The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaipbo.parliament, 2021-12-27 07:00:05

แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

แผนงานบูรณาการ
เขตพั ฒนาพิ เศษภาคตะวันออก



วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก

แผนงานบรู ณาการเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก

(เอกสารงบประมาณ ฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 18 (1) หน้า 101)

เป้าหมาย:

ปี 2564 ปี 2565

เกดิ การลงทุนจากภาครัฐและภาคเอกชน ในพนื้ ที่ เกดิ การลงทนุ จากภาครัฐและภาคเอกชน ในพ้นื ที่

เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก

(ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี ระยอง) (ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี ระยอง)

ตัวชีว้ ัด:

ปี 2564 ปี 2565

มูลคา่ การลงทนุ จากภาครฐั และภาคเอกชน ในพื้นท่ี 1. มูลค่าการลงทุนจากภาครัฐและภาคเอกชน ใน

เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี พนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ฉะเชิงเทรา

ระยอง) ไมน่ อ้ ยกวา่ 300,000 ล้านบาท ชลบุรี ระยอง) ไม่น้อยกว่า 300,000 ลา้ นบาท

2. อัตราการขยายตวั ของ GDP เพ่มิ ขึน้ ร้อยละ 4

แนวทางการดาเนินงาน:

ปี 2564 ปี 2565

แนวทางท่ี 1: การพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน ระบบ แนวทางท่ี 1: การพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐาน ระบบ

สาธารณูปโภค สาธารณปู โภค และระบบดิจทิ ลั

แนวทางท่ี 2: การพฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานดา้ นดิจทิ ัล แนวทางท่ี 2: การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเทยี่ ว

แนวทางท่ี 3: การพฒั นาและส่งเสริมการท่องเที่ยว แนวทางที่ 3: การพฒั นาบุคลากร การศกึ ษา การวิจัย

เทคโนโลยี และนวัตกรรม

แนวทางท่ี 4: การพัฒนาบคุ ลากร การศึกษา การวิจยั แนวทางที่ 4: การยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตประชาชน

เทคโนโลยี และนวตั กรรม รองรบั การขยายตัวของเมือง และการพฒั นาภาค

เกษตรอจั ฉริยะ

แนวทางท่ี 5: การพัฒนาเมอื งอัจฉรยิ ะ ส่งิ แวดลอ้ ม แนวทางท่ี 5: การพฒั นาประชาสัมพนั ธ์ และส่งเสริม

และสาธารณสขุ การลงทนุ ในอตุ สาหกรรมเป้าหมาย

แนวทางท่ี 6: การพฒั นา ประชาสมั พนั ธ์ และส่งเสริม

การลงทุนในอตุ สาหกรรมเป้าหมาย

หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ

หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง: 9 กระทรวง 22 หนว่ ยงาน 1 ส่วนราชการไม่สงั กัดฯ 3 รฐั วสิ าหกิจ
2 องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่

เจ้าภาพหลกั : สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 1 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : แผนงานบูรณาการเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

สรุปภาพรวมงบประมาณและผลการเบิกจา่ ย

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานบูรณาการขับเคล่ือนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ได้รับ

จัดสรรงบประมาณ จานวน 12,275.3622 ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 9,061.0243

ล้านบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 42.47

งบประมาณ จาแนกตามกระทรวง/หน่วยงาน

แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เพม่ิ /-ลด
งบประมาณ สัดส่วน งบประมาณ สัดส่วน จานวน ร้อยละ

รวมทง้ั ส้ิน 21,336.3865 100.00 12,275.3622 100.00 -9,061.0243 -42.47

สานกั นายกรัฐมนตรี 27.0793 0.13 30.9272 0.25 3.8479 14.21

สำนักงำนสง่ เสริมกำรจัดประชุมและนิทรรศกำร (องคก์ ำรมหำชน) 24.0780 0.11 28.1282 0.23 4.0502 16.82

สำนักงำนสง่ เสริมเศรษฐกิจสร้ำงสรรค์ (องคก์ ำรมหำชน) 3.0013 0.01 2.7990 0.02 -0.2023 -6.74

กระทรวงกลาโหม 1,778.0615 8.33 1,203.3995 9.80 -574.6620 -32.32

กองทพั เรือ 1,778.0615 8.33 1,203.3995 9.80 -574.6620 -32.32

กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม 2,890.6776 13.55 1,241.8690 10.12 -1,648.8086 -57.04

สำนักงำนปลัดกระทรวงกำรอดุ มศกึ ษำฯ - - 2.6500 0.02 2.6500 100.00

กรมวิทยำศำสตร์บริกำร 3.5300 0.02 102.0900 0.83 98.5600 2,792.07

มหำวิทยำลยั เทคโนโลยีรำชมงคลตะวันออก 92.5196 0.43 68.5000 0.56 -24.0196 -25.96

มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี 22.6553 0.18 - - -22.6553 -100.00

มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ 40.0000 0.19 - - -40.0000 -100.00

มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลำ้ พระนครเหนือ 46.1000 0.22 - - -46.1000 -100.00

มหำวิทยำลยั ธรรมศำสตร์ 127.4000 0.60 106.3790 0.87 -21.0210 -16.50

มหำวิทยำลยั บรู พำ 75.1755 0.35 13.9000 0.11 -61.2755 -81.51

สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชำติ 2,483.2972 11.64 928.3500 7.56 -1,554.9472 -62.62

สำนักงำนพัฒนำเทคโนโลยีอวกำศฯ (องคก์ ำรมหำชน) - - 20.0000 0.16 20.0000 100.00

กระทรวงคมนาคม 9,674.3852 45.34 6,742.7316 54.93 -2,931.6536 -30.30

กรมทำงหลวง 8,534.3795 40.00 6,047.6625 49.27 -2,486.7170 -29.14

กรมทำงหลวงชนบท 1,140.0057 5.34 695.0691 5.66 -444.9366 -39.03

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 12.5665 0.06 7.1270 0.06 -5.4395 -43.29

สำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 10.0395 0.05 4.6000 0.04 -5.4395 -54.18

