แผนงานบรู ณาการพฒั นาพื้นทีร่ ะดบั ภาค
ส่วนท่ี 1 ภาพรวมของแผนบูรณาการพัฒนาพื้นทร่ี ะดับภาค หน้า
ส่วนท่ี 2 วเิ คราะห์การจัดสรรงบประมาณของแต่ละพนื้ ท่ีภาค 1
13
2.1 พ้นื ที่ภาคกลาง 13
2.2 พนื้ ทภี่ าคใต้ 18
2.3 พนื้ ทภ่ี าคใตช้ ายแดน 24
2.4 พื้นที่ตะวนั ออก 29
2.5 พน้ื ท่ภี าคตะวันออกเฉียงเหนือ 34
2.6. พนื้ ที่ภาคเหนือ 41
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาพืน้ ที่ระดบั ภาค
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพ้ืนทีร่ ะดบั ภาค
ส่วนท่ี 1 :ภาพรวมของแผนบรู ณาการพฒั นาพืน้ ทีร่ ะดบั ภาค
1.วัตถุประสงค์ของแผนงาน : เพ่ือส่งเสริมให้เกิดการขับเคล่ือนเชิงพื้นที่ในระดับภาค สร้างโอกาสทาง
เศรษฐกิจเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันให้กระจายท่ัวทุกภูมิภาค โดยเสริมสร้างองค์ความรู้และเพิ่ม
ศักยภาพให้แกป่ ระชาชนในทุกพน้ื ที่ใหเ้ ป็นกลไกในการขับเคล่ือนและสร้างความเข้มแขง็ ให้กบั ประเทศในด้าน
เศรษฐกิจ สังคม สาธารณสุข วัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพ่ือเป็นรากฐานท่ีม่ันคง
และสร้างมูลคา่ เพมิ่ ใหแ้ ก่ประเทศ
2.ขอบเขตการดาเนินงาน - กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ได้รบั ประโยชน์ : ประชาชนในพ้ืนที่ 76 จังหวัด
- พน้ื ท่ีดาเนนิ การ : 6 ภาค 76 จงั หวัด
3.หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานเจ้าภาพ : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี หน่วยงานที่เก่ียวข้อง : 16 กระทรวง 72 หน่วยงาน 3 รัฐวิสาหกิจ 2 องค์กร
ปกครองสว่ นท้องถนิ่
แผนภาพความเชื่อมโยงการจัดทาแผนงานบรู ณาการพัฒนาพน้ื ที่ระดับภาค
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 6
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาพืน้ ที่ระดับภาค
1.ผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์จากการใชจ้ า่ ยงบประมาณ
ผลสมั ฤทธ์ิและประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับจากการใชจ้ ่ายงบประมาณ
แผนงานบรู ณาการพฒั นาพ้ืนทร่ี ะดับภาค ปี 2563-2564
เป้าหมายของ เศรษฐกิจระดบั ภาคเติบโตตามศักยภาพประชาชนมีความเป็นอยแู่ ละคณุ ภาพชีวิตดขี น้ึ
แผนงาน
ภาค ผลสัมฤทธ์ิและประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ ับจากการใช้จา่ ยงบประมาณ ค่าเปา้ หมาย
งบประมาณ
หนว่ ยนบั ปี 2563 ปี 2564
ตวั ช้ีวดั : อตั ราการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจของภาคกลางขยายตวั ไมต่ า่ รอ้ ยละ 3.50 3.50
ภาคกลาง กว่า ล้านบาท 2,753,012.1 2,849,367.5
3,030.2 : มลู ค่าผลติ ภัณฑ์มวลรวมภาค 0.400 0.400
ตวั ชี้วดั : คา่ สมั ประสทิ ธ์คิ วามไม่เสมอภาค (Gini Coenfficient)
ในการกระจายรายได้ภาคลดลงตา่ กวา่
ภาคใต้ ตวั ชี้วัด : อัตราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจของภาคใตข้ ยายตัวไม่ตา่ ร้อยละ 4.80 4.80
กว่า
4,180.5 : มลู คา่ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมภาค ลา้ นบาท 888,267.7 931,281.9
ตัวชว้ี ัด : คา่ สัมประสิทธค์ิ วามไมเ่ สมอภาค (Gini Coenfficient) 0.420 0.420
ในการกระจายรายไดภ้ าคใตล้ ดลงต่ากว่า
ภาคใต้ ตัวช้ีวดั : อัตราการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจของภาคใตช้ ายแดนเพ่ิมขึ้น ร้อยละ 3.02 3.02
ชายแดน ไมต่ า่ กวา่
: มูลคา่ ผลิตภัณฑม์ วลรวมภาค ล้านบาท 91,509.2 94,273.2
1,093.1 ตวั ชี้วัด : ค่าสัมประสิทธค์ิ วามไม่เสมอภาค (Gini Coenfficient) 0.445 0.445
ในการกระจายรายได้ภาคใต้ชายแดนลดลงต่ากวา่
ภาค ตวั ชวี้ ดั : อตั ราการการขยายตัวของมลู ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาค รอ้ ยละ 6.50 6.50
ตะวนั ออก ตะวันออกขยายตวั ไม่น้อยกวา่
: มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาค ล้านบาท 2,119,352.9 2,257,110.9
2,276.5 ตัวชี้วัด : ค่าสมั ประสิทธิ์ความไมเ่ สมอภาค (Gini Coenfficient) 0.397 0.397
ในการกระจายรายไดภ้ าคตะวนั ออกนอ้ ยกวา่
ภาค ตัวชวี้ ดั : อตั ราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของภาค รอ้ ยละ 3.50 3.50
ตะวนั ออก ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ขยายตัวไมต่ า่ กวา่
เฉียงเหนือ : มลู คา่ ผลติ ภัณฑ์มวลรวมภาค 1,024,366.2 1,060,219.0
7,826.4 ตวั ช้ีวัด : คา่ สมั ประสิทธค์ิ วามไมเ่ สมอภาค (Gini Coenfficient) 0.446 0.446
ในการกระจายรายได้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือลดลงต่ากวา่
ภาคเหนอื ตวั ชว้ี ัด : อัตราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจของภาคเหนือขยายตวั รอ้ ยละ 3.00 3.00
เพิ่มขนึ้ ไม่ตา่ กว่า
3,782.3 : มูลคา่ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมภาค ล้านบาท 719,977.856 741,577.191
29
ตวั ชี้วดั : คา่ สัมประสทิ ธิค์ วามไมเ่ สมอภาค (Gini Coenfficient) 0.417 0.417
ในการกระจายรายได้ภาคเหนอื ลดลงตา่ กว่า
ท่ีมา : เอกสารงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับที่ 3 เลม่ ที่ 18 (2) สานกั งบประมาณ
ประมวลและจดั ทาโดย : สานักงบประมาณของรฐั สภา
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 7
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาพืน้ ท่ีระดับภาค
จากตารางข้างต้น จะเห็นว่าในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีการกาหนดตัวช้ีวัดของผลสัมฤทธ์ิและ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ ของการดาเนินงานภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นท่ี
ระดับภาค ทั้ง 6 ภาค ไว้ 3 ปัจจัย ได้แก่
1.การขยายตัวของอตั ราการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจของภาค
2.มูลค่าผลติ ภณั ฑม์ วลรวมของภาค
3.ค่าสมั ประสทิ ธ์ิความไมเ่ สมอภาค (Gini Coenfficient) ในการกระจายรายได้ของภาค
อย่างไรก็ เพื่อให้สะท้อนประสิทธิภาพการใช้จ่ายเงิน จึงได้มีการกาหนดค่าเป้าหมายของตัวชี้วัดให้
แตกต่างกันไปตามศักยภาพการพัฒนาของแต่ละพื้นที่ โดยพื้นที่ภาคตะวันออกได้กาหนดค่าเป้าหมายตัวช้ีวัด
ผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณไวค้ ่อนข้างสูงกว่าทุกภาค ตามศักยภาพ
ของพื้นที่ท่ีมคี วามพร้อมท่ีจะพัฒนาและยกระดับตามตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์โดยคาดหวังอัตราการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจขยายตัวไม่ต่ากว่ารอ้ ยละ 6.50 มมี ูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาค จานวน 2,119,352.9683 ล้านบาทและ
คา่ สมั ประสทิ ธค์ิ วามไม่เสมอภาค (Gini Coefficient) ของรายได้ลดตา่ กวา่ 0.397
2. ภาพรวมการจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีการจัดสรรงบประมาณให้แก่ สว่ นราชการ จังหวดั กลุ่มจังหวัดและ
รัฐวิสาหกิจท่ีดาเนินงานในพ้ืนท่ีภาคต่างๆ ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนที่ระดับภาค ท้ัง 6 ภาค เป็น
จานวน 22,189.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ท่ีได้รับจัดสรรจานวน 20,147.3 ล้าน
บาท ) จานวน 2042.2 ล้านบาท หรอื เพ่ิมข้ึนคิดเป็นรอ้ ยละ 10.13 จากปีท่ีผ่านมา โดยมีรายละเอียดการ
จัดสรรงบประมาณในแตล่ ะพ้นื ท่ภี าค ดังตารางตอ่ ไปนี้
ภาพรวมของการจดั สรรงบประมาณแผนงานบูรณาการพัฒนาพืน้ ทร่ี ะดับภาค ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
หนว่ ย : ล้านบาท
พืน้ ท่ีภาค จานวนจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
จานวน สัดส่วน เฉล่ีย/จงั หวดั
รวมท้ังส้นิ 76 22,189.5 100% 292.0
1. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 20 7,826.4 35.3 391.3
2. ภาคใต้ 11 4,180.5 18.8 380.0
3. ภาคเหนอื 17 3,782.3 17.0 222.5
4. ภาคกลาง 17 3,030.2 13.7 178.2
5. ภาคตะวนั ออก 8 2,276.5 10.3 284.6
6. ภาคใต้ชายแดน
3 1,093.1 4.9 364.4
ที่มา : เอกสารงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบบั ที่ 3 เล่มที่ 18 (2) สานกั งบประมาณ
ประมวลและจัดทาโดย : สานกั งบประมาณของรัฐสภา
จากตารางข้างต้น การจัดสรรกรอบในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นท่ี
ระดับภาค ของพื้นท่ีในแต่ละพื้นที่ภาค จะพบว่า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
สูงสุดจานวน 7,826.4 ล้านบาท คิดเป็นสดั ส่วนรอ้ ยละ 35.3 ตามดว้ ย ภาคใต้ จานวน ล้านบาท เป็นสดั สว่ น
รอ้ ยละ 18.8 และ ภาคเหนือ จานวน ลา้ นบาท คิดเป็นสดั สว่ นร้อยละ 17.0 ของงบประมาณทง้ั หมด
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 8
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาพนื้ ทร่ี ะดบั ภาค
อย่างไรก็ตาม เม่ือพิจาณางบประมาณเฉลี่ยต่อพื้นที่แต่ละจังหวัดของแต่ละภาคปรากฏว่า ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือยังเป็นภาคท่ีมีค่าเฉลี่ยตัวจังหวัดสูงสุดที่ 391.3 ล้านบาท/จังหวัด ตามด้วยภาคใต้
380.0 ล้านบาท/จังหวัด ภาคใต้ชายแดน 364.4 ล้านบาท/จังหวัด ภาคตะวันออก 284 ล้านบาท/จังหวัด
และภาคเหนือ 222.5 ล้านบาท/จังหวัด ตามลาดับ ในขณะที่ภาคกลางมีค่าเฉล่ียต่อจังหวัดน้อยที่สุดเพียง
178 ล้านบาท/ตอ่ จังหวัด
3.งบประมาณจาแนกตามประเภทงบรายจ่าย
เมื่อพิจารณาภาพรวมของการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของแผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนที่ระดับ
ภาค ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากงบประมาณ รวมทั้งส้ิน 22,2189.5131 ล้านบาท จาแนกตาม
ประเภทงบรายจ่าย พบว่างบประมาณส่วนใหญ่กว่ารอ้ ยละ 94 เป็นงบลงทุน ตามด้วยงบเงินอุดหนุน ร้อยละ
4 ของงบประมาณทั้งหมด ดังแผนภาพ ต่อไปนี้
1) งบดาเนนิ งาน จานวน 189.1200 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 1
2) งบลงทนุ จานวน 20,764.6327 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 94
3) งบเงินอุดหนุน จานวน 995.5671 ลา้ นบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 4
4) งบรายจ่ายอืน่ จานวน 240.1933 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1
สานกั งบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 9
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพืน้ ที่ระดบั ภาค
4. การจัดสรรงบประมาณจาแนกตามแนวทางการดาเนนิ งาน ตัวชีว้ ัด และสัดส่วนงบประมาณ
แนวทางการดาเนนิ งานและกรอบวงเงนิ ของแผนงานบูรณาการพัฒนาพ้นื ท่รี ะดับภาค ปี 2564
เปา้ หมาย : เศรษฐกิจระดบั ภาคเติบโตตามศกั ยภาพประชาชนมีความเป็นอยแู่ ละคุณภาพชีวิตดีขน้ึ
แนวทางการดาเนนิ งาน งบประมาณ สดั ส่วน
(ร้อยละ)
1. เพมิ่ ศักยภาพภาคอตุ สาหกรรมการค้าและการลงทนุ 3,832.5932 17.24
พ้ืนท่ี : ภาคกลาง, ภาคใต้, ภาคตะวันออก,ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 125.3590*
ภาคเหนอื
2. เพมิ่ ศักยภาพภาคการเกษตร 794.6254 3.37
พ้ื น ที่ : ภ าคกลาง, ภ าคใต้ , ภ าคใต้ ชายแดน , ภ าคตะวันออก , 25.0000*
ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื , ภาคเหนอื
3. เพิม่ ศกั ยภาพการท่องเที่ยวและบริการ 6,698.5446 30.18
พ้ื นที่ : ภาคกลาง,ภาคใต้ ,ภาคใต้ชายแดน, ภาคตะวันออก,ภาค 37.6830*
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื , ภาคเหนือ
4. พัฒนาด้านสังคม ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ 617.0333 2.78
พน้ื ที่ : ภาคกลาง, ภาคใต้ชายแดน, ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 157.2439*
5. พัฒนาพ้ืนที่ระดับภาคด้านการสร้างโอกาสและความเสมอ 471.1690 2.12
ภาคทางสงั คม
พ้นื ที่ : ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ, ภาคเหนอื 5.1491*
6. บรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 9,775.5476 44.05
พื้นที่ : ภาคกลาง, ภาคใต้, ภาคตะวันออก,ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, -
ภาคเหนือ
รวม 22,189.5131 1000
ทีม่ า : เอกสารงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบบั ที่ 3 เลม่ ท่ี 18 (2) สานกั งบประมาณ
ประมวลและจดั ทาโดย : สานักงบประมาณของรัฐสภา
*เงนิ นอกงบประมาณทน่ี ามาสมทบจ่าย
จากตารางข้างต้น เมื่อพิจารณาการจัดสรรงบประมาณของแต่ละแนวทางการดาเนินงานพบว่า ใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนทีภ่ าคให้ความสาคญั กบั การดาเนินงานในแนวทางต่างๆ
ตามลาดับ ดงั น้ี
ลาดับที่1.แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้รับงบประมาณ
จานวน 9,775.5476 ล้านบาท คดิ เปน็ สดั ส่วนรอ้ ยละ 44.05 ของงบประมาณท้ังแผนงาน
ลาดับท่ี 2.แนวทางการเพ่ิมศักยภาพการท่องเท่ียวและบริการ ได้รับงบประมาณ จานวน 6,698.5446
ล้านบาท คิดเปน็ สดั สว่ นร้อยละ 30.18 ของงบประมาณทั้งแผนงาน
ลาดับที่ 3.แนวทางการเพิ่มศักยภาพภาคอุตสาหกรรม การค้าและการลงทุน ได้รับงบประมาณ
จานวน 3,832.5932 ล้านบาท คดิ เป็นสดั ส่วนร้อยละ 17.24 ของงบประมาณท้ังแผนงาน
สานกั งบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 10
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้นื ทีร่ ะดับภาค
ลาดบั ท่ี 4 แนวทางการเพมิ่ ศักยภาพภาคการเกษตร ไดร้ บั งบประมาณ จานวน 794.6254 ล้านบาท
คดิ เป็นสัดส่วนรอ้ ยละ3.37 ของงบประมาณทั้งแผนงาน
