แผนงานบูรณาการพฒั นา
ดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์
แผนงำนบรู ณำกำรพฒั นำด้ำนคมนำคมและระบบโลจิสติกส์
บทวิเครำะห์งบประมำณแผนงำนบรู ณำกำรพฒั นำดำ้ นคมนำคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์
1. ประเดน็ สำคญั ทีเ่ กี่ยวข้อง
ระบบการคมนาคมและโลจิสติกส์มีความความสาคัญต่อประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และ
ส่งิ แวดล้อม ถ้าประเทศมีระบบการคมนาคมขนส่งทม่ี ีประสิทธิภาพ ปลอดภัย มีความนา่ เช่ือถือ และมีต้นทุนการ
ขนส่งสินค้าท่ีประหยัด ก็จะมีส่วนสาคัญในการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจของประเทศให้สูงขึ้น
สามารถเชื่อมโยงฐานการผลิตในแต่ละภูมิภาคได้โดยสะดวก ส่งผลทาให้เกิดการจ้างงาน เป็นแรงขับเคล่ือนที่
สาคญั ตอ่ การเติบโตทางเศรษฐกิจภายในประเทศ นอกจากนี้ยังทาให้มีการเดินทางเชอ่ื มโยงกันระหวา่ งพื้นที่ เกิด
การพัฒนาเมืองและทางสงั คมอยา่ งเป็นระบบ
ที่ผ่านมา แนวโน้มเศรษฐกิจในระดับโลกและภูมิภาคมีการแข่งขันท่ีเข้มข้นขึ้น ส่งผลให้ภาคธุรกิจใน
ปจั จุบนั จงึ ตอ้ งแข่งขนั กันด้วยความเรว็ (Speed Economy) การเคล่อื นยา้ ยสินคา้ และบริการจึงต้องดาเนินการ
อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การพัฒนาระบบโลจิสติกส์จึงเป็นทางออกของประเทศไทยในการเพ่ิมขีด
ความสามารถในการแข่งขัน ทั้งในแง่ของการลดต้นทุน การสร้างมูลค่าเพิ่ม การประหยัดพลังงาน และอนุรักษ์
ส่ิงแวดล้อมอีกด้วย ด้วยเหตุน้ี การบริหารจัดการกระบวนการนาส่งสินค้าจากผู้ผลิตถึงผู้บริโภคตลอดห่วงโซ่
อุปทาน หรือโลจิสติกส์ จึงเป็นเป้าหมายสาคัญท่ีผู้ประกอบการสามารถใช้เป็นแห่งท่ีมาของความได้เปรียบใน
การแข่งขัน ท้งั ในระดับธรุ กจิ และระดบั ประเทศ
ธนาคารโลกได้มีการประมาณว่าในการดาเนินธุรกิจน้ัน หากบริษัทสามารถลดต้นทุนการขนส่งลงได้
ร้อยละ 1 แล้วจะสามารถทาให้ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มข้ึนถึงร้อยละ 5 และ หากประเทศหน่ึง ๆ สามารถลด
ต้นทุนการขนส่งลงได้ร้อยละ 10 จะส่งผลให้สามารถเพ่ิมการค้ารวม (ภายในและส่งออก) ได้ถึงร้อยละ 20
นอกจากน้ัน ผลจากการศึกษาตลาดในประเทศกาลังพัฒนาในเอเชียของบริษัท Mckinsey & Co. พบว่าการ
ปรบั ปรุงกระบวนการด้านศุลกากรและคุณภาพการขนส่งจะมีผลมากต่อการสร้างมูลค่าเพิ่ม GDP โดยประมาณ
การว่า ประเทศกาลังพัฒนาในเอเชียจะสามารถเพ่ิมมูลค่า GDP ได้ถึงร้อยละ 1.5-2 หากประเทศน้ันสามารถ
ลดต้นทุนโลจิสติกส์ได้ถึงร้อยละ15-20 โดยการเพ่ิมมูลค่าของสินค้าสามารถพิจารณาได้ 3 แนวทาง ได้แก่ การ
แปรรูปสินค้า (Transform) การทาตลาด (Image) และการเคล่ือนยา้ ยสนิ ค้าไปยังสถานที่และเวลาทีเ่ หมาะสม
(Time & Place) ดังนั้นการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ท่ีมีประสิทธิภาพจะทาให้สามารถเพิ่มมูลค่าของ
สนิ คา้ ได้เชน่ เดยี วกนั
ปัจจุบันระบบคมนาคมขนส่งของประเทศไทย ทั้งในส่วนของการขนส่งสินค้าและการขนส่งคนยัง
ประสบปัญหาไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เนื่องจากประเทศ
ไทยยังคงใช้การคมนาคมขนส่งทางถนนเป็นหลัก สัดส่วนการขนส่งสินค้าประมาณร้อยละ 87.57 ถูกขนส่งโดย
รถบรรทุกและรถหัวลากซึ่งใช้ทางร่วมกับการเดินทางของคนท่ีส่วนใหญ่ยังคงใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ทาให้
ปริมาณการคมนาคมขนส่งทางถนนมีมากกว่าความจุของถนนท่ีสามารถรองรับได้ ส่งผลให้เกิดปัญหา
สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 1
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
การจราจรติดขัดต่อเน่ืองมาอย่างยาวนาน หากยังไม่มีการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะและโครงข่ายการ
คมนาคมขนส่งรูปแบบอื่น ๆ ให้มีความเช่ือมโยงการคมนาคมขนส่งแต่ละรูปแบบให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน
ปัญหาดังกล่าวก็จะทวีความรุนแรงมากขึ้นในอนาคต นับเป็นอุปสรรคท่ีสาคัญต่อการพัฒนาด้านคมนาคมและ
ระบบโลจิสตกิ ส์ของประเทศ
ท่ีมา : รายงานโครงสร้างพน้ื ฐานคมนาคม พ.ศ. 2561
จากการศึกษาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560-
2564) พบว่า แผนฯ ได้กาหนดเป้าหมายเพ่ือให้ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันด้านโลจิสติกส์และ
การอานวยความสะดวกทางการค้าให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ไทยมีศักยภาพในการ
ประกอบธุรกิจและบุคลากรด้านโลจิสติกส์ได้รับการพัฒนาให้มีผลิตภาพสูงขึ้น ประกอบด้วย 3 ยุทธศาสตร์
ได้แก่ การพัฒนาเพ่ือเพม่ิ มูลค่าในห่วงโซ่อุปทาน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและส่ิงอานวยความสะดวก และ
การพฒั นาปจั จยั สนับสนุนดา้ นโลจสิ ตกิ ส์ โดยมวี ตั ถุประสงค์ ดงั น้ี
1. เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งให้กบั ผปู้ ระกอบการในการเกบ็ เกย่ี วมลู ค่าเพ่ิมจากห่วงโซ่อุปทาน (Supply
Chain Enhancement) สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรมในการบรหิ ารจดั การระบบโลจิสติกส์
2. ยกระดบั ประสิทธภิ าพระบบอานวยความสะดวกทางการคา้ (Trade Facilitation Enhancement)
ให้ไดม้ าตรฐานสากล
3. พัฒนาปัจจัยสนับสนุน (Capacity Building and Policy Driving Factors) อาทิ พัฒนาบุคลากร
ด้านโลจิสติกส์ให้มีคุณภาพมาตรฐาน สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับภาคเอกชนในการพัฒนาระบบ กาลังคน
พัฒนาระบบตดิ ตามและประเมินผลการพัฒนาดา้ นโลจสิ ตกิ ส์ของประเทศ
2. แผนงำนบรู ณำกำรพฒั นำดำ้ นคมนำคมและระบบโลจิสตกิ ส์ ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีหน่วยรับ
งบประมาณ 8 กระทรวง 21 หน่วยงาน งบประมาณรวมท้ังสิ้น 109,023.7907 ล้านบาท เพื่อดาเนินการให้
บรรลุ 2 เป้าหมาย คอื
เป้ำหมำยท่ี 1 โครงข่ายคมนาคมขนส่งมีความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สามารถเช่ือมโยง
ทั่วถึงทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ (Hard Infrastructure) งบประมาณ 108,631.9168 ล้านบาท คิด
เปน็ ร้อยละ 99.64 ของงบประมาณทงั้ แผนงาน
สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 2
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์
เป้ำหมำยท่ี 1 : โครงข่ายคมนาคมขนสง่ มคี วามสะดวก รวดเร็ว และมีประสทิ ธภิ าพ
สามารถเช่อื มโยงทว่ั ถงึ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
ตัวชวี้ ัดในปี พ.ศ. 2564
สัดสว่ นผูใ้ ชร้ ะบบรถไฟฟ้าต่อปรมิ าณการเดนิ ทางในเขต กทม.และปริมณฑล เปน็ 3.2517 ลา้ นคน -
เที่ยวต่อวนั
การขนสง่ ทางรางเพ่ิมขึ้นอยา่ งนอ้ ยเป็น 32.6080 ลา้ นตนั ของปรมิ าณการขนส่งทั้งหมด
สัดส่วนตน้ ทนุ คา่ ขนสง่ สินคา้ ต่ากว่าร้อยละ 7 ของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมของประเทศ
การขนสง่ ทางนา้ เพ่ิมขน้ึ อยา่ งนอ้ ยเป็น 130.3748 ลา้ นตัน ของปริมาณการขนส่งท้ังหมด
ผู้โดยสารในแมน่ ้าเจา้ พระยาในเขต กทม. และปริมณฑลเพ่ิมขนึ้ เปน็ จานวน 46.0980 ลา้ นคน
ความสามารถในการรองรับผู้โดยสารทท่ี า่ อากาศยานในภูมิภาคเพิ่มขึ้นเปน็ 40 ลา้ นคนต่อปี
แนวทำงที่ 1.1 : พัฒนาเช่ือมโยงโครงสร้างพ้ืนฐาน 1. พัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานทางถนน 1,865.040 กม.