องคก์ ำรบริหำรจัดกำรก๊ำซเรือนกระจก (องคก์ ำรมหำชน) 2.5270 0.01 2.5270 0.02 - -

กระทรวงมหาดไทย 533.9548 2.50 518.2052 4.22 -15.7496 -2.95

กรมกำรปกครอง 12.7000 0.06 5.0800 0.04 -7.6200 -60.00

กรมโยธำธิกำรและผงั เมือง 521.2548 2.44 513.1252 4.18 -8.1296 -1.56

กระทรวงแรงงาน 14.7364 0.07 47.1500 0.38 32.4136 219.96

กรมพัฒนำฝมี ือแรงงำน 14.7364 0.07 47.1500 0.38 32.4136 219.96

กระทรวงศึกษาธกิ าร 88.5105 0.41 63.2900 0.52 -25.2205 -28.49

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ 88.5105 0.41 63.2900 0.52 -25.2205 -28.49

กระทรวงสาธารณสุข 237.5901 1.11 374.2221 3.05 136.6320 57.51

สำนักงำนปลัดกระทรวงสำธำรณสขุ 229.2883 1.07 362.4979 2.95 133.2096 58.10

กรมควบคมุ โรค 8.3018 0.04 5.2395 0.04 -3.0623 -36.89

กรมอนำมัย - - 3.2847 0.03 3.2847 100.00

สถำบนั กำรแพทย์ฉุกเฉินแหง่ ชำติ - - 3.2000 0.03 3.2000 100.00

ส่วนราชการไม่สังกดั ฯ 285.3962 1.34 191.2580 1.56 -94.1382 -32.99

สำนักงำนคณะกรรมกำรนโยบำยเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก 285.3962 1.34 191.2580 1.56 -94.1382 -32.99

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 2 สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : แผนงานบรู ณาการเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก

แผนงานบูรณาการเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เพมิ่ /-ลด
งบประมาณ สัดส่วน งบประมาณ สัดส่วน จานวน ร้อยละ

รัฐวิสาหกจิ 5,423.3584 25.42 1,359.3054 11.07 -4,064.0530 -74.94

กำรประปำนครหลวง 41.8650 0.20 41.8650 0.34 - -

กำรประปำสว่ นภมู ิภำค 1,612.3906 7.56 800.9891 6.53 -811.4015 -50.32

กำรไฟฟ้ำนครหลวง 20.9409 0.10 - - -20.9409 -100.00

กำรไฟฟ้ำส่วนภมู ิภำค 508.1750 2.38 - - -508.1750 -100.00

กำรรถไฟแห่งประเทศไทย 3,239.9869 15.19 516.4513 4.21 -2,723.5356 -84.06

องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ 370.0700 1.73 495.8772 4.04 125.8072 34.00

กรุงเทพมหำนคร 297.1700 1.39 418.4925 3.41 121.3225 40.83

เมืองพัทยำ 72.9000 0.34 77.3847 0.63 4.4847 6.15

ทมี่ า: เอกสารงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับท่ี 3 เลม่ ท่ี 18 (1) หนา้ 111 - 114

1) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีหน่วยงานท่ี

เก่ียวข้องจานวน 9 กระทรวง 22 หน่วยงาน 1 ส่วนราชการไม่สังกัดฯ 3 รัฐวิสาหกิจ และ 2 องค์กรปกครอง

สว่ นท้องถ่ิน โดยมีหนว่ ยงานทไ่ี ด้รบั งบประมาณสงู สุด 3 ลาดับแรก คือ

1.1) กรมทางหลวง จานวน 6,047.6625 ล้านบาท สดั ส่วนร้อยละ 49.27

1.2) กองทพั เรือ จานวน 1,203.3995 ล้านบาท สดั ส่วนรอ้ ยละ 9.80

1.3) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรฯ์ จานวน 928.3500 ล้านบาท สดั ส่วนร้อยละ 7.56

2) หน่วยงานใหมท่ ่ีไดร้ ับจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวม 4 หน่วยงาน คือ

2.1) สานักงานปลัดกระทรวงการอดุ มศกึ ษาฯ จานวน 2.6500 ลา้ นบาท เป็นงบประมาณโครงการ

ปฏิรูปการศึกษาในรูปแบบสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางานเพ่ือรองรับความต้องการของ

ตลาดแรงงาน

3.2) สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศฯ (องค์การมหาชน) จานวน 20.0000 ล้านบาท เป็น

งบประมาณโครงการพัฒนานิเวศอุตสาหกรรมการบินและอวกาศเพ่ือการลงทุนบนพื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจภาค

ตะวนั ออก

3.3) กรมอนามยั จานวน 3.2847 ล้านบาท เป็นงบประมาณโครงการยกระดับการจัดการอนามยั

สงิ่ แวดล้อมในพ้ืนท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก

3.4) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ จานวน 3.2000 ล้านบาท เป็นงบประมาณโครงการ

พฒั นายกระดบั การใหบ้ รกิ ารการแพทย์ฉุกเฉินในพน้ื ท่ีนารอ่ งในเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 3 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก

งบประมาณตามเป้าหมาย/แนวทางการดาเนินงาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานบูรณาการ

เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีแนวทางการดาเนินงาน
รวมทง้ั สน้ิ 5 แนวทาง ดงั น้ี

แนวทางที่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบ
สาธารณูปโภค และระบบดิจิทัล งบประมาณ 9,711.2090
ลา้ นบาท

แนวทางท่ี 2 การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว
งบประมาณ 105.5129 ลา้ นบาท

แนวทางที่ 3 การพัฒนาบุคลากร การศึกษา การ
วิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม งบประมาณ 1,226.0390
ลา้ นบาท

แนวทางท่ี 4 การยกระดับคุณภาพชีวติ ประชาชน
รองรบั การขยายตัวของเมอื ง และการพฒั นาภาคเกษตรอัจฉรยิ ะ งบประมาณ 1,067.5895 ลา้ นบาท

แนวทางที่ 5 การพัฒนาประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย งบประมาณ
165.0118 ลา้ นบาท

