา้ งน้ีมีรายละเอียด
การดำเนนิ งานอย่างไร และเหตผุ ลความจำเป็นหรอื ความเหมาะสมในการเข้าสแู่ ผนงานบูรณาการน้อี ย่างไร
ที่มา: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับท่ี 3 เลม่ ท่ี 18 (1) หนา้ 216
3.4 ค่าสนับสนุนกิจกรรม จำนวน 3 รายการ รวมจำนวน 11.7165 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
28.27 ของงบประมาณโครงการน้ี เชน่ นี้ กรมกิจการผู้สูงอายุ มีหลักการและแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับ
งบประมาณค่าสนบั สนนุ กิจกรรมต่าง ๆ อยา่ งไร
สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 16 สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
เอกสารสำหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรยี มความพร้อมเพือ่ รองรับสงั คมสงู วยั
3.5 การจัดกิจกรรมต่าง ๆ มีลักษณะที่กรมกิจการผู้สูงอายุดำเนินการจัดขึ้นเอง หรือสนับสนุนให้
ภาคีเครอื ขา่ ยดำเนนิ การ หรอื มีลักษณะเชน่ ใด ท้ังน้ี การจัดกิจกรรมนีจ้ ะสามารถตอบโจทย์ความย่ังยืนในการ
รองรบั สังคมผสู้ ูงอายอุ ยา่ งไร
3.6 ค่าสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ มีโอกาสที่จะเกิดความซ้ำซ้อนกันของกลุ่มเป้าหมายในการ
ดำเนินการหรือไม่ อย่างไร และกรมกิจการผู้สูงอายุ มีระบบบริหารจัดการงบประมาณ มาตรการ กลไก
หรือวิธีการในการหลกี เล่ียงหรอื ป้องกนั ความซำ้ ซอ้ นดังกลา่ วอย่างไร
3.7 กรมกิจการผู้สูงอายุ มีแนวทางการสร้างความยั่งยืนที่เป็นการต่อยอดหรือเพิ่มเติมจากการ
สนบั สนนุ กิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้อย่างไร
4. โครงการสร้างผู้สูงวัยและผู้ด้อยโอกาสเป็นกำลังคนดิจิทัลสู้ภัยไซเบอร์ (สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ
ดิจิทัล) งบประมาณจำนวน 13.1372 ล้านบาท กิจกรรมสร้างผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสเป็นกำลังคนดิจิทัล
ส้ภู ัยไซเบอร์
ทม่ี า: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับที่ 3 เล่มท่ี 18 (1) หนา้ 209
4.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กำหนดตัวชี้วัดกิจกรรม : สร้างผู้นำกำลังคนพันธุ์ Z จำนวน 2,000
คน เพียงตัวชี้วัดเดียว ต่อมาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้กำหนดตัวชี้วัดกิจกรรม 3 ตัวชี้วัด รายละเอียด
ดังตาราง ทั้งนี้ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล มีผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน ของปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 สำหรับตัวชี้วดั กิจกรรม : สร้างผู้นำกำลังคนพันธุ์ Z จำนวน 2,000 คน คืบหน้าอย่างไร รวมทั้งพบ
ปัญหาและอุปสรรค รวมถึงบทเรียนในการดำเนินงานหรือไม่อย่างไร อนึ่ง หากผลการดำเนินงานยังอยู่
ในระดับต่ำ จะมีแนวทางในการยกระดับศักยภาพการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายโครงการได้อย่างไร
อยา่ งไรก็ตาม มหี ลักการและเหตผุ ลที่ไม่กำหนดค่าเป้าหมายของตัวช้ีวัดข้างต้นในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
อย่างไร
4.2 สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล มีหลักการและเหตุผลในการกำหนดตัวชี้วัดกิจกรรม
4 ตัวช้วี ดั ใหมใ่ นปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 อยา่ งไร
4.3 งบประมาณทั้งหมดเป็นงบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โดยส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่าย
ดำเนินงาน เช่นนี้ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล มีแนวทางการดำเนินงานโครงการนี้อย่างไร และมี
สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 17 สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรยี มความพรอ้ มเพือ่ รองรับสังคมสูงวยั
รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณข้างต้นนี้อย่างไร นอกจากนี้ ได้บูรณาการการดำเนินงานกับกระทรวง
ศกึ ษาธกิ ารและหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ งหรอื ไม่ อยา่ งไร
ทม่ี า: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับที่ 3 เลม่ ท่ี 18 (1) หนา้ 215
แนวทางที่ 4 พัฒนาระบบและนวัตกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ งบประมาณ
จำนวน 230.6373 ล้านบาท