เพื่อความสะดวก ปลอดภัย และประหยัดเวลา 2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการขนส่ง
เดินทาง ทางราง 1,057.440 กม.
งบประมำณ 108,354.4389 ล้ำนบำท 3. พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือส่งเสริมการขนส่ง
(รอ้ ยละ 99.39) ทางน้า 45 แห่งและท่าเรือผู้โดยสาร 8 แห่ง
4. พัฒนาขีดความสามารถท่าอากาศยานในภูมิภาค
21 แหง่
แนวทำงท่ี 1.2 : การกากับดแู ลและพฒั นามาตรฐาน โครงการท่ีส่งเสริมด้านความปลอดภัยและมี
การคมนาคมขนส่ง มาตรฐานสากลด้านคมนาคมขนส่ง 6 โครงการ
งบประมำณ 277.4779 ล้ำนบำท (ร้อยละ 0.25)
เป้าหมายท่ี 1 ใช้งบประมาณจานวน 108,631.9168 ล้านบาท เพื่อดาเนินการในระดับ ผลผลิต-
โครงการ จานวน 48 โครงการ ประกอบด้วย
1) ใช้งบประมาณ 95,333.2142 ล้านบาท หรือร้อยละ 87.76 ของงบประมาณท้ังหมดในเป้าหมาย
ที่ 1 เพอื่ พฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐานทางถนน 1,865.040 กม.
2) ใช้งบประมาณ 7,920.1253 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.29 ของงบประมาณท้ังหมดในเป้าหมายที่ 1
เพื่อพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานเพือ่ สง่ เสรมิ การขนส่งทางราง 1,057.440 กม.
3) ใช้งบประมาณ 1,220.6960 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.12 ของงบประมาณท้ังหมดในเป้าหมายที่ 1
เพ่อื พัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐานเพื่อสง่ เสรมิ การขนสง่ ทางน้า 45 แห่งและท่าเรือผโู้ ดยสาร 8 แห่ง
4) ใช้งบประมาณ 3,880.3994 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.57 ของงบประมาณท้ังหมดในเป้าหมายท่ี 1
เพือ่ พฒั นาขดี ความสามารถทา่ อากาศยานในภูมภิ าค 21 แหง่
5) ใช้งบประมาณ 3,880.3994 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.57 ของงบประมาณทั้งหมดในเป้าหมายที่ 1
เพอื่ พฒั นาขีดความสามารถทา่ อากาศยานในภูมิภาค 21 แหง่
สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 3
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
เป้ำหมำยท่ี 2 การบริหารจัดการโลจสิ ติกส์และห่วงโซ่อุปทาน และการอานวยความสะดวกทางการค้า
ให้มีประสทิ ธิภาพและได้มาตรฐานสากล (Soft Infrastructure) งบประมาณ 391.8739 ล้านบาท คิดเป็นร้อย
ละ 0.36 ของงบประมาณท้งั แผนงาน
เปำ้ หมำยท่ี 2 : การบรหิ ารจัดการโลจสิ ติกส์และหว่ งโซ่อุปทาน
และการอานวยความสะดวกทางการค้าให้มีประสทิ ธิภาพและไดม้ าตรฐานสากล
ตัวชีว้ ดั ในปี พ.ศ. 2564
ประสิทธิภาพการอานวยความสะดวกทางการค้าของประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ดีข้ึนในปี 2564
(อันดับด้านการค้าระหวา่ งประเทศของธนาคารโลก (Trading Across Border))
สัดส่วนต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลังและต้นทุนการบริหารจัดการโลจิสติกส์ต่อ GDP ลดลง
ร้อยละ 0.1 ต่อปี
แนวทำงที่ 2.1 : พฒั นา NSW ให้เช่อื มโยแลกเปล่ียน หน่วยงานสามารถให้บริการเชื่อมโยงข้อมูลกับ
กระบวนการนาเข้าส่งออกดว้ ยระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ ผู้ประกอบการผ่านระบบ NSW ในรูปแบบB2G
แบบไรก้ ระดาษได้อยา่ งสมบรู ณ์ จานวน 2 โครงการ
งบประมำณ 28.1036 ล้ำนบำท (ร้อยละ 0.03)
แนวทำงท่ี 2.2 : พัฒนาเพิ่มมูลคา่ ระบบห่วงโซ่อปุ ทาน ต้นทุนด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของสถาน
และเช่ือมโยงการค้าสู่รูปแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ประกอบการ เป้าหมายในปี 2564 ลดลงไม่น้อย
งบประมำณ 36.5500 ล้ำนบำท (ร้อยละ 0.03) กวา่ 800 ลา้ นบาท
แนวทำงที่ 2.3 : พัฒนาบรกิ ารและขยายเครอื ขา่ ยของ จานวนการจับคู่ธุรกิจระหว่างLSPs ไทยกับ LSPs
ผูใ้ ห้บรกิ ารโลจิสติกส์ (LSPs) ตา่ งประเทศและผู้ประกอบการค้าระหว่างประเทศ
งบประมำณ 25.1369 ลำ้ นบำท (ร้อยละ 0.02) ไม่น้อยกว่า 600 คู่ และเกิดมูลค่าเจรจาการค้า
1,015 ล้านบาท
แนวทำงท่ี 2.4 : พัฒนาปจั จัยสนบั สนนุ ดา้ นโลจิสติกส์ จานวนโครงการพัฒนาปัจจัยสนับสนุนด้าน
(มาตรฐาน ความเชยี่ วชาญ และคุณภาพบุคลากร วิจัย โลจิสตกิ ส์ (มาตรฐาน ความเชี่ยวชาญ และคุณภาพ
นวัตกรรม และเทคโนโลยีพัฒนาข้อมูลและการ บุคลากร วิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยีพัฒนา
ตดิ ตามประเมินผล) ขอ้ มลู และการตดิ ตามประเมนิ ผล) 8 โครงการ
งบประมำณ 302.0834 ล้ำนบำท (ร้อยละ 0.28)
เป้าหมายที่ 2 ใช้งบประมาณจานวน 391.8739 ล้านบาท เพื่อดาเนินการในระดับ ผลผลิต-โครงการ
จานวน 10 โครงการ ประกอบด้วย
1) ใชง้ บประมาณ 28.1036 ลา้ นบาท หรือร้อยละ 7.17 ของงบประมาณท้ังหมดในเป้าหมายท่ี 2 เพ่ือ
พฒั นา NSW ใหเ้ ช่อื มโยแลกเปล่ียนกระบวนการนาเข้าส่งออกด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้กระดาษได้อย่าง
สมบรู ณ์
2) ใช้งบประมาณ 36.5500 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.37 ของงบประมาณทั้งหมดในเปา้ หมายที่ 2 เพื่อ
พัฒนาเพ่มิ มูลคา่ ระบบหว่ งโซ่อปุ ทาน และเชื่อมโยงการคา้ สู่รปู แบบพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนิกส์
สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 4
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์
3) ใช้งบประมาณ 25.1369 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.41 ของงบประมาณทั้งหมดในเป้าหมายที่ 2 เพื่อ
พัฒนาบริการและขยายเครือข่ายของผู้ให้บริการโลจสิ ติกส์ (LSPs)
4) ใช้งบประมาณ 302.0834 ล้านบาท หรือร้อยละ 77.09 ของงบประมาณท้ังหมดในเป้าหมายที่ 2
เพื่อพัฒนาปัจจัยสนับสนุนด้านโลจิสติกส์ (มาตรฐาน ความเชี่ยวชาญ และคุณภาพบุคลากร วิจัย นวัตกรรม
และเทคโนโลยพี ฒั นาขอ้ มูลและการติดตามประเมินผล))
3. ขอ้ สังเกตของ PBO
จากการวิเคราะห์การดาเนินการผลผลิต-โครงการ ในแผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและ
ระบบโลจิสติกส์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พบว่า แผนงานให้ความสาคัญกับการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้าน
การคมนาคมขนส่ง โดยใช้งบประมาณ 108,354.4389 ล้านบาท หรือร้อยละ 99.39 ของงบประมาณท้ัง
แผนงาน โดยทั้งหมดเป็นโครงการของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจภายใต้กระทรวงคมนาคมท้ังหมด ซ่ึงมี
ผลสัมฤทธิท์ จ่ี ะเกดิ ข้ึนจากการใชง้ บประมาณ ดังน้ี
พัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานทางถนน 1,865.040 กม.
พัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐานเพื่อส่งเสริมการขนสง่ ทางราง 1,057.440 กม.
พฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐานเพ่อื สง่ เสรมิ การขนส่งทางนา้ 45 แห่งและท่าเรอื ผู้โดยสาร 8 แห่ง
พัฒนาขดี ความสามารถท่าอากาศยานในภูมิภาค 21 แหง่
โดยงบประมาณส่วนใหญ่จะใช้เพื่อดาเนินการพัฒนำศักยภำพเส้นทำง และสถำนี ของระบบการ
คมนาคมขนส่งในแต่ละรปู แบบ ได้แก่ ถนน รำง นำ้ และอำกำศ ตามภารกิจของหนว่ ยงานแต่ละหน่วยงาน ซึ่ง
เป็นองคป์ ระกอบสาคญั ที่จาเป็นตอ่ การพฒั นาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์
แนวทาง งบประมาณ ร้อยละ
พฒั นาเชื่อมโยงโครงสร้างพ้ืนฐาน 108,354.4389 99.39
การกากบั ดแู ลและพฒั นามาตรฐานการคมนาคมขนส่ง 277.4779 0.25
พฒั นา NSW 28.1036 0.03
พฒั นาเพ่ิมมลู คา่ ระบบห่วงโซ่อปุ ทาน 36.5500 0.03
พฒั นาบริการและขยายเครือขา่ ยของผใู้ ห้บริการโลจสิ ตกิ ส์ (LSPs) 25.1369 0.02
พฒั นาปัจจยั สนบั สนุนดา้ นโลจสิ ตกิ ส์ 302.0834 0.28
รวม 109,023.7907 100.00
อย่างไรก็ตาม เพอ่ื ให้ระบบคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ของประเทศมีความสมบูรณ์ท่ีจะส่งผลต่อการ
ลดต้นทุนการขนส่ง เพื่อนาไปสู่การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้ แผนงานจาเป็นต้องมี
แผนงาน/โครงการท่ีสร้างความเชื่อมต่อระหว่างการขนส่งในแต่ละรูปแบบไม่ว่าจะเป็น ถนน ราง น้า และ
อากาศ ให้มีการเช่อื มต่อกนั อย่างสมบูรณ์ รวมถึงการพฒั นาปรับปรงุ ระบบขนสง่ สาธารณะทงั้ การให้บริการและ
การเช่ือมโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity) การเช่ือมโยงตารางเวลาเดินทาง (Schedule
สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 5
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์
Connectivity) และ การเชื่อมโยงค่าโดยสาร (Fare Connectivity) เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ประชนหันไปใช้
ระบบขนส่งสาธารณะให้มากข้ึน
นอกจากนี้ ยังต้องมีการพฒั นากิจกรรมด้านโลจิสติกส์ อาทิ ศูนยร์ วบรวมและกระจายสินคา้ คลังสนิ ค้า
ปลอดอากร สถานีขนส่งสินค้า ท่าเรือบก ย่านเกบ็ กองและขนถา่ ยตสู้ ินคา้ รวมทัง้ การจดั หาอุปกรณก์ ารยกขนตู้
สินค้าทางรถไฟในแนวเส้นทางยุทธศาสตร์ท่ีสามารถเชื่อมโยงกับฐานการผลิตอุตสาหกรรม โดยเฉพาะบริเวณ
พื้นที่อุตสาหกรรมตามแนวระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก และแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ ตะวันออก-
ตะวันตก และฐานเกษตรกรรมของประเทศ ไปยังประตูการค้าหลักของประเทศโดยเฉพาะบริเวณท่าอากาศ
ยาน ท่าเรือระหว่างประเทศ และด่านการค้าท่ีสาคัญ รวมท้ัง ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการลงทุน
พัฒนาและให้บริการศูนย์บริการโลจิสติกส์ต่างๆ เช่น จุดพักรถบรรทุก ศูนย์กระจายสินค้า ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูป
แบบการขนส่ง โดยมีการวางแผนท่ีตั้งในภาพรวมของการคมนาคมขนส่งในจุดท่ีเหมาะสม เพ่ือแก้ไขและลด
ปรมิ าณการคมนาคมขนสง่ ทางถนนให้นอ้ ยทส่ี ดุ
อีกทั้ง การที่ระบบคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์จะมีความสมบูรณ์ได้ แผนงาน ฯ จาเปน็ ต้องมีการเพ่ิม
สดั ส่วนการจดั สรรงบประมาณเพื่อพัฒนาองค์ประกอบอ่ืน ๆ ควบค่ไู ปกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการ
คมนาคมขนส่ง อาทิ 1) การยกระดับการบริหารจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานในภาคการผลิตให้ได้
มาตรฐาน 2) การเช่ือมโยงการคา้ สู่รูปแบบพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ 3) การพัฒนาศักยภาพผใู้ ห้บริการโลจิสติกส์
ให้สามารถแข่งขันได้ 4) การพัฒนาระบบ NSW ให้สมบูรณ์ 5) การพัฒนากระบวนการโลจิสติกส์ในรูปแบบ
อิเล็กทรอนกิ ส์ 6) การแกไ้ ขอุปสรรคการคา้ ระหว่างประเทศ 7) การพัฒนาปัจจัยสนับสนนุ ด้านโลจิสติกสต์ ่าง ๆ
(มาตรฐานวิชาชีพ บุคลากร งานวิจัยและนวัตกรรม) ซึ่งในปจั จุบันแผนงานบรู ณาการพัฒนาด้านคมนาคมและ
สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 6
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
ระบบโลจิสติกส์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และปีงบประมาณท่ีผ่าน ๆ มีการจัดสรรงบประมาณเอาไว้ใน
สัดส่วนค่อนข้างน้อย และมีผลประโยชน์ท่ีได้รับในวงจากัด ยังไม่ครอบคลุม เพียงพอต่อการพัฒนาบริหาร
จัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานและการอานวยความสะดวกทางการค้าให้มีประสิทธิภาพ ในระดับ
ประเทศได้
นอกจากนี้ ภาครัฐและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ควรเร่งรัดปรับปรุงระบบกฎหมาย กฎระเบียบต่าง ๆ ท่ี
เก่ียวข้อง เช่น กฎหมายเก่ียวกับน้าหนักรถบรรทุกและความสูงของรถบรรทุก กฎหมายและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ
พิธีการศุลกากร กฎหมายกากับและส่งเสริมธุรกิจ Logistics Service Provider และกฎหมายเฉพาะด้านการ
ขนส่งที่ล้าสมัย ให้เกื้อหนุนต่อการพัฒนาระบบการค้าและโลจิสติกส์ของประเทศและทันต่อต่อสภาวะการ
แข่งขนั ในปัจจบุ ันควบค่ไู ปกบั การพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานที่ดาเนินการอยใู่ นปัจจุบันและในอนาคต
4. ข้อเสนอแนะ
1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเร่งรัดทบทวนปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ท่ีเก่ียวข้องกับระบบโลจิสติกส์
ของประเทศ เช่น กฎหมายเกี่ยวกับรถบรรทุก กฎหมายและวิธีปฏิบัติเก่ียวกับศุลกากร กฎหมาย/ระเบียบ/
ข้อบังคับเก่ียวกับการนาเข้า-ส่งออก กฎหมายเฉพาะด้านการขนส่งที่ล้าสมัย ฯลฯ ให้เกื้อหนุนต่อการพัฒนา
ธุรกิจ การค้าและระบบโลจิสติกส์ของประเทศ ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยี สถานการณ์ในปัจจุบันและอิงกับ
มาตรฐานสากล โดยจาเป็นต้องมีองค์กรกลางรับผิดชอบด้านโลจิสติกส์เสนอกฎหมายกากับและส่งเสริมธุรกิจ
Logistics Service Provider ควบคกู่ บั การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานที่ภาครัฐไดด้ าเนนิ การอยู่
2. ภาครัฐควรพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งทุกรูปแบบไม่ว่าจะเป็นถนน ราง อากาศ