โดยมคี ่าใช้จ่ายรายการสาคญั ในแต่ละแนวทาง ดังนี้
แนวทางที่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภค และระบบดิจิทัล งบประมาณ
9,711.2090 ลา้ นบาท มหี นว่ ยงานที่เกยี่ วข้องจานวน 8 หน่วยงาน โดยมตี วั ชวี้ ัดคือ
ตัวชี้วัดที่ 1 ระบบคมนาคมขนส่ง (ถนน ราง น้า อากาศ) มีความพร้อม สะดวก รวดเร็ว และมี
ประสทิ ธภิ าพ เชื่อมโยงพน้ื ทีเ่ ศรษฐกจิ อย่างไร้รอยตอ่ 4 ระบบ
ตัวชี้วัดท่ี 2 ระบบสาธารณูปโภคได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพเข้าถึงทุกพื้นท่ี 5 แห่ง สร้าง
ประโยชน์ใหค้ รวั เรือน 620 ครวั เรอื น
มคี ่าใชจ้ ่ายรายการสาคญั คือ
1. โครงการพัฒนาทางหลวงรองรับระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (กรมทางหลวง) งบประมาณ
6,047.6625 ล้านบาท โดยมีเป้าหมายคอื ระยะทางท่กี อ่ สรา้ งแล้วเสร็จ 112.193 กม. และสะพาน 2 แหง่
2. โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบสาธารณูปโภค (กองทัพเรือ) งบประมาณ 1,153.9495 ล้าน
บาท มโี ครงการสาคญั คอื โครงการนาสายไฟลงดินส่งเสริมสภาพพืน้ ทส่ี าหรับเมืองการบนิ ภาคตะวันออก ระยะ
ท่ี 2 งบประมาณ 905.0000 ล้านบาท โครงการพัฒนาท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ งบประมาณ 91.2700 ล้านบาท
และโครงการก่อสร้างทางวงิ่ และทางขบั ที่ 2 งบประมาณ 58.0074 ลา้ นบาท
3. โครงการน้าประปาท่ีให้บริการแก่ประชาชนในส่วนเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (การ
ประปาส่วนภูมิภาค) งบประมาณ 800.9891 ลา้ นบาท

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 4 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

ขอ้ สงั เกต:
1. โครงการก่อสร้างศูนย์ซ่อมอากาศยาน MRO กองทัพเรือได้รับงบประมาณเพื่อเป็นค่าจ้าง

ท่ีปรึกษาบริหารโครงการก่อสร้างศูนย์ซ่อมบารุงอากาศยานอู่ตะเภา ผูกพันงบประมาณปี 2562-2567
วงเงินทั้งส้ิน 89.3242 ล้านบาท ตั้งงบประมาณในปี 2565 จานวน 23.2241 ล้านบาท เน่ืองจากการลงทุน
ติดต้ังระบบและอุปกรณ์ซ่อมบารุงอากาศยานภายในอาคาร MRO น้ัน จะต้องใช้งบประมาณท่ีค่อนข้างสูง
กองทัพเรือมีแนวทางในการให้เช่าอาคาร MRO อย่างไร เน่ืองจากปจั จุบนั บริษัท การบินไทย ยังคงสถานะ
ทไ่ี ม่ใช่ “รัฐวิสาหกจิ ” ประกอบกับ บรษิ ัท การบนิ ไทย มีคงมหี น้สี นิ จานวนมาก ทร. มีแนวทางให้เอกชนราย
อนื่ ๆ เข้ามาร่วมประมูลหรอื ไม่ อย่างไร

2. โครงการพัฒนาท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ ค่าก่อสร้างท่าเทียบเรือเชื่อมต่อท่าหมายเลข 4-5
ท่าเรือจุกเสม็ดกับท่าเทียบเรืออู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรือ งบประมาณท้ังสิ้น 238.9250
ล้านบาท โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขอต้ังงบประมาณ 47.7850 ล้านบาท มีความจาเป็นเร่งด่วน
อย่างไร หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งมีการประเมนิ มลู ค่าที่จะได้รับจากการกอ่ สร้างทา่ เทียบเรือเช่อื มต่อ และมูลคา่
ทีจ่ ะสูญเสียจากการกอ่ สรา้ งล่าช้าไวห้ รือไม่ อยา่ งไร

3. เม่ือวันท่ี 6 กรกฎาคม 2564 คณะรัฐมนตรีอนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 เพ่ิมเติม งบกลาง รายการเงินสารองจ่ายเพ่ือกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น วงเงิน 451.36 ล้านบาท
ให้กองทัพเรือ (ทร.) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการนาสายไฟลงใต้ดินเพ่ือส่งเสริมสภาพพ้ืนที่
สาหรับเมืองการบนิ ภาคตะวันออก ในส่วนของงานจ้างนาสายไฟลงใต้ดิน จานวน 3 เสน้ ทาง

โดยโครงการนาสายไฟลงใต้ดินส่งเสริมสภาพพ้ืนที่สาหรับเมืองการบินภาคตะวันออก เป็นการ
ดาเนินการเพ่ือสนับสนุนโครงการรถไฟความเร็วสูงเชือ่ ม 3 สนามบิน และโครงการพฒั นาสนามบนิ อ่ตู ะเภา
และเมืองการบนิ ภาคตะวันออกให้สามารถดาเนินงานได้บรรลุเป้าหมายตามระยะเวลาที่กาหนด ซ่ึงไดม้ ีการ
เห็นชอบแผนแม่บทโครงการปรับปรุงระบบสายไฟฟ้าและสายสื่อสารในพื้นที่สัตหีบเป็นระบบท่อร้อยสาย
จานวน 8 เส้นทาง ระยะทางรวม 46.24 กิโลเมตร โดยมีประมาณการค่าใช้จ่ายรวม 4,161.60 ล้านบาท
ระยะเวลาดาเนนิ โครงการฯ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2565 รวม 2 ระยะ (ระยะละ 4 เส้นทาง)

ซ่ึงทาง ทร. แจ้งว่า โครงการดังกล่าวเป็นความต้องการนอกแผนการปฏิบัติงานและแผนการ
ใช้จา่ ยงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ของ ทร. ทีม่ วี งเงนิ ในการดาเนินการคอ่ นข้าง
สูง ทร. จึงไมส่ ามารถปรบั แผนการปฏบิ ตั ิงานและแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณเพอื่ ดาเนินโครงการดงั กลา่ วได้

ท้ังนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ทร. ได้ขอต้ังงบประมาณโครงการนาสายไฟลงใต้ดินส่งเสริม
สภาพพื้นที่สาหรับเมอื งการบินภาคตะวันออก ระยะท่ี 2 งบประมาณ 905 ล้านบาท

4. เมอื่ วนั ท่ี 1 มิถนุ ายน 2564 คณะรัฐมนตรมี มี ติอนุมัตกิ ารขอรับการจดั สรรงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 งบกลาง รายการเงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น วงเงิน
568,228,255 บาท สาหรับโครงการรถไฟความเร็วสูงเช่อื มสามสนามบิน ภายใต้แผนงานบูรณาการเขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ตามท่ีสานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สก
พอ.) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพแผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเสนอ โดยเป็น
งบประมาณของการรถไฟ สาหรับค่างานจัดกรรมสิทธิ์ที่ดินและสารวจอสังหาริมทรัพย์ เพ่ือการเวนคืนใน
โครงการรถไฟความเรว็ สงู เชอ่ื ม 3 สนามบนิ

ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ได้รับจัดสรรงบประมาณ
สาหรับค่าเวนคืนที่ดินและรื้อย้ายสิ่งปลูกสร้าง จานวน 3,146.7218 ล้านบาท และในปีงบประมาณ พ.ศ.
2565 ขอรับจัดสรร 475.0000 ล้านบาท

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 5 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

แนวทางที่ 2 การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว งบประมาณ 105.5129 ล้านบาท มีหน่วยงาน
ทเี่ กยี่ วขอ้ งจานวน 2 หน่วยงาน โดยมีตัวช้วี ัดคือ

ตวั ช้ีวัดที่ 1 ผ้มู าเยอื นในพื้นท่ี EEC ชาวไทยและชาวต่างชาติ เพิ่มขึน้ ร้อยละ 20
ตวั ชวี้ ัดที่ 2 แหลง่ ทอ่ งเท่ียวชมุ ชนไดร้ บั การพัฒนาเพ่ือกระตุ้นการท่องเทีย่ ว อยา่ งนอ้ ย 1 แห่ง
เป็นคา่ ใชจ้ ่ายของ
1. โครงการพัฒนาพ้ืนที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (เมืองพัทยา) รวม 4 โครงการ
งบประมาณ 77.3847 ลา้ นบาท
2. โครงการบูรณาการส่งเสริมการท่องเท่ียวในพื้นท่ี EEC (สานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและ
นทิ รรศการ) งบประมาณ 28.1282 ล้านบาท

ขอ้ สงั เกต:
1. โครงการบรู ณาการสง่ เสรมิ การท่องเท่ียวในพนื้ ท่ี EEC 28.1282 ลา้ นบาท เปน็ การดาเนินงานใน

ลักษณะใดและมแี ผนในการบูรณาการกบั หนว่ ยงานอ่นื ๆ เพ่ือการพัฒนาและส่งเสริมแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วในพนื้ ท่ี
อยา่ งไร

2. ตัวชี้วัด การกาหนดตัวช้ีวัด จานวนผู้มาเยี่ยมเยือนในพื้นที่ EEC ชาวไทยและชาวต่างชาติเพิ่มข้ึน
รอ้ ยละ 20 มีการวัดผลอย่างไร สามารถแยกจากผมู้ าทอ่ งเท่ียวปกติได้หรือไม่

แนวทางท่ี 3 การพัฒนาบุคลากร การศึกษา การวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม งบประมาณ
1,226.0390 ล้านบาท มหี นว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งจานวน 8 หน่วยงาน โดยมีตัวช้ีวัดคอื

ตัวช้ีวัดที่ 1 ผลิตและพัฒนาบุคลากรมีคุณภาพรองรับความต้องการของผู้ประกอบการ/อุตสาหกรรม
เปา้ หมาย ไม่นอ้ ยกวา่ 15,000 คน

ตัวชว้ี ดั ที่ 2 พฒั นาเขตนวตั กรรมระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก 1 แห่ง
ตัวช้ีวัดท่ี 3 ผู้ท่ีผ่านการฝึกอบรมภายใต้หลักสูตรอบรมระยะสั้นสามารถเข้าสู่ระบบการจ้างงาน
รอ้ ยละ 100
ตัวชี้วัดที่ 4 ต้นแบบการพัฒนาอัตลักษณ์สินค้าชุมชนโดยใช้เศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการเพิ่มมูลค่า 1
ต้นแบบ
มีคา่ ใช้จ่ายรายการสาคญั คือ
1. โครงการพัฒนาเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) (สานักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาต)ิ งบประมาณ 883.1500 ล้านบาท โดยมกี จิ กรรมสาคญั คอื

- การจัดต้ังศูนย์กลางการวิจัยพฒั นาเชิงประยุกต์และนวัตกรรมทางชีววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีวภาพ (Biopolis) งบประมาณ 431.1500 ล้านบาท

- การจัดต้ังศนู ยก์ ลางการวจิ ัย พฒั นา และนวตั กรรมดา้ นเทคโนโลยรี ะบบอัตโนมัตหิ ุ่นยนต์ และระบบ
อจั ฉรยิ ะ (Aripolis) งบประมาณ 452.0000 ล้านบาท

2. โครงการจัดต้ังศูนย์เครือข่ายในการผลิตและพฒั นาบุคลากรสาหรับอุตสาหกรรมเป้าหมายเพ่ือรองรับ
ความต้องการของอุตสาหกรรมในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก) งบประมาณ 115.0000 ลา้ นบาท

3. โครงการจัดตั้งศูนย์เครือข่ายในการผลิตและพัฒนาบุคลากรสาหรับอุตสาหกรรมเป้าหมายเพ่ือรองรับ
ความต้องการของอุตสาหกรรมในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก)
งบประมาณ 68.5000 ลา้ นบาท

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 6 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : แผนงานบรู ณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก

ขอ้ สงั เกต:
1. ความคืบหน้างานก่อสร้างเมืองนวตั กรรมภาคตะวนั ออก Phase 1A เป็นไปตามแผนท่ีคาดว่าจะ

แล้วเสร็จตามแผนภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 หรือไม่ หากไม่สามารถดาเนินการแล้วเสร็จตาม
กาหนดเวลา จะสง่ ผลต่อโครงการอ่ืนหรือไม่ อยา่ งไร

2. ในการพัฒนาบุคลากร การศึกษา การวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม หน่วยงานที่เก่ียวข้องมี
การบูรณาการรว่ มกันอย่างไร

3. ระบบครุภัณฑ์โรงงานต้นแบบไบโอร่ีไฟเนอรี (สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แหง่ ชาติ) ไม่ไดร้ ับจดั สรรงบประมาณในปี 2565 หน่วยงานมปี ัญหา/อปุ สรรคในการดาเนนิ งานอย่างใด

แนวทางที่ 4 การยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนรองรับการขยายตัวของเมือง และการพัฒนาภาค
เกษตรอจั ฉรยิ ะ งบประมาณ 1,067.5895 ลา้ นบาท มีหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งจานวน 10 หน่วยงาน โดยมีตวั ช้วี ดั คอื