ตัวชว้ี ัดท่ี 1. มีระบบการดูแลสุขภาพ และนวตั กรรม จำนวน 4 ระบบ
มีคา่ ใช้จ่ายรายการสำคญั คือ
1. โครงการพัฒนาระบบดูแลสุขภาพของผ้สู ูงอายุ (มหาวิทยาลยั มหิดล) งบประมาณจำนวน 99.4515
ล้านบาท
2. โครงการสร้างสังคมห่วงใยใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ (กรมอนามัย) งบประมาณจำนวน 48.5930
ล้านบาท
3. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการด้านชีววิทยาศาสตร์สุขภาพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ
(ศนู ย์ความเป็นเลศิ ด้านชีววทิ ยาศาสตร์ (องคก์ ารมหาชน)) งบประมาณจำนวน 38.7330 ลา้ นบาท
4. โครงการสร้างเสริมระบบการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับผู้สูงอายุแบบบูรณาการ (สำนักงา น
ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ) งบประมาณจำนวน 16.6940 ล้านบาท
5. โครงการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเข้าถึงระบบและนวัตกรรมการดูแลสุขภาพ (กรมการแพทย์)
งบประมาณจำนวน 14.4529 ลา้ นบาท
ขอ้ สังเกต PBO (แนวทางที่ 4)
1. โครงการพัฒนาระบบดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ (มหาวิทยาลัยมหิดล) งบประมาณจำนวน 99.4515
ลา้ นบาท กิจกรรมพฒั นาระบบดูแลสขุ ภาพของผสู้ ูงอายุ
1.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้รับการจัดสรรงบประมาณจำนวน 99.4515 ล้านบาท เป็นเงิน
อุดหนุนทั่วไป ค่าที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง สำหรับโครงการศูนย์วิทยาการเวชศาสตร์ผู้สูงอายุระดับชาติ
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิล วงเงินทั้งสิ้น 889.9000 ล้านบาท แบ่งออกเป็น เงินนอก
งบประมาณ 266.9700 ล้านบาท และเงินงบประมาณ 622.9300 ล้านบาท โดยผูกพันงบประมาณตั้งแต่
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2565 ซงึ่ กำหนดตัวชว้ี ดั กิจกรรม : การก่อสรา้ งศนู ย์วทิ ยาการเวชศาสตร์ผ้สู ูงอายุ
ระดบั ชาติ (พ้ืนที่สมุทรสาคร) แล้วเสร็จ (สะสม) รอ้ ยละ 100 เชน่ นี้ มหาวิทยาลยั มหิดล มีแผนการดำเนนิ งาน
เปิดบริการ หรือใช้ประโยชน์ของศูนย์วิทยาการเวชศาสตร์ผู้สูงอายุระดับชาติ เพื่อยกระดับการพัฒนาระบบ
ดแู ลสขุ ภาพของผู้สูงอายุอยา่ งไร
สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 18 สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรียมความพรอ้ มเพ่อื รองรบั สังคมสงู วยั
1.2 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้รับการจัดสรรงบประมาณสำหรับโครงการศูนย์เทคโนโลยี
วิศวกรรมเครื่องมือแพทย์ทางออโธปิดิกส์ จำนวน 19.5000 ล้านบาท และโครงการส่งเสริมพื้นที่ชุมชน
สร้างสรรค์ด้วยพลังดนตรี สร้างเสริมกิจกรรมและประสบการณ์ดนตรีท่ีหลากหลายเพอื่ การขับเคลื่อนสังคม
ให้เข้มแข็ง และสร้างสุขภาวะทีด่ ี จำนวน 4.000 ล้านบาท เช่นนี้ มหาวิทยาลัยมหิดลมีผลการดำเนินของทัง้
2 โครงการนี้อย่างไร โดยเฉพาะความพร้อมหรือศักยภาพ หรือแผนการพัฒนาเพื่อรองรับวิทยาการ
และเทคโนโลยีทเี่ ก่ียวข้อง ท้ังในด้านบคุ ลากร ทกั ษะความรู้ความเชย่ี วชาญ อปุ กรณ์และเคร่ืองมือ ฯลฯ และมี
หลกั การหรือแนวทางการขยายผลเพอ่ื ยกระดับการพัฒนาระบบดูแลสขุ ภาพของผ้สู ูงอายุอยา่ งไร
ทม่ี า: เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับที่ 3 เลม่ ที่ 18 (1) หน้า 236
1.3 ในระยะต่อไป มหาวิทยาลัยมหิดลมีแนวคิดหรือแนวทางการขยายผลการดำเนินงานไปยัง
หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือการส่งเสริมให้โรงเรียนแพทย์หรือมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ได้พัฒนาการ
ดำเนนิ งานในลกั ษะเชน่ น้ตี อ่ ไปหรอื ไม่ อย่างไร
2. โครงการสรา้ งสังคมห่วงใยใส่ใจสขุ ภาพผู้สูงอายุ (กรมอนามัย) งบประมาณจำนวน 48.5930 ล้านบาท
กิจกรรมพัฒนา สง่ เสริม การเขา้ ถงึ ระบบการดแู ลและส่งเสริมสขุ ภาพผูส้ งู อายุ
ทมี่ า: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ท่ี 3 เล่มท่ี 18 (1) หน้า 212
2.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กำหนดตัวชี้วัดกิจกรรม : จำนวนผู้สูงอายุเข้าถึงระบบการดูแล
สุขภาพ จำนวน 2,297,000 คน เพียงตัวชี้วัดเดียว ต่อมาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้กำหนดตัวชี้วัด