และน้า โดยมุ่งเน้นถงึ การสง่ เสริมการปรับเปล่ียนรูปแบบการขนส่ง (Shift Mode) และการขนสง่ ตอ่ เนือ่ งหลาย
รูปแบบ (Multimodal) ที่มีความเช่ือมต่อกันอย่างสมบูรณ์ เพ่ือลดต้นทุนการขนส่งและเพิ่มประสิทธิภาพ
บรกิ ารขนสง่ และเครือขา่ ยโลจิสตกิ สท์ เ่ี ช่อื มโยงตลอดท้งั ต้นทางและปลายทางของเสน้ ทางโลจสิ ตกิ ส์
นอกจากนี้ ยังต้องสนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกและศูนย์บริการโลจิสติกส์ เช่น
ศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้า คลงั สินค้าปลอดอากร สถานีขนส่งสินคา้ ท่าเรอื บก ย่านเก็บกองและขนถ่ายตู้
สินค้า รวมทั้งการจัดหาอุปกรณ์การยกขนตู้สินค้าทางรถไฟในแนวเส้นทางยุทธศาสตร์ท่ีสามารถเช่ือมโยงกับ
ฐานการผลิตอุตสาหกรรม รวมท้ัง ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการลงทุนพัฒนาและให้บริการ
ศนู ย์บริการโลจิสติกส์ต่างๆ เช่น จุดพักรถบรรทุก ศูนย์กระจายสินคา้ ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนสง่ โดยมี
การวางแผนท่ีต้ังในภาพรวมของการคมนาคมขนส่งในจุดที่เหมาะสม เพื่อแก้ไขและลดปริมาณการคมนาคม
ขนสง่ ทางถนนใหน้ ้อยทีส่ ดุ
3. ดาเนินการส่งเสริมผู้ประกอบการ (ระดับ SMEs) ให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึง
ผลประโยชน์ในเชิงกลยทุ ธ์ (Strategic Benefits) ในการนาระบบสารสนเทศ (Information Technology: IT)
มาใช้ในงานโลจิสติกส์ และรัฐบาลจาเป็นต้องมีนโยบายในการสนับสนุนให้กับทั้งผู้ผลิตและผู้ใช้ซอฟท์แวร์
เพื่อใหผ้ ปู้ ระกอบการของไทยมีซอฟท์แวรท์ ี่มีมาตรฐานและเหมาะสมเพื่อใชด้ ้านโลจิสติกส์และหว่ งโซอ่ ุปทาน
4. เร่งรัดการพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน สร้างความเป็นมืออาชีพ และ
ยกระดับมาตรฐานวิชาชีพด้านโลจิสติกส์ สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับภาคเอกชนในการพัฒนากาลังคน
ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ และพัฒนาระบบติดตามและ
ประเมินผลการพฒั นาดา้ นโลจสิ ตกิ ส์ของประเทศ
สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 7
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อทดแทนการนาเข้าและเพ่ิมประสิทธิภาพ
ระบบโลจิสติกส์ของประเทศ เช่น ระบบคลังสินค้าอัตโนมัติ ระบบบริหารจัดการและติดตามการขนส่งสินค้า
ระบบตรวจสอบย้อนกลับ ระบบหุ่นยนต์อัตโนมัติ อุปกรณ์หุ่นยนต์ อุปกรณ์ยกขน และอุปกรณ์ซ่อมบารุง ที่ใช้
ในกจิ กรรมโลจสิ ติกส์ นวัตกรรมในกระบวนการผลิต กระบวนการเก็บเก่ยี ว กระบวนการหลังการเก็บเกี่ยว และ
การพฒั นาบรรจภุ ณั ฑเ์ พือ่ ลดการกระแทกและบอบชา้ ในระหวา่ งการขนสง่ สินค้าของภาคการเกษตร เป็นตน้
5. ภาครัฐจาเป็นต้องส่งเสริมการพฒั นาศักยภาพผู้ใหบ้ ริการโลจิสตกิ ส์ (Logistics Service Providers:
LSPs) ใหส้ ามารถแข่งขนั ได้
5.1 ปรับปรุง/ออกกฎหมายท่ีเก้ือหนุนต่อการประกอบธุรกิจโลจิสติกส์ ช่วยให้ให้เกิดความ
ชัดเจนดาเนินกจิ การ เพ่อื นาไปสู่ต่อการพฒั นาผ้ปู ระกอบการ
5.2 ส่งเสริมทางด้านสิทธิพิเศษเพ่ือช่วยเหลือและจูงใจ ให้เกิดผู้ให้บริการโลจิสติกส์เพ่ิมมาก
ข้นึ
5.3 จัดโครงการ/กิจกรรมในการความรู้ ความชานาญ รวมถึงทักษะ ท่ีจาเป็นในการ
ดาเนินงานตอ่ ผู้ประกอบการ
5.4 มีมาตรการส่งเสริมใหผ้ ู้ประกอบการสามารถเข้าถึงแหลง่ เงนิ ทนุ จากธนาคาร
5.5 ส่งเสริมผู้ประกอบการโลจิสติกส์ไทยในการหาเครือข่ายในการเช่ือมต่อกับต่างประเทศ
5.6 กาหนดมาตรฐาน ในการพัฒนาส่งเสริมระดับการให้บริการด้านโลจิสติกส์ของไทยให้
สามารถแขง่ กบั ผูป้ ระกอบการจากตา่ งประเทศได้
แผนงำนบูรณำกำรพฒั นำดำ้ นคมนำคมและระบบโลจิสติกส์
(เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 18 (1) หน้า 77-812)
1. วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อให้ประเทศไทยมีระบบคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพ ช่วยลดต้นทุนโลจิสติกส์
และนาไปสกู่ ารเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดย
1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมทั้งทางถนน ทางน้า ทางราง และทางอากาศ และส่ิงอานวย
ความสะดวกในการเปล่ียนแปลงรูปแบบการขนส่งตามแนวระเบียงเศรษฐกิจสาคัญ ให้มีประสิทธิภาพ ความ
สะดวก รวดเร็ว ตรงต่อเวลา และปลอดภัย สามารถเชอ่ื มโยงการขนสง่ และการเดินทางท่ัวถึงทง้ั ภายในประเทศ
และระหว่างประเทศ เพอื่ สร้างความต่อเนื่องภายในประเทศและเชื่อมโยงไปยังประตกู ารขนสง่ (Gateway)
2. พัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ (รถไฟฟ้า รถโดยสาร เรือโดยสาร และอากาศยาน) และส่งเสริมการ
เข้าถึงเพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาจราจร ควบคู่กับการกากับดูแลและพัฒนามาตรฐานการให้บริการระบบ
ขนส่งให้มีคุณภาพระดบั สากล
3. พัฒนาระบบบริหารจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน เพื่อสนับสนุนและเสริมสร้างสมรรถนะผู้
ให้บริการโลจิสติกส์ท้ังภาครัฐและภาคเอกชน และสามารถเพิ่มมูลค่าระบบห่วงโซ่อุปทานในภาคการเกษตร
และภาคอุตสาหกรรม
4. พัฒนาและส่งเสริมการอานวยความสะดวกทางการค้า พิธีการทางศุลกากร การเชื่อมโยงข้อมูล
อิเล็กทรอนกิ ส์ (NSW) และกจิ กรรมทเี่ ก่ยี วข้อง เพือ่ ส่งเสรมิ การขนส่งระหว่างประเทศใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ
สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 8
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
5. พัฒนาและเสริมสร้างขีดความสามารถและคุณภาพของการบริการและขยายเครือข่าย ของผู้
ให้บริการโลจสิ ติกส์ (LSPs) และการขนสง่ ระหว่างประเทศให้สามารถแข่งขันได้
6. พัฒนาปัจจัยสนับสนุนด้านโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน (บุคลากร ฐานข้อมูล วิจัย นวัตกรรมและ
เทคโนโลยี และระบบการติดตามและประเมินผล)
2. ภำพรวมงบประมำณ
ตามร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 แผนงานบูรณาการพัฒนาด้าน
คมนาคมและระบบโลจิสติกส์ ได้รับการจัดสรรงบประมาณจานวน 109,023.7907 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นจาก
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 14,278.8879 ล้านบาท หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 15.07 นอกจากน้ีมีเงินนอก
งบประมาณที่นามาสมทบกบั เงินงบประมาณรายจา่ ยจานวน 49,376.0260 ลา้ นบาท