ตัวชี้วัดที่ 1 ยกระดับระบบสาธารณสุขในพ้ืนที่ EEC สู่ศูนย์การแพทย์เฉพาะทาง ศูนย์การแพทย์ครบ
วงจร และการใหบ้ รกิ ารการแพทย์ฉกุ เฉิน 4 แหง่

ตัวชี้วัดท่ี 2 พัฒนาศูนย์บริการสุขภาพนานาชาติ (Medical Service Hub) รองรับเมืองการบินภาค
ตะวนั ออก 1 แหง่

ตวั ช้ีวดั ที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเฝ้าระวงั โรคอบุ ัติใหม่และภยั สุขภาพจากการทางานและมลพษิ 1 ระบบ
ตัวชีว้ ัดที่ 4 พฒั นาศนู ย์ต้นแบบนวตั กรรมด้านสาธารณสุข 1 แห่ง
ตัวชวี้ ัดที่ 5 ประชาชนไดร้ ับการคมุ้ ครองสามารถเข้าถึงบริการไดต้ ามจาเปน็ ร้อยละ 80
ตัวชี้วัดท่ี 6 ต้นแบบเมืองนา่ อยอู่ ัจฉริยะ 1 แหง่
ตวั ชี้วัดที่ 7 พืน้ ท่ีชุมชนได้รบั การพัฒนารองรับการขยายตัวของเมอื ง อยา่ งนอ้ ย 5 ชุมชน
ตัวชีว้ ดั ที่ 8 ขยายผลตน้ แบบนวตั กรรมทางการเกษตรสู่เกษตรกร อย่างนอ้ ย 200 ราย
มคี า่ ใชจ้ ่ายรายการสาคญั คือ
1. โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (กรมโยธาธิการและผังเมือง) งบประมาณ
513.1252 ลา้ นบาท
2. โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกแบบบูรณาการ (สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข)
งบประมาณ 362.4979 ลา้ นบาท
3. โครงการบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) งบประมาณ
106.3790 ล้านบาท

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 7 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

ขอ้ สังเกต:
จากตัวช้ีวัดกิจกรรมโครงการพัฒนาพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (กรมโยธาธิการและผัง

เมือง) ในปี 2565 กาหนดพน้ื ทใ่ี นเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกได้รับการวางผงั ไม่นอ้ ยกว่า 4 ผงั มที ีใ่ ดบ้าง
และผลการดาเนนิ งานในปี 2564 เป็นอย่างไร ทง้ั นี้ ประชาชนมสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเห็นในการวาง
ผังเมืองหรอื ไม่ และการจัดทาผังเมอื งจะมผี ลกระทบตอ่ ประชาชนในพนื้ ท่หี รือไม่ อยา่ งไร

แนวทางท่ี 5 การพัฒนาประชาสัมพนั ธ์ และส่งเสรมิ การลงทุนในอุตสาหกรรมเปา้ หมาย งบประมาณ
165.0118 ล้านบาท มีหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งจานวน 5 หนว่ ยงาน

ตัวชี้วัดที่ 1 มูลค่าคาขอรับการส่งเสริมการลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย ไม่น้อยกว่า 100,000
ลา้ นบาท

ตัวช้ีวัดท่ี 2 การรับรู้ของประชาชนในพ้ืนที่ท่ีมีต่อการพัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
รอ้ ยละ 70

ตวั ช้ีวดั ที่ 3 นักลงทนุ ได้รบั การอานวยความสะดวกจากระบบบริการเบ็ดเสรจ็ (OSS) ตามระยะเวลาที่
กาหนดร้อยละ 80

มคี ่าใช้จ่ายรายการสาคัญ คอื
1. โครงการสร้างมาตรฐานการทดสอบเพ่ือส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ การบิน และหุ่นยนต์
(กรมวิทยาศาสตร์บริการ) งบประมาณ 102.0900 ลา้ นบาท
2. โครงการพัฒนาและขับเคล่ือนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สานักงานคณะกรรมการนโยบาย
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก) งบประมาณ 35.3148 ล้านบาท
3. โครงการพัฒนานิเวศอุตสาหกรรมการบินและอวกาศเพ่ือการลงทุนบนพ้ืนที่ระเบียงเศรษฐกิจภาค
ตะวนั ออก (GISTDA) งบประมาณ 20.0000 ล้านบาท

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 8 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : แผนงานบรู ณาการเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก

ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2564

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณแผนงานบูรณาการฯ (ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2564) เปรียบเทยี บ
กับเป้าหมายการเบิกจ่ายสะสมเมื่อส้ินไตรมาสท่ี 2 ตามมาตรการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ท่ีกาหนดไว้ คือ ภาพรวมร้อยละ 54 พบว่า ผลการเบิกจ่ายภาพรวมของ
แผนต่ากวา่ เปา้ หมายท่กี าหนด โดยมผี ลการเบกิ จ่ายรวมรอ้ ยละ 53.40 รายละเอยี ดดังนี้

หนว่ ย: ลา้ นบาท

โครงการ หนว่ ยงาน งบฯ หลังโอน/ เบกิ จ่าย
ปป. ทงั้ ส้ิน งบประมาณ ร้อยละ

รวมทง้ั ส้ิน 21,489.5155 11,475.3817 53.40

สานกั นายกรัฐมนตรี

โครงกำรบูรณำกำรส่งเสริมกำรท่องเทย่ี วในพ้ืนท่ี EEC สสปน. 24.0780 16.4935 68.50

โครงกำรเพิ่มศกั ยภำพผปู้ ระกอบกำรและและบุคลำกรสร้ำงสรรคร์ องรับกำร สศส. 3.0013 2.3373 77.88

พัฒนำเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก

กระทรวงกลาโหม

โครงกำรพัฒนำโครงสร้ำงพ้ืนฐำน ระบบสำธำรณปู โภค ทร. 1,741.0615 107.7191 6.19
โครงกำรพัฒนำเมืองอจั ฉริยะ สง่ิ แวดลอ้ ม สำธำรณสุข 37.0000 6.9880 18.89

กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม

โครงกำรสร้ำงมำตรฐำนกำรทดสอบเพ่ือสง่ เสริมอตุ สำหกรรมยำนยนตส์ มัยใหม่ วศ. 3.5300 2.2123 62.67

กำรบิน และหนุ่ ยนต์

โครงกำรจัดตง้ั ศนู ย์เครือข่ำยในกำรผลติ และพัฒนำบุคลำกรสำหรับอตุ สำหกรรม มทร. 22.6553 --