กิจกรรม 2 ตัวชี้วัด รายละเอียดดังตาราง ทั้งนี้ กรมอนามัย มีผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน
ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำหรับตัวชี้วัดกิจกรรม : จำนวนผู้สูงอายุเข้าถึงระบบการดูแลสุขภาพ จำนวน
2,297,000 คน คืบหน้าอย่างไร รวมทั้งพบปัญหาและอุปสรรค รวมถึงบทเรียนในการดำเนินงานหรือไม่
อย่างไร อนึ่ง หากผลการดำเนนิ งานยังอยู่ในระดับต่ำ จะมีแนวทางในการยกระดับศักยภาพการดำเนินงาน
สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 19 สำนกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรบั สังคมสงู วยั
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายโครงการได้อย่างไร อย่างไรก็ตาม มีหลักการและเหตุผลที่ไม่กำหนดค่าเป้าหมาย
ของตวั ช้วี ดั ขา้ งต้นในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 อย่างไร
2.2 กรมอนามัย มีหลักการและเหตุผลในการกำหนดตัวชี้วัดกิจกรรม 2 ตัวชี้วัดใหม่
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 อย่างไร
ทมี่ า: เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ท่ี 3 เล่มท่ี 18 (1) หนา้ 220
2.3 งบประมาณทั้งหมดเป็นงบดำเนินงาน ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ โดยส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่าย
ในการสัมมนาและฝึกอบรม จำนวน 17.6774 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 36.38 ของงบประมาณโครงการนี้
ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาองค์ความรู้และการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายวิชาการ จำนวน 12.6704
ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 26.07 ค่าจ้างเหมาบริการ จำนวน 8.9240 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.36 เช่นน้ี
กรมอนามัย มีแนวทางการสร้างความยั่งยืนในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน รวมถึงเป็นการต่อยอด
หรือเพิ่มเติมจากการสัมมนาและฝึกอบรมต่าง ๆ เหล่านี้อย่างไร นอกจากนี้ ได้พิจารณารูปแบบการสัมมนา
และฝึกอบรมต่าง ๆ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะทำให้การใช้จ่ายงบประมาณมีความคุ้มค่า และสามารถ
เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้กว้างขวางมากขึ้น โดยอาจพิจารณาดำเนินการเฉพาะกิจกรรมที่มีความเป็นไปได้
พรอ้ มกบั การถอดบทเรียนเพื่อพัฒนาการดำเนนิ งานในระยะต่อไป หรอื ไม่ อยา่ งไร
2.4 กรมอนามยั มเี หตผุ ลความจำเป็นในการดำเนนิ งานดว้ ยคา่ จา้ งเหมาบรกิ ารอย่างไร และในระยะ
ที่ผ่านมาได้มีการศึกษาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงโครงสร้างการดำเนินงานหน่วยงาน รวมถึงการพัฒนา
หรอื ยกระดบั ประสทิ ธภิ าพการดำเนินงานทเ่ี กี่ยวข้อง หรือไม่ อย่างไร
2.5 งบประมาณรายการสำคัญข้างต้น และการกำหนดค่าเป้าหมายตัวชี้วัดกิจกรรมในลักษณะเช่นนี้
กรมอนามัย มีแนวทางการดำเนินงานโครงการนี้อย่างไร โดยที่ให้ความสำคัญกับการสัมมนาและฝึกอบรม
การติดตามสนับสนุนโครงการ และการพัฒนาองค์ความรูแ้ ละการจัดการความรู้ฯ ใช่หรือไม่ อย่างไร เช่นน้ี
กลุ่มเป้าหมายที่มุ่งเน้นดำเนินการคือกลุ่มใด มีหลักเกณฑ์และวิธีการในการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายหรือไม่
อย่างไร
2.6 กรมอนามัย ได้พิจารณารูปแบบวิธีการดำเนินงาน โดยที่มุ่งเน้นภาคีเครือข่าย แล้วสนับสนุน
ส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายเหล่านั้นไปขยายผลในระดับพื้นที่หรือระดับเครือข่ายย่อยต่อไป จะก่อให้เกิดความ
ยั่งยนื ของการดำเนนิ งานมากยงิ่ ข้นึ หรอื ไม่ อยา่ งไร
สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 20 สำนกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
เอกสารสำหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรยี มความพรอ้ มเพอ่ื รองรบั สงั คมสงู วยั
3. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการด้านชีววิทยาศาสตร์สุขภาพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ
(ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน)) งบประมาณจำนวน 38.7330 ล้านบาท
กิจกรรมการให้บริการฝังรากฟันเทียมสำหรับผู้สูงอายุ และกิจกรรมการใช้เครื่องช่วยฝึกเดินในผู้สูงอายุที่ป่วย
เปน็ โรคหลอดเลือดสมอง