ลาดบั ท่ี 5 แนวทางการพฒั นาดา้ นสังคม ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ได้รับงบประมาณ จานวน
617.0333ล้านบาท คิดเปน็ สดั สว่ นรอ้ ยละ 2.78 ของงบประมาณท้ังแผนงาน
ลาดับท่ี 6 แนวทางการพัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาคด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ไดร้ ับงบประมาณ จานวน 471.1690 ล้านบาท คิดเป็นสัดสว่ นรอ้ ยละ 2.12 ของงบประมาณท้งั แผนงาน
ทั้งนี้ จะเห็นว่าการดาเนินงานของแผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นที่ระดับภาค ในปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 น้ี ได้ให้น้าหนักกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการเพ่ิมศักยภาพการ
ท่องเที่ยวและบริการสูงมาก โดยมีงบประมาณรวมกันกว่า 16,474.0922 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
74.24 ของงบประมาณท้ังหมดของแผนงาน
ขอ้ สังเกต PBO
1.ได้ใช้แผนพัฒนาภาคเป็นกรอบในการบูรณาการการทางานจริงหรือไม่ การจัดสรรงบประมาณ
ภายใต้แผนงานบูรณาการพฒั นาพ้ืนที่ระดบั ภาคเปน็ การบรู ณาการการทางานของส่วนราชการ หน่วยงานของ
รัฐ และรัฐวิสาหกิจในพ้ืนท่ีภาค โดยยึดแผนพัฒนาภาคของแต่ละภาคเป็นแนวทางการการดาเนินงาน ซ่ึง
จะต้องมีเป้าหมายร่วมกัน มีกรอบวงเงินงบประมาณ กลุ่มกิจกรรม โครงการ และลาดับขั้นตอนการ
ดาเนนิ งาน ภายใตก้ ารกากบั ดแู ลทนี่ าไปสกู่ ารบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ร่วมกนั ภายหว้ งระยะเวลาทกี่ าหนด
โครงการ/กิจกรรมภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาค ต้องเป็นโครงการที่ส่งผลต่อ
ภาพรวมการพัฒนาระดับภาค ตามแผนพัฒนาภาค และมีระยะเวลาการดาเนินงานให้แล้วเสร็จภายในห้วง
ระยะเวลาตามยทุ ธศาสตร์ท่ี 9 ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติฉบบั ที่ 12
อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาการจัดสรรงบประมาณภายใต้แผนงานดังกล่าว เสมือนว่าเป็นการ
รวบรวมกิจกรรม/โครงการ และงบประมาณ ในการดาเนินงานตามภารกจิ และอานาจหน้าทข่ี องส่วนราชการ
หน่วยงานของรัฐ และรฐั วสิ าหกิจน้ันๆ ท่ีดาเนินการตามแผนปฏิบัติงานของหน่วยงานอยู่แล้ว นามาเรียงร้อย
ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาของแต่ละภาคเท่านั้น จึงเป็นภาพว่าในทุกพื้นที่ภาค
งบประมาณส่วนใหญ่ยังกระจุดตัวอยู่กับกิจกรรม/โครงการการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน แหล่งน้า ถนน
หนทาง สาธารณูปการต่างๆ ท้ังท่ี ในแต่ละพน้ื ที่ภาคมีแนวคิดการพัฒนาและเป้าหมายเชิงยทุ ธศาสตร์ สภาพ
ปัญหาและศักยภาพของพ้นื ที่ที่แตกตา่ งกัน
2.งบประมาณส่วนใหญ่ยังเป็นค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการจัดทาโครงสร้างพ้ืนฐาน จะด้วยความ
บงั เอิญหรอื ไมท่ ่ีหนว่ ยงาน ซึ่งได้รับการจัดสรรงบประมาณสูงสุดของแตล่ ะพ้ืนท่ภี าค ในลาดบั ตน้ ๆ ได้แก่ กรม
ชลประทานไดร้ ับจัดสรรงบประมาณรวมทั้ง 6 พ้ืนท่ภี าค รวมจานวน 8,3717.7624 ลา้ นบาท กรมทางหลวง
รวมจานวน 5,081.9000 ล้านบาท และกรมทางหลวงชนบท รวมจานวน 1,235.5113 ล้านบาท เม่ือ
รวมกันทั้ง 3 หน่วยงานเป็นงบประมาณถึง 14,689.1737 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 66.19 จาก
งบประมาณทั้งหมดของแผนงานฯ จานวน 22189.5131 ล้านบาท ย่อมแสดงให้เห็นว่าการจัดสรร
งบประมาณท่ียังยึดติดกับความเป็นเจ้าของงบประมาณของหน่วยรับงบประมาณ (Function) มากกว่า
การบรู ณาการการทางานในเชิงพ้ืนท่ี (Area) ทั้งท่ี ได้มีการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาของแต่ละภาค
เป็นกรอบในการดาเนินงานท่ีมีความแตกต่างกันไปตามสภาพปัญหา ความต้องการ และศักยภาพ และ
เปา้ หมายการพฒั นาของพนื้ ท่ี แต่แทบไมม่ ผี ลตอ่ การจัดสรรงบประมาณแต่อยา่ งใด
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 11
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพ้นื ทร่ี ะดบั ภาค
3.งบประมาณใต้ภายแผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นที่ระดับภาคอาจไม่เพียงพอต่อการขับเคล่ือน
การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ภาค การบริหารเชิงพื้นท่ีภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาคเป็นการ
ขับเคล่ือน ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นท่ีเศรษฐกิจ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เกิดการขับเคล่ือนเชิงพ้ืนที่ในระดับภาค สร้างโอกาสทาง
เศรษฐกิจเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กระจายทั่วทุกภูมิภาค โดยเสริมสร้างองค์ความรู้และเพิ่ม
ศกั ยภาพให้แก่ประชาชนในทุกพนื้ ที่ใหเ้ ป็นกลไกในการขับเคล่ือนและสร้างความเข้มแข็งให้กบั ประเทศในดา้ น
เศรษฐกิจ สังคม สาธารณสุข วัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพ่ือเป็นรากฐานที่มั่นคง
และสร้างมลู คา่ เพม่ิ ให้แก่ประเทศ
อย่างไรก็ตาม จากการติดตามการจัดสรรงบประมาณของแผนบูรณาการพัฒนาพ้นื ที่ระดับภาคพบว่า
งบประมาณท่ีได้รับจัดสรรในแต่ละปีประมาณ 2 หมื่นล้านบาท แต่ด้วยวัตถุประสงค์และความสาคัญของ
แผนพัฒนาภาค งบประมาณที่จากัดอาจไม่มากพอท่ีจะนาไปสกู่ ารดาเนนิ งานท่ีสร้างความเปลยี่ นแปลงในเชิง
โครงสรา้ งตามทค่ี าดหวงั ไวไ้ ด้
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 12
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาพ้นื ท่ีระดับภาค
สว่ นที่ 2 วิเคราะหก์ ารจดั สรรงบประมาณของแตล่ ะพ้ืนที่ภาค
1. พ้นื ทีภ่ าคกลาง
พื้นที่ภาคกลาง
“พัฒนากรงุ เทพฯ สู่มหานครทนั สมัยและภาค
กลางเปน็ ฐานการผลิตสนิ คา้ และบริการท่มี ี
มลู คา่ สูง”
1.นนทบรุ ี 2.ปทมุ ธานี
3.พระนครศรีอยุธยา
4.สระบุรี 5.ชยั นาท
6.ลพบรุ ี 7.สิงหบ์ ุรี
8.อา่ งทอง 9.กาญจนบรุ ี
10.นครปฐม 11.ราชบุรี
12.สพุ รรณบรุ ี 13.เพชรบรุ ี
14.ประจวบคีรีขนั ธ์
15.สมุทรสงคราม 16.สมุทรสาคร
17.สมุทรปราการ
ประเดน็ การพฒั นาตามแผนพัฒนาภาคกลางและพืน้ ท่กี รุงเทพมหานคร พ.ศ. 2560 - 2565 ฉบับ
ทบทวน (กรกฎาคม 2562) มีสาระสาคญั ดงั นี้
1.1 แนวคิดการพฒั นาและเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
ภาคกลางมบี ทบาทสาคัญในการเช่ือมโยงกับทกุ ภาคภายในประเทศ การพัฒนาภาคกลางสู่ความ “มั่นคง
ม่ังคั่ง ย่ังยืน” จาเป็นต้องรักษาความมีช่ือเสียงของกรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองช้ันน้าระดับโลกตลอดไป
ควบคู่ไปกับการใช้ศักยภาพพื้นฐานด้านความอุดม สมบูรณ์ของดินและน้า และความพร้อมของ
สถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัยในการยกระดับภาคการเกษตรสู่ เกษตรอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยี และ
นวัตกรรมเพื่อผลิตสินค้าและบริการที่มีมูลค่าสูง รวมท้ังการพัฒนา เส้นทางลัดโลจิสติกส์เช่ือมโยงทวาย
(เมียนมา) กับระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เพ่ือให้ภาคกลาง เป็นพ้ืนที่ยุทธศาสตร์ในการ
เชอื่ มโยงเส้นทางการค้าการขนส่งระหว่างทะเลตะวันตกและทะเลตะวันออกในระยะยาว โดยมเี ป้าหมายท่จี ะ
“พัฒนากรุงเทพฯ สู่มหานครทันสมัยและภาคกลางเป็นฐานการผลิตสินค้าและบริการท่ีมีมูลค่าสูง”
ภายใตย้ ุทธศาสตรก์ ารพัฒนา การพฒั นาทส่ี าคญั ดงั น้ี
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนากรุงเทพฯ เปน็ มหานครทันสมยั ระดับโลกควบคูก่ บั การพฒั นา คุณภาพชวี ิต
และแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมเมอื ง
สานกั งบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 13
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพืน้ ทีร่ ะดับภาค
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 พัฒนาคุณภาพแหลง่ ท่องเที่ยวทีม่ ชี ื่อเสยี งระดบั นานาชาตแิ ละสรา้ งความเช่อื มโยง
เพอ่ื กระจายการท่องเท่ยี วทวั่ ท้งั ภาค
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ยกระดับการผลติ สนิ ค้าเกษตรและอุตสาหกรรมโดยใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และ
ความคิดสรา้ งสรรค์ เพ่ือให้สามารถแข่งขนั ไดอ้ ย่างยัง่ ยืน
ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 บรหิ ารจดั การน้าและทรัพยากรธรรมชาตเิ พื่อแก้ไขปญั หานา้ ท่วม ภยั แลง้ และคง
ความสมดุลของระบบนิเวศอยา่ งยั่งยนื
ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 เปดิ ประตกู ารคา้ การลงทุน และการท่องเทยี่ ว เชื่อมโยง เขตเศรษฐกจิ พิเศษทวาย-
ภาคกลาง-ระเบยี งเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก
ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 พัฒนาความเชือ่ มโยงเศรษฐกจิ และสังคมกับทกุ ภาคเพ่อื เสริมสรา้ งเสถยี รภาพและ
ลดความเหล่ือมล้าภายในประเทศ
1.2 โครงสรา้ งการจัดสรรงบประมาณและแนวทางการดาเนนิ งาน
ตารางแสดงงบประมาณตามแนวทางการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของพ้ืนทภ่ี าคกลาง
หนว่ ย : ล้านบาท
แนวทางการดาเนนิ งาน งบประมาณ สัดส่วน
1.แนวทาง เพิ่มศกั ยภาพภาคอุตสาหกรรม การค้าและการลงทุน 43.2562 1.42
1.กลมุ่ โครงการ โครงการสง่ เสริมอตุ สาหกรรมการค้าการลงทุน 6.0775
ตวั ชีว้ ดั /เป้าหมาย อัตราการขยายตวั การผลติ สนิ ค้าสาขาอตุ สาหกรรมภาคกลางเพิม่ ขนึ้ ไม่ตา่ กวา่ รอ้ ยละ 3.2 37.1787
พืน้ ทด่ี าเนินการ : จงั หวัดสมทุ รสาคร
หน่วยงาน: กรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม
2.กลุ่มโครงการ โครงการส่งเสริมการคา้ ชายแดน
ตวั ชว้ี ัด/เป้าหมาย มูลคา่ การคา้ ชายแดนเพิ่มข้ึนไม่ต่ากวา่ รอ้ ยละ 2
พนื้ ทด่ี าเนนิ การ : จังหวัดกาญจนบุรี ประจวบครี ีขนั ธ์
หน่วยงาน: สานักงานปลดั กระทรวงพาณชิ ย์ กรมโยธาธกิ าร
2.แนวทาง เพม่ิ ศักยภาพภาคการเกษตร 32.2614 1.06
1.กลมุ่ โครงการ โครงการพัฒนาและส่งเสรมิ การเกษตร 32.2614
ตัวชว้ี ัด/เปา้ หมาย
พน้ื ทด่ี าเนินการ : อตั ราการขยายตัวการผลิตภาคการเกษตรภาคกลางเพ่ิมขน้ึ ไมต่ ่ากว่ารอ้ ยละ 1.9
หน่วยงาน: 1.นนทบรุ ี 2.ปทุมธานี 3.พระนครศรอี ยธุ ยา 4.สระบรุ ี 5.ชยั นาท 6.ลพบรุ ี 7.สงิ หบ์ รุ ี 8.อา่ งทอง 9.
3.แนวทาง กาญจนบรุ ี 10.นครปฐม 11.ราชบรุ ี 12.สพุ รรณบรุ ี 13.เพชรบุรี 14.ประจวบครี ขี ันธ์ 15.สมุทรสงคราม 16.
สมทุ รสาคร 17.สมทุ รปราการ
กรมการขา้ ว กรมพฒั นาที่ดิน สานกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ิทลั และ สานกั งานปลดั กระทรวงพาณิชย์
เพิ่มศกั ยภาพภาคการท่องเทยี่ วและบริการ 1,347.2317 44.46
1. กลุ่มโครงการ พัฒนาและส่งเสริมการท่องเท่ยี วเชิงประวตั ศิ าสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม 995.8256
ตัวช้วี ัด/เปา้ หมาย รายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี วภาคกลางเพิม่ ขนึ้ ไม่ตา่ กวา่ ร้อยละ 15
พ้ืนท่ดี าเนินการ : พระนครศรอี ยธุ ยา สมุทรปราการ ราชบุรี .สุพรรณบรุ ี .เพชรบรุ ี
.สระบุรี ลพบรุ ี สิงห์บรุ ี อา่ งทอง กาญจนบุรี สมทุ รสาคร
หนว่ ยงาน: กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท กรมศิลปากร และการประปาส่วนภมู ภิ าค
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 14
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาพนื้ ทรี่ ะดบั ภาค
แนวทางการดาเนนิ งาน งบประมาณ สัดสว่ น
2. กลมุ่ โครงการ พัฒนาและสง่ เสริมการทอ่ งเทยี่ วเชงิ ธรรมชาติและนเิ วศน์ 351.4061 11.27
ตัวชวี้ ัด/เปา้ หมาย
พ้ืนทด่ี าเนนิ การ : รายไดจ้ ากการท่องเทีย่ วภาคกลางเพมิ่ ขนึ้ ไม่ต่ากว่า รอ้ ยละ 15
หน่วยงาน: 1.นนทบุรี 2.ปทมุ ธานี 3.พระนครศรอี ยธุ ยา 4.สระบรุ ี 5.ชยั นาท 6.ลพบรุ ี 7.สงิ หบ์ รุ ี 8.อา่ งทอง 9.
4.แนวทาง กาญจนบุรี 10.นครปฐม 11.ราชบุรี 12.สุพรรณบุรี 13.เพชรบรุ ี 14.ประจวบคีรีขันธ์ 15.สมทุ รสงคราม 16.
สมทุ รสาคร 17.สมทุ รปราการ
กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง และการประปาส่วนภมู ภิ าค
พฒั นาด้านสงั คมยกระดบั คุณภาพชีวติ 341.7398
1. กลมุ่ โครงการ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตประชาชนในกรงุ เทพมหานครและพ้นื ทภ่ี าคกลาง 341.7398
ตวั ชว้ี ัด/เปา้ หมาย ด้านสงั คมไดร้ บั การปรบั ปรงุ พฒั นาประชาชนมีคุณภาพชีวิตดขี ้นึ ร้อยละ 1 (157.2439)*
พนื้ ท่ีดาเนินการ : 1.นนทบรุ ี 2.ปทมุ ธานี 3.พระนครศรีอยธุ ยา 4.สระบรุ ี 5.ชยั นาท 6.ลพบุรี 7.สิงหบ์ ุรี 8.อา่ งทอง 9.
หน่วยงาน: กาญจนบุรี 10.นครปฐม 11.ราชบุรี 12.สพุ รรณบุรี 13.เพชรบรุ ี 14.ประจวบคีรขี ันธ์ 15.สมุทรสงคราม 16.
5.แนวทาง สมทุ รสาคร 17.สมทุ รปราการ
มหาวิทยาลัยมหดิ ล กรมทางหลวงชนบท การประปาส่วนภูมภิ าค
*เป็นเงินนอกงบประมาณทีก่ ารประปาสว่ นภมู ภิ าครว่ มสมทบจา่ ย
การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม 1,265.6804 41.76
1.กลุ่มโครงการ บริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละแก้ไขปัญหาสิง่ แวดลอ้ ม 1,265.6804
ตัวช้ีวัด/เปา้ หมาย
พ้ืนทด่ี าเนนิ การ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มดขี นึ้ ร้อยละ 1
หนว่ ยงาน 1.นนทบุรี 2.ปทมุ ธานี 3.พระนครศรอี ยธุ ยา 4.สระบรุ ี 5.ชัยนาท 6.ลพบรุ ี 7.สิงห์บรุ ี 8.อา่ งทอง 9.
กาญจนบรุ ี 10.นครปฐม 11.ราชบุรี 12.สุพรรณบุรี 13.เพชรบุรี 14.ประจวบคีรขี ันธ์ 15.สมุทรสงคราม 16.