เป้ำหมำยเพ่ือรองรับควำมตอ้ งกำรของอุตสำหกรรมในเขตพัฒนำพิเศษภำค ธัญบุรี

ตะวันออก

โครงกำรจัดตงั้ ศนู ย์เครือข่ำยในกำรผลติ และพัฒนำบุคลำกรสำหรับอตุ สำหกรรม มทร. 92.5196 36.9560 39.94

เปำ้ หมำยเพ่ือรองรับควำมตอ้ งกำรของอุตสำหกรรมในเขตพัฒนำพิเศษภำค ตะวันออก

ตะวันออก

โครงกำรจัดตงั้ ศนู ย์เครือข่ำยในกำรผลิตและพัฒนำบุคลำกรสำหรับอตุ สำหกรรม มก. 40.0000 40.0000 100.00

เป้ำหมำยเพ่ือรองรับควำมตอ้ งกำรของอตุ สำหกรรมในเขตพัฒนำพิเศษภำค

ตะวันออก

โครงกำรบูรณำกำรเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก มธ. 127.4000 38.4111 30.15

โครงกำรพัฒนำบุคลำกร กำรศกึ ษำ กำรวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม มจพ. 46.1000 46.1000 100.00

โครงกำรจัดตงั้ ศนู ย์เครือข่ำยในกำรผลิตและพัฒนำบคุ ลำกรสำหรับอตุ สำหกรรม มบ. 75.1755 75.1755 100.00

เป้ำหมำยเพ่ือรองรับควำมตอ้ งกำรของอตุ สำหกรรมในเขตพัฒนำพิเศษภำค

ตะวันออก

โครงกำรพัฒนำเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภำคตะวันออก (EECi) 2,464.1972 2,185.3472 88.68

โครงกำรพัฒนำทกั ษะดำ้ น Industrial Internet of Things (IoT) แบบเข้มข้น 9.5000 7.1250 75.00

สำหรับบุคลำกรระดบั อำชีวศกึ ษำ

โครงกำรพัฒนำควำมสำมำรถดำ้ นเทคโนโลยีดจิ ิทลั แก่ครูและเยำวชนในพ้ืนที่ สพวท. 4.6000 3.4500 75.00

ระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภำคตะวันออก

โครงกำรส่งเสริมกำรเรียนรูดำ้ นวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีใหก้ ับโรงเรียนใน 5.0000 3.7500 75.00

พื้นทรี่ ะเบยี งเศรษฐกจิ พิเศษภำคตะวันออก

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 9 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก

โครงการ หนว่ ยงาน งบฯ หลังโอน/ เบกิ จ่าย
ปป. ทง้ั ส้ิน งบประมาณ ร้อยละ

กระทรวงคมนาคม

โครงกำรพัฒนำทำงหลวงรองรับระเบยี งเศรษฐกจิ ภำคตะวันออก ทล. 8,534.3795 4,947.3585 57.97

โครงกำรพัฒนำทำงหลวงชนบทเพื่อขับเคลอ่ื นเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก ทช. 1,140.0057 326.0191 28.60

(EEC)

กระทรวงดจิ ิทลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม

โครงกำรจัดตง้ั สถำบนั ไอโอทเี พ่ือพัฒนำอตุ สำหกรรมดจิ ิทลั แห่งอนำคต 81.0737 46.1153 56.88

โครงกำรยกระดบั ศนู ย์กำรเรียนรเู้ ทคโนโลยีและนวัตกรรมดจิ ิทลั DEPA 22.5150 22.5150 100.00
เพ่ืออุตสำหกรรมอนำคต (AI อำชีวะ) ในพื้นท่ี EEC

โครงกำรเมืองน่ำอยู่ EEC 25.9324 25.9324 100.00

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

โครงกำรจัดกำรสง่ิ แวดล้อมในพื้นทเี่ ขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออกอย่ำงยง่ั ยืน สผ. 10.0395 2.7860 27.75

โครงกำรจัดกำรสงิ่ แวดล้อมเมืองเพ่ือลดกำ๊ ซเรือนกระจกในพ้ืนทเี่ ขตพัฒนำพิเศษ อบก. 2.5270 1.8953 75.00

ภำคตะวันออก (EEC)

กระทรวงมหาดไทย

โครงกำรพัฒนำประสิทธิภำพงำนบริกำรเพื่อเสริมสร้ำงควำมมั่นคงในพื้นที่ EEC ปค. 12.7000 2.1130 16.64

โครงกำรพัฒนำพื้นทเี่ ขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก ยธ. 521.2548 131.3136 25.19

กระทรวงแรงงาน

โครงกำรส่งเสริมกำรมีงำนทำเพื่อรองรับเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก กกจ. 5.0107 0.6702 13.38

โครงกำรพัฒนำทกั ษะแรงงำนเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก (EEC) กพร. 14.7364 8.0991 54.96

กระทรวงศึกษาธกิ าร

โครงกำรพัฒนำสถำนศกึ ษำขน้ั พื้นฐำนเพ่ือรองรับเขตพัฒนำเศรษฐกิจ สพฐ. 18.5972 5.2652 28.31

ภำคตะวันออกดำ้ นภำษำ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี และกำรประกอบอำชีพ

10 อุตสำหกรรม

โครงกำรผลติ และพัฒนำกำลังคนสนับสนุนเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก สอศ. 88.5105 38.7156 43.74

กระทรวงสาธารณสุข

โครงกำรพัฒนำระเบียงเศรษฐกจิ ภำคตะวันออกแบบบูรณำกำร สป.สธ. 229.2883 25.2103 11.00

โครงกำรพัฒนำกำรดำเนินงำนกำรเฝ้ำระวังโรคและภัยสขุ ภำพจำกกำร คร. 8.3018 3.1199 37.58

ประกอบอำชีพและสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก

ส่วนราชการไม่สังกดั สานกั นายกรัฐมนตรีฯ

โครงกำรพัฒนำและขับเคลอ่ื นเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก 168.3962 126.2971 75.00

โครงกำรจัดตง้ั ศนู ย์เครือข่ำยในกำรผลิตและพัฒนำบุคลำกรสำหรับอุตสำหกรรม สกพอ. 117.0000 87.7500 75.00
เป้ำหมำยเพื่อรองรับควำมตอ้ งกำรของอุตสำหกรรมในเขตพัฒนำพิเศษภำค