ทมี่ า: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ที่ 18 (1) หน้า 210
3.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กำหนดกิจกรรมขึ้นใหม่ คือ การใช้เครื่องช่วยฝึกเดินในผู้สูงอายุ
ทป่ี ว่ ยเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณจำนวน 10.000 ลา้ นบาท โดยมตี ัวชวี้ ัดกจิ กรรม :
จำนวนผ้สู ูงอายุทเี่ ขา้ ถึงหรือใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยใี นการดูแลและส่งเสรมิ สุขภาวะทด่ี ขี องผู้สูงอายุ จำนวน
1,000 คน ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) มีหลักการและเหตุผล หรือรายละเอียด
การดำเนนิ งานกิจกรรมน้อี ย่างไร และระเบียบวธิ กี ารในการกำหนดตัวช้วี ัดกิจกรรมอยา่ งไร
ที่มา: เอกสารงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับท่ี 3 เลม่ ท่ี 18 (1) หน้า 218
3.2 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) มีรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ
นี้อยา่ งไร งบประมาณที่กำหนดไวน้ ี้เป็นการลงทนุ เพื่อดำเนินการอย่างไร และคาดหวงั ผลลัพธ์ท่ีจะเกิดข้ึนจาก
การดำเนนิ งานไวอ้ ย่างไร
3.3 โครงการนี้กำหนดตัวชี้วัดกิจกรรมที่มีหน่วยนับ : คน เมื่อพิจารณางบประมาณที่เป็นงบเงิน
อดุ หนุน เงนิ อดุ หนุนสำหรับโครงการทีเ่ ป็นรายจ่ายลงทุน การดำเนินงานของโครงการนจ้ี ะเป็นไปในลักษณะ
เช่นใด โดยที่งบประมาณนี้สามารถส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ตามค่าเป้าหมายตัวชี้วัดกิจกรรมที่กำหนดไว้ได้
อย่างเหน็ ผลเป็นรูปธรรม
สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 21 สำนกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการเตรยี มความพร้อมเพื่อรองรับสงั คมสงู วยั
4. โครงการสร้างเสริมระบบการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับผู้สูงอายุแบบบูรณาการ (สำนักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข) งบประมาณจำนวน 16.6940 ล้านบาท กิจกรรมสร้างเสริมความเสมอภาคด้านสุขภาพ
เพอื่ รองรับสงั คมผู้สูงอายุ
ที่มา: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 18 (1) หน้า 210
4.1 ตวั ชว้ี ดั กจิ กรรม : จำนวนผสู้ ูงอายทุ ไี่ ด้รับการคัดกรอง/ประเมินสขุ ภาพ จำนวน 1,000,000 คน
โดยที่สถิติจำนวนประชากรจากการทะเบียน จำแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2563 ทั่วราชอาณาจักร มีประชากร
อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป รวมจำนวน 11,633,188 คน พิจารณาจากค่าเป้าหมายตัวชี้วัดข้างต้น พบว่า
ครอบคลมุ ประชากรสงู อายุ คดิ เปน็ ร้อยละ 8.60 (1,000,000 × 100 / 11,633,188)
4.2 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีบริการ มาตรการหรือกลไกอื่นใดสำหรับการคัดกรอง/
ประเมนิ สขุ ภาพให้ครอบคลุมประชากรสูงอายใุ ห้ได้มากท่ีสุดอย่างไร และคาดการณว์ ่าจะสามารถครอบคลุม
ประชากรสูงอายุได้ร้อยละเท่าใด นอกจากนี้ ไดพ้ จิ ารณานำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินการน้ี
หรอื ไม่ อยา่ งไร
ท่ีมา: เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับท่ี 3 เลม่ ท่ี 18 (1) หน้า 219
4.3 งบประมาณทั้งหมดเป็นงบดำเนินงาน ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่าย
ในการสัมมนาและฝึกอบรม จำนวน 12.1752 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 72.93 ของงบประมาณโครงการน้ี
โดยที่กำหนดตัวชี้วัดกิจกรรม : จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพ จำนวน 1,000,000
คน เช่นนี้ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีหลักเกณฑ์และแนวทางการดำเนินโครงการนี้อย่างไร
ด้วยงบประมาณสว่ นใหญ่ทเี่ ป็นคา่ ใชจ้ ่ายในการสัมมนาและฝึกอบรม ในขณะที่ตวั ชี้วดั คือ ผ้สู ูงอายุที่ได้รับ
การคัดกรอง/ประเมินสุขภาพ นอกจากนี้ โครงการมีขั้นตอนการดำเนินงานในลักษณะ “บูรณาการ” ตามชื่อ
โครงการ อย่างไร
สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 22 สำนกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรบั คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพอ่ื รองรับสังคมสงู วยั
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
หนว่ ย: ล้านบาท