สมทุ รสาคร 17.สมทุ รปราการ
กรมการชลประทาน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรมปา่ ไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธ์ุ
พืช และกรมโยธาธิการและผงั เมอื ง
รวม 3,030.1695 100
ทม่ี า : เอกสารงบประมาณประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ฉบบั ที่ 3 เล่มท1ี่ 8 (2) สานักงบประมาณ
ประมวลและจัดทาโดย : สานักงบประมาณของรฐั สภา
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พ้ืนที่ภาคกลางได้รับการจัดสรรงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการ
พัฒนาพื้นท่ีระดับภาค จานวนทั้งส้ิน 3,030.1695 ล้านบาท มีการจัดสรรสาหรับการดาเนินงานภายใต้
แนวทางตา่ งๆ รวม 5 แนวทาง สาหรบั แนวทางการพัฒนาพืน้ ท่รี ะดบั ภาคด้านการสร้างโอกาสและความเสมอ
ภาคทางสงั คมนน้ั ไมม่ กี ารจัดสรรงบประมาณเพ่ือการดงั กลา่ ว
ท้งั น้ี การจัดสรรงบประมาณของพืน้ ท่ีภาคกลางได้ให้ความสาคัญกับการดาเนินงานในแนวทางต่างๆ
ตามลาดับดงั นี้
1.แนวทางท่ี 3 การเพิ่มศักยภาพภาคการท่องเท่ียวและบริการ ด้วยงบประมาณจานวน
1,347.2317 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 44.46 ของงบประมาณทัง้ หมด
2.แนวทางท่ี 6 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยงบประมาณจานวน
1,265.6804 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 41.76 ของงบประมาณทั้งหมด
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 15
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพน้ื ทร่ี ะดับภาค
3.แนวทางท่ี 4 พัฒนาด้านสงั คมยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ด้วยงบประมาณจานวน 341.7398 คิดเป็น
ร้อยละ 11.27 ของงบประมาณทั้งหมด (แต่ท้ังน้ี ในแนวทางที่ 4 ยังไม่รวมเงินนอกงบประมาณของการประปา
สว่ นภูมิภาคทนี่ ามาสมทบจ่ายกบั งบประมาณรายจา่ ยประจาปอี กี จานวน 157.2439 ล้านบาท)
สาหรับแนวทางที่ 1 เพิ่มศักยภาพภาคอุตสาหกรรม การค้าและการลงทุน และ แนวทางท่ี 2 เพ่ิม
ศักยภาพภาคการเกษตรได้รับการจัดสรรงบประมาณน้อยมากเพียงร้อยละ 1 ของประมาณท้ังหมด
โดยประมาณ
ท้ังนี้ สานักงบประมาณของรัฐสภาเห็นว่า การจัดสรรงบประมาณ ของพ้ืนท่ีภาคกลางควรให้
ความสาคัญกับการเพิ่มศักยภาพภาคการเกษตรให้มากกว่านี้ เนื่องจากเป็นผลิตผลท่ีสาคัญของภาคและ
เกย่ี วข้องกับประชาชนจานวนมาก อกี ทั้งยังชว่ ยสนับสนุนเสริมสง่ ภาคการท่องเที่ยวและบริการของภาคกลาง
และประเทศไทยด้วยจึงควรใหก้ ารส่งเสรมิ ควบคู่กันไป
1.3 โครงการดาเนนิ งานทสี่ าคญั
ภาคกลาง
หนว่ ยงาน งบประมาณ ลกั ษณะการดาเนินงาน
(ล้านบาท)
1.กรมชลประทาน 1,185.3502 โครงการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
2.กรมทางหลวง 780.0000 โครงการเสริมศกั ยภาพโครงสรา้ งพื้นฐานเมืองเป้าหมายและชายแดน
3.ก ารป ระป าส่ วน 235.3600 โครงการสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ติ ประชาชน และสง่ เสริมการทอ่ งเที่ยว
ภมู ิภาค
4.กรมศลิ ปากร 218.1676 โครงการพัฒนาและสง่ เสริมการท่องเทยี่ วเชงิ ประวตั ศิ าสตรฯ์
5.มหาวิทยาลัยมหดิ ล 155.6218 โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในกรุงเทพมหานครและพ้ืนที่
ภาคกลาง
6.กรมโยธาธิการและ 149.2062 โครงการพัฒนาและสง่ เสริมการท่องเทีย่ วเชงิ ธรรมชาติ การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
ผงั เมอื ง และการส่งเสริมการคา้ ชายแดน
ท่มี า : เอกสารงบประมาณปี 2564 ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ท่ี 18 (2) สานักงบประมาณ
ประมวลและจดั ทาโดย : สานักงบประมาณของรฐั สภา
จากตารางข้างต้น เมื่อพิจารณาลักษณะการดาเนินงานของพ้ืนท่ีภาคกลางจากหน่วยงานท่ีได้รับการ
จัดสรรงบประมาณสูงสุด 6 ลาดับแรก จะเห็นว่างบประมาณจากกรมชลประทาน กรมทางหลวง กรมโยธาธิ
การและผังเมือง และการประปาส่วนภมู ิภาค 4 หน่วยงานรวมกนั เปน็ จานวน 2,349.9164 ลา้ นบาท หรือ
คิดเป็นร้อยละ77.95 ของงบประมาณท้ังหมด (จานวนท้ังส้ิน 3,030.1695 ล้านบาท) แสดงว่า
งบประมาณส่วนใหญ่ของพื้นที่ภาคกลางถูกใช้ไปกับการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ประเภท แหล่งน้า ถนน
หนทาง และสาธารณปู การเป็นสาคญั
สานักงบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 16
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาพ้นื ท่ีระดบั ภาค
นอกจากน้ี ยังมีการจัดสรรงบประมาณให้ กรมศิลปากร 218.1676 ล้านบาทเป็นค่าใช้จ่ายในการ
ปรับปรุงโบราณสถาน และมหาวิทยาลัยมหิดล 155.6218 ล้านบาท เป็นค่าก่อสร้างอาคารศูนย์การแพทย์
กาญจนาภิเษก ระยะท่ี 2 ต.ศาลายา รวมกันเป็นงบประมาณ 373.7894 ล้านบาท หรือประมาณร้อยละ
12.33 ของงบประมาณทงั้ หมด
ท้งั น้ี การจดั สรรงบประมาณในลักษณะดงั กล่าว ยงั อย่ภู ายใตก้ รอบภารกจิ และอานาจหน้าที่ของ
หนว่ ยงานตา่ งๆ เป็นสาคัญ มิได้ยดึ ถือกรอบยุทธศาสตร์การพฒั นาภาคเป็นแนวทางการดาเนินงาน อกี ทั้ง
ยังไม่เห็นภาพของการบูรณาการการทางานในพื้นท่ีโดยใช้เป้าหมายการพัฒนาพ้ืนท่ีภาคเป็นเป้าหมาย
ร่วมของการดาเนินงานอย่างชัดเจนนกั
ข้อสังเกต PBO
1. ภาคกลางเป็นพ้นื ท่ีท่ีมีระดับการพัฒนาสูงสุด และเป็นศูนย์กลางในด้านต่างๆ ของประเทศ โดยมี
การกาหนดเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของการพัฒนา “พัฒนากรุงเทพฯ สู่มหานครทันสมัยและภาคกลาง
เป็นฐานการผลิตสินค้าและบริการที่มีมูลค่าสูง” แต่เมื่อพิจารณาโครงสร้างของการจัดสรรงบประมาณปี
2564 กลับพบว่างบประมาณส่วนใหญ่จัดสรรเพ่ือการพัฒนาแหล่งกักเก็บน้าของกรมชลประทาน และการ
กอ่ สร้างปรับปรงุ เส้นทางคมนาคมของกรมทางหลวง โดยให้นาหนักกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อมและการส่งเสริมการท่องเที่ยวและบรกิ ารมากท่ีสุด จึงยังไมเ่ ห็นภาคความเชื่อมโยงและความ
สอดคลอ้ งของการจัดสรรงบประมาณกบั ยุทธศาสตร์การพฒั นาพนื้ ท่ีภาคนัก
2.พื้นที่ภาคกลาง ให้ความสาคัญกับการเพิ่มศักยภาพภาคการท่องเท่ียวและบริการมากที่สุด ด้วย
งบประมาณจานวน 1,347.2317 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.46 ของงบประมาณท้ังหมด ผ่านกิจกรรม/
โครงการ พฒั นาและสง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ียวเชิงประวตั ิศาสตร์ ศาสนา และวฒั นธรรม และโครงการพัฒนาและ
ส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงธรรมชาติและนิเวศน์ แต่การดาเนินงานส่วนใหญ่เป็นการปรับปรุงเส้นทาง
โบราณสถาน ระบบประปา และเขื่อนป้องกันตล่ิง ซึ่งเป็นกิจกรรมต้นทางยังไม่ครอบคลุมไปถึงการ
ประชาสัมพันธ์ การรักษาความปลอดภยั นักท่องเทีย่ ว การตลาด และการสร้างมูลค่าเพิ่มของการทอ่ งเทีย่ วใน
รปู แบบสรา้ งสรรค์ อาจทาให้การดาเนินงานไม่ครบกระบวนการ
สานกั งบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 17
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพ้ืนทร่ี ะดบั ภาค
2. พน้ื ท่ีภาคใต้
พน้ื ทีภ่ าคใต้
“เปน็ เมืองท่องเท่ยี วพกั ผ่อนตากอากาศระดบั
โลก เปน็ ศนู ย์กลางผลติ ภัณฑ์ยางพาราและ
ปาล์มน้ามันของประเทศ และเมืองเศรษฐกจิ
เชื่อมโยงการคา้ การลงทนุ กับภูมภิ าคอ่นื ของ
โลก”
งบประมาณ จานวนทง้ั สิ้น 4,180.5494 ล้าน
บาท ในพน้ื ท่ี 11 จงั หวัด
1.ชมุ พร
2.สรุ าษฎร์ธานี
3.นครศรธี รรมราช
4.พัทลุง 5.สงขลา
6.ระนอง 7.พงั งา
8.ภูเก็ต 9.กระบ่ี
10.ตรงั 11.สตูล
ประเดน็ การพัฒนาตามแผนพัฒนาภาคใต้ พ.ศ. 2560 – 2565 ฉบบั ทบทวน (กรกฎาคม 2562)
มีสาระสาคัญดังนี้
2.1 แนวคิดการพัฒนาและเปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์
การพัฒนาภาคใต้ควรพัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็นมาตรฐานสากลเพ่ือรกั ษาความมีชอื่ เสียงของแหล่ง
ท่องเที่ยวระดับโลก พร้อมกับพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวท่ีมีศักยภาพให้เป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติใช้เทคโนโลยี
และนวตั กรรมในการผลิตและแปรรูปภาคเกษตรควบคู่กับการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมท้ัง
พัฒนาการเช่ือมโยงการคา้ การลงทนุ กับภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก โดยมี เป้าหมายเชงิ ยทุ ธศาสตร์
“ภาคใต้เป็นเมืองท่องเที่ยวพักผ่อนตากอากาศระดับโลก เป็นศูนย์กลางผลิตภัณฑ์ยางพาราและ
ปาลม์ นา้ มันของประเทศ และเมอื งเศรษฐกิจเชอ่ื มโยงการค้าการลงทุนกับภูมภิ าคอืน่ ของโลก”
โดยมีประเดน็ ยุทธศาสตร์ของการพฒั นาพืน้ ทีภ่ าคใต้ 6 ยทุ ธศาสตร์ ประกอบดว้ ย
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 พัฒนาการท่องเทีย่ วของภาคใหเ้ ป็นแหล่งท่องเทยี่ วคณุ ภาพช้ันนาของโลก
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาอุตสาหกรรมการแปรรูปยางพาราและปาล์มน้ามันแห่งใหม่ของประเทศ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 พฒั นาการผลติ สินคา้ เกษตรหลักของภาคและสร้างความเข้มแขง็ สถาบันเกษตรกร
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานสนบั สนนุ การท่องเทยี่ ว การพฒั นาเขตอตุ สาหกรรม และ
การเชื่อมโยงการคา้ โลก
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 อนุรักษ์ ฟื้นฟู และบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมอย่างเปน็
ระบบ เพ่ือเปน็ ฐานการพฒั นาทีย่ ัง่ ยืน
สานักงบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 18
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาพนื้ ทีร่ ะดับภาค
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 พฒั นาพืน้ ทรี่ ะเบยี งเศรษฐกิจภาคใตอ้ ย่างย่ังยนื
2.2 โครงสร้างการจดั สรรงบประมาณและแนวทางการดาเนนิ งาน
ตารางแสดงงบประมาณตามแนวทางการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ของพืน้ ทภ่ี าคใต้
หน่วย : ล้านบาท
แนวทางการดาเนนิ งาน งบประมาณ สดั สว่ น
แนวทาง เพิ่มศักยภาพภาคอตุ สาหกรรม การคา้ และการลงทนุ 787.2576 18.83
1.กลุ่มโครงการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสนับสนุนการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมและการเชื่อมโยง 696.5012
ตวั ช้ีวดั /เปา้ หมาย การค้าโลก
พน้ื ที่ดาเนินการ :
อัตราการขยายตัวการผลติ สาขาอตุ สาหกรรมภาคใต้เพิม่ ข้นึ ไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ 2.6
หน่วยงาน:
2.กลุ่มโครงการ 1.ชมุ พร 2.สรุ าษฎร์ธานี 3.นครศรธี รรมราช 4.พัทลงุ 5.สงขลา 6.ระนอง 7.พงั งา 8.ภเู ก็ต 9.กระบี่
ตวั ช้วี ดั /เป้าหมาย 10.ตรงั 11.สตลู
พน้ื ท่ดี าเนนิ การ :
กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท และกรมท่าอากาศยาน
หนว่ ยงาน:
3.กลุ่มโครงการ โครงการพัฒนาฐานอุตสาหกรรมชีวภาพ การแปรรูปการเกษตรมูลค่าสูง และ 65.0000
ตวั ชี้วดั /เป้าหมาย
พื้นทด่ี าเนินการ : ประตูการค้าฝ่งั ตะวันตก
หนว่ ยงาน: อตั ราการขยายตวั การผลติ สาขาอุตสาหกรรมภาคใต้เพมิ่ ขน้ึ ไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ 2.6
แนวทาง 1.ชุมพร 2.สรุ าษฎร์ธานี 3.นครศรธี รรมราช 4.พัทลงุ 5.สงขลา 6.ระนอง 7.พังงา 8.ภเู กต็ 9.กระบ่ี
10.ตรงั 11.สตูล
กรมทางหลวง
โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลติ ยางพาราและปาลม์ น้ามันอยา่ งครบวงจร 25.7564
อัตราการขยายตัวการผลติ สาขาอตุ สาหกรรมภาคใต้เพิม่ ข้ึนไม่ต่ากวา่ รอ้ ยละ 2.6
1.ชุมพร 2.สรุ าษฎรธ์ านี 3.นครศรีธรรมราช 4.พทั ลุง 5.สงขลา 6.ระนอง 7.พังงา 8.ภูเก็ต 9.กระบ่ี
10.ตรงั 11.สตูล
กรมพัฒนาทีด่ ิน สานกั งานปลัดกระทรวงพาณิชย์ สถาบนั ระหวา่ งประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา
(องคก์ ารมหาชน) สานกั งานปลัดกระทรวงอตุ สาหกรรม และกรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม
เพ่ิมศักยภาพภาคการเกษตร 79.2622 1.89
1.กลุ่มโครงการ โครงการพัฒนาและสง่ เสริมการผลิตสนิ คา้ เกษตร 79.2622
ตัวชว้ี ัด/เปา้ หมาย
พ้นื ทดี่ าเนินการ : อตั ราการขยายตวั การผลติ ภาคการเกษตรภาคใตเ้ พ่ิมขึ้นไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ 1.5
หนว่ ยงาน: 1.ชมุ พร 2.สรุ าษฎร์ธานี 3.นครศรีธรรมราช 4.พทั ลงุ 5.สงขลา 6.ระนอง 7.พงั งา 8.ภเู กต็ 9.กระบ่ี
แนวทาง 10.ตรงั 11.สตลู
สานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศีกษาฯ กรมการขา้ ว กรมปศสุ ตั ว์ กรมพฒั นาทด่ี ิน กรมส่งเสริม
การเกษตร สานกั งานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั สานกั งานปลดั กระทรวงพาณิชย์ สานกั งานปลัดกระทรวง
อุตสาหกรรม และสถาบนั วิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
เพม่ิ ศกั ยภาพภาคการทอ่ งเทย่ี วและบรกิ าร 1,200.6177 28.71
1.กล่มุ โครงการ โครงการพัฒนาประตกู ารทอ่ งเที่ยวอ่าวไทยและอันดามัน 67.0000
ตัวชว้ี ดั /เปา้ หมาย รายได้จากการทอ่ งเที่ยวภาคใต้เพม่ิ ขน้ึ ไมต่ า่ กวา่ ร้อยละ 20
พ้นื ท่ดี าเนนิ การ : จงั หวดั ระนอง
หน่วยงาน: กรมทางหลวงชนบท
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 19
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพืน้ ที่ระดบั ภาค
แนวทางการดาเนินงาน งบประมาณ สัดสว่ น
2.กลุ่มโครงการ โครงการพฒั นาและส่งเสรมิ การท่องเที่ยวชุมชนให้มีความเขม้ แขง็ และสอดคล้อง 46.0507
ตวั ชี้วัด/เปา้ หมาย กบั ศักยภาพของพ้ืนท่ี
พนื้ ทีด่ าเนนิ การ :
หน่วยงาน: รายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ยี วภาคใต้เพิ่มขึน้ ไมต่ า่ กวา่ ร้อยละ 20
3.กลุ่มโครงการ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี และการดาเนนิ งานในส่วนกลาง
ตัวชีว้ ัด/เปา้ หมาย กรมทางหลวง สถาบนั วิจยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งประเทศไทย และองค์การบริหารการพฒั นา
พืน้ ทีพ่ เิ ศษเพ่อื การท่องเท่ยี วอยา่ งย่งั ยนื (องค์การมหาชน)
โครงการพัฒนาแหล่งทอ่ งเที่ยวบนบกบริเวณตอนในของภาค เชื่อมโยงกับแหล่ง 444.9335
ทอ่ งเท่ียวทางทะเลทม่ี ชี ือ่ เสียง
รายได้จากการท่องเทีย่ วภาคใตเ้ พมิ่ ขนึ้ ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ 20
พืน้ ทีด่ าเนนิ การ : 1.ชมุ พร 2.สรุ าษฎร์ธานี 3.นครศรีธรรมราช 4.พัทลุง 5.สงขลา 6.ระนอง 7.พงั งา 8.ภูเก็ต 9.กระบ่ี
หน่วยงาน:
4. กลุ่มโครงการ 10.ตรงั 11.สตูล
ตัวช้ีวัด/เป้าหมาย
พื้นทด่ี าเนนิ การ : กรมทางหลวง สานกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ กรมการแพทย์แผน
หน่วยงาน:
ไทยและแพทยท์ างเลอื ก กรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม และการประปาสว่ นภมู ิภาค
แนวทาง
โครงการยกระดบั มาตรฐานบริการและสง่ เสรมิ ธรุ กจิ ตอ่ เนอื่ งในแหลง่ ท่องเทย่ี วที่ 642.6335
มชี ่ือเสยี งของภาค
รายได้จากการท่องเทย่ี วภาคใตเ้ พม่ิ ขน้ึ ไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ 20
1.ชมุ พร 2.สุราษฎร์ธานี 3.นครศรีธรรมราช 4.พทั ลุง 5.สงขลา 6.ระนอง 7.พังงา 8.ภูเกต็ 9.กระบี่
10.ตรัง 11.สตูล
มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ กรมทางหลวง สานกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ิทลั กรมศิลปกร และการ
ประปาสว่ นภูมภิ าค
การบรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 2,113.4119 50.55
1.กลุ่มโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและ 2,113.4119
ส่งิ แวดลอ้ ม
ตวั ช้ีวัด/เป้าหมาย พ้ืนที่ป่าชายเลนภาคใต้ เพมิ่ ข้นึ ไมต่ า่ กวา่ 8,000 ไร่
พ้ืนที่ดาเนินการ 1.ชมุ พร 2.สรุ าษฎร์ธานี 3.นครศรธี รรมราช 4.พทั ลุง 5.สงขลา 6.ระนอง 7.พังงา 8.ภูเก็ต 9.กระบ่ี