ตะวันออก

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 10 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : แผนงานบรู ณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก

โครงการ หนว่ ยงาน งบฯ หลังโอน/ เบกิ จ่าย
ปป. ทง้ั สิ้น งบประมาณ ร้อยละ

รัฐวิสาหกจิ

โครงกำรรอ้ื ย้ำยทอ่ ประปำเดมิ และวำงท่อประปำใหม่ทดแทน เพื่อรองรับงำน กปน. 41.8650 --

กอ่ สร้ำงรถไฟควำมเร็วสงู เชอื่ มสำมสนำมบิน

โครงกำรนำ้ ประปำทใ่ี ห้บริกำรแกป่ ระชำชนในสว่ นเขตพื้นทรี่ ะเบียงเศรษฐกจิ 1,499.9222 974.0833 64.94

ภำคตะวันออก กปภ. 112.4684 --
โครงกำรรอ้ื ย้ำยแนวท่อประปำหลบกำรกอ่ สร้ำงรถไฟควำมเร็วสูงเชอ่ื ม 3

สนำมบิน ในเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก

โครงกำรรอ้ื ย้ำยระบบไฟฟ้ำเพื่อสง่ มอบพื้นทใี่ หก้ ำรรถไฟแหง่ ประเทศไทย และ กฟน. 20.9409 17.6951 84.50

กอ่ สร้ำงระบบไฟฟ้ำทดแทน

โครงกำรรือ้ ย้ำย ปรับปรุง และก่อสร้ำงระบบไฟฟ้ำเพื่อรองรับกำรก่อสร้ำง กฟภ. 508.1750 --

โครงกำรรถไฟควำมเร็วสงู เชอ่ื มสำมสนำมบนิ

โครงกำรกอ่ สร้ำงปรับปรุงทำงรถไฟเข้ำพ้ืนทที่ ่ำเรือจุกเสม็ด รฟท. 93.2651 10.3628 11.11
โครงกำรรถไฟควำมเร็วสูงเชอื่ ม 3 สนำมบิน 3,146.7218 2,100.0000 66.74

องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่

โครงกำรปรับปรุงระบบระบำยน้ำและระบบสัญญำณไฟจรำจรทไ่ี ดร้ ับผลกระทบ กทม. 297.1700 --

จำกโครงกำรรถไฟควำมเร็วสงู เชอ่ื มสำมสนำมบนิ จำกพญำไทถึงดอนเมือง

โครงกำรพัฒนำพ้ืนทร่ี ะเบยี งเศรษฐกิจพิเศษภำคตะวันออก พัทยำ 72.9000 --

หมายเหตุ: งบประมาณเปน็ งบประมาณหลังโอนเปลี่ยนแปลง
ท่ีมา: ผลการเบกิ จา่ ยจากระบบ GFMIS กรมบญั ชกี ลาง กระทรวงการคลัง ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2564

ขอ้ สังเกต:
1. หน่วยงานที่มีผลการเบิกจ่ายต่ากว่าเป้าหมายท่ีรัฐบาลกาหนด (ร้อยละ 54) มีปัญหาและ

อปุ สรรคทีเ่ กิดข้นึ ในการดาเนินงานในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 อย่างไร และหนว่ ยงานงานมีแนวทางเเรง่ รัด
การเบิกจา่ ยงบประมาณอย่างไร

2. โครงการท่ีหน่วยงานผู้รับผิดชอบไม่ใช่ส่วนราชการ (องค์การมหาชน/รัฐวิสาหกิจ) ท่ีมีผลการ
เบิกจา่ ยในระบบ GFMIS ร้อยละ 100 มีผลการใชจ้ ่ายจริงในแต่ละโครงการจานวนเท่าใด

3. ที่ผ่านมา หน่วยงานเจ้าภาพมีแนวทางในการกากับติดตามการดาเนินการงานและการใช้จ่าย
งบประมาณของหนวยงานที่เกย่ี วข้องอย่างไร

4. หน่วยงานเจ้าภาพมีแนวทางในการบริหารจัดการการดาเนินงานและเบิกจ่ายในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 อยา่ งไร

ข้อสังเกต/ความเห็นของ PBO
1. เป้าหมาย/ตัวชี้วัด

1.1 ในการกาหนดเป้าหมายภาพรวมของแผนงานบรู ณาการฯ นอกเหนือจากมูลค่าทางเศรษฐกิจที่จะ
ได้รับแล้ว หน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงานที่เก่ียวข้องมีแนวคิดที่จะนาปัจจัยด้านรายได้หรือตัวช้ีวัดความ
เป็นอยู่ที่ดขี ้ึนของประชาชนในพื้นที่ EEC มากาหนดเปน็ เป้าหมายในภาพรวมของแผนงานบูรณาการฯ หรือไม่
อยา่ งไร

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 11 สานกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : แผนงานบรู ณาการเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก

1.2 ตัวช้ีวัดแนวทางการดาเนินงานของแผนงานบูรณาการฯ ท่ีกาหนดไว้เป็นตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ไม่

สามารถอธิบายหรือสะท้อนถึงความคุ้มค่าหรือประโยชน์ที่เกิดจากการใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละกิจกรรม/

โครงการ ที่จะส่งผลต่อการบรรลุผลลัพธ์หรือเป้าหมายของแผนงานบูรณาการฯ ที่กาหนดไว้ได้อย่างเป็น

รปู ธรรม

1.3 แผนย่อยการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ภายใต้แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ได้

กาหนดเปา้ หมายและตวั ชวี้ ัดไว้ดงั นี้

ตัวชี้วดั และค่าเปา้ หมาย แผนแมบ่ ทฯ แผนงานบรู ณาการ

2565 ปี 2565

1. อัตราการขยายตวั ของผลติ ภัณฑม์ วลรวมของพื้นที่ ขยายตวั รอ้ ยละ ขยายตัวเพ่มิ ข้ึน

เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก 6.3 ตอ่ ปี ร้อยละ 4

2. มูลค่าการลงทุนในเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก 500,000 ลา้ นบาท 300,000 ลา้ นบาท

ขอ้ มลู จากรายงานสรปุ ผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ ประจาปี 2563 (สานกั งานสภาพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) พบวา่

1) อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมของพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในช่วง 5 ปี
(ปี 2557-2561) คิดเป็นร้อยละ 2.7 เป็นผลให้สถานะการบรรลุเป้าหมายอยู่ในระดับต่ากว่าค่าเป้าหมาย
ระดับเสย่ี ง