แผนงานบรู ณาการ รายจา่ ยประจา รายจา่ ยลงทุน รวม
เตรียมความพร้อมเพอื่ รองรับสงั คมสงู วัย งบประมาณ* เบกิ จา่ ย ร้อยละ งบประมาณ* เบกิ จา่ ย ร้อยละ งบประมาณ* เบกิ จา่ ย ร้อยละ
สานักนายกรัฐมนตรี 6.4180 2.8577 44.53 - - - 6.4180 2.8577 44.53
กรมประชาสัมพนั ธ์ 6.4180 2.8577 44.53 - -- 6.4180 2.8577 44.53
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ 47.9857 16.8966 35.21 273.0018 50.9835 18.68 320.9875 67.8801 21.15
กรมกิจการผูส้ ูงอายุ 47.9857 16.8966 35.21 273.0018 50.9835 18.68 320.9875 67.8801 21.15
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม 55.4184 39.3851 71.07 312.5251 239.0484 76.49 367.9435 278.4335 75.67
สถาบันวิทยาลัยชมุ ชน 4.0000 0.8213 20.53 - - - 4.0000 0.8213 20.53
มหาวทิ ยาลัยมหิดล 32.0000 24.0000 75.00 204.7228 153.5420 75.00 236.7228 177.54 75.00
สานักงานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 19.4184 14.5638 75.00 55.5600 44.2350 79.62 74.9784 58.7988 78.42
ศนู ย์ความเป็นเลิศดา้ นชวี วทิ ยาศาสตร์ (องคก์ ารมหาชน) - -- 52.2423 41.2714 79.00 52.2423 41.2714 79.00
กระทรวงดจิ ทิ ัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม 35.1429 26.1429 74.39 - - - 35.1429 26.1429 74.39
สานักงานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล 35.1429 26.1429 74.39 - - - 35.1429 26.1429 74.39
กระทรวงแรงงาน 41.0663 17.3791 42.32 - - - 41.0663 17.3791 42.32
กรมการจัดหางาน 16.7026 6.0611 36.29 - - - 16.7026 6.0611 36.29
กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน 20.5000 9.5500 46.59 - - - 20.5000 9.5500 46.59
กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 3.8637 1.7679 45.76 - - - 3.8637 1.7679 45.76
กระทรวงสาธารณสขุ 152.4565 60.4458 39.65 0.3000 0.3000 100.00 152.7565 60.7458 39.77
สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 35.2426 7.7637 22.03 - - - 35.2426 7.7637 22.03
กรมการแพทย์ 26.0728 3.6430 13.97 0.3000 0.3000 100.00 26.3728 3.9430 14.95
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 1.9805 0.3113 15.72 - - - 1.9805 0.3113 15.72
กรมอนามยั 89.1606 48.7278 54.65 - - - 89.1606 48.7278 54.65
รวมทง้ั สน้ิ 338.4878 163.1073 48.19 585.8269 290.3319 49.56 924.3147 453.4392 49.06
หมายเหตุ: งบประมาณเป็นงบประมาณหลังโอนเปลีย่ นแปลง
ทมี่ า: ผลการเบิกจ่ายจากระบบ GFMIS กรมบญั ชกี ลาง กระทรวงการคลงั ขอ้ มลู ณ 30 เมษายน 2564
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณแผนงานบูรณาการ (ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2564) พบว่า ผลการ
เบิกจ่ายภาพรวมค่อนข้างต่ำเพียงร้อยละ 49.06 ประกอบด้วย รายจ่ายประจำเบิกจ่ายได้ร้อยละ 48.19
และรายจา่ ยลงทุนเบกิ จา่ ยได้รอ้ ยละ 49.56 รายละเอียดสำคญั ดงั น้ี
1. กรมประชาสัมพันธ์ มีผลการเบิกจ่ายภาพรวมร้อยละ 44.53 เนื่องจากรายจ่ายประจำสำหรับ
โครงการประชาสัมพันธ์การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย จำนวน 6.4108 ล้านบาท เบิกจ่ายได้
2.8577 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.53
2. กรมกิจการผสู้ ูงอายุ มผี ลการเบิกจา่ ยภาพรวมร้อยละ 21.15 เนอื่ งจาก
2.1 โครงการเสริมสร้างพัฒนากลไกเครือข่ายสร้างความมั่นคงทางสังคมเพ่ือรองรับสังคมผู้สูงอายุ
จำนวน 9.8349 ล้านบาท เบกิ จา่ ยได้ 2.6748 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 27.20 โดยทง้ั หมดเป็นรายจ่ายประจำ
2.2 โครงการส่งเสริมชุมชนที่เป็นมิตรกับสังคมผู้สูงอายุและคนทุกวัย จำนวน 2.3234 ล้านบาท
เบิกจ่ายได้ 0.8215 ล้านบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 35.36 โดยทงั้ หมดเปน็ รายจา่ ยประจำ
2.3 โครงการพัฒนาระบบการคุ้มครองทางสังคมของผู้สูงอายุ จำนวน 214.8292 ล้านบาท
เบิกจ่ายได้ 19.4563 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.06 จำแนกเป็นรายจ่ายประจำ จำนวน 31.8274 ล้านบาท
เบิกจ่ายได้ 11.4519 คิดเป็นร้อยละ 35.98 และรายจ่ายลงทุน จำนวน 183.0018 ล้านบาท เบิกจ่ายได้
8.0044 ลา้ นบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.37
สำนักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 23 สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรียมความพรอ้ มเพอ่ื รองรบั สงั คมสงู วยั
2.4 โครงการปรับปรุงที่อยู่อาศัยและสถานที่สาธารณะที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและทุกวัย จำนวน
94.0000 ล้านบาท เบิกจ่ายได้ 44.9275 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 47.80 จำแนกเป็นรายจ่ายประจำ จำนวน
4.0000 ล้านบาท เบิกจ่ายได้ 1.9484 คิดเป็นร้อยละ 48.71 และรายจ่ายลงทุน จำนวน 90.0000 ล้านบาท
เบิกจ่ายได้ 42.9791 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 47.75
3. สถาบันวิทยาลัยชุมชน มีผลการเบิกจ่ายภาพรวมร้อยละ 20.53 เนื่องจากรายจ่ายประจำสำหรับ
โครงการสง่ เสริมการมงี านทำและมีรายได้ของผู้สงู อายุ จำนวน 4.0000 ล้านบาท เบิกจ่ายได้ 0.8213 ลา้ นบาท
คิดเป็นรอ้ ยละ 20.53
4. กรมการจัดหางาน ผลการเบกิ จ่ายภาพรวมร้อยละ 36.29 เน่อื งจากรายจ่ายประจำโครงการขยาย
โอกาสการมงี านทำให้ผสู้ งู อายุ จำนวน 16.7026 ลา้ นบาท เบกิ จา่ ยได้ 6.0611 ล้านบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 36.29
5. กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มีผลการเบกิ จา่ ยภาพรวมร้อยละ 46.59 เน่ืองจากรายจ่ายประจำสำหรับ
โครงการฝึกอบรมแรงงานผ้สู ูงอายุเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ จำนวน 20.5000 ลา้ นบาท เบิกจ่ายได้
9.5500 ลา้ นบาท คิดเปน็ ร้อยละ 46.59
6. กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน มีผลการเบิกจ่ายภาพรวมร้อยละ 45.76 เนื่องจากรายจ่าย
ประจำสำหรับโครงการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเข้าถึงระบบการคุ้มครองทางสังคม จำนวน 1.1045 ล้านบาท
เบิกจา่ ยได้ 0.3153 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 28.55
7. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีผลการเบิกจ่ายภาพรวมร้อยละ 22.03 เนื่องจากรายจ่าย
ประจำสำหรับโครงการสร้างเสริมระบบการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับผู้สูงอายุแบบบูรณาการ จำนวน 35.2426
ลา้ นบาท เบกิ จ่ายได้ 7.7637 ล้านบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 22.03
8. กรมการแพทย์ มีผลการเบกิ จา่ ยภาพรวมร้อยละ 14.95 เนื่องจาก
8.1 โครงการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเข้าถึงระบบและนวัตกรรมการดูแลสุขภาพ รายจ่ายประจำ
จำนวน 21.3472 ลา้ นบาท เบิกจ่ายได้ 3.6130 คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.92
8.2 โครงการสร้างการรับรู้ให้ประชาชนเตรียมความพร้อมก่อนเข้าวัยสูงอายุในทุกมิติ จำนวน
4.7256 ล้านบาท เบิกจา่ ยได้ 0.0300 ลา้ นบาท คดิ เป็นร้อยละ 0.63 โดยทั้งหมดเปน็ รายจา่ ยประจำ
9. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มีผลการเบิกจ่ายภาพรวมร้อยละ 54.65 เนื่องจากรายจ่ายประจำ
สำหรับ โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยผู้สูงอายุ จำนวน 1.9805 ล้านบาท เบิกจ่ายได้
0.3113 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15.72
ข้อสงั เกต PBO (ผลการเบิกจ่าย)
1. หน่วยงานมีปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 อย่างไร
และมีแนวทางเร่งรดั การเบิกจ่ายในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 อยา่ งไร
2. หน่วยงานเจ้าภาพมีแนวทางในการกำกับติดตามการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ
ของหนวยงานที่เกี่ยวข้องอย่างไร และจะมีแนวทางในการบริหารจัดการการดำเนินงานและเบิกจ่าย
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 อยา่ งไร
ขอ้ สงั เกต/ความเหน็ ของ PBO
1. กรมกิจการผู้สูงอายุ ได้รับการจัดสรรงบประมาณสำหรับโครงการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเข้าถึง
หลักประกันทางสังคม ภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์สร้างหลักประกันทางสังคม ส่วนหนึ่งเป็นงบรายจ่ายอื่น
สำนักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 24 สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
เอกสารสำหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรียมความพร้อมเพ่อื รองรับสงั คมสงู วัย