10.ตรัง 11.สตูล
หนว่ ยงาน กรมชลประทาน กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝัง่ กรมป่าไม้ กรมอทุ ยานฯ และกรมโยธาธกิ ารและผงั
เมือง
รวม 4,180.5494 100
ทมี่ า : เอกสารงบประมาณประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ท่1ี 8 (2) สานักงบประมาณ
ประมวลและจัดทาโดย : สานักงบประมาณของรฐั สภา
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พื้นที่ภาคใต้ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ภายใต้แผนงานบูรณาการ
พัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาค จานวนท้ังส้ิน 4,180.5494 ล้านบาท มีการจัดสรรสาหรับการดาเนินงานภายใต้
แนวทางต่างๆ รวม 4 แนวทาง สาหรับแนวทางท่ี 4 พฒั นาดา้ นสังคมยกระดบั คณุ ภาพชวี ิต และแนวทางที่ 5
พัฒนาพ้ืนที่ระดับภาคด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมนั้น ไม่มีการจัดสรรงบประมาณเพ่ือ
การดงั กล่าว ทงั้ นี้ พน้ื ท่ภี าคใตไ้ ดใ้ หค้ วามสาคญั กับการดาเนนิ งานในแนวทางต่างๆ ตามลาดับดังนี้
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 20
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาพื้นที่ระดับภาค
1.แนวทางที่ 6 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ด้วยงบประมาณจานวน
2,113.4119 ล้านบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 50.55 ของงบประมาณท้ังหมด
2.แนวทางที่ 3 การเพิ่มศักยภาพภาคการท่องเท่ียวและบริการ ด้วยงบประมาณจานวน
1,200.6177 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 28.71 ของงบประมาณทัง้ หมด
3.แนวทางท่ี 1 เพิม่ ศักยภาพภาคอตุ สาหกรรม การคา้ และการลงทุน ด้ ว ย งบ ป ร ะ ม า ณ
จานวน787.2576 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 18.83 ของงบประมาณทั้งหมด
4.แนวทางท่ี 2 เพิ่มศักยภาพภาคการเกษตร ด้วยงบประมาณจานวน 79.2622 ล้านบาท คิดเป็น
รอ้ ยละ 1.89 ของงบประมาณท้งั หมด
ทั้งน้ี สานักงบประมาณของรัฐสภาเห็นว่าการจัดสรรงบประมาณควรให้ความสาคัญกับการเพิ่ม
ศักยภาพภาคการเกษตรให้มากกว่าน้ี เนื่องจากเป็นผลิตผลที่สาคัญของภาค และเกี่ยวข้องกับประชาชน
จานวนมาก อีกท้ังยังช่วยสนับสนุนเสริมส่งภาคการท่องเท่ียวและบริการของพ้ืนท่ีภาคใต้ด้วย จึงควรให้การ
สง่ เสรมิ ควบคกู่ ันไป
นอกจากนี้ ยังพบว่ามีงบประมาณในแนวทางการเพิ่มศักยภาพภาคการเกษตรจานวนไม่น้อยที่ใช้
จ่ายเป็นค่าดาเนินงานในส่วนกลางของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนบางแห่ง เช่น เงิน
อุดหนุนทัว่ ไปของ สานักงานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดจิ ิทลั จานวน 15.3828 ล้านบาท รวมถึงงบประมาณของส่วน
ราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งส่วนใหญ่ใช้จ่ายไปกับโครงการสัมมนาและฝึกอบรม ที่ไม่
สามารถระบุได้วา่ การใช้จา่ ยงบประมาณดังกลา่ วได้สง่ ผลต่อการพัฒนาพนื้ ท่ีภาคใต้อยา่ งไร
2.3 โครงการดาเนนิ งานทสี่ าคัญ
ภาคใต้
หนว่ ยงาน งบประมาณ ลกั ษณะการดาเนนิ งาน
(ลา้ นบาท)
1.กรมชลประทาน 1,489.7830 โครงการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาความเสือ่ มโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละแกไ้ ขปัญหาสง่ิ แวดลอ้ ม
2.กรมทางหลวง 895.0000 โครงการยกระดับมาตรฐานบริการและพฒั นาแหล่งทอ่ งเทย่ี ว
3.กรมโยธาธิการและผังเมอื ง 587.6382 โครงการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาความเส่ือมโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติและแกไ้ ขปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม
4.มหาวิทยาลงั สงขลาราชนครินทร์ 240.0000 โครงการยกระดบั มาตรฐานบริการและสง่ เสรมิ ธรุ กจิ ต่อเนอ่ื งใน
แหลง่ ทอ่ งเที่ยวท่มี ซี ื่อเสียงของภาค
5.สานกั งานปลัดกระทรวง 228.4935 โครงการยกระดับมาตรฐานบริการและส่งเสรมิ ธรุ กจิ ต่อเน่ืองใน
สาธารณสุข แหลง่ ท่องเทย่ี วที่มีซ่อื เสียงของภาค
6.กรมทางหลวงชนบท 227.0000 โครงการพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐานสนับสนนุ การพฒั นาเขต
อตุ สาหกรรมและเชื่อมการค้าโลก
ทมี่ า : เอกสารงบประมาณปี 2564 ฉบบั ที่ 3 เล่มที่ 18 (2) สานกั งบประมาณ
สานักงบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 21
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพัฒนาพืน้ ท่รี ะดบั ภาค
ประมวลและจัดทาโดย : สานักงบประมาณของรฐั สภา
จากตารางข้างต้น เมื่อพิจารณาลักษณะการดาเนินงานของพื้นที่ภาคใต้จากหน่วยงานท่ีได้รับการ
จัดสรรงบประมาณสูงสุด 6 ลาดับแรก จะเห็นว่างบประมาณจากกรมชลประทาน กรมทางหลวง กรมโยธาธิ
การและผงั เมือง และกรมทางหลวงชนบท 4 หน่วยงานรวมกันเป็นจานวน 3,199.4212 ล้านบาท หรอื คิด
เป็นร้อยละ 76.53 ของงบประมาณท้ังหมด (จานวนทั้งสิ้น 4,180.5494 ล้านบาท) แสดงว่างบประมาณ
สว่ นใหญ่ของพื้นท่ีภาคใต้ถูกใช้ไปกับการพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน ประเภท แหล่งน้า ถนนหนทาง และเขื่อน
ป้องกนั ตลิ่ง เปน็ สาคัญ
ทง้ั ๆ ท่ีพนื้ ทภี่ าคใต้ยังมีปัญหาและความต้องการของประชาชนในพื้นที่หลายประการที่มคี วามจาเป็น
เร่งด่วนท่ียังไม่ได้รับการแก้ไข โดยเฉพาะปัญหาด้านเศรษฐกิจ จากราคายาพารา และปาล์มน้ามันท่ีตกต่า
อยา่ งต่อเน่ือง และการท่องเที่ยวท่ีทรุดตัวจากการแพร่ระบาดของโควดิ -19 ซ่ึงการจัดสรรงบประมาณใน
ลักษณะดังกล่าว ยังอยู่ภายใต้กรอบภารกิจและอานาจหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆ เป็นสาคัญ มิได้ยึดถือ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเป็นแนวทางการดาเนินงาน อีกท้ังยังไม่เห็นภาพของการบูรณาการการ
ทางานในพน้ื ที่โดยใชเ้ ป้าหมายการพัฒนาพนื้ ท่ีภาคเป็นเป้าหมายร่วมของการดาเนินงานอย่างชดั เจนนัก
ขอ้ สงั เกต PBO
1. ภาคใตซ้ ึ่งประกอบด้วยกลุม่ จงั หวดั ภาคใต้ฝรง่ั อ่าวไทยและกลุ่มจงั หวดั จงั หวดั ฝ่งั อนั ดามัน รวม 11
จงั หวัด ได้กาหนดเป้าหมายเชงิ ยุทธศาสตร์ของการพัฒนาให้เป็น “เมืองท่องเท่ียวพักผ่อนตากอากาศระดับ
โลก เป็นศูนย์กลางผลิตภัณฑ์ยางพาราและปาล์มน้ามันของประเทศ และเมืองเศรษฐกิจเช่ือมโยงการค้า
การลงทุนกับภูมิภาคอื่นของโลก” แต่ช่วงเวลาที่ผ่านมาเครื่องจักรในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของภาคไม่ว่า
จะเป็นยางพารา ปาลม์ น้ามนั และการท่องเท่ียวประสบปญั หาอย่างต่อเนื่อง ทาให้เศรษฐกิจของพ้ืนทีภ่ าคใต้
ตกต่าย่าแย่ท่ีสุด ประชาชนในพ้ืนท่ีต่างได้รับความเดือดร้อนกันทั่วหน้า คงเหลือเพียงภาคการประมง
การปศสุ ัตว์ และการค้าชายแดนทเี่ ป็นตัวช่วยพยุงเศรษฐกจิ ของภาคไว้
อย่างไรกต็ าม เมอ่ื พิจารณาโครงสรา้ งของการจัดสรรงบประมาณปี 2564 กลบั พบว่างบประมาณของ
ภาคใต้ส่วนใหญ่จัดสรรเพื่อการพัฒนาแหล่งกักเก็บน้าของกรมชลประทาน และการก่อสร้างปรับปรุงเส้นทาง
คมนาคมของกรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท ผา่ นแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ด้วยงบประมาณจานวน 2,113.4119 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 50.55 การเพ่ิมศักยภาพภาคการ
ท่องเท่ียวและบริการ ด้วยงบประมาณจานวน1,200.6177 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 28.71 และการเพิ่ม
ศักยภาพภาคอุตสาหกรรม การค้าและการลงทนุ ดว้ ยงบประมาณจานวน 787.2576 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
18.83 ของงบประมาณท้งั หมด (ท่ีได้รับจัดสรร 4,180.5494 ลา้ นบาท)
จึงอาจไม่ค่อยสอดคล้องกับสถานการณ์ของพ้ืนท่ีภาค ที่ควรให้ความสาคัญกับการพัฒนาการ
ภาคการเกษตรมากขึ้น รวมถงึ การสร้างทางเลอื กในการขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ ของทางภาคใต้ให้หลากหลาย
มากขึน้ ไม่ควรฝากความหวงั ไว้กับยางพารา ปาลม์ น้ามนั และการทอ่ งเทีย่ วทางทะเลเหมือนท่ีผา่ นมา
สานกั งบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 22
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นทรี่ ะดับภาค
2.การจัดสรรงบประมาณของพน้ื ที่ภาคใต้ไดใ้ ห้ความสาคญั กับ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อมด้วยงบประมาณ จานวน2,113.4119 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ50.55 ของ
งบประมาณ ท้ังหมด ในกลุ่มโครงการ“โครงการป้องกันและแก้ไขปัญ หาความเส่ือมโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”ผ่านกิจกรรมของ กรมชลประทาน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง
กรมปา่ ไม้ กรมอุทยานฯ และกรมโยธาธิการและผังเมือง มีเปา้ หมายท่จี ะ “เพ่มิ พ้นื ทป่ี ่าชายเลนภาคใต้ไม่ต่า
กว่า 8,000 ไร่” แตก่ ารดาเนนิ งานส่วนใหญ่เป็นการสรา้ งฝาย ระบบส่งน้า และเขื่อนป้องกันตลง่ิ ซง่ึ แม้ว่าจะ
เป็นประโยชน์ต่อพื้นท่ีแต่อาจไม่สอดคล้องกับเป้าหมายและตัวชี้วัด จึงควรจัดสรรงบประมาณให้ครอบคลุม
ไปถงึ กจิ กรรมที่เก่ยี วขอ้ งกับการเพิ่มพ้ืนท่ปี ลาชายเลนโดยตรงด้วย
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 23
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพืน้ ที่ระดับภาค
3. พื้นทภ่ี าคใตช้ ายแดน
ภาคใต้ชายแดน
“เป็นแหล่งผลิตภาคเกษตรและอุตสาหกรรม
เกษตรแปรรูปที่สาคัญของประเทศ และเป็น
เมื อ งช า ย แ ด น เชื่ อ ม โย งก า ร ค้ า แ ล ะ ก า ร
ท่ องเที่ ยวกั บ พ้ื น ที่ ภ าคใต้ และการพั ฒ น า
เศรษฐกิจของประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์
ชุมชนมคี วามเข้มแข็งอย่รู ่วมกันอยา่ งสันติสุข
ภายใตส้ ังคมพหุวัฒนธรรม”
ภายใต้กรอบวงเงินงบประมาณ พ.ศ. 2564 ท่ี
ไดร้ ับจัดสรร จานวน 1,093.1402 ลา้ นบาท
ประกอบดว้ ย
1.จังหวดั ปัตตานี
2.จังหวดั ยะลา
3.จังหวดั นราธิวาส
ประเดน็ การพัฒนาตามแผนพัฒนาภาคใต้ชายแดน พ.ศ. 2560 – 2565 ฉบับทบทวน (กรกฎาคม
2562) มีสาระสาคัญดังนี้
3.1 แนวคดิ การพฒั นาและเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
ภาคใต้ชายแดนเป็นแหล่งทาการประมงที่สาคัญของประเทศ เนื่องจากมีทรัพยากรท่ีอุดมสมบูรณ์
และมีแหล่องท่องเที่ยวที่สวยงาม รวมทั้งมีพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป และเมืองชายแดนมีจุดท่ีต้ังที่
ได้เปรียบในการเช่ือมโยงการพัฒนาระหว่างพื้นที่ภาคใต้และมาเลเซียรวมท้ังสิงคโปร์ ประกอบกับปัจจุบัน
รัฐบาลอยู่ระหว่างดาเนินโครงการเมืองต้นแบบ “สามเหลี่ยมม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน” เพ่ือพัฒนาอุตสาหกรรม
เกษตร อาเภอหนองจิก การพัฒนาการค้าและการท่องเที่ยว อาเภอสุไหงโก-ลก และอาเภอเบตง เพ่ือสร้าง
งาน และรายได้ให้กับประชาชน ควบคู่ไปกับการพัฒนาเพ่ือสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและอยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุขภายใต้สังคมพหุวฒั นธรรม โดยกาหนดเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ให้“เป็นแหล่งผลิตภาคเกษตร
และอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปท่ีสาคัญของประเทศ และเป็นเมืองชายแดนเชื่อมโยงการค้าและการ
ทอ่ งเท่ยี วกบั พืน้ ท่ีภาคใตแ้ ละการพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศมาเลเซียและสงิ คโปร์ชุมชนมคี วามเข้มแข็ง
อยู่รว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ุขภายใตส้ ังคมพหวุ ัฒนธรรม” ประกอบดว้ ย 3 ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาทส่ี าคญั ได้แก่
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 พฒั นาอตุ สาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรปู การเกษตรเพ่อื สรา้ งความมั่นคง
ให้กบั ภาคการผลติ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 พฒั นาเมืองสุไหงโก-ลก และเมอื งเบตง ใหเ้ ปน็ เมอื งการคา้ และเมืองท่องเท่ยี ว
ชายแดน และพัฒนาเมอื งยะลาใหเ้ ปน็ เมอื งน่าอยู่และศนู ย์กลางเศรษฐกจิ ของภาคใตช้ ายแดน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งให้กบั ชมุ ชน
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 24
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพน้ื ท่ีระดับภาค
3.2 โครงสรา้ งการจดั สรรงบประมาณและแนวทางการดาเนินงาน
ตารางแสดงงบประมาณตามแนวทางการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ของพื้นทภ่ี าคใต้ชายแดน
หน่วย : ลา้ นบาท
แนวทางการดาเนนิ งาน งบประมาณ สัดสว่ น
แนวทาง เพิ่มศักยภาพภาคการเกษตร 342.7757 31.35
ตวั ช้ีวดั /เป้าหมาย มูลค่าสินคา้ เกษตร เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2 175.2826
1 กลุ่มโครงการ โครงการเพม่ิ ประสิทธิภาพการผลิตและเพม่ิ มลู คา่ ผลผลิตการเกษตร 6.8631
พนื้ ทดี่ าเนนิ การ : จังหวัดยะลา นราธิวาส และปตั ตานี
หน่วยงาน: กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท และ 160.6300
สานกั งานปลดั กระทรวงอุตสาหกรรม
2. กลมุ่ โครงการ โครงการสง่ เสริมการเล้ียงปศสุ ัตว์ภาคใตช้ ายแดน ( โคเน้ือ แพะ ไก่เบตง) 584.0371 53.42
พื้นท่ีดาเนินการ : จังหวดั ยะลา นราธิวาส และปตั ตานี
หนว่ ยงาน: สานักงานปลดั กระทรวงการอดุ มศึกษาและวทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม
3. กลุ่มโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธภิ าพการจัดการฐานทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมให้
มคี วามสมบรู ณ์
พืน้ ท่ดี าเนินการ : จังหวัดยะลา นราธิวาส และปตั ตานี
หนว่ ยงาน: กรมชลประทาน
แนวทาง เพมิ่ ศักยภาพภาคการท่องเที่ยวและบริการ
1. กลุ่มโครงการ โครงการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วและการค้าชายแดน 584.0371
ตัวช้ีวัด/เป้าหมาย
-รายไดจ้ ากการท่องเท่ียวและบรกิ ารเพิม่ ข้นึ รอ้ ยละ 10
พนื้ ที่ดาเนนิ การ :
หน่วยงาน: -มูลค่าการคา้ ชายแดนภาคใต้ชายแดน เพ่มิ ขึ้น รอ้ ยละ 4
แนวทาง จงั หวดั ยะลา นราธวิ าส และปัตตานี
กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท กรมทา่ อากาศยาน กรมอทุ ยานแห่ชาติ สัตว์ปา่ และพนั ธุ์พืช
กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม สานกั งานปลัดกระทรวงพาณชิ ย์ กรมการคา้ ตา่ ง
ประทศ และการประปาสว่ นภมู ภิ าค
พัฒนาสังคมและยกระดับคุณภาพชีวติ 118.8883 10.87
1. กล่มุ โครงการ โครงการเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กับชุมชน 118.8883
ตวั ชีว้ ดั /เปา้ หมาย ด้านสังคมได้รับการปรบั ปรุง พัฒนา ประชาชนมคี ณุ ภาพชวี ิตดขี ึ้น รอ้ ยละ 1
พื้นที่ดาเนนิ การ จังหวัดยะลา นราธวิ าส และปัตตานี
หนว่ ยงาน สถาบันพฒั นาองคก์ รชุมชน สานกั งานนวัตกรรมแหง่ ชาติ และสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
รวม 1,093.1402 100
ที่มา : เอกสารงบประมาณประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบบั ที่ 3 เลม่ ที1่ 8 (2) สานกั งบประมาณ
ประมวลและจดั ทาโดย : สานกั งบประมาณของรัฐสภา
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พื้นท่ีภาคใต้ชายแดน ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ภายใต้แผนงาน
บูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาคจานวนทั้งสิ้น 1,093.1402 ล้านบาท มีการจัดสรรสาหรับการดาเนินงาน
ภายใตแ้ นวทางต่างๆ รวม 3 แนวทาง โดยใหค้ วามสาคญั กับการดาเนนิ งานในแนวทางต่างๆ ตามลาดับดงั นี้
สานกั งบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 25
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพืน้ ท่ีระดับภาค
1.แนวทาง การเพิ่มศักยภาพภาคการท่องเที่ยวและบริการ ด้วยงบประมาณจานวน 584.0371