ประเภทงบประมำณ งบประมำณ (ลำ้ นบำท)
ปี 2563 ปี 2564
งบประมาณรายจ่ายของหน่วยรบั งบประมาณ 94,744.9082 109,023.7907
เงินนอกงบประมาณ* 53,088.2090 49,376.0260
ภารกิจสนบั สนุน 17,216.0529 21,470.7013
เงนิ นอกงบประมาณ* - 339.1466
หมายเหตุ *เปน็ จานวนเงนิ นอกงบประมาณเฉพาะท่ีนามาสมทบกับงบประมาณรายจ่าย
กระทรวง งบประมำณ เพม่ิ /ลด
จำนวน ร้อยละ
1. สานกั นายกรัฐมนตรี (1 หนว่ ยงาน) 2563 2564
2. กระทรวงกลาโหม 34.7778 380.53
3. กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย 9.1394 43.9172 15.1580 -100.00
43.0330 51.68
และนวัตกรรม (2 หนว่ ยงาน) 15.1580 -
4. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2 หน่วยงาน)
5. กระทรวงคมนาคม (8 หนว่ ยงาน) 83.2670 126.3000
6. กระทรวงดจิ ทิ ลั เพ่อื เศรษฐกิจและสังคม
36.7999 14.6234 -22.1765 -60.26
(1 หน่วยงาน) 88,515.4791 100,637.9782 12,122.4991 13.70
7. กระทรวงพาณิชย์ (1 หนว่ ยงาน)
8. กระทรวงแรงงาน (1 หนว่ ยงาน) - 43.8828 43.8828 100
9. กระทรวงสาธารณสขุ
10. กระทรวงอุตสาหกรรม (1 หนว่ ยงาน) 21.2110 25.1369 3.9259 18.51
11. รฐั วสิ าหกิจ (4 หน่วยงาน) 23.1360 15.2560 -7.8800 -34.06
2.0000 -2.0000
รวม 29.0000 - 7.5500 -100
6,009.7124 36.5500 2,070.4338 26.03
94,744.9028 8,080.1462 14,278.8879 34.45
109,023.7907 15.07
สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 9
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์
หน่วยรับงบประมาณที่เกี่ยวข้องในแผนงานฯ จานวน 8 กระทรวง 21 หน่วยงาน (รัฐวิสาหกิจ 4
หนว่ ยงาน) โดยมีสานกั งานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรเป็นหนว่ ยรับงบประมาณท่เี ปน็ เจา้ ภาพหลกั
เม่ือจาแนกงบประมาณรายกระทรวง
กระทรวง งบประมาณ รอ้ ยละ พบว่า ส่วนราชการของกระทรวงคมนาคม
สำนักนำยกรฐั มนตรี 43.9172 0.0400 ไ ด้ รั บ ง บ ป ร ะ ม า ณ สู ง ที่ สุ ด จ า น ว น
กระทรวงกำรอดุ มศกึ ษำ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ยั และ 126.3000 0.1200 100,637.9782 ล้านบาท หรือร้อยละ 92.31
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 14.6234 0.0100 ของงบประมาณท้ังแผนงานฯเพ่ิมขึ้นร้อยละ
100,637.9782 92.3100 13.70 ซึ่งหน่วยรับงบประมาณที่ได้รับ
กระทรวงคมนำคม 43.8828 0.0400 งบประมาณสูงสุดเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจใน
กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม 25.1369 0.0200 การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทางถนนใน
กระทรวงพำณชิ ย์ 15.2560 0.0100 สังกัดกระทรวงคมนาคม ได้แก่ กรมทางหลวง
กระทรวงแรงงำน 36.5500 0.0300 และกรมทางหลวงชนบท ซงึ่ ไดร้ ับงบประมาณ
กระทรวงอตุ สำหกรรม
รัฐวสิ ำหกจิ 8,080.1462 7.4100 จ า น ว น 75,905.7685 ล้ า น บ า ท แ ล ะ
รวม 109,023.7907 100.0000 1 9 ,218.9739 ล้ า น บ า ท ต า ม ล า ดั บ
จากงบประมาณแผนงานบูรณาการพัฒนาด้าน
คมนาคมและระบบโลจิสติกส์ พ.ศ. 2564 ท้ังหมด เมื่อ
จาแนกตามงบรายจ่าย พบว่า เป็นงบลงทุนสูงท่ีสุด
จานวน 108,340.1280 ล้านบาท หรือร้อยละ 99.37
ของงบประมาณทั้งแผนงานฯ โดยงบประมาณส่วนท่ี
เหลือเป็นงบรายจ่ายอื่นจานวน 510.7299 ล้านบาท
และงบเงินอดุ หนุนจานวน 172.9328 ลา้ นบาท หรอื คิด
เปน็ รอ้ ยละ 0.47 และ 0.16 ตามลาดบั
สาหรับหน่วยรับงบประมาณท่ีได้รับการจัดสรร
งบลงทุนมากที่สุด 5 ลาดับแรก ได้แก่ 1) กรมทางหลวง
75,567.4379 ล้านบาท 2) กรมทางหลว งชนบท
19,218.9739 ล้านบาท และ 3) การรถไฟฟ้าขนส่ง
มวลชนแหง่ ประเทศไทย 5,466.8700 ลา้ นบาท
สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 10
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
3. ผลสัมฤทธิแ์ ละผลประโยชนท์ ี่คำดว่ำจะไดร้ บั จำกกำรใชจ้ ่ำยงบประมำณ
ผลสัมฤทธ์ิ หน่วยนับ คำ่ เปำ้ หมำย ค่ำเป้ำหมำย
และประโยชนท์ คี่ ำดวำ่ จะได้รับ ปี 2563 ปี 2564
รอ้ ยละ
ผลสมั ฤทธิ์และประโยชนท์ ค่ี ำดวำ่ จะไดร้ ับ ร้อยละ 7.5 7.3
ผลสัมฤทธิ์ : ยกระดับมำตรฐำนระบบ รอ้ ยละ 5 4.9
คมนำคมและโลจิสติกส์ให้มีควำมสมบูรณ์ 1.3 1.2
เชื่อมต่อครอบคลุมเข้ำถึง ปลอดภัย เพ่ือ
ส่งเสริมกำรค้ำและกำรลงทุนของประเทศ
อยำ่ งยัง่ ยืน
ตวั ช้ีวัด : สัดสว่ นตน้ ทนุ ขนส่งสนิ คา้ ต่อ GDP
ไม่เกิน
ตวั ชี้วดั : สดั สว่ นตน้ ทุนการเก็บรกั ษาสนิ ค้า
คงคลัง ตอ่ GDP ไม่เกิน
ตัวช้ีวดั : สดั ส่วนตน้ ทุนการบริหาร จัดการ
ตอ่ GDP ไมเ่ กนิ
แผนงานฯ กาหนดผลสัมฤทธ์ิเพื่อยกระดับมาตรฐานระบบคมนาคมและโลจิสติกส์ให้มีความสมบูรณ์
เชื่อมต่อครอบคลุมเข้าถึง ปลอดภัย เพื่อส่งเสริมการค้าและการลงทุนของประเทศอย่างยั่งยืน โดยกาหนด
ตวั ชี้วดั ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ให้ต้นทุนโลจสิ ติกส์ต่อ GDP ให้ไม่เกนิ 13.4 โดยจาแนกเป็น สัดสว่ นตน้ ทุน
ขนส่งสินค้าต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 7.3 สัดส่วนต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 4.9
สัดส่วนต้นทนุ การบริหารจดั การตอ่ GDP ไมเ่ กนิ ร้อยละ 1.2
4. รำยละเอียดกำรใชง้ บประมำณ
แผนบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีหน่วยงานขอรับ
การจัดสรรงบประมาณ 8 กระทรวง 21 หน่วยงาน งบประมาณรวมทั้งส้ิน 109,023.7907 ล้านบาท เพ่ือ
ดาเนินการใหบ้ รรลุ 2 เปา้ หมาย คอื
เป้ำหมำยที่ 1 โครงข่ายคมนาคมขนส่งมีความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สามารถเช่ือมโยง
ทั่วถึงท้ังภายในประเทศและต่างประเทศ (Hard Infrastructure) งบประมาณ 108,631.9168 ล้านบาท คิด
เปน็ ร้อยละ 99.64
เปำ้ หมำยท่ี 2 การบรหิ ารจัดการโลจิสตกิ ส์และห่วงโซอ่ ุปทาน และการอานวยความสะดวกทางการค้า
ให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานสากล (Soft Infrastructure) งบประมาณ 391.8739 ล้านบาท คิดเป็นร้อย
ละ 0.36
สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 11
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
กำรดำเนนิ งำน หนว่ ยงำน โครงกำร/กิจกรรมสำคญั งบประมำณ
(ล้ำนบำท)
แนวทำงที่ 1.1 พัฒนำเชือ่ มโยงโครงสร้ำงพื้นฐำนเพือ่ ควำมสะดวก ปลอดภยั และประหยดั เวลำเดินทำง
รวมแนวทำงท่ี 1.1 108,354.4389
กรมทำงหลวง 1) โครงการก่อสร้างทางหลวงพเิ ศษระหวา่ งเมอื ง 75,905.7685