ค่าใช้จ่ายในการประเมินผลแผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมรองรับสังคมสูงวัย ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 – 2565 จำนวน 1.1013 ลา้ นบาท
ท่มี า : เอกสารงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับที่ 3 เลม่ ท่ี 2 หนา้ 421
ค่าใช้จ่ายข้างต้นเกี่ยวข้องโดยตรงกับแผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมรองรับสังคมสูงวัย ดังนั้น
กรมกิจการผู้สูงอายุ ควรขอรับการจัดสรรงบประมาณดังกล่าวภายใต้แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อม
รองรบั สงั คมสูงวยั หรือไม่ อย่างไร
2. การกำหนด “ประชากรอายุ 25 – 59 ปี” ค่อนข้างเป็นช่วงระยะ (Range) ที่กว้างมาก
เป็นประชาชนสว่ นใหญ่ของประเทศ หากแบ่งประชากรเป็นช่วงอายุทีแ่ คบลง เช่น อายุ 25 – 44 ปี และอายุ
45 – 59 ปี เพ่ือให้สามารถออกแบบนโยบาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทเ่ี หมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายมาก
ยิ่งขึ้น ซึ่งจะทำให้เกิดความชัดเจนมากขึ้น สามารถวัดผลประเมินผลได้ดีกว่า รวมถึงเป็นการใช้จ่าย
งบประมาณอย่างเหมาะสมและคุ้มค่า โดยเฉพาะช่วงอายุ 45 – 59 ปี ควรจะต้องมีการดำเนินการที่เข้มข้น
มากเป็นพิเศษกว่ากล่มุ อน่ื เพ่ือเป็นการเตรยี มความพรอ้ มในการเข้าสู่วยั สูงอายุ
3. ควรร่วมมือกับหน่วงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถานประกอบการ ภาคส่วนที่มีการจ้างงาน
เพือ่ ขับเคลื่อนการเตรยี มความพร้อมของประชาชนก่อนเข้าสูผ่ สู้ งู อายุในระยะก่อนเกษียณอายุ
4. กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้รับการจดั สรรงบประมาณแผนงานบูรณาการ
เป็นปีแรก สำหรับดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนำทยและการแพทย์ผสมผสาน
จำนวน 1.000 ล้านบาท โดยที่การแพทย์แผนไทยควรมีบทบาทกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุมากยิ่งข้ึน
เพราะเป็นลักษณะแนวสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งแง่สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการฟื้นฟู ซึ่งจะได้
ประโยชนม์ ากในกลมุ่ ผ้สู งู อายุ โดยเฉพาะการสรา้ งเสรมิ สุขภาพและเปน็ การป้องกันการเจ็บปว่ ยของผ้สู งู อายุได้
5. ควรบูรณาการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะว่าด้วยการออมเพื่อสังคมสูงวัย ให้เกิดผลอย่างเป็น
รูปธรรมโดยเร็ว ทั้งในภาพรวมระดับประเทศ และสนับสนนุ การทำงานขององค์กรชมุ ชนในพืน้ ที่ เพื่อส่งเสริม
และสนับสนุนการออมเพื่อสังคมสูงวัยในรูปแบบต่าง ๆ ในท้องถิ่น รวมถึงพัฒนารูปแบบและสื่อการเรียนการ
สอนวา่ ดว้ ยการออมและการจดั การครัวเรือนทเ่ี หมาะมกบั แตล่ ะกลุ่มวยั และกลุ่มประชากรผ่านชอ่ งทางต่าง ๆ
ตลอดจนการออมรูปแบบอื่น ๆ เช่น การปลูกต้นไม้เพื่อการออม การออมผ่านมูลค่าของอสังหาริมทรัพย์
การออมเวลา การออมขยะ การออมน้ำ การออมในรปู แบบของการปศสุ ัตว์ ฯลฯ
6. ควรส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
ต่อการเสริมสร้างสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี โดยเฉพาะกลไกศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ
ผู้สูงอายุ และศูนย์ชมรมผู้สูงอายุ เพื่อให้เป็นพื้นที่กลางท่ีเป็นสถานที่ที่เป็นมิตร ภายใต้การบริหาร
และดำเนนิ การด้วยการมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะภาคประชาสงั คมและประชาชน
7. ควรพัฒนาระบบและกลไกเชิงรุกเพื่อสนับสนุนการสร้างความรอบรู้สำหรับรองรับสังคมสูงวัย
สนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนและทุกภาคส่วนในการสร้างสังคมรอบรู้ ผ่านกลไก/เครื่องมือการสร้าง
นโยบายแบบมีส่วนร่วม รวมทั้งมาตรการติดตาม ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข ข้อมูลข่าวสารที่เผยแพร่อยู่ใน
ชุมชน/สังคมผ่านชอ่ งทางตา่ ง ๆ ให้ถกู ต้อง เท่าสถานการณ์และสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาตแิ ละเป้าหมายการ
พฒั นาประเทศ
สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 25 สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรบั สงั คมสูงวยั
8. ควรศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้มาตรการทางภาษี การเงิน และการศึกษาโดยใช้ชุมชน