ลา้ นบาท คดิ เปน็ ร้อยละ53.42 ของงบประมาณทง้ั หมด
2.แนวทาง เพ่ิมศักยภาพภาคการเกษตร ด้วยงบประมาณจานวน 342.7757 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อย
ละ 31.35 ของงบประมาณทง้ั หมด
3.แนวทาง พฒั นาสังคมและยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ดว้ ยงบประมาณจานวน 118.8883 ล้ า น บ า ท
คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.87 ของงบประมาณท้ังหมด
ท้ังนี้ สานักงบประมาณของรัฐสภา (PBO) เห็นว่า การจัดสรรงบประมาณของพื้นที่ภาคใต้ชายแดน
ได้ให้ความสาคัญกับการเพ่ิมศักยภาพภาคการท่องเท่ียวและบริการเป็นอย่างมากโดยใช้งบประมาณกว่าร้อย
ละ 50 เพื่อการดังกล่าว ทั้งท่ี ปัญหาความรุนแรงจากการก่อความไม่สงบในพ้ืนท่ียังมีอยู่อย่างต่อเน่ือง
ประกอบกบั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ทาใหก้ ิจกรรมการท่องเท่ยี วชายแดนใต้ซบเซา
มาก หากสถานการณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ไม่คล่ีคลายอาจจะทาให้ผลสัมฤทธิ์จากการใช้จ่าย
งบประมาณไม่เปน็ ไปตามทคี่ าดหวงั ไว้
ในขณะที่ประชาชนในพ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร และมักประสบปัญหาราคาผลผลิตตกต่าเป็น
ประจา จึงควรให้ความสาคัญกับการเพ่ิมศักยภาพภาคการเกษตรให้มากกว่านี้ โดยเฉพาะการส่งเสริมตลาด
ผลไม้ เน่ืองจากเป็นผลิตผลที่สาคัญของภาคใต้ชายแดน ซ่ึงจะช่วยสนับสนุนเสริมส่งภาคการท่องเที่ยวและ
บรกิ ารของภาคดว้ ยจึงควรใหก้ ารส่งเสริมควบคู่กันไป
นอกจากนี้ พนื้ ทภ่ี าคใต้ชายแดนไดม้ ีการจัดสรรงบประมาณจานวน 118.8883 ล้ า น บ า ท ใน ก า ร
ดาเนินงานแนวทางการพัฒนาสังคมและยกระดับคุณภาพชีวติ ด้วย เนื่องจากเป็นพ้ืนท่ีท่ียังมีปัญหาด้านสังคม
สูง แต่เมื่อพิจารณารายละเอียดของการใช้จ่ายกลับพบว่าส่วนใหญ่เป็นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน
คมนาคมเป็นค่าก่อสร้างถนนและสะพาน กว่า 70 ล้านบาท ซึ่งอาจจะไม่สอดคล้องกับเป้าประสงค์ของการ
แก้ไขปัญหาทางสงั คมโดยตรงนกั
3.3 โครงการดาเนนิ งานทีส่ าคัญ
ภาคใตช้ ายแดน
หนว่ ยงาน งบประมาณ ลักษณะการดาเนนิ งาน
(ลา้ นบาท)
1.กรมทางหลวง 395.0000 โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวและการค้าเมืองชายแดน และเพ่ิมประสิทธิภาพการ
ผลติ และเพ่มิ มลู ค่าผลผลติ การเกษตร
2.กรมทางหลวง 184.1800 โครงการพัฒนาการท่องเท่ียวและการค้าเมืองชายแดน และเพิ่มประสิทธิภาพการ
ชนบท ผลิตและเพมิ่ มูลค่าผลผลิตการเกษตร
3.กรมชลประทาน 160.6300 โครงการเพ่ิมประสิทธภิ าพการจัดการฐานทรพั ยากรธรรมชาตใิ หอ้ ดุ มสมบูรณ์
4.กรมท่าอากาศยาน 151.7928 โครงการพัฒนาการทอ่ งเท่ียวและการคา้ เมอื งชายแดน
5.สานกั งาน 32.0300 โครงการเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ใหก้ บั ชมุ ชน
สานกั งบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 26
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพ้นื ที่ระดบั ภาค
นวัตกรรมแห่งชาติ
(องค์การมหาชน)
ทีม่ า : เอกสารงบประมาณปี 2564 ฉบับท่ี 3 เลม่ ที่ 18 (2) สานกั งบประมาณ
ประมวลและจัดทาโดย : สานกั งบประมาณของรฐั สภา
จากตารางข้างต้น เม่ือพิจารณาลักษณะการดาเนินงานของพื้นท่ีภาคใต้ชายแดนจากหน่วยงานที่
ได้รับการจัดสรรงบประมาณสูงสุด 5 ลาดับแรก จะเห็นว่างบประมาณจาก กรมทางหลวง กรมทางหลวง
ชนบท กรมชลประธาน และกรมท่าอากาศยาน ทั้ง 4 หน่วยงานรวมกันเป็นจานวน 891.6028 ล้านบาท
หรือคิดเป็นร้อยละ 81.56 ของงบประมาณท้ังหมด (จานวนท้ังส้ิน 1,093.1402 ล้านบาท) แสดงว่า
งบประมาณส่วนใหญ่ของพื้นทีภ่ าคใต้ชายแดนถกู ใช้ไปกับการพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน ประเภท ถนนหนทาง
ท่าอากาศยาน และแหล่งน้า เป็นสาคัญ ท้ังๆ ท่ีพ้ืนท่ีภาคใต้ชายแดนยังมีปัญหาและความต้องการของ
ประชาชนในพื้นท่ีหลายประการท่ีมีความจาเป็นเร่งด่วน โดยเฉพาะปัญหาด้านสังคมและความเหลื่อลา้ ซึ่งการ
จัดสรรงบประมาณในลักษณะดังกล่าว ยังอยู่ภายใต้กรอบภารกิจและอานาจหน้าท่ีของหน่วยงานต่างๆ
เป็นสาคัญ มิได้ยึดถือกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเป็นแนวทางการดาเนินงาน อีกทั้งยังไม่เห็นภาพ
ของการบูรณาการการทางานในพื้นท่ีโดยใช้เป้าหมายการพัฒนาพ้ืนท่ีภาคเป็นเป้าหมายร่วมของการ
ดาเนนิ งานอยา่ งชดั เจนนัก
ขอ้ สงั เกต PBO
1.พื้นที่ภาคใต้ชายแดน ได้กาหนดเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของการพัฒนา “เป็นแหล่งผลิตภาค
เกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปท่ีสาคัญของประเทศ และเป็นเมืองชายแดนเชื่อมโยงการค้าและ
การท่องเท่ียวกับพื้นที่ภาคใต้ และการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ ชุมชนมีความ
เข้มแขง็ อยู่รว่ มกันอยา่ งสนั ตสิ ขุ ภายใตส้ งั คมพหุวัฒนธรรม”
อย่างไรกต็ าม เมื่อพิจารณาโครงสร้างของการจัดสรรงบประมาณปี 2564 กลบั พบวา่ งบประมาณของ
ภาคใต้ชายแดนส่วนใหญ่จัดสรรเพื่อการพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐาน ประเภท ถนนหนทาง ท่าอากาศยาน และ
แหล่งน้า ผ่านแนวทางการเพิ่มศักยภาพภาคการท่องเท่ียวและบริการ ด้วยงบประมาณจานวน 584.0371
ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ53.42 และแนวทาง การเพ่ิมศักยภาพภาคการเกษตร ด้วยงบประมาณจานวน
342.7757 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 31.35 ของงบประมาณทั้งหมด (ที่ได้รับจัดสรร 1,093.1402 ล้านบาท)
ซึ่ งก า ร จั ด ส ร ร งบ ป ร ะม า ณ ดั งก ล่ า ว อ า จ ไม่ ค่ อ ย ส อ ด ค ล้ อ งกั บ ส ถ า น ก า ร ณ์ ข อ งพื้ น ที่ ภ า ค ท่ี ค ว ร ให้
ความสาคัญกับการพัฒนาการภาคการเกษตร และการค้าชายแดนมากข้ึน เพื่อให้พื้นที่ภาคใต้ชายแดน
เชื่อมโยงการค้าและการท่องเท่ียวกับพื้นทภ่ี าคใต้ รวมถึงการใช้จุดแข็งของการเปน็ พื้นท่ีเช่ือมโยงกับแห่ง
เศรษฐกจิ ขนาดใหญข่ องประเทศมาเลเซยี และสิงคโปร์
2.การจัดสรรงบประมาณลงสู่พื้นที่ภาคใต้ชายแดนน้ันมีหลายช่องทาง ท้ังงบประมาณของส่วน
ราชการ แผนงานบูรณาการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ แผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นที่ระดับภาค
ตลอดถึงเงินอุดหนุนองค์กรปกครองท้องถิ่น ด้วยความเป็นพื้นที่พิเศษของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จึงถูก
มองดว้ ยมิติท่ีหลากหลายจากภาครัฐ ทาให้มีการจดั สรรงบประมาณท่ีซ้าซ้อนกนั ขาดความเป็นเอกภาพ ยาก
ตอ่ การควบคุมการใช้จา่ ย และการติดตามประมวลผลของการใช้จ่ายงบประมาณว่าเกิดผลสัมฤทธ์ิอย่างไร จึง
สานักงบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 27
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาพ้ืนที่ระดบั ภาค
น่าจะใช้กลไกในมิติพ้ืนที่เป็นหลักในการจัดสรรงบประมาณในพื้นที่ 3 จังหวัดภาคใต้ โดยใช้ยุทธศาสตร์
การพัฒนาพ้ืนท่ีภาคใต้ชายแดนเป็นกรอบ โดยมอบหมายให้ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดน
ภาคใตเ้ ป็นแกนนาในการจัดทางบประมาณ
สานักงบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 28
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาพืน้ ทีร่ ะดบั ภาค
4. พื้นที่ตะวันออก
ภาคตะวันออก
“มุ่ งพั ฒ น าเป็ น ฐาน เศ รษ ฐกิ จชั้ น น าข อ ง
อาเซียน โดยรักษาฐานเศรษฐกิจเดิมท่ีมีอยู่ให้
เติบโตอย่างย่ังยืน และสร้างฐานเศรษฐกิจ
ใหม่เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน
แ ล ะส นั บ ส นุ น ให้ ป ระเท ศ เติ บ โต อ ย่ างมี
เสถยี รภาพ”
ภายใต้กรอบวงเงินงบประมาณ พ.ศ. 2564
จานวน 2,276.4857 ล้านบาท
ประกอบดว้ ย 1.ฉะเชิงเทรา 2.ชลบุรี
3.ระยอง 4.จันทบุรี
5.ตราด 6.ปราจนี บรุ ี
7.นครนายก 8.สระแก้ว
ประเด็นการพัฒนาตามแผนพัฒนาภาคตะวันออก พ.ศ. 2560 - 2565 ฉบับทบทวน (กรกฎาคม
2562) มสี าระสาคัญดังน้ี
4.1 แนวคิดการพัฒนาและเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
ภาคตะวันออกมีบทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ เนื่องจากเป็นพนื้ ท่ีฐานเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรมหลัก (Industrial Heartland) และเป็นที่ตั้งของท่าเรือน้าลึกและท่าอากาศยานนานาชาติ
เช่ือมโยงกับเศรษฐกิจโลก นอกจากน้ี ยังเป็นพื้นที่ในแนวระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ของอนุภูมิภาค
ลุ่มน้าโขง(Southern Economic Corridor และ Southern Coastal Economic Corridor) ที่เช่ือมโยงเมียนมา
ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม ซ่ึงเป็นเส้นทางลัดโลจิสติกส์ (Land bridge) เช่ือมโยงภูมิภาคอาเซียนกับโลก
ตะวันตกและโลกตะวนั ออก นอกจากน้ี ภาคตะวันออกยังเป็นแหล่งผลิตอาหารสาคัญของประเทศ ได้แก่ สุกร
กุ้ง ไก่ข้าว และผลไม้ รวมถึงเป็นแหล่งท่องเท่ียวระดับนานาชาติ เน่ืองจากมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดม
สมบูรณ์
ดังนั้น การพัฒนาภาคตะวันออกระยะต่อไป จะต้องพัฒนาต่อยอดฐานเศรษฐกิจท่ีมีอยู่ของพ้ืนท่ีเขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์และการค้าบริการ
ควบคู่ไปกับการใช้ศักยภาพความอุดมสมบูรณ์ของดินและน้าและความพร้อมของสถาบันการศึกษาวิจัย
ยกระดับสินค้าการเกษตรและบริการให้มีมูลค่าสูง เพื่อให้ภาคตะวันออกเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ในการ
ขบั เคลือ่ นการพฒั นาประเทศใหห้ ลุดพ้นกบั ดัก “ประเทศรายไดป้ านกลาง”
โดยกาหนดเปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์ ของการพัฒนาภาคตะวันออกจะมุ่งพฒั นาเปน็ ฐานเศรษฐกิจ
ช้ันนาของอาเซียน โดยรักษาฐานเศรษฐกิจเดิมที่มีอยู่ให้เติบโตอย่างยั่งยืน และสร้างฐานเศรษฐกิจใหม่
สานกั งบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 29
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาพน้ื ท่รี ะดบั ภาค
เพื่อเพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั และสนับสนุนให้ประเทศเตบิ โตอย่างมีเสถียรภาพ พัฒนาพน้ื ที่ท่ีมี
ศักยภาพสูง ได้แก่ พ้ืนท่ีฐานการผลิตและบริการ เมืองศูนย์กลางความเจริญในภูมิภาค และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ
ชายแดน ประกอบดว้ ยยุทธศาสตร์การพัฒนา 5 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 พัฒนาพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออกใหเ้ ป็นเขตเศรษฐกิจพเิ ศษท่ีมคี วาม
ทันสมัยทีส่ ดุ ในภมู ิภาคอาเซียน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาภาคตะวนั ออกใหเ้ ปน็ แหลง่ ผลติ อาหารที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล
ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ปรับปรุงมาตรฐานสินคา้ และธุรกจิ บริการด้านการท่องเทยี่ วตวั ชี้วัดและค่าเปา้ หมาย
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 พัฒนาพนื้ ทีเ่ ศรษฐกจิ ชายแดนให้เป็นประตเู ศรษฐกิจเช่อื มโยงกบั ประเทศเพื่อนบา้ น
ให้เจรญิ เตบิ โตอย่างยั่งยนื
ยุทธศาสตร์ที่ 5 แก้ไขปัญหาทรพั ยากรธรรมชาติและจัดระบบการบริหารจดั การมลพิษใหม้ ี
ประสทิ ธภิ าพเพ่ิมขึ้น
4.2 โครงสร้างการจัดสรรงบประมาณและแนวทางการดาเนนิ งาน
ตารางแสดงงบประมาณตามแนวทางการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของพน้ื ทภ่ี าคตะวันออก
หน่วย : ล้านบาท
แนวทางการดาเนนิ งาน งบประมาณ สัดส่วน
1. แนวทาง เพ่ิมศกั ยภาพภาคอตุ สาหกรรม การค้าและการลงทุน 329.8231 14.48
ตวั ชวี้ ดั /เปา้ หมาย 1.มูลค่าการลงทนุ ภาครฐั และเอกชนเพ่ิมขึน้ ไม่ตา่ กวา่ 3 แสนลา้ นบาท
1.กลุม่ โครงการ 2.อัตราการเจริญเติบโตเศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัดภาคตะวนั ออก 1 เพ่ิมขึ้นไมต่ ่อ
พนื้ ที่ดาเนนิ การ :
หน่วยงาน: กว่าร้อยละ 6.3
2. กลุ่มโครงการ
พ้ืนทีด่ าเนินการ : 3.มูลคา่ การคา้ ชายแดนเพ่มิ ขน้ึ รอ้ ยละ 15
หน่วยงาน:
โครงการพฒั นาพ้ืนที่ระเบยี งเศรษฐกิจภาคตะวันออก 40.0000
3.กลุม่ โครงการ
พน้ื ทด่ี าเนินการ : จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี ระยอง
หนว่ ยงาน: กรมทางหลวง
โครงการพฒั นาพ้ืนท่เี ศรษฐกจิ ชายแดน 204.9891
จังหวัดจนั ทบุรี ตราด สระแกว้
กรมวิชาการเกษตร กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท สานักงานปลดั กระทรวงพาณชิ ย์ กรมการคา้
ต่างประเทศ และสถาบนั วจิ ยั และพัฒนาอญั มณแี ละเครอ่ื งประดับแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน)
โครงการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มเมืองสาคญั ของจังหวดั ใหเ้ ปน็ เมอื งนา่ อยู่ 84.8340
1.ฉะเชิงเทรา 2.ชลบุรี 3.ระยอง 4.จันทบุรี 5.ตราด 6.ปราจีนบรุ ี 7.นครนายก
8.สระแก้ว
กรมทางหลวงชนบท และสานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข
2. แนวทาง เพมิ่ ศักยภาพภาคการเกษตร
ตวั ชวี้ ดั /เปา้ หมาย อตั ราการขยายตัวการผลติ ภาคการเกษตรเพิม่ ขึ้นไมต่ ่ากว่า ร้อยละ 3.5 45.2016 1.89
1.กล่มุ โครงการ โครงการพัฒนาการผลิตและการค้าผลไม้ภาคตะวันออก ให้เป็นศูนย์กลางผลไม้ 38.7036
เมืองร้อนแห่งเอเชยี
สานักงบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 30
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้นื ทีร่ ะดับภาค
พน้ื ทดี่ าเนินการ : แนวทางการดาเนินงาน งบประมาณ สัดสว่ น
หน่วยงาน:
1.ฉะเชงิ เทรา 2.ชลบุรี .ระยอง 4.จนั ทบุรี 5.ตราด 6.ปราจีนบรุ ี 7.นครนายก 5.0000 38.91
2.กลมุ่ โครงการ 8.สระแกว้ (25.0000)*
พนื้ ทด่ี าเนินการ : กรมพัฒนาท่ีดิน กรมส่งเสริมการเกษตร สถาบันวิทยาลัยชุมชน สถาบันเทคโนโลยี
หนว่ ยงาน: นิวเคลียร์แห่งชาติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย และ 1.4980
สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
3.กลุม่ โครงการ โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีที่มีศักยภาพด้านประมงเพาะเลี้ยงสัตว์น้าบริเวณชายฝั่ง 885.9173
พ้นื ที่ดาเนนิ การ : ทะเลอา่ วไทย
หนว่ ยงาน: จงั หวัดชลบรุ ี ระยอง จันทบุรี ตราด
องคก์ ารตลาด
3. แนวทาง (*องค์การตลาดนาเงินนอกงบประมาณมาร่วมสมทบจ่ายจานวน 25.0000 ล้าน
บาท/พัฒนาตลาด สาขาบางคลา้ จ.ฉะเชิงเทรา ซึ่งไมไ่ ด้อยู่ในพนื้ ทตี่ ิดฝัง่ ทะเล)
โค ร ง ก า ร ส่ ง เส ริ ม ก า ร เล้ี ย ง ป ศุ สั ต ว์ ให้ มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ได้ ม า ต ร ฐ า น ป ล อ ด ภั ย
สอดคลอ้ งกับความต้องการของผบู้ ริโภค
1.ฉะเชงิ เทรา 2.ชลบุรี .ระยอง 4.จันทบรุ ี 5.ตราด 6.ปราจนี บุรี 7.นครนายก
8.สระแกว้
สานักงานปลดั กระทรวงพาณชิ ย์
เพม่ิ ศักยภาพภาคการท่องเทีย่ วและบรกิ าร
ตวั ช้ีวัด/เป้าหมาย รายได้จากการทอ่ งเทีย่ ว เพมิ่ ข้ึน ร้อยละ 20
1.กลุม่ โครงการ โครงการพฒั นาการท่องเทย่ี วของภาคตะวันออก 569.4823
พ้นื ทด่ี าเนินการ : (35.1330)*
หน่วยงาน: 1.ฉะเชงิ เทรา 2.ชลบุรี .ระยอง 4.จนั ทบุรี 5.ตราด 6.ปราจนี บรุ ี 7.นครนายก
2.กลมุ่ โครงการ 8.สระแก้ว
พน้ื ทด่ี าเนนิ การ :
หนว่ ยงาน: กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธ์ุพชื สานักงานสง่ เสริม
3. กลมุ่ โครงการ
พื้นทด่ี าเนนิ การ : เศรษฐกิจดิจิทัล กรมโยธาธิการและผงั เมือง สานกั งานปลดั กระทรวงวฒั นธรรม กรมศลิ ปากร สานกั งาน
หน่วยงาน:
ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ และการประปาสว่ นภูมภิ าค
โครงการพฒั นาแหลง่ ท่องเทย่ี วชายทะเลนานาชาตใิ นจังหวัดชลบรุ ี ระยอง 217.6150
จงั หวดั จันทบุรี ระยอง
กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท และกรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง
โครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก กรณีเสน้ ทางท่องเท่ียวสายสขุ ภาพปราจนี บรุ ี 98.8200
จังหวดั ปราจีนบุรี
กรมทางหลวง และสานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
4. แนวทาง การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม 1,015.5437 44.61
ตัวช้ีวดั /เปา้ หมาย 1.สัดสว่ นพืน้ ที่ป่าไม้เพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 29 ของพ้นื ทภี่ าค
1.กลุ่มโครงการ
2.คุณภาพอากาศภาคตะวนั ออก ไม่เกินค่ามาตรฐาน (ปรมิ าณก๊าชโอโซน เฉล่ีย 1 ชม. สงู สุด 100
PPS )
3.จานวนแหลง่ นา้ ในภาคตะวนั ออกทมี่ ีคุณภาพในเกณฑด์ ี 4 แหลง่
4.สัดสว่ นขยะมลู ฝอยทถ่ี ูกกาจดั อยา่ งถกู ตอ้ งและนากลบั มาใชใ้ หมข่ องภาคตะวันออกไม่นอ้ ยกว่า ร้อย
ละ 90
โครงการอนรุ กั ษ์ ฟ้นื ฟูทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 1,015.5437
สานกั งบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 31
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพัฒนาพนื้ ทีร่ ะดับภาค
แนวทางการดาเนนิ งาน งบประมาณ สัดสว่ น
พ้ืนทดี่ าเนนิ การ 1.ฉะเชิงเทรา 2.ชลบุรี .ระยอง 4.จนั ทบุรี 5.ตราด 6.ปราจีนบุรี 7.นครนายก
8.สระแกว้
หนว่ ยงาน กรมชลประทาน กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝงั่ กรมอทุ ยาน ฯ และกรมโยธาธกิ ารและผังเมือง
รวม 2,276.4857 100
ท่ีมา : เอกสารงบประมาณประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ฉบบั ที่ 3 เล่มที1่ 8 (2) สานักงบประมาณ
ประมวลและจดั ทาโดย : สานกั งบประมาณของรฐั สภา
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พ้ืนที่ภาคตะวนั ออกได้รับการจัดสรรงบประมาณ ภายใต้แผนงานบรู ณา
การพัฒนาพื้นที่ระดับภาคจานวน ท้ังสิ้น 2,276.4857ล้านบาท มีการจัดสรรสาหรับการดาเนินงานภายใต้
แนวทางต่างๆ รวม 4 แนวทาง โดยใหค้ วามสาคัญกบั การดาเนินงานในแนวทางต่างๆ ตามลาดับดงั นี้
1.แนวทาง: การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ด้วยงบประมาณจานวน
1,015.5437 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 44.61 ของงบประมาณทง้ั หมด
2.แนวทาง: การเพิ่มศักยภาพภาคการท่องเที่ยวและบริการ ด้วยงบประมาณจานวน 885.9173
ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 38.91 ของงบประมาณท้งั หมด
3.แนวทาง: เพมิ่ ศักยภาพภาคอตุ สาหกรรม การค้าและการลงทุน ด้ ว ย งบ ป ระ ม าณ จ าน ว น
329.8231ล้านบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 14.48 ของงบประมาณทั้งหมด
4.แนวทาง: เพ่ิมศักยภาพภาคการเกษตร ด้วยงบประมาณจานวน 45.2016 ล้านบาท คิดเปน็ รอ้ ย
ละ 1.89 ของงบประมาณทัง้ หมด
4.3 โครงการดาเนนิ งานที่สาคญั
ภาคตะวันออก
หนว่ ยงาน งบประมาณ ลักษณะการดาเนนิ งาน
(ลา้ นบาท)
1.กรมชลประทาน 791.6040 โครงการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาความเสอ่ื มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
แกไ้ ขปัญหาสิ่งแวดล้อม
2.กรมทางหลวง 529.9000 โครงการยกระดบั มาตรฐานบรกิ ารและพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ียว
3.การประปาสว่ นภมู ภิ าค 231.4200 โครงการพฒั นาพืน้ ทีเ่ ศรษฐกจิ ชายแดนและการทอ่ งเทยี่ วของภาคตะวนั ออก
4.กรมโยธาธิการและผัง 202.7616 โครงการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาความเส่อื มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
เมอื ง แกไ้ ขปญั หาส่งิ แวดล้อม
5.กรมทางหลวงชนบท 178.1750 โครงการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานสนับสนุนการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมและ
เช่ือมการคา้ โลก
6.สานกั งานปลัดกระทรวง 127.7658 โครงการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มเมอื งสาคัญ
สาธารณสขุ
สานกั งบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 32
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพื้นท่รี ะดับภาค
ทมี่ า : เอกสารงบประมาณปี 2564 ฉบบั ที่ 3 เลม่ ที่ 18 (2) สานกั งบประมาณ
ประมวลและจัดทาโดย : สานกั งบประมาณของรฐั สภา
เม่ือพิจารณาลักษณะการดาเนินงานของพ้ืนท่ีภาคตะวนั ออกจาก 6 อันดับของหน่วยงานที่ได้รับการ
จัดสรรงบประมาณสูงสุด จากตารางข้างต้น จะเห็นว่างบประมาณจากกรมชลประทาน กรมทางหลวง กรม
โยธาธกิ ารและผังเมือง และการประปาส่วนภูมภิ าค เพียงแค่ 4 หน่วยงานรวมกันเป็นจานวน 1,755.6856
ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 77.12 ของงบประมาณท้ังหมด (จานวนทั้งสิ้น 2,276.4857 ล้านบาท)
แสดงว่างบประมาณส่วนใหญ่ของพ้ืนท่ีภาคตะวันออกถูกใช้ไปกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะ
แหล่งน้า และถนนหนทางเป็นสาคญั
ซ่ึงการจัดสรรงบประมาณในลักษณะดังกล่าว ยังอยู่ภายใต้กรอบภารกิจและอานาจหน้าที่ของ
หน่วยงานตา่ งๆ เป็นสาคัญ มิได้ยึดถอื กรอบยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาภาคเปน็ แนวทางการดาเนนิ งาน อกี ท้ัง
ยังไม่เห็นภาพของการบูรณาการการทางานในพื้นที่โดยใช้เป้าหมายการพัฒนาพ้ืนท่ีภาคเป็นเป้าหมาย
ร่วมของการดาเนินงานอย่างชดั เจนนกั
ขอ้ สงั เกต PBO
1.พื้นที่ภาคตะวันออกอันประกอบด้วย 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัด
ระยอง จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดนครนายก และจังหวัดสระแก้ว เป็น
ฐานเศรษฐกิจทสี่ าคัญของประเทศ ทั้งด้านเกษตร อตุ สาหกรรม และการท่องเท่ียว และการค้าชายแดน จึงได้
กาหนดเป้าหมายเชงิ ยุทธศาสตร์ของการพัฒนา “ฐานเศรษฐกิจชนั้ นาของอาเซียน โดยรกั ษาฐานเศรษฐกิจ
เดิมท่ีมีอยู่ให้เติบโตอย่างย่ังยืน และสร้างฐานเศรษฐกิจใหม่เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันและ
สนับสนุนใหป้ ระเทศเตบิ โตอย่างมเี สถยี รภาพ”
ดังนั้น การจัดสรรงบประมาณเพ่ือการพัฒนาพื้นที่ภาคจึงต้องให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ และ
ต้องคานึงถึงปัญหาความเส่ือมโทรมของส่ิงแวดล้อมจากการพัฒนาอุตสาหกรรมในพ้ืนท่ี และการแก้ไข
ปัญหาสังคมวฒั นธรรมจากความเจรญิ ดงั กลา่ วควบค่กู ันไปด้วย
2. การจัดสรรงบประมาณลงสู่พื้นที่ภาคตะวันออกน้ันมีหลายช่องทาง ทั้งงบประมาณของส่วน
ราชการ งบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาเขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และแผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นที่ระดับภาค จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ตลอดถึง
เงินอุดหนุนองค์กรปกครองท้องถิ่น ด้วยความเป็นพื้นท่ีฐานเศรษฐกิจท่ีสาคัญของประเทศและความ
หลากหลายของการพัฒนาจึงทาให้มีการจัดสรรงบประมาณท่ีซ้าซ้อนในหลายมิติ ยากต่อการควบคุมการใช้
จ่าย และการติดตามประมวลผลสัมฤทธ์ิของการใช้จ่ายงบประมาณ จึงควรใช้กลไกในมิติพื้นท่ีเป็นหลักใน
การจัดสรรงบประมาณในพ้ืนท่ีภาคตะวันออก โดยใช้ยุทธศาสตร์การพัฒนาพ้ืนที่ภาคเป็นกรอบในการ
พฒั นาและจัดสรรงบประมาณผา่ นกลไกของ จังหวัด กลมุ่ จงั หวดั และภาค เป็นสาคัญ
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 33
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาพนื้ ท่รี ะดับภาค
5. พืน้ ท่ีภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
“ศูนย์กลางเศรษฐกิจของอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้า
โขง”
ภายใต้กรอบวงเงินงบประมาณ พ.ศ. 2564
จานวน 7,826.3728 ล้านบาท
ประกอบดว้ ย
1.หนองคาย 2.เลย 3.อดุ รธานี 4.หนองบวั ลาภู
5.บึงกาฬ 6.นครพนม 7.มุกดาหาร 8.สกลนคร
9.ร้อยเอ็ด 10.ขอนแก่น 11.มหาสารคาม
12.กาฬสินธุ์ 13.สุรินทร์ 14.นครราชสีมา
15.บุรีรมั ย์ 16.ชัยภมู ิ 17.อานาจเจริญ
18.ศรสี ะเกษ 19.ยโสธร 20.อุบลราชธานี
ประเดน็ การพัฒนา แผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2560 – 2565 ฉบบั ทบทวน
(กรกฎาคม 2562) มีสาระสาคญั ดังน้ี
5.1 แนวคิดการพัฒนาและเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีปัญหาพ้ืนฐานด้านการขาดแคลนน้า ดินคุณภาพต่า ประสบอุทกภัยและ
ภัยแล้งซ้าซาก คนมีปัญหาทั้งในด้านความยากจน และมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ แต่มีความพร้อมด้าน
สถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัย ดังน้ัน การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือไปสู่ความ
“ม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” จาเป็นจะต้องแก้ไขปัญหาพ้ืนฐานควบคู่ไปกับการพัฒนาการวิจัยเพ่ือใช้ความรู้
เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในภาคให้มี
การเจริญเติบโตได้อย่างเต็มศักยภาพ พร้อมท้ังการแสวงหาโอกาสการนาความรู้ ทุน เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมจากภายนอกมาช่วยขับเคล่ือน โดยการใช้ประโยชน์จากโครงการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้าน
คมนาคมขนส่งขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงภาคตะวันออกเฉียงเหนือกับโครงข่ายระบบการคมนาคมขนส่งและพื้นท่ี
เศรษฐกิจหลักของประเทศ รวมทั้งการใช้ประโยชน์จากการเช่ือมโยงและข้อตกลงกับประเทศเพ่ือนบ้านใน
กลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงท่ีกาลังมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมาเสริมสร้างกิจกรรมการพัฒนาใหม่ ๆ
ใหแ้ กภ่ าคเพ่อื ให้มอี ตั ราการเตบิ โตท่สี งู เพยี งพอตอ่ การลดความเหลือ่ มลา้ กับพื้นที่ส่วนอื่น ๆ ของประเทศไดใ้ น
ระยะยาว มีเปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์ พัฒนาอสี านสมู่ ติ ใิ หมใ่ ห้เป็น “ศูนยก์ ลางเศรษฐกิจของอนุภมู ิภาคลุ่ม
แมน่ ้าโขง” ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา ไดแ้ ก่
สานักงบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 34
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพ้นื ทีร่ ะดับภาค
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 บริหารจดั การน้าใหเ้ พียงพอต่อการพัฒนาเศรษฐกจิ และคณุ ภาพชวี ติ อยา่ งยั่งยนื
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 แก้ปญั หาความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิตผมู้ รี ายได้น้อยเพื่อลดความเหลอื่ มลา้
ทางสงั คม
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 สร้างความเข้มแข็งของฐานเศรษฐกจิ ภายในควบคู่กับการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 พัฒนาการท่องเทีย่ วเชงิ บรู ณาการ
ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 ใช้โอกาสจากการพัฒนาโครงขา่ ยคมนาคมขนสง่ ท่เี ชือ่ มโยงพ้ืนทเี่ ศรษฐกิจหลักภาค
กลางและพ้นื ทร่ี ะเบียงเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก (EEC) เพอื่ พฒั นาเมือง และพื้นทีเ่ ศรษฐกิจใหม่ ๆ ของภาค
ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 พฒั นาความรว่ มมอื และใชป้ ระโยชนจ์ ากข้อตกลงกบั ประเทศเพอื่ นบ้านในการสร้าง
ความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกิจตามแนวชายแดนและแนวระเบียงเศรษฐกจิ
5.2 โครงสร้างการจัดสรรงบประมาณและแนวทางการดาเนินงาน
ตารางแสดงงบประมาณตามแนวทางการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ของพนื้ ทภ่ี าคตะวันออกเฉยี งเหนือ
หนว่ ย : ล้านบาท
แนวทางการดาเนินงาน งบประมาณ รอ้ ยละ
1.แนวทาง เพิม่ ศักยภาพภาคอตุ สาหกรรม การค้าและการลงทนุ 1,982.6965 25.33
1.1ตัวชว้ี ดั / 1.อัตราการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ขยายตวั ไมต่ ่อกว่ารอ้ ยละ 3.5
เปา้ หมาย
1.กล่มุ โครงการ โครงการส่งเสรมิ อุตสาหกรรมขนาดย่อมเพ่ือการสง่ ออกสู่ประเทศเพอ่ื นบ้าน 29.0063
พ้นื ที่ดาเนินการ :
หน่วยงาน: จงั หวัดมกุ ดาหาร ขอนแกน่ ร้อยเอ็ด ชัยภมู ิ และกาฬสินธ์ุ
2. กลมุ่ โครงการ
พนื้ ที่ดาเนินการ : มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี และสานกั งานปลดั กระทรวงพาณชิ ย์
หน่วยงาน:
3.กลมุ่ โครงการ โครงการยกระดับผา้ ทออีสานสู่สากล 39.6075
พนื้ ทด่ี าเนนิ การ : จังหวดั ขอนแก่น ชยั ภูมิ นครราชสีมา สรุ นิ ทร์ สกลนคร อดุ รธานี หนองบัวลาภู และกาฬสินธ์ุ
หน่วยงาน:
สานักงานปลัดกระทรวงพาณชิ ย์ สานักงานปลัดกระทรวงอตุ สาหกรรม และกรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม
4.กลมุ่ โครงการ
พื้นทด่ี าเนินการ : โครงการพฒั นาสภาพแวดล้อมเมอื งสาคญั ของจงั หวัดใหเ้ ป็นเมอื งน่าอยู่ 646.8158
หน่วยงาน:
(116.0190)*
1 .2 ตั ว ช้ี วั ด /
เป้าหมาย ทง้ั 20 จังหวัดของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
5.กล่มุ โครงการ
สานักงานปลดั กระทรวงอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม สานกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง และการประปาสว่ นภมู ิภาค
(*เงนิ นอกงบประมาณท่กี ารประปาสว่ นภมู ภิ าคนามาสมทบจา่ ย)
โครงการพฒั นานวัตกรรมเพื่อการพฒั นาภาค 113.1705
ทง้ั 20 จังหวดั ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
สานักงานการอุดมศึกษาฯ มหาวิทาลัยเกษตรศาสตร์ สานักนวัตกรรมแห่งชาติ
(องค์การมหาชน) กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และสานักงาน
ปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรม
1.อตั ราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขยายตวั ไม่ตอ่ กว่าร้อยละ 3.5
2.มูลค่าการค้าชายแดนขยายตวั ไมต่ ่ากว่า ร้อยละ 20
โครงการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนาดใหญ่และพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่ง 889.2173
สานกั งบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 35
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาพนื้ ท่ีระดบั ภาค
แนวทางการดาเนินงาน งบประมาณ รอ้ ยละ
ระบบรางในเมอื งท่มี ีศกั ยภาพภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
พื้นทด่ี าเนนิ การ : ท้งั 20 จังหวัดของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
หน่วยงาน:
6.กลมุ่ โครงการ กรมท่าอากาศยาน
พ้นื ท่ดี าเนนิ การ : โครงการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจตามแนวชายแดน และแนวระเบียง 264.8791
หน่วยงาน: เศรษฐกจิ
จงั หวดั หนองคาย เลย บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สุรินทร์ บรุ รี มั ย์ อานาจเจรญิ ศรสี ะเกษ และ
อุบลราชธานี
กรมทางหลวง กรมการคา้ ต่างประเทศ กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง และการประปาสว่ นภมู ภิ าค
2.แนวทาง เพม่ิ ศกั ยภาพภาคการเกษตร 211.4029 2.70
ตัวช้ีวดั /เป้าหมาย อตั ราการขยายตวั การผลิตภาคการเกษตร ขยายตัวไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ 1.5
1.กลมุ่ โครงการ โครงการส่งเสริมการปรับเปล่ียนการผลิตสินค้าเกษตรไปสู่สินค้าชนิดใหม่ตาม 13.7954
พน้ื ทด่ี าเนนิ การ : ศกั ยภาพพื้นที่
หน่วยงาน: จังหวัดหนองคาย เลย บึงกาฬ นครพนม อานาจเจริญ ศรีสะเกษ มหาสารคาม
2.กลุ่มโครงการ
พ้ืนที่ดาเนนิ การ : สกลนคร และอบุ ลราชธานี
หน่วยงาน: สานักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกรมสง่ เสริมการเกษตร
3.กลุ่มโครงการ
พ้ืนที่ดาเนินการ : โครงการเพม่ิ ศกั ยภาพการผลติ โคเนื้อและโคนมคุณภาพสงู 34.1370
หน่วยงาน:
4.กลุม่ โครงการ จังหวัดนครพนม มุกดาหาร สุรินทร์ บุรีรัมย์ อุบลราชธานี ขอนแก่น นครราชสีมา
