The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaipbo.parliament, 2022-01-23 22:11:19

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา

สว่ นที่ 1 ภาพรวมงบประมาณรายจา่ ย 1
ส่วนท่ี 2 บทวเิ คราะหร์ ายหน่วยงาน
9
สานักงานปลัดกระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า 9
กรมการท่องเทย่ี ว 10
กรมพลศกึ ษา 12
มหาวทิ ยาลัยการกฬี าแห่งชาติ 13
องคก์ ารบรหิ ารการพฒั นาพ้นื ทพี่ ิเศษเพื่อการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยั่งยืน (องคก์ ารมหาชน) 14
การกฬี าแหง่ ประเทศไทย 15
การทอ่ งเทยี่ วแหง่ ประเทศไทย 16

ส่วนที่ 3 แผนงานบรู ณาการสรา้ งรายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี ว 18



รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : ภาพรวมกระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา

กระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า

ส่วนท่ี 1 ภาพรวม

มุ่งพัฒนาและบูรณาการดา้ นการท่องเทย่ี วและการกฬี า สรา้ งเสริมความเจริญเติบโตของเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ

1. จดั ทำนโยบายและยุทธศาสตรเ์ พ่ือการพฒั นาการท่องเที่ยวและกฬี าทส่ี อดคล้องกับแนวทางการพฒั นาของประเทศ
2. กำหนดแนวทางในการจัดสรรทรพั ยากรเพ่ือสนับสนนุ การดำเนินงานของทุกภาคสว่ นอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

และนำนโยบายและยทุ ธศาสตรไ์ ปสู่การปฏิบตั จิ รงิ อย่างไดผ้ ล
3. พฒั นาปัจจยั สนับสนนุ ดา้ นการท่องเที่ยวและกีฬาท่ีจำเป็น ทง้ั ในดา้ นบคุ ลากร โครงสรา้ งพื้นฐาน

และปจั จยั สนับสนุนอนื่ ๆ ทจี่ ำเปน็ อยา่ งครบถ้วนและได้มาตรฐาน
4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารและเพ่ือการใหบ้ ริการ ตลอดจนองค์ความรแู้ ละนวตั กรรม

ต่าง ๆ ทส่ี ามารถเพ่ิมมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวและกีฬา
5. สร้างใหเ้ กดิ การทำงานรว่ มกนั ระหวา่ งหนว่ ยงานในอุตสาหกรรมการทอ่ งเท่ียวและกีฬาในแบบบรู ณาการรว่ มกนั

กับทกุ ภาคสว่ นทม่ี ีความเกย่ี วข้อง

1. สรุปภาพรวมงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และเงนิ นอกงบประมาณ (จำแนกตามหน่วยงาน)

1.1 งบประมาณรายจา่ ยประจำปี ปี งบประมำณ สัดส่วน หน่วย: ลำ้ นบำท
2563 2564
หน่วยงำน เพ่ิม/ลด
จำนวน จำนวน %

ส่วนรำชกำร และองคก์ ารมหาชน 5,888.9 6,268.9 44.3% 380.0 6.5%

สำนกั งำนปลดั กระทรวงกำรทอ่ งเท่ียวฯ 694.4 690.2 4.9% -4.2 -0.6%

กรมกำรทอ่ งเท่ียว 1,663.7 1,749.9 12.4% 86.3 5.2%

กรมพลศกึ ษำ 1,006.4 1,274.5 9.0% 268.1 26.6%

มหำวิทยำลยั กำรกีฬำแหง่ ชำติ 2,091.4 2,105.4 14.9% 14.0 0.7%

องคก์ ำรบรหิ ำรกำรพฒั นำพืน้ ท่ีพิเศษเพื่อกำรทอ่ งเที่ยวอยำ่ งย่งั ยนื (องคก์ ำรมหำชน) 433.0 448.8 3.2% 15.8 3.6%

รฐั วิสำหกิจ 9,148.2 7,892.5 55.7% -1,255.7 -13.7%

กำรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 6,436.9 5,147.6 36.3% -1,289.2 -20.0%