เป็นฐาน และอน่ื ๆ ในการสง่ เสรมิ ให้เอกชน มลู นิธิ กิจการเพอ่ื สงั คม มกี จิ กรรม/โครงการสนับสนุนการเตรียม
ความพร้อมเพ่ือรองรับสังคมสงู วัย
9. ควรยกระดับการดำเนินงานเกี่ยวกับข้อเสนอเชิงนโยบายระดับต่าง ๆ ไปสู่การขับเคลื่อน
และผลักดันข้อเสนอเหล่านั้นไปสู่การปฏิบัตอิ ย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงพัฒนากลไกการติดตามข้อเสนอ การ
ทบทวนและพฒั นาขอ้ เสนอ ฯลฯ ท้งั น้ี โดยต้ังอย่บู นฐานการมีสว่ นร่วมของภาคทกุ ส่วนอย่างแท้จรงิ และเป็น
การมสี ว่ นรว่ มตลอดทั้งสายของกระบวนการ กล่าวคือ ต้ังแตก่ ารวางแผน การดำเนนิ กจิ กรรม การใช้ประโยชน์
และการไดร้ บั ประโยชน์ ทง้ั น้ี ควรกำหนดให้เปน็ นโยบาย พนั ธกจิ หลัก และตวั ชวี้ ัดสำคญั
10. การส่งเสริมความรู้ควรดำเนินการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นสำคัญ เพื่อลดงบประมาณ
ค่าใช้จ่าย รวมถึงพิจารณาขยายกลุ่มเป้าหมาย พัฒนากระบวนการส่งเสริมความรู้ การวัดผลประเมินผล
ตลอดจนการขยายผลในวงกวา้ งมากย่งิ ขน้ึ
11. ควรกำหนดให้มีโครงการที่เป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ของผู้สูงอายุเพื่อให้แก่
สงั คม จะเป็นการสร้างคณุ ค่า ความภมู ิใจ ความมนั่ ใจ ให้แกก่ ลุ่มผ้สู ูงอายุทเี่ ปน็ ผู้รับสวัสดกิ ารจากสังคม แลว้ ยัง
เป็นผ้สู ร้างคุณประโยชน์ให้สงั คมดว้ ย
12. ควรขับเคล่อื นการดำเนินงานโดยบรู ณาการกับหน่วยงานระดับทอ้ งถิน่ ให้มากขึ้นเพ่ือประสิทธิผล
ในการปฏบิ ตั ิงานทีส่ ่งถึงประชาชนอย่างแทจ้ ริง
13. ควรร่วมมือกับหน่วงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถานประกอบการ ภาคส่วนที่มีการจ้างงาน
เพือ่ ขับเคลือ่ นการเตรยี มความพร้อมของประชาชนก่อนเข้าส่ผู สู้ งู อายใุ นระยะก่อนเกษียณอายุ
14. แผนงานบูรณาการฯ มีแนวทางอย่างใดนอกเหนือจากการดูแลผู้สูงอายุแล้ว จะมีแผนงาน
งบประมาณสำหรับการนำภูมิปัญญาความรู้และประสบการณ์ของผู้สูงอายุมาประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์
ต่อสงั คม
15. ควรมีแนวทางในการช่วยเหลือและพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุในกลุ่ม Disabilities and
Aging และควรมแี นวทางช่วยเหลือและดูแลผ้สู ูงอายใุ นการดำรงชีวิตเพื่อไมใ่ ห้เกดิ ปัญหาการถูกทอดท้ิง
16. ควรมีการประชาสัมพันธ์การกู้ยืมเงินหรือขอรับการสนับสนุนจากกองทุนผู้สูงอายุให้เข้าถึง
ประชาชนมากยิง่ ขน้ึ
17. ควรเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิของผู้สูงอายุ เช่น เงินสงเคราะห์ในการจัดการ
ศพตามประเพณีกองทนุ ผู้สงู อายุ การกู้ยมื เงินเพื่อเป็นทุนประกอบอาชีพ ฯลฯ รวมถึงปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์
และเง่ือนไขตา่ ง ๆ เพอื่ ให้สามารถเขา้ ถึงไดง้ า่ ยมากข้นึ
ข้อเสนอจากรายงานวิชาการ เรื่อง แนวทางการบริหาร
จัดการงบประมาณรายจ่ายด้านสวัสดิการสังคมสำหรับ
การดูแลผู้สูงอายุ (มิถุนายน 2562) โดยนายชูเกียรติ
รักบำเหนจ็ นกั วเิ คราะห์งบประมาณเชย่ี วชาญ
qrgo.page.link/jHUcy
สำนักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 26 สำนกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรยี มความพร้อมเพ่ือรองรับสังคมสูงวัย
สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 27 สำนักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรยี มความพร้อมเพ่ือรองรับสังคมสูงวัย
สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 28 สำนักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรยี มความพร้อมเพ่ือรองรับสังคมสูงวัย
สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 29 สำนักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรยี มความพร้อมเพ่ือรองรับสังคมสูงวัย
สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 30 สำนักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
แผนงานบรู ณาการเตรยี มความพรอ้ มเพ่ือรองรบั สังคมสูงวยั
PBO วเิ คราะหง์ บประมาณอย่างมอื อาชพี
เป็นกลาง และสรา้ งสรรค์
สำนักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 32 สำนกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร
เอกสารสำหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565