2) โครงการก่อสรา้ งทางหลวงเชอ่ื มโยงระหว่างประเทศ
3) โครงการยกระดบั ความปลอดภยั บรเิ วณทางแยกขนาดใหญ่
4) โครงการบรู ณะโครงขา่ ยทางหลวงเช่ือมโยงระหว่างภาค
5) โครงการก่อสรา้ งสะพานข้ามจดุ ตัดทางรถไฟ
6) โครงการกอ่ สร้างโครงขา่ ยทางหลวงแผน่ ดิน
7) โครงการพัฒนาทางหลวงเพอ่ื เพ่มิ ประสิทธิภาพการจราจร
และขนส่ง
8) โครงการศกึ ษาวิเคราะห์ความเหมาะสมในการให้เอกชน
ทำงถนน ร่วมลงทุน
1,865.040 9) โครงการปรับปรุงการแบง่ ทศิ ทางการจราจรเพอ่ื ความ
กิโลเมตร ปลอดภยั
10) โครงการพฒั นาจดุ จอดพักรถและสถานตี รวจสอบน้าหนัก
11) โครงการก่อสร้างทางยกระดบั ทางหลวงหมายเลข 35
สายธนบรุ ี – ปากทอ่ (ถนนพระราม 2)
12) โครงการส่งเสริมการใชย้ างพาราในภารกจิ ของกรมทาง
หลวง
13) โครงการยกระดับมาตรฐานการป้องกันอนั ตรายข้างทาง
หลวง
14) โครงการยกระดับความปลอดภยั จุดกลบั รถในระดบั
เดยี วกัน
15) โครงการก่อสรา้ งจดุ พกั รถเพอ่ื ยกมาตรฐานงานทาง
กรมทำงหลวง 1) โครงการพัฒนาทางและสะพาน โครงข่ายทางหลวงชนบท 19,203.9739
ชนบท สนบั สนนุ ด้านคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์
2) โครงการอานวยความปลอดภยั สนบั สนนุ ดา้ นคมนาคมและ
ระบบโลจสิ ติกส์
กรมกำรขนส่ง 1) โครงการพฒั นามาตรฐานด้านความปลอดภัยทางถนน 136.2049
ทำงบก 2) โครงการพัฒนาสถานขี นส่งผโู้ ดยสารเพอื่ เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ
การขนส่งผโู้ ดยสาร
กำรทำงพเิ ศษ 1) โครงการทางพเิ ศษสายศรรี ัช - วงแหวนรอบนอก 87.2669
แหง่ ประเทศไทย กรุงเทพมหานคร
2) โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง – วงแหวน
รอบนอกกรุงเทพมหานคร ด้านตะวันตก
กำรรถไฟแหง่ 1) โครงการปรบั ปรุงระบบอาณัตสิ ญั ญาณไฟสีทว่ั ประเทศ 2,453.2593
ประเทศไทย 2) โครงการระบบรถไฟชานเมือง สายสแี ดงเขม้ ชว่ งรงั สิต -
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยร์ งั สติ
3) โครงการปรบั ปรงุ ทางรถไฟ
4) โครงการปรับปรุงสะพานและชอ่ งนา้
สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 12
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
กำรดำเนนิ งำน หน่วยงำน โครงกำร/กจิ กรรมสำคญั งบประมำณ
(ล้ำนบำท)
5) โครงการความรว่ มมือระหว่างรฐั บาลแหง่ ราชอาณาจักร
5,466.8700
ไทย และรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาชนจนี ในการพฒั นา
1,220.6960
ระบบรถไฟความเร็วสงู เพ่ือเชือ่ มโยงภูมภิ าคช่วง 3,880.3994
277.4779
กรงุ เทพมหานคร - หนองคาย (ระยะท่ี 1 ชว่ ง
78.8660
กรงุ เทพมหานคร - นครราชสมี า)
6) โครงการออกแบบรายละเอยี ดงานโยธา โครงการความ
ร่วมมือระหวา่ งรฐั บาลแห่งราชอาณาจกั รไทยและรฐั บาลแห่ง
สาธารณรฐั ประชาชนจีนในการพฒั นาระบบรถไฟความเรว็ สงู
เพ่อื เชอื่ มโยงภมู ภิ าคชว่ งกรุงเทพมหานคร - หนองคาย (ระยะ
ทำงรำง ท่ี 2 ช่วงนครราชสีมา -หนองคาย)
1,057.440 7) โครงการกอ่ สรา้ งทางเชือ่ มตอ่ ทางเช่ือม skywalk ระหวา่ ง
กิโลเมตร โรงพยาบาลจุฬาภรณก์ ับสถานหี ลกั ส่ี ตามพระดาริ
8) โครงการสารวจ ออกแบบรายละเอยี ดและจดั ทารายงาน
ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเพอ่ื เตรยี มการก่อสร้าง ทางรถไฟสาย
แมส่ อด - ตาก - กาแพงเพชร - นครสวรรค์
กำรรถไฟฟำ้ 1) โครงการรถไฟฟ้าสายสีมว่ ง ชว่ งบางใหญ่ - ราษฎร์บูรณะ
ขนสง่ มวลชนแหง่ และช่วงบางใหญ่ - บางซอื่
ประเทศไทย 2) โครงการรถไฟฟ้าสายสีนา้ เงิน ช่วงหัวลาโพง - บางแค
3) โครงการรถไฟฟา้ สายสีน้าเงนิ ชว่ งบางซือ่ - ทา่ พระ
4) โครงการรถไฟฟ้าสายสเี หลอื ง ชว่ งลาดพร้าว - สาโรง
5) โครงการรถไฟฟา้ สายสเี ขียว ชว่ งแบริ่ง – สมุทรปราการ
6) โครงการรถไฟฟา้ สายสีชมพู ชว่ งแคราย - มีนบรุ ี
7) โครงการรถไฟฟา้ สายสีม่วง ช่วงเตาปูน - ราษฎร์บรู ณะ
8) โครงการรถไฟฟา้ สายสีสม้ ช่วงตลง่ิ ชัน – ศูนยว์ ัฒนธรรม
9) โครงการรถไฟฟา้ สายสเี ขียว ชว่ งหมอชติ - สะพานใหม่ -
คูคต
ทำงน้ำ 45แห่ง/ กรมเจำ้ ท่ำ 1) โครงการพัฒนาและบารงุ รักษาโครงสรา้ งพนื้ ฐานเพื่อ
8แห่ง สนับสนุนระบบโลจสิ ติกส์
ทำงอำกำศ 21 กรมท่ำ 1) โครงการพฒั นาศกั ยภาพท่าอากาศยานเพอ่ื เชอ่ื มโยง
แหง่ อำกำศยำน เครอื ข่ายคมนาคมขนส่ง
2) โครงการเพิม่ ขีดความสามารถและประสิทธิภาพ
ท่าอากาศยาน
แนวทำงท่ี 1.2 กำรกำกับและพฒั นำมำตรฐำนกำรคมนำคมขนสง่
รวมแนวทำงท่ี 1.2
สำนักงำน 1) โครงการพฒั นางานดา้ นค้นหา และชว่ ยเหลอื งานนริ ภยั การ
ปลัดกระทรวง บินและสอบสวนด้านการบินพลเรอื นตามมาตรฐานองคก์ าร
คมนำคม การบินพลเรอื นระหว่างประเทศ (ICAO)
2) โครงการศึกษาแนวทางและจดั ตั้งองคก์ รพเิ ศษเพ่ือกากับ
การดาเนินโครงการรถไฟความเรว็ สูง
สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 13
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
กำรดำเนินงำน หนว่ ยงำน โครงกำร/กจิ กรรมสำคญั งบประมำณ
(ล้ำนบำท)
กำรกำกับดแู ล สนข. 1) โครงการโครงขา่ ยคมนาคมขนสง่ มีความสะดวกรวดเร็ว
และมปี ระสิทธิภาพ สามารถเชือ่ มโยงทวั่ ถงึ ท้ังภายในประเทศ 173.1119
กรมกำรขนสง่ และตา่ งประเทศ
ทำงรำง 10.0000
กรมทำงหลวง 1) โครงการการคมนาคมขนสง่ ทางรางมคี วามสะดวก รวดเร็ว
ชนบท และมปี ระสิทธิภาพ 15.0000
สถำบันวจิ ัย
วิทยำศำสตรแ์ ละ 1) โครงการอานวยความปลอดภยั สนบั สนุนด้านคมนาคมและ 0.50000
เทคโนโลยีแห่ง ระบบโลจสิ ตกิ ส์
ประเทศไทย
1) โครงการบริการวเิ คราะหแ์ ละทดสอบมาตรฐานความ
ปลอดภยั ระบบขนสง่ ทางราง
เปำ้ หมำยท่ี 2 กำรบริหำรจัดกำรโลจิสติกสแ์ ละห่วงโซอ่ ุปทำน และกำรอำนวยควำมสะดวกทำงกำรค้ำให้มี
ประสิทธภิ ำพและไดม้ ำตรฐำนสำกล (Soft Infrastructure)
กำรดำเนนิ งำน หนว่ ยงำน โครงกำร/กิจกรรมสำคญั งบประมำณ
(ล้ำนบำท)
แนวทำงท่ี 2.1 พฒั นำ NSW ให้เช่อื มโยงแลกเปลยี่ นกระบวนกำรนำเขำ้ สง่ ออกดว้ ยระบบอิเล็กทรอนิกสแ์ บบไร้
กระดำษไดอ้ ยำ่ งสมบรู ณ์
รวมแนวทำงที่ 2.1 28.1036
พฒั นำ NSW กรมประมง 1) โครงการพฒั นาระบบการใหบ้ รกิ ารเชือ่ มโยงทาง 14.1460
อิเล็กทรอนิกส์
กรมเจ้ำท่ำ 1) โครงการพฒั นาและบารงุ รักษาโครงสรา้ งพื้นฐาน เพอื่ 13.9576
สนบั สนุนระบบโลจสิ ติกส์
แนวทำงที่ 2.2 พัฒนำเพิม่ มูลคำ่ ระบบห่วงโซ่อุปทำน และเช่ือมโยงกำรคำ้ สู่รปู แบบพำณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์
รวมแนวทำงที่ 2.2 36.5500