พื้นทด่ี าเนินการ : ชยั ภมู ิ และสกลนคร
หน่วยงาน:
กรมปศสุ ัตว์
3.แนวทาง
โครงการสง่ เสริมการผลิตเศรษฐกจิ ชวี ภาพให้เปน็ ฐานรายได้ใหมท่ ี่สาคญั ของภาค 50.0000
ทัง้ 20 จังหวดั ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี และสานักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ
โครงการเพ่ิมศักยภาพการผลิตข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้สู่มาตรฐานเกษตร 113.4705
อินทรยี ์
จงั หวดั สรุ นิ ทร์ อานาจเจรญิ ศรสี ะเกษ รอ้ ยเอ็ด มหาสารคาม และยโสธร
กรมการขา้ ว กรมพฒั นาทดี่ ิน และสานกั งานปลดั กระทรวงพาณชิ ย์
เพ่มิ ศักยภาพภาคการท่องเท่ียวและบริการ 1,948.4422 24.89
ตวั ชวี้ ดั /เปา้ หมาย รายได้จากการทอ่ งเทย่ี ว ขยายตวั ไม่ตา่ กวา่ ร้อยละ 10
1.กล่มุ โครงการ โครงการส่งเสริมและพฒั นาการท่องเท่ียวเชิงประเพณแี ละวัฒนธรรม 656.9506
พ้ืนที่ดาเนนิ การ :
หนว่ ยงาน: ทงั้ 20 จังหวดั ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
2.กลุ่มโครงการ สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสรา้ งสรรค์ (องค์การมหาชน) กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท และกรม
พื้นทด่ี าเนนิ การ :
หน่วยงาน: โยธาธกิ ารและผังเมือง
3. กลุม่ โครงการ โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาการทอ่ งเที่ยวอารยธรรมอสี านใต้ 245.5521
จังหวดั สรุ นิ ทร์ บุรรี มั ย์ นครราชสีมา ศรสี ะเกษ และอุบลราชธานี
องค์การบรหิ ารการพฒั นาพ้ืนท่ีพิเศษเพอ่ื การทอ่ งเทยี่ วอยา่ งยง่ั ยนื (องคก์ ารมหาชน) กรมทางหลวง กรม
ทางหลวงชนบทสถาบันวจิ ยั และพัฒนาอัญมณีและเครอ่ื งประดบั แหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน)
กรมศลิ ปากร และกรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง
โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาการท่องเทีย่ ววิธีชีวิตลุม่ น้าโขง –เชิงกฬี า 744.0587
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 36
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาพืน้ ทรี่ ะดับภาค
แนวทางการดาเนนิ งาน งบประมาณ ร้อยละ
พน้ื ที่ดาเนนิ การ : จังหวดั หนองคาย เลย อดุ รธานี หนองบวั ลาภู บงั กาฬ นครพนม มกุ ดหาร สกลนคร นครราชสมี า บรุ รี มั ย์ 1.99
หนว่ ยงาน: อานาจเจรญิ ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี
4. กลุ่มโครงการ องคก์ ารบริหารการพฒั นาพืน้ ท่พี ิเศษเพอ่ื การท่องเท่ยี วอยา่ งยง่ั ยนื (องค์การมหาชน) กรมทางหลวง กรม
พื้นท่ดี าเนินการ :
หนว่ ยงาน: ทางหลวงชนบท และกรมโยธาธิการและผงั เมือง
5. กลมุ่ โครงการ
พน้ื ที่ดาเนินการ : โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาการท่องเท่ยี วยุคก่อนประวตั ิศาสตร์ 109.8930
หนว่ ยงาน:
จังหวดั อุดรธานี ขอนแกน่ กาฬสนิ ธ์ุ หนองบัวลาภู และขยั ภมู ิ
4.แนวทาง
กรมทางหลวงชนบท สานกั งานปลัดกระทรวงวฒั นธรรม และกรมศิลปากร
โครงการพฒั นาและส่งเสริมการท่องเทยี่ วธรรมชาติ 191.9878
จงั หวดั เลย นครราชสีมา ชยั ภมู ิ และอบุ ลราชธานี
กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท กรมอทุ ยานฯ และกรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง
พัฒนาดา้ นสงั คมยกระดบั คุณภาพชีวติ 165.4052
ตวั ชี้วัด/เปา้ หมาย สัดส่วนคนจนลดลงเหลือ ร้อยละ 10.8
1.กลมุ่ โครงการ โครงการพฒั นาอาชีพและคุณภาพชีวิตผมู้ ีรายได้น้อยเพ่ือลดความเหล่อื มล้าทาง 41.5597
พืน้ ที่ดาเนนิ การ : สงั คม
ท้ัง 20 จังหวัดของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
หน่วยงาน: สถาบนั พัฒนาองค์กรชมุ ชน (องคก์ ารมหาชน) และสานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ
2.กลมุ่ โครงการ โครงการพัฒนาระบบป้องกันและควบคุมโรพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้าดีใน 114.8455
พื้นท่ีดาเนนิ การ : พน้ื ท่เี ส่ยี ง
ทัง้ 20 จงั หวดั ของภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
หน่วยงาน: สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารสขุ
5.แนวทาง พัฒนาพื้นท่ีระดับภาคด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง 5.2900 0.06
สงั คม
ตัวช้วี ดั /เปา้ หมาย สัดส่วนคนจนลดลงเหลือ รอ้ ยละ 10.8
1 กลุ่มโครงการ โครงการโภชนาการแม่และเดก็ 5.2900
พื้นทด่ี าเนินการ จังหวัดหนองคาย สุรินทร์ บุรีรัมย์ อานาจเจริญ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร
หนองบวั ลาภู สกลนคร และชัยภูมิ 3,519.1360 44.96
หนว่ ยงาน สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข
3,387.9980
6.แนวทาง การบรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 131.1380
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย 1.พืน้ ทชี่ ลประทานเพ่ิมขึน้ 120.000 ไร่
2.สัดส่วนพน้ื ทีป่ ่าไมต้ อ่ พน้ื ที่ภาค ร้อยละ 15
1. กล่มุ โครงการ โครงการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพบรหิ ารจดั การน้าเพ่อื การพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื
พื้นที่ดาเนนิ การ ทงั้ 20 จงั หวดั ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
หนว่ ยงาน กรมชลประทาน และกรมโยธาธิการและผังเมือง
2. กลมุ่ โครงการ โครงการบริหารจัดการทรพั ยากรป่าไม้ และส่งิ แวดลอ้ มอย่างยั่งยืน
พื้นทด่ี าเนินการ จังหวดั เลย อดุ รธานี สกลนคร สุรินทร์ นครราชสีมา และบุรีรมั ย์
หน่วยงาน กรมปา่ ไม้ และกรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธุพ์ ชื
สานกั งบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 37
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพน้ื ทร่ี ะดบั ภาค
แนวทางการดาเนนิ งาน งบประมาณ รอ้ ยละ
รวม 7,826.3728 100
ทมี่ า : เอกสารงบประมาณประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ท่ี18 (2) สานักงบประมาณ
ประมวลและจัดทาโดย : สานักงบประมาณของรัฐสภา
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รับการจัดสรรงบประมาณภายใต้
แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาค จานวนทั้งส้ิน 7,826.3728 ล้านบาท มีการจัดสรรสาหรับการ
ดาเนินงานภายใต้แนวทางต่างๆ ครอบคลุมท้ัง 6 แนวทาง โดยให้ความสาคัญกับการดาเนินงานในแนวทาง
ตา่ งๆ ตามลาดับดังน้ี
1.แนวทาง: การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ด้วยงบประมาณจานวน
3,519.136 ลา้ นบาท คดิ เป็นร้อยละ 44.96 ของงบประมาณทงั้ หมด
2.แนวทาง: เพ่มิ ศกั ยภาพภาคอตุ สาหกรรม การคา้ และการลงทนุ ด้ ว ย งบ ป ระ ม าณ จ าน ว น
1,982.6965 ล้านบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 25.33 ของงบประมาณท้ังหมด
3.แนวทาง: การเพ่ิมศักยภาพภาคการท่องเที่ยวและบริการ ด้วยงบประมาณจานวน1,948.4422
ลา้ นบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 24.89 ของงบประมาณท้ังหมด
4.แนวทาง: เพ่มิ ศักยภาพภาคการเกษตร ด้วยงบประมาณจานวน 211.4029 ล้าน บ าท คิ ด เป็ น
รอ้ ยละ 2.70 ของงบประมาณทั้งหมด
5.แนวทาง: พฒั นาดา้ นสังคมยกระดับคณุ ภาพชวี ิต ดว้ ยงบประมาณจานวน 165.4052ล้านบาท
คดิ เปน็ รอ้ ยละ1.99 ของงบประมาณทัง้ หมด
6.แนวทาง: พัฒนาพ้นื ท่ีระดับภาคดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
ดว้ ยงบประมาณ จานวน5.2900ลา้ นบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.06 ของงบประมาณท้ังหมด
ทั้งน้ี จะเห็นว่าการจัดสรรงบประมาณของพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ให้ความสาคัญกับการ
บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเพ่ิมศักยภาพภาคอุตสาหกรรม การค้าและการลงทุน
และการเพิ่มศักยภาพภาคการท่องเท่ียวและบริการสูงมาก โดยงบประมาณในสัดส่วนกว่าร้อยละ 95 ใช้เพื่อ
การดังกล่าว ในขณะท่ีด้านการเพ่ิมศักยภาพภาคการเกษตร การพัฒนาด้านสังคมยกระดับคุณภาพชีวิต และ
การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คมได้รบั การจัดสรรงบประมาณในสัดสว่ นท่ีน้อยมาก รวมกันเพียง
ร้อยละ 5 โดยประมาณ ท้ังท่ีพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังมีปัญหาความยากจนและความเหล่ือมล้าทาง
สังคมสงู และประชาชนส่วนใหญ่อยูใ่ นภาคเกษตรกรรม
สานักงบประมาณของรฐั สภา (PBO) จงึ เห็นว่า การจดั สรรงบประมาณควรให้ความสาคัญกบั การเพิ่ม
ศักยภาพภาคการเกษตร การพัฒนาดา้ นสังคมยกระดบั คุณภาพชีวิต และการสร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางสังคมให้มากกว่านี้ ซึ่งจะสอดคล้องกับสภาพปัญหา ศักยภาพ และยุทธศาสตร์การพัฒนาของพื้นที่ภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนอื
สานักงบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 38
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาพ้นื ทีร่ ะดับภาค
5.3 การดาเนนิ งานท่ีสาคญั
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
หน่วยงาน งบประมาณ ลักษณะการดาเนินงาน
(ลา้ นบาท)
1.กรมชลประทาน 3,363.4980 โครงการเพ่ิมประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การนา้ อยา่ งยั่งยืน
2.กรมทางหลวง 1,559.0000 โครงการเกี่ยวกบั การสง่ เสริมและพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วของภาคฯ
3.กรมท่าอากาศยาน 889.2173 โครงการพฒั นาโครงขา่ ยคมนาคมขนาดใหญ่
4.การประปาส่วนภูมภิ าค 455.3761 โครงการพัฒนาเมืองศนู ย์กลาง และพื้นทร่ี ะเบียงเศรษฐกิจแนวชายแดน
5.กรมโยธาธิการและผังเมอื ง 317.4434 โครงการเก่ยี วกบั การพฒั นาสถานทท่ี อ่ งเทย่ี วและการบรหิ ารจดั การนา้
6.สานกั งานปลดั กระทรวง 232.6337 โครงการพัฒนาเมืองศูนย์กลาง และการพัฒนานวัตกรรมเพ่ือการพัฒนา
การอุดมศกึ ษา ภาค
ที่มา : เอกสารงบประมาณปี 2564 ฉบับที่ 3 เล่มที่ 18 (2) สานกั งบประมาณ
ประมวลและจดั ทาโดย : สานักงบประมาณของรัฐสภา
จากตารางข้างต้น เมื่อพิจารณาลักษณะการดาเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของพ้ืนที่ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือจากหน่วยงานท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณสูงสุด 6 ลาดับแรก จะเห็นว่างบประมาณ
จากกรมชลประทาน กรมทางหลวง กรมท่าอากาศยาน และการประปาส่วนภูมิภาค ของ 4 หน่วยงาน
รวมกันเป็นจานวน 6,267.0914ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 80.07 ของงบประมาณท้ังหมด (จานวน
ทั้งสิ้น 7,826.3728 ล้านบาท) แสดงว่างบประมาณส่วนใหญ่ของพ้ืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือถูกใช้ไป
กับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ประเภท แหล่งน้า ถนนหนทาง ท่าอากาศยาน และสถานท่ีแหล่งท่องเที่ยว
ซึ่งการจัดสรรงบประมาณในลักษณะดังกล่าวยังอยู่ภายใต้กรอบภารกิจประจาของหน่วยงานต่างๆ เป็น
สาคัญ ยังไม่เห็นภาพของการบูรณาการการทางานในพ้ืนที่โดยยึดถือเป้าหมายการพัฒนาพ้ืนที่ภาคเป็น
เป้าหมายร่วมกันอย่างชัดเจนนัก และไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นท่ีภาค โดยเฉพาะปัญหา
ด้านการเกษตร ความยากจนและความเหล่ือล้า ปญั หาด้านสาธารณสุขจากพยาธใิ บไมต้ ับ ซึ่งเป็นปัญหา
เร่งดว่ นของพื้นที่กลับได้รบั การจดั สรรงบประมาณนอ้ ยมาก
ข้อสังเกต PBO
1.ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ได้กาหนดเป้าหมายเชิงยทุ ธศาสตร์ของการพัฒนาอีสานสมู่ ติ ิใหมใ่ หเ้ ป็น
“ศนู ยก์ ลางเศรษฐกิจของอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง” ท้ังน้ี เม่อื พิจารณาโครงสร้างของการจัดสรรงบประมาณ
ปี 2564 พบว่างบประมาณของภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่จัดสรรเพ่ือการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน
ประเภท แหล่งน้า ถนนหนทาง และท่าอากาศยาน ผ่านแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม ด้วยงบประมาณจานวน 3,519.136 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.96 แนวทางเพ่ิมศักยภาพ
ภาคอุตสาหกรรม การค้าและการลงทุนด้วยงบประมาณจานวน 1,982.6965 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
สานกั งบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 39
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพ้ืนทรี่ ะดบั ภาค
25.33 และแนวทางการเพิ่มศักยภาพภาคการท่องเท่ียวและบริการ ด้วยงบประมาณจานวน 1,948.4422
ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 24.89 ของงบประมาณทง้ั หมด (ทีไ่ ด้รบั จัดสรรจานวน 7,826.3728 ลา้ นบาท)
ซ่ึงการจัดสรรงบประมาณดังกล่าวสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคที่ให้ความสาคัญการ
พัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งที่เช่ือมโยงพื้นที่เศรษฐกิจหลักภาคกลางและพ้ืนที่ระเบียงเศรษฐกิจภาค
ตะวันออก (EEC) เพอ่ื พฒั นาเมอื ง และพ้นื ท่เี ศรษฐกจิ ใหม่ ๆ ของภาค
อย่างไรก็ตาม ควรเพิ่มน้าหนักกับแก้ไขปัญหาความยากจน การพัฒนาความร่วมมือและใช้
ประโยชน์จากข้อตกลงกับประเทศเพ่ือนบ้านในการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจตามแนวชายแดน
และแนวระเบียงเศรษฐกิจ การพฒั นาการภาคการเกษตร และการค้าชายแดนมากขน้ึ
2.การดาเนินงานของพื้นทภ่ี าคตะวันออกเฉยี งเหนือได้ให้ความสาคัญกับแนวทางการเพ่ิมศักยภาพ
ภาคการท่องเท่ียวและบริการเป็นอย่างมาก ด้วยงบประมาณถึง 1,948.4422 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 24.89 ของงบประมาณท้ังหมด โดยมีการดาเนินงานใน 5 กลุ่มโครงการ ครอบคลุมรูปแบบการ
ท่องเท่ียวที่หลากหลายในทุกพื้นท่ีเป็นการดึงศักยภาพและจุดเด่นของภาคมาเป็นจุดขาย เพื่อสร้างรายได้
ให้กับภาคอีสาน แต่หากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ยังไม่คลี่คลาย อาจทาให้การ
ดาเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าประสงค์ กระทบต่อการสร้างรายได้ในพ้ืนท่ี จึงควรมองหาทิศทางการส่งเสริม
อาชีพ ผลิตภัณฑ์ และการตลาดในรูปแบบใหม่ เช่น การซื้อขายออนไลน์ แทนการขายการท่องเท่ียวเพียง
ประการเดยี ว
สานักงบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 40
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพัฒนาพน้ื ท่รี ะดับภาค
6. พืน้ ที่ภาคเหนอื
ภาคเหนือ
“พัฒนาเป็นฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูง
เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาค
ลมุ่ แมน่ า้ โขง”
จานวน 3,782.7955 ลา้ นบาท
ประกอบดว้ ย
1.เชียงใหม่ 2.แมฮ่ ่องสอน
3.ลาปาง 4.ลาพนู 5.เชียงราย
6.นา่ น 7.พะเยา 8.แพร่
9.พษิ ณโุ ลก 10.ตาก 11.สโุ ขทัย
12.อุตรดติ ถ์ 3.กาแพงเพชร 14.เพชรบูรณ์
15.นครสวรรค์16.อุทัยธานี 17.พิจิตร
ประเดน็ การพัฒนาตามแผนพัฒนาภาคเหนือ พ.ศ. 2560 - 2565ฉบับทบทวน (กรกฎาคม
2562)มีสาระสาคัญดงั น้ี
6.1 แนวคิดการพัฒนาและเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
ภาคเหนือมีทุนทางสังคมและวัฒนธรรมประเพณีที่มีอัตลักษณ์โดดเด่น ท่ีมีการฟื้นฟู สืบสานและ
สร้างสรรค์พัฒนาสกู่ ารผลิตสินค้าและบริการ โดยเฉพาะเป็นแหล่งท่องเท่ียวท่ีมีบริการสุขภาพและผลิตภัณฑ์
หัตถกรรมที่มีชื่อเสียงระดับสากล พื้นท่ีเกษตรของภาคเหนือมีขนาดเล็กเหมาะสมต่อการปรับระบบการผลิต
เพื่อสร้างคุณค่าตามแนวทางเกษตรอินทรีย์ นอกจากน้ีทาเลที่ต้ังของภาคเหนือมีศักยภาพในการขยายการค้า
การลงทุนและบริการเช่ือมโยงเศรษฐกิจกับประเทศเพ่ือนบ้านในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง และสามารถ