2) มูลค่าการการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในช่วงปี 2561-2563 มีการอนุมัติ
ส่งเสริมการลงทุนจานว 1,273 โครงการ มูลค่าเงินลงทุนรวมท้ังส้ิน 760,124 ล้านบาท โดยในปี 2563 มูลค่า
ขอกรบั การส่งเสริมการลงทุนและการอนมุ ัติการลงทนุ มมี ลู ค่าเพมิ่ ขึ้นจากปี 2562 คิดเป็นรอ้ ยละ 56 ของมูลค่า
การขอรับการสง่ เสรมิ การลงทนุ ทง้ั ประเทศ ซง่ึ มีสถานะบรรลุค่าเปา้ หมายในปี 2565

ขอ้ สังเกต:
1. เหตุใดค่าเป้าหมายแผนงานบูรณาการในปี 2565 กาหนดไว้ต่ากว่าค่าเป้าหมายของแผนย่อยของ

แผนแม่บทฯ เนื่องจากการกาหนดค่าเป้าหมายในลักษณะดังกล่าวจะส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายของแผน
แมบ่ ทฯ

2. เนอื่ งจากการดาเนินงานท่ผี า่ นมาของการพัฒนาพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออกส่วนใหญ่เปน็
การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ แต่จากผลการเบิกจ่ายข้างต้นได้แสดงให้เห็นถึงการดาเนินงาน
ที่ยังคงล่าช้ากว่าแผนค่อนข้างมาก หน่วยงานเจ้าภาพจึงควรมีแนวทางในการเร่งรัดหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
เรง่ ดาเนนิ การโครงการที่เป็นโครงสรา้ งพืน้ ฐานสาคญั แล้วเสร็จเปน็ ไปตามแผนงานทก่ี าหนด

2. โครงการ/กิจกรรม/งบประมาณ
2.1 เอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปีของแผนงานบูรณาการฯ ควรระบุแหล่งเงินให้ครอบคลุมท้ัง

3 แหล่ง ประกอบด้วย (1) การลงทุนโดยภาครัฐ (งบประมาณรายจ่าย) (2) การลงทุนโดยภาคเอกชน (เงินนอก
งบประมาณ) และ (3) การร่วมทุนของภาครัฐกับเอกชน (โครงการ PPP) เพื่อให้เห็นภาพรวมของนโยบายการ
พฒั นาเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก รวมทง้ั กาหนดระยะเวลาการดาเนนิ งานของแต่ละแหลง่ เงินให้ชดั เจน

2.2 การดาเนินงานแผนงานบูรณาการฯ ควรให้ความสาคัญกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและปัญหา
ดา้ นมลพิษ ทจ่ี ะเกดิ ขึน้ จากการพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานและการพฒั นาเมือง รวมถงึ การสร้างความเข้มแข็งของ
ชุมชน โดยให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความเห็นอย่างจริงจัง เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาที่อาจจะ
เกิดขน้ึ ในอนาคต

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 12 สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : แผนงานบูรณาการเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก

3. ด้านประชาชน
3.1 หน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความม่ันใจเพียงใดว่า การลงทุนในพ้ืนที่

เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก รวมทั้งการสร้างรายได้จากการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมจะสามารถ
ตอบโจทย์ความต้องการของคนท้องถิ่นที่มีภูมิลาเนาด้ังเดิมในพ้ืนที่ได้ และจะมีการประสานประโยชน์ให้
คนทอ้ งถ่นิ อยา่ งไร

4. ด้านสง่ิ แวดล้อม การจัดการขยะและของเสีย
4.1 หน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องมีแนวความคิดจะทาให้เขตพัฒนาพิเศษภาค

ตะวันออกเป็น “การพฒั นาทย่ี ง่ั ยืน” อยา่ งไร ท้ังน้ไี ด้มกี ารประเมนิ ความเส่ียงท่ีอาจเกิดขึ้นหรอื ไม่ อย่างไร และ
หากมีแนวโน้มที่ไม่สามารถพัฒนาได้อย่างยั่งยืน หน่วยงานที่เก่ียวข้องมีแผนการดาเนินการอย่างไรหากมี
ผลกระทบต่อประชาชน

4.2 หนว่ ยงานเจ้าภาพและหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง มกี ารวางแผนเกยี่ วกับการดาเนนิ การและงบประมาณ
สาหรบั การจดั การขยะ ของเสีย มลพิษทีเ่ กดิ ข้ึนอยา่ งไรบา้ ง

4.3 หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้มีแนวทางสาหรับแผนงานงบประมาณเพื่อจัดหาแหล่งน้าให้เพียงพอต่อ
ภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และครัวเรือนในอนาคตอยา่ งไร

5. ดา้ นการสาธารณสขุ
5.1 หนว่ ยงานเจา้ ภาพและหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง มีการเตรยี มรองรบั ปญั หาท่อี าจเกดิ ขึ้นจากการพฒั นา

เช่น จานวนประชากรในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเพ่ิมขน้ึ ส่งผลต่อการใช้บริการและการเข้าถึงบริการทงั้
ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการรักษาพยาบาล รวมทั้งจานวนประชากรแฝงท่ีย้ายท่ีอยู่มา
ทางานในพนื้ ทเี่ พม่ิ ขนึ้ ซง่ึ กระทบการจดั สรรงบประมาณและทรัพยากรดา้ นสขุ ภาพ อย่างไร

5.2 หน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง มีการเตรียมรองรับผลจากการขยายตัวของกลุ่ม
อตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ ท่ีอาจส่งผลให้เกิดมลพิษสิ่งแวดล้อม เชน่ ปัญหาสารเคมีจากโรงงานรั่ว/ระเบดิ การพัฒนา
โครงข่ายคมนาคมขนส่ง จนทาให้มีจานวนพาหนะต่าง ๆ ท่ีมากขึ้น อาจมีแนวโน้มปญั หาอุบตั ิเหตจุ ราจรเพมิ่ สูง
และรุนแรงขึ้น หากนักทอ่ งเทย่ี วเดนิ ทางเข้ามามาก จะมคี วามเสย่ี งต่อการเกิดโรคอุบตั ิใหม่ ปญั หาอาชีวอนามัย
และความปลอดภัยของผทู้ างานที่เกดิ จากการขยายตวั ทางอุตสาหกรรม อยา่ งไร

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 13 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร






Click to View FlipBook Version