เพิม่ มลู ค่ำ กรมสง่ เสรมิ 1) โครงการเพมิ่ ขีดความสามารถในการบริหารจดั การ 36.5500
หว่ งโซ่อุปทำน อตุ สำหกรรม โลจสิ ตกิ สแ์ ละโซ่อปุ ทานภาคอุตสาหกรรม
แนวทำงท่ี 2.3 พัฒนำบรกิ ำรและขยำยเครอื ข่ำยของผู้ใหบ้ ริกำรโลจสิ ตกิ ส์ (LSPs)
รวมแนวทำงที่ 2.3 25.1369
ขยำยเครือขำ่ ย กรมสง่ เสรมิ กำรค้ำ 1) โครงการส่งเสรมิ การพฒั นาบรกิ ารและขยายเครอื ขา่ ย 25.1369
LSP ระหวำ่ งประเทศ ของผใู้ หบ้ รกิ ารโลจสิ ตกิ ส์
แนวทำงที่ 2.4 พัฒนำปัจจัยสนบั สนุนด้ำนโลจสิ ติกส์ (มำตรฐำน ควำมเชยี่ วชำญ และคุณภำพบุคลำกร วจิ ยั
นวัตกรรมและเทคโนโลยี พฒั นำขอ้ มลู และกำรตดิ ตำมประเมนิ ผล)
รวมแนวทำงท่ี 2.4 302.0834
พัฒนำปัจจยั สศช. 1) โครงการวางแผนและขบั เคลอ่ื นการพัฒนาระบบ 43.9172
สนับสนนุ โลจสิ ตกิ สแ์ ละระบบอานวยความสะดวกทางการคา้
สำนักงำนเศรษฐกิจ 1) โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 0.4774
กำรเกษตร การเกษตร
สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 14
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
กำรดำเนินงำน หน่วยงำน โครงกำร/กจิ กรรมสำคญั งบประมำณ
(ล้ำนบำท)
สำนกั งำนส่งเสริม 1) โครงการแผนพฒั นา Thailand Smart Mobility
เศรษฐกิจดิจิทลั 43.8828
กรมพัฒนำฝมี อื 1) โครงการพัฒนาบคุ ลากรดา้ นโลจิสตกิ ส์รองรับธุรกจิ ขนส่ง
แรงงำน และการคา้ ระหวา่ งประเทศ 15.2560
2) โครงการพัฒนาบคุ ลากรรองรบั อุตสาหกรรมโลจสิ ติกส์
สำนกั งำนพฒั นำ 1) โครงการพัฒนาเครื่องมือภูมิสารสนเทศ เพื่อเพิ่มความ 6.3000
เทคโนโลยอี วกำศ ปลอดภัยในการเดนิ อากาศ
และภมู สิ ำรสนเทศ
(องคก์ ำรมหำชน)
5. รำยละเอียดงบประมำณในระดบั ผลผลติ -โครงกำร
กระทรวง งบประมำณปี พ.ศ. 2564
หนว่ ยงำน
โครงกำร งบ งบลงทนุ งบ งบ รวม
ดำเนนิ งำน เงนิ อุดหนุน รำยจำ่ ยอน่ื
รวมทัง้ ส้ิน
- 108,340.1280 172.9328 510.7299 109,023.7907
สำนักนำยกรฐั มนตรี -
- - - 43.9172 43.9172
1. สำนักงำนสภำพัฒนำกำร -
เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ - - 43.9172 43.9172
-
โครงการวางแผนและขับเคล่ือนการ - - - 43.9172 43.9172
พฒั นาระบบโลจิสติกส์และระบบ -
อานวยความสะดวกทางการค้า - 126.3000 - 126.3000
- - 120.0000 - 120.0000
กระทรวงกำรอุดมศึกษำ - 120.0000 - 120.0000
วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม -
- 6.3000 - 6.3000
1. สำนกั งำนพัฒนำวิทยำศำสตร์ -
และเทคโนโลยแี ห่งชำติ - - 6.3000 - 6.3000
-
โครงการห้องปฏิบตั กิ ารทดสอบเพอื่ 14.1460 - 0.4774 14.6234
รับการถ่ายทอดเทคโนโลยรี ถไฟ 14.1460 -- 14.1460
ความเร็วสูง 14.1460 -- 14.1460
2. สำนักงำนพฒั นำเทคโนโลยี
อวกำศและภูมสิ ำรสนเทศ
(องคก์ ำรมหำชน)
โครงการพฒั นาเครื่องมอื
ภมู ิสารสนเทศเพอื่ เพม่ิ ความ
ปลอดภยั ในการเดินอากาศ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1. กรมประมง
โครงการพัฒนาระบบการใหบ้ ริการ
เชอ่ื มโยงทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์
สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 15
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
กระทรวง งบประมำณปี พ.ศ. 2564
หนว่ ยงำน
โครงกำร งบ งบลงทุน งบ งบ รวม
ดำเนินงำน
2. สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร เงินอดุ หนุน รำยจำ่ ยอืน่ 0.4774
- 0.4774
โครงการพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน - - 0.4774
และระบบโลจิสตกิ สส์ ินค้าเกษตร -
- - 0.4774
กระทรวงคมนำคม
- 100,248.5858 - 389.3924 100,637.9782
1. สำนักงำนปลดั กระทรวง - 68.7000 - 10.1660 78.8660
คมนำคม
- 68.7000 - 4.1660 72.8660
โครงการพัฒนางานดา้ นค้นหา และ
ชว่ ยเหลืองานนริ ภยั การบิน และ -- - 6.0000 6.0000
สอบสวนด้านการบนิ พลเรือนตาม
มาตรฐานองคก์ ารการบนิ พลเรือน - 136.2049 - - 136.2049
ระหว่างประเทศ (ICAO) - 118.2309 - - 118.2309
- 17.9740
โครงการศึกษาแนวทางและจัดต้ัง - - 17.9740
องคก์ รพเิ ศษเพ่ือกากับการดาเนนิ --
โครงการรถไฟความเรว็ สูง -- - 10.0000 10.0000
- 10.0000 10.0000
2. กรมกำรขนส่งทำงบก - 1,234.6536
- 1,234.6536 - - 1,234.6536
โครงการพฒั นามาตรฐานด้านความ - - 1,234.6536
ปลอดภัยทางถนน - 75,567.4379
- 11,471.9567 - 338.3306 75,905.7685
โครงการพฒั นาสถานีขนสง่ - 3,683.7706 - - 11,471.9567
ผโู้ ดยสารเพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพ - 1,769.9910
การขนส่งผโู้ ดยสาร - 6,651.9323 - - 3,683.7706
- 1,015.2045
3. กรมกำรขนสง่ ทำงรำง - - 1,769.9910
โครงการการคมนาคมขนสง่ ทางราง - - 6,651.9323
มคี วามสะดวก รวดเร็ว และมี
ประสทิ ธภิ าพ - - 1,015.2045
4. กรมเจ้ำท่ำ
โครงการพัฒนาและบารุงรกั ษา
โครงสรา้ งพื้นฐานเพ่อื สนับสนนุ
ระบบโลจสิ ตกิ ส์
5. กรมทำงหลวง
โครงการกอ่ สรา้ งทางหลวงพิเศษ
ระหว่างเมอื ง
โครงการกอ่ สร้างทางหลวงเชอ่ื มโยง
ระหว่างประเทศ
โครงการยกระดับความปลอดภยั
บรเิ วณทางแยกขนาดใหญ่
โครงการบรู ณะโครงขา่ ยทางหลวง
เช่ือมโยงระหว่างภาค
โครงการกอ่ สรา้ งสะพานข้ามจดุ ตดั
ทางรถไฟ
สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 16
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
กระทรวง งบประมำณปี พ.ศ. 2564
หนว่ ยงำน
โครงกำร งบ งบลงทุน งบ งบ รวม
ดำเนินงำน 36,088.2079
โครงการกอ่ สรา้ งโครงขา่ ยทางหลวง เงนิ อดุ หนุน รำยจำ่ ยอ่นื 9,170.5000
แผน่ ดนิ -
- 35,767.5923 - 320.6156 17.7150
โครงการพฒั นาทางหลวงเพื่อเพม่ิ - 575.9980
ประสิทธภิ าพการจราจรและขนสง่ - 9,170.5000 -- 1,660.4832
- 1,739.2966
โครงการศึกษาวเิ คราะหค์ วาม - - - 17.7150
เหมาะสมในการใหเ้ อกชนร่วมลงทนุ 300.0000
- 575.9980 -- 817.3400
โครงการปรบั ปรุงการแบ่งทศิ ทาง - 500.0000
การจราจรเพอ่ื ความปลอดภยั - 1,660.4832 -- 443.3727
- 19,218.9739
โครงการพฒั นาจดุ จอดพกั รถและ - 1,739.2966 -- 12,293.6614
สถานีตรวจสอบนา้ หนัก -
300.0000 -- 6,925.3125
โครงการก่อสร้างทางยกระดบั บน -
ทางหลวงหมายเลข 35 สายธนบรุ ี - 817.3400 -- 3,880.3994
ปากท่อ (ถนนพระราม 2) - 2,711.8638
- 500.0000 --
โครงการส่งเสริมการใชย้ างพาราใน 1,168.5356
ภารกิจของกรมทางหลวง - 443.3727 -- 173.1119
- 173.1119