ขยายไปสู่จีนตอนใต้และกลุ่มประเทศเอเชียใต้ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ และ ตะวันออก-ตะวันตก
รวมถงึ เปน็ พน้ื ที่ป่าต้นนา้ ท่ีสาคญั ของประเทศ
ดังนั้น การพัฒนาภาคเหนือสู่ความ “มั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน”จาเป็นจะต้องนาศักยภาพทางภูมิสังคม
ประกอบกับปัจจัยสนับสนุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน และองค์ความรู้ของสถาบันการศึกษาและองค์กรในพื้นท่ี
มาใช้ในการต่อยอดการผลิตและบริการท่ีมีศักยภาพและโอกาสเพื่อสร้างมูลค่าสูงตามแนวทางเศรษฐกิจ
สร้างสรรค์ รวมทั้งการใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงกับประเทศเพ่ือนบ้านในการเสริมสร้างขีดความสามารถ
ของธุรกิจท้องถ่ินเพื่อขยายฐานเศรษฐกิจของภาค โดยกาหนดเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ “พัฒนาเป็น
ฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูง เช่ือมโยงเศรษฐกิจกับประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาค ลุ่มแม่น้าโขง”
ประกอบด้วย 5 ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา ไดแ้ ก่
สานกั งบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 41
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพัฒนาพนื้ ทร่ี ะดับภาค
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 พัฒนาการท่องเท่ียวและธุรกิจบริการต่อเนื่องให้มีคุณภาพ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม
อย่างย่ังยืน และกระจายประโยชน์อย่างท่ัวถึง รวมทั้งต่อยอดการผลิตสินค้าและบริการท่ีมีศักยภาพสูงด้วย
ภูมิปัญญาและนวตั กรรม
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ใช้โอกาสจากเขตเศรษฐกิจพิเศษ และการเช่ือมโยงกับอนุภูมิภาค GMS BIMSTEC
และ AEC เพอื่ ขยายฐานเศรษฐกจิ ของภาค
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับเป็นฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัยเช่ือมโยงสู่
อตุ สาหกรรมเกษตรแปรรปู ท่สี รา้ งมูลคา่ เพิ่มสูง
ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพชวี ิตและแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุอย่างมี
สว่ นร่วมของครอบครัวและชุมชน ยกระดบั ทักษะฝมี ือแรงงานภาคบริการ
ยุทธศาสตร์ท่ี 5 อนุรักษ์และฟ้ืนฟูป่าต้นน้าให้คงความสมบูรณ์ จัดระบบบริหารจัดการน้าอย่าง
เหมาะสมและเชื่อมโยงพืน้ ท่ีเกษตรใหท้ ั่วถงึ ป้องกันและแกไ้ ขปญั หามลพษิ หมอกควันอยา่ งยงั่ ยนื
6.2 โครงสรา้ งการจัดสรรงบประมาณและแนวทางการดาเนนิ งาน
ตารางแสดงงบประมาณตามแนวทางการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ของพ้นื ทภี่ าคเหนอื
หนว่ ย : ลา้ นบาท
แนวทางการดาเนินงาน งบประมาณ สัดสว่ น
1. แนวทาง เพ่ิมศักยภาพภาคอตุ สาหกรรม การค้าและการลงทุน 689.5598 18.22
ตวั ชวี้ ัด/เปา้ หมาย 1.มลู ค่าการค้าชายแดน ขยายตวั ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 15
1.กลมุ่ โครงการ
พนื้ ทีด่ าเนนิ การ : 2.อตั ราการขยายตวั ของการผลติ สาขาอุตสาหกรรม เพ่มิ ขึ้นไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 4
หนว่ ยงาน:
โครงการเสริมศักยภาพของโครงสร้างพื้นฐานเมืองเป้าหมายและเมืองชายแดน 689.5598
2. แนวทาง
ภาคเหนือเพ่ือขยายฐานเศรษฐกจิ ของภาคเหนอื (9.3400)*
จังหวดั เชยี งใหม่ แมฮ่ อ่ งสอน นา่ น พะเยา เชยี งราย แพร่ ตาก อตุ รดติ ถ์
กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท สานกั งานปลัดกระทรวงพาณชิ ย์ กรมการคา้ ตา่ งประเทศ กรมโยธาธิ
การและผงั เมอื ง และการประปาส่วนภมู ิภาค
*(การประปาส่วนภูมภิ าคนาเงนิ นอกงบประมาณร่วมสมทบจา่ ย 9.3400 ลา้ นบาท)
เพิม่ ศักยภาพภาคการเกษตร 36.2825 0.95
ตัวชี้วดั /เป้าหมาย อตั ราการขยายตัวการผลิตภาคการเกษตรเพ่มิ ข้ึนไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 4
1.กลุ่มโครงการ โครงการส่งเสริมเกษตรอินทรยี ์ 3.9015
พน้ื ทด่ี าเนนิ การ : จังหวัดเชียงใหม่ แมฮ่ ่องสอน ลาปาง ลาพูน นา่ น พะเยา เชยี งราย และแพร่ 32.3810
หนว่ ยงาน: สานกั งานปฏิรูปทดี่ นิ เพือ่ เกษตรกรรม
2.กล่มุ โครงการ โครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัย 729.2986 19.27
พ้นื ท่ดี าเนนิ การ : จังหวัดตาก พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ กาแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์
และอทุ ยั ธานี
หน่วยงาน: กรมปศสุ ตั ว์ และ กรมพฒั นาทดี่ นิ
3. แนวทาง เพ่ิมศกั ยภาพภาคการทอ่ งเที่ยวและบริการ
ตัวช้ีวดั /เปา้ หมาย รายได้จากการท่องเทยี่ ว ขยายตวั ไม่ตา่ กวา่ ร้อยละ 12
สานกั งบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 42
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาพน้ื ท่รี ะดับภาค
แนวทางการดาเนนิ งาน งบประมาณ สัดสว่ น
1.กลุ่มโครงการ โครงการพัฒนาพนื้ ท่รี ะเบียงเศรษฐกจิ พิเศษ (NCE-Creative LANNA) 7.4745
พน้ื ที่ดาเนนิ การ :
หน่วยงาน: จงั หวัดเชยี งใหม่ ลาพนู ลาปาง และเชียงราย
2.กลุ่มโครงการ
พน้ื ทด่ี าเนนิ การ : สานกั งานสง่ เสริมเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ (องค์การมหาชน)
หนว่ ยงาน:
โครงการพัฒนากลมุ่ ทอ่ งเทีย่ วอารยธรรมล้านนาและกล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุ 154.7485
จงั หวดั เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แม่ฮ่องสอน น่าน แพร่ พะเยา และเชียงราย
กองทัพอากาศ สถาบันวทิ ยาลยั ชมุ ชน กรมทางหลวงชนบท กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง สานกั งาน
ปลดั กระทรวงวฒั นธรรม และ กรมศิลปากร
3. กลุ่มโครงการ โครงการพัฒนากลมุ่ ท่องเท่ียวมรดกโลก 132.9000
พนื้ ทีด่ าเนนิ การ :
หน่วยงาน: จังหวดั สโุ ขทัย และ กาแพงเพชร
4. กลมุ่ โครงการ กรมศิลปากร และองค์การบริหารพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษเพ่ือการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน
พื้นทีด่ าเนินการ :
หนว่ ยงาน: (องค์การมหาชน)
5. กลมุ่ โครงการ โครงการพฒั นากลมุ่ ท่องเท่ยี วธรรมชาติ 337.4005
พื้นท่ดี าเนนิ การ :
หน่วยงาน: จังหวดั เชยี งใหม่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย น่าน เพชรบูรณ์ และอุทัยธานี 2.5500*
4. แนวทาง มหาวิทยาลัยพะเยา กรมทางหลวงชนบท กรมอทุ ยานฯ และกรมโยธาธิการและผังเมอื ง
ตัวชี้วดั /เป้าหมาย *เงินนอกงบประมาณท่ีมหาวิทยาลัยพะเยานามาสมทบจ่าย
1.กลมุ่ โครงการ โครงการพัฒนาต่อยอดอตุ สาหกรรมสร้างสรรคแ์ ละสนิ คา้ ชุมชน 96.7751
ทงั้ 17 จังหวัดของภาคเหนือ
สานกั งานสง่ เสรมิ การจดั ประชุมและนิทรรศการ (องคก์ ารมหาชน) สานกั งานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยแี ห่งชาติ สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) สานักงานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล
สานกั งานปลดั กระทรวงพาณิชย์ และสถาบนั วจิ ยั และพัฒนาอญั มณแี ละเครอ่ื งประดบั แห่งชาติ
(องคก์ ารมหาชน)
พัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาคด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง 465.8790 12.31
สงั คม
1.สดั ส่วนคนจนลดลงไมน่ อ้ ยกว่า ร้อยละ 8
2.สดั สว่ นของผสู้ ูงอายุทีเ่ ขา้ ถึงการดแู ลผูส้ งู อายรุ ะยะยาว (Long Term Care) เพม่ิ ขน้ึ ไมน่ อ้ ยกวา่
รอ้ ยละ 5
โครงการพฒั นาคุณภาพชีวิตผู้สงู อายุและผดู้ ้อยโอกาส 63.5058
พื้นท่ดี าเนินการ ทัง้ 17 จงั หวัดของภาคเหนอื
หนว่ ยงาน มหาวิทยาลัยพะเยา
2.กล่มุ โครงการ โครงการยกระดบั รายไดแ้ ละคณุ ภาพชีวติ ของคนยากจน 402.3732
พื้นที่ดาเนินการ ทั้ง 17 จังหวัดของภาคเหนอื
หน่วยงาน สถาบันพฒั นาองค์กรชมุ ชน (องคก์ ารมหาชน) และกรมทางหลวง
5. แนวทาง การบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 1,861.7758 49.21
ตัวชี้วัด/เป้าหมาย 1.สดั สว่ นพ้ืนท่ีปา่ ไม้ตอ่ พ้นื ทีภ่ าคไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 58 ของพ้นื ท่ีภาค 1,861.7758
2.จานวนวันทมี่ ีค่าฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก (PM 10) เกนิ มาตรฐานไม่เกิน 15 วัน
1.กลมุ่ โครงการ โครงการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม
สานกั งบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 43
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาพืน้ ทร่ี ะดบั ภาค
แนวทางการดาเนนิ งาน งบประมาณ สัดส่วน
พ้นื ทด่ี าเนนิ การ ทัง้ 17 จังหวัดของภาคเหนือ
หน่วยงาน กรมชลประทาน กรมปา่ ไม้ และกรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธพ์ุ ืช
รวม 3,782.7955 100
ทีม่ า : เอกสารงบประมาณประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับที่ 3 เลม่ ท่ี18 (2) สานกั งบประมาณ
ประมวลและจดั ทาโดย : สานกั งบประมาณของรฐั สภา
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 พื้นท่ีภาคเหนือไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณ ภายใต้แผนงานบูรณาการ
พัฒนาพื้นท่ีระดับภาคจานวน ท้ังสิ้น 3,782.7955 ล้านบาท มีการจัดสรรสาหรับการดาเนินงานภายใต้
แนวทางต่างๆ รวม 5 แนวทาง โดยใหค้ วามสาคัญกับการดาเนินงาน ตามลาดับดังน้ี
1.แนวทาง: การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ด้วยงบประมาณจานวน
1861.7758 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 49021 ของงบประมาณทง้ั หมด
2.แนวทาง: การเพ่ิมศักยภาพภาคการท่องเท่ียวและบริการ ด้วยงบประมาณจานวน 729.2986
ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 19.27 ของงบประมาณทั้งหมด
3.แนวทาง: เพิ่มศักยภาพภาคอตุ สาหกรรม การค้าและการลงทุน ด้ ว ย งบ ป ระ ม าณ จ าน ว น
689.5598ล้านบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.22 ของงบประมาณท้ังหมด
4.แนวทาง: พฒั นาพน้ื ท่ีระดับภาคด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
ดว้ ยงบประมาณจานวน 465.8790 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 12.31 ของงบประมาณท้ังหมด
5.แนวทาง: เพิ่มศักยภาพภาคการเกษตร ดว้ ยงบประมาณจานวน 36.2825 ลา้ นบาท คดิ เป็นรอ้ ย
ละ 0.95 ของงบประมาณทั้งหมด
ท้ังน้ี สานักงบประมาณของรัฐสภา (PBO) เห็นว่า การจัดสรรงบประมาณพื้นท่ีภาคเหนือควรให้
ความสาคัญกับการเพิ่มศักยภาพภาคการเกษตรให้มากกว่านี้ เนื่องจากเป็นผลิตผลที่สาคัญของภาคและ
เกี่ยวข้องกับประชาชนจานวนมาก อีกทั้งยังช่วยสนับสนุนเสริมส่งภาคการท่องเที่ยวและบริการของภาคและ
ประเทศไทยด้วย จงึ ควรให้การสง่ เสริมภาคการเกษตรควบคู่ไปกนั การดาเนนิ งานในดา้ นอน่ื ๆ
6.3 การดาเนนิ งานทีส่ าคญั
ภาคเหนอื
หน่วยงาน งบประมาณ ลักษณะการดาเนินงาน
(ล้านบาท)
1.กรมชลประทาน 1,380.8990 โครงการบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
2.กรมทางหลวง 923.0000 โครงการเสรมิ ศักยภาพโครงสร้างพ้นื ฐานเมืองเปา้ หมายและชายแดน
3.กรมอทุ ยานฯ 338.5274 โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ และ บริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
4.กรมป่าไม้ 243.1100 โครงการบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
สานักงบประมาณของรัฐสภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 44
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาพื้นที่ระดบั ภาค
5.กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง 236.5715 โครงการพัฒนาสถานท่ีท่องเทย่ี ว
ที่มา : เอกสารงบประมาณปี 2564 ฉบับที่ 3 เล่มที่ 18 (2) สานกั งบประมาณ
ประมวลและจดั ทาโดย : สานักงบประมาณของรฐั สภา
จากตารางข้างต้น เมื่อพิจารณาลักษณะการดาเนินงานของพ้ืนท่ีภาคเหนือจากหน่วยงานที่ไดร้ ับการ
จัดสรรงบประมาณสูงสุด 5 ลาดับแรก จะเห็นว่างบประมาณจากกรมชลประทาน กรมทางหลวง และกรม
โยธาธิการและผังเมือง 3 หน่วยงานรวมกนั เป็นจานวน 2,540.4705 ลา้ นบาท หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 67.58
ของงบประมาณท้ังหมด (จานวนท้ังส้ิน 3,782.7955 ล้านบาท) แสดงว่างบประมาณส่วนใหญ่ของพื้นที่
ภาคเหนือถูกใช้ไปกับการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ประเภท แหล่งน้า ถนน และแหล่งท่องเท่ียว และ
นอกจากนั้น เป็นการแก้ไขปัญหาหมอกควันจากไฟป่า ของกรมป่าไม้ และกรมอุทยานฯ ซ่ึงการจัดสรร
งบประมาณในลักษณะดังกลา่ วยังอยู่ภายใต้กรอบภารกิจของหน่วยงานต่างๆ เป็นสาคัญ ไม่ได้สะท้อนถึง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ภาคอย่างแท้จริง ท้ังยังไม่เห็นภาพของการบูรณาการการทางานในพื้นท่ีโดย
ยดึ ถอื เปา้ หมายการพัฒนาพ้นื ทภ่ี าคเปน็ เปา้ หมายรว่ มกนั แตอ่ ยา่ งใด
ข้อสังเกต PBO
1.ได้ยึดถือยุทธศาสตร์ภาคเป็นเป้าหมายในการบูรณาการการทางานหรือไม่ เม่ือพิจารณาลักษณะ
การดาเนินงานจากการจัดสรรงบประมาณใหแ้ ก่หน่วยงานต่างๆ จะเหน็ ว่างบประมาณ จานวน 2,540.4705 ลา้ น
บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 67.58 ของงบประมาณท้ังหมด อยู่ภายใต้กรมชลประทาน กรมทางหลวง กรมโยธาธิ
การและผังเมือง แสดงว่างบประมาณส่วนใหญ่ของพื้นที่ภาคเหนือถูกใช้ไปกับการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน
ประเภท แหลง่ น้า ถนน และแหล่งท่องเท่ียว ภายใต้กรอบภารกิจของหน่วยงานต่างๆ เปน็ สาคญั ไมไ่ ดส้ ะท้อนถึง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ภาค ทาให้ไม่เห็นภาพของการบูรณาการการทางานในพ้ืนที่โดยยึดถือเป้าหมายการ
พัฒนาพน้ื ท่ภี าคเป็นเป้าหมายรว่ มกันแต่อย่างใด
2.การจัดสรรงบประมาณไม่สอดคล้องกับการกาหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดการดาเนินงาน พ้ืนที่
ภาคเหนือมีปัญหาเร่ืองการเส่ือมโทรมของป่าไม้ และปัญหาหมอกควันจากไฟป่า การดาเนินงานภายใต้แนว
ทางการบรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม จึงไดก้ าหนดตวั ชว้ี ัด/เป้าหมาย 2 ปจั จยั ไดแ้ ก่
1.สัดส่วนพ้นื ท่ปี า่ ไม้ต่อพ้นื ทีภ่ าคไม่น้อยกว่าร้อยละ 58 ของพืน้ ท่ีภาค
2.จานวนวันทมี่ ีคา่ ฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ (PM 10) เกินมาตรฐานไมเ่ กนิ 15 วัน
แต่เมื่อดูรายละเอียดการจัดสรรงบประมาณในกลุ่มโครงการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม ด้วยงบประมาณ 1,861.7758 ล้านบาท พบว่า งบประมาณจานวน 1,380.8990 ล้านบาท หรือ
กว่ารอ้ ยละ 74 เป็นของกรมชลประทาน กระทรวงเกษตร ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นกจิ กรรมการกอ่ สร้างแหล่งกักเก็บน้า
และสถานีสูบน้า ส่วนท่ีเหลือเป็นงบประมาณของกรมป่าไม้ และกรมอุทยานแห่งชาติฯ เป็นงบดาเนินงานและงบ
ลงทุนในสิ่งก่อสร้างต่างๆ ในขณะท่ีการจัดสรรงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ “เครือข่ายราษฎรอาสาสมัคร
พทิ ักษป์ ่า” 15 เครอื ข่าย ซ่งึ เก่ยี วข้องกับการป้องกนั ไฟป่าโดยตรง รวมเปน็ งบประมาณเพียง 7.5 แสนบาท
สานักงบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หน้า 45
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพื้นทร่ี ะดบั ภาค
ท้ังนี้ แม้วา่ การจดั ทาแหล่งเก็บน้ามีความสาคัญและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาพืน้ ทีภ่ าคแตไ่ ม่สัมพนั ธ์
กับการเพ่ิมพ้ืนท่ีป่าไม้ของพ้ืนท่ีภาคเหนือ การจัดสรรงบประมาณดังกล่าวจึงอาจไม่สอดคล้องกับการกาหนด
เป้าหมายและตัวช้วี ดั การดาเนนิ งาน และอาจไม่สะท้อนปัญหาของพนื้ ท่ีอยา่ งแท้จริง
สานกั งบประมาณของรฐั สภา เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 หนา้ 46