โครงการยกระดับมาตรฐานการ - 19,218.9739 --
ป้องกันอันตรายขา้ งทางหลวง 12,293.6614 --
โครงการยกระดับความปลอดภัยจุด 6,925.3125 --
กลบั รถในระดบั เดยี วกนั
3,868.8122 - 11.5872
โครงการก่อสร้างจุดพักรถเพื่อยก 2,711.8638 --
มาตรฐานงานทาง
1,156.9484 - 11.5872
6. กรมทำงหลวงชนบท 153.8033 - 19.3086
153.8033 - 19.3086
โครงการพฒั นาทางและสะพาน
โครงข่ายทางหลวงชนบทสนับสนนุ
ดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์
โครงการอานวยความปลอดภยั
สนับสนุนดา้ นคมนาคมและระบบ
โลจสิ ติกส์
7. กรมทำ่ อำกำศยำน
โครงการพฒั นาศกั ยภาพ
ทา่ อากาศยานเพ่อื เช่อื มโยง
เครอื ข่ายคมนาคมขนส่ง
โครงการเพมิ่ ขีดความสามารถและ
ประสทิ ธภิ าพท่าอากาศยาน
8. สำนกั งำนนโยบำยและแผนกำร
ขนสง่ และจรำจร
โครงการโครงข่ายคมนาคมขนสง่ มี
ความสะดวก รวดเรว็ และมี
ประสทิ ธภิ าพ สามารถเชื่อมโยง
สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 17
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์
กระทรวง งบประมำณปี พ.ศ. 2564
หนว่ ยงำน
โครงกำร งบ งบลงทุน งบ งบ รวม
ดำเนนิ งำน
ทวั่ ถึงท้งั ภายในประเทศและ เงินอดุ หนนุ รำยจ่ำยอืน่ 43.8828
ตา่ งประเทศ - 43.8828
- - 43.8828 - 43.8828
กระทรวงดจิ ทิ ัล - 25.1369
เพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม - - 43.8828 - 25.1369
- 25.1369
1. สำนกั งำนส่งเสริมเศรษฐกิจ - - 43.8828 -
ดิจทิ ัล 15.2560
- - - 25.1369 15.2560
โครงการแผนพฒั นา Thailand - - - 25.1369 6.2560
Smart Mobility -
- - 25.1369 9.0000
กระทรวงพำณชิ ย์ - 36.5500
- - - 15.2560 36.5500
1. กรมส่งเสริมกำรค้ำระหวำ่ ง - - - 15.2560 36.5500
ประเทศ - - - 6.2560
8,080.1462
โครงการส่งเสรมิ การพฒั นาบรกิ าร - - - 9.0000 87.2669
และขยายเครอื ขา่ ยของผูใ้ ห้บริการ - 4.3405
โลจสิ ติกส์ - - - 36.5500 82.9264
- - - 36.5500
กระทรวงแรงงำน - - 36.5500 5,466.8700
- 3,804.1800
1. กรมพฒั นำฝมี อื แรงงำน - 8,077.3962 2.7500 -
87.2669 - -
โครงการพัฒนาบุคลากร 4.3405 - -
ด้านโลจิสติกส์รองรบั ธรุ กจิ ขนส่ง
และการค้าระหว่างประเทศ 82.9264 - -
โครงการพัฒนาบุคลากร 5,466.8700 --
รองรับอตุ สาหกรรมโลจสิ ตกิ ส์ 3,804.1800 --
กระทรวงอุตสำหกรรม
1. กรมส่งเสริมอุตสำหกรรม
โครงการเพมิ่ ขีดความสามารถ
ในการบรหิ ารจดั การโลจสิ ตกิ ส์
และโซ่อปุ ทานภาคอุตสาหกรรม
รฐั วิสำหกจิ
1. กำรทำงพิเศษแห่งประเทศไทย
โครงการทางพิเศษสายศรรี ัช-
วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
โครงการทางพเิ ศษสายพระราม3-
ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอก
กรุงเทพมหานคร ดา้ นตะวันตก
2. กำรรถไฟฟ้ำขนส่งมวลชนแหง่
ประเทศไทย
โครงการรถไฟฟา้ สายสมี ว่ ง
ชว่ งบางใหญ-่ ราษฎร์บูรณะ และ
ช่วงบางใหญ-่ บางซ่ือ
สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 18
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
กระทรวง งบประมำณปี พ.ศ. 2564
หนว่ ยงำน
โครงกำร งบ งบลงทนุ งบ งบ รวม
ดำเนินงำน 82.0000
โครงการรถไฟฟ้าสายสนี ้าเงิน เงนิ อดุ หนุน รำยจ่ำยอนื่ 102.2800
ชว่ งหัวลาโพง-บางแค - 2.2000
- 82.0000 -- 89.2500
โครงการรถไฟฟ้าสายสนี ้าเงิน - 115.3600
ชว่ งบางซ่ือ-ทา่ พระ - 102.2800 -- 532.0000
- 40.0000
โครงการรถไฟฟา้ สายสเี หลือง - 2.2000 -- 699.6000
ช่วงลาดพรา้ ว-สาโรง - 2,453.2593
- 89.2500 -- 214.6283
โครงการรถไฟฟา้ สายสเี ขยี ว - 5.0000
ชว่ งแบรงิ่ -สมุทรปราการ - 115.3600 --
- 79.2105
โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู 532.0000 -- 857.2455
ชว่ งแคราย - มีนบุรี - 500.0000
- 40.0000 --
โครงการรถไฟฟา้ สายสมี ่วง - 402.3590
ช่วงเตาปนู -ราษฎร์บรู ณะ 699.6000 --
-
โครงการรถไฟฟ้าสายสสี ม้ 2,453.2593 --
ช่วงตลิง่ ชัน-ศูนย์วฒั นธรรม 214.6283 --
โครงการรถไฟฟ้าสายสเี ขยี ว 5.0000 --
ชว่ งหมอชติ -สะพานใหม่-คูคต
79.2105 --
3. กำรรถไฟแหง่ ประเทศไทย 857.2455 --
500.0000 --
โครงการปรบั ปรงุ ระบบอาณตั ิ
สัญญาณไฟสีทว่ั ประเทศ 402.3590 --
โครงการระบบรถไฟชานเมอื ง
สายสีแดงเขม้ ช่วงรงั สติ -
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ศูนย์รังสติ
โครงการปรับปรุงทางรถไฟ
โครงการปรับปรุงสะพานและช่องนา้
โครงการความรว่ มมอื ระหวา่ ง
รัฐบาลแหง่ ราชอาณาจกั รไทยและ
รฐั บาลแห่งสาธารณรฐั ประชาชนจนี
ในการพฒั นาระบบรถไฟความเรว็ สูง
เพ่อื เชอ่ื มโยงภมู ภิ าค
ช่วงกรงุ เทพมหานคร- หนองคาย
(ระยะท1ี่ ช่วงกรงุ เทพมหานคร-
นครราชสมี า)
โครงการออกแบบรายละเอยี ดงาน
โยธา โครงการความรว่ มมือระหวา่ ง
รฐั บาลแห่งราชอาณาจักรไทยและ
รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาชนจนี
ในการพัฒนาระบบรถไฟความเรว็ สูง
เพ่อื เช่อื มโยงภมู ภิ าค
ชว่ งกรุงเทพมหานคร -หนองคาย
สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 19
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบรู ณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์
กระทรวง งบประมำณปี พ.ศ. 2564
หนว่ ยงำน
โครงกำร งบ งบลงทนุ งบ งบ รวม
ดำเนินงำน 250.8160
(ระยะท่ี 2 ชว่ งนครราชสมี า - เงนิ อุดหนนุ รำยจ่ำยอืน่
หนองคาย) - 144.0000
250.8160 --
โครงการกอ่ สร้างทางเชอ่ื มต่อทาง - 72.7500
เช่อื ม skywalk ระหว่างโรงพยาบาล 144.0000 -- 0.5000
จุฬาภรณ์กับสถานหี ลกั สี่ - 72.2500
ตามพระดาริ - 70.0000 2.7500 -
- - 0.5000 -
โครงการสารวจ ออกแบบ
รายละเอียดและจัดทารายงาน 70.0000 2.2500 -
ผลกระทบสงิ่ แวดล้อมเพอ่ื
เตรยี มการก่อสร้างทางรถไฟสายแม่
สอด-ตาก-กาแพงเพชร-นครสวรรค์
4. สถำบันวจิ ยั วิทยำศำสตรแ์ ละ
เทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย
โครงการบริการวิเคราะห์และ
ทดสอบมาตรฐานความปลอดภยั
ระบบขนสง่ ทางราง
โครงการพฒั นาการวิเคราะหแ์ ละ
ทดสอบระบบรางรถไฟความเรว็ สงู
6. ผลกำรเบิกจ่ำยงบประมำณ
วงเงนิ งปม. หน่วย : ล้านบาท
ผลเบกิ จา่ ย ณ 30 มิ.ย.63
พรบ. 63 สดั ส่วน (ร้อยละ) พรบ.โอนฯ งปม.หลังโอน จานวนเงนิ รอ้ ยละ
31,890.0665 35.73
95,374.9769 41.46 6,129.7183 89,245.2586
ที่มา : ระบบ GFMIS กรมบญั ชกี ลาง ณ 30 มิถนุ ายน 2563
สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 20