กำรกีฬำแหง่ ประเทศไทย 2,711.3 2,744.9 19.4% 33.6 1.2%

ทนุ หมุนเวียน

กองทนุ เพื่อสง่ เสรมิ กำรท่องเท่ียวไทย

กองทนุ ชว่ ยเหลอื เยียวยำนักท่องเท่ียวชำวตำ่ งชำติ

กองทนุ พฒั นำกำรกีฬำแหง่ ชำติ

รวมเงินงบประมำณทงั้ สิน้ 15,037.1 14,161.4 100.0% -875.7 -5.8%

ท่มี า: เอกสารงบประมาณ ฉบบั ท่ี 3 งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เล่มท่ี 2 และเลม่ ท่ี 14

ปีงบประมาณ 2564 กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า และหน่วยงานในกำกบั ได้รบั จัดสรรงบประมาณ

จำนวนทั้งสิ้น 14,161.4 ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณ 2563 จำนวน 875.7 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ

5.8 โดยงบประมาณดังกล่าวคดิ เป็นสัดส่วนรอ้ ยละ 0.4 ของวงเงนิ งบประมาณรายจ่ายประจำปี

หน่วยงานที่ได้รับงบประมาณสูงสุด ได้แก่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จำนวน 5,147.6 ล้านบาท

คิดเป็นร้อยละ 36.3 ของวงเงินงบประมาณท่ีได้รับจดั สรรทั้งหมด

สำนักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 1

รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : ภาพรวมกระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา

1.2 เงนิ นอกงบประมาณทนี่ ำมาสมทบกับเงินงบประมาณ หนว่ ย: ลำ้ นบำท

ปี งบประมำณ 2564 กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วฯ
มีการนำเงนิ นอกงบประมาณมา
หน่วยงำน เงนิ งบประมำณ เงนิ นอก สัดส่วน เงนิ นอก สมทบกับงบประมาณรายจา่ ย
สำนกั งำนปลดั กระทรวงกำรทอ่ งเทยี่ วฯ งบประมำณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
งบประมำณสมทบ ตอ่ เงนิ งบประมำณ
คงเหลือ จำนวน 54.8 ล้านบาท
คิดเป็นร้อยละ 0.4
690.2 ไมม่ เี งินนอกงบประมำณ
ของเงินงบประมาณทีไ่ ดร้ บั จัดสรร
กรมกำรทอ่ งเท่ยี ว 1,749.9 ไมม่ ีเงินนอกงบประมำณ

กรมพลศกึ ษำ 1,274.5 - - 27.6

มหำวิทยำลยั กำรกีฬำแหง่ ชำติ 2,105.4 - - 359.6

องคก์ ำรบรหิ ำรกำรพฒั นำพนื้ ที่พเิ ศษเพอ่ื กำรทอ่ งเท่ียวอยำ่ งย่งั ยนื (องคก์ ำรมหำชน) 448.8 42.1 9.4% 102.5

กำรทอ่ งเทีย่ วแหง่ ประเทศไทย 5,147.6 - - -

กำรกีฬำแหง่ ประเทศไทย 2,744.9 12.7 0.5% -12.7

รวม 14,161.4 54.8 0.4% 477.1

ทีม่ า: เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 7 รายงานสถานะและแผนการใช้จ่ายเงนิ นอกงบประมาณของหน่วยรบั งบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

โดยหน่วยงานที่นำเงินนอกงบประมาณมาสมทบกับงบประมาณในปี 2564 มี 2 หน่วยงาน ได้แก่

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) จำนวน 42.1 ล้านบาท

และการกีฬาแห่งประเทศไทย จำนวน 12.7 ลา้ นบาท

สำหรับการกีฬาแห่งประเทศไทย มีข้อสังเกตว่า มีแนวโน้มที่จะใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณเกินตัวใน
ระยะ 3 ปีขา้ งหนา้ ระหวา่ งปงี บประมาณ 2564-2566 จำนวน 12.7 ล้านบาท 25.4 ลา้ นบาท และ 25.4 ลา้ นบาท
ตามลำดบั (เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 3 เล่มท่ี 14 หน้า 30)

1.3 การโอนงบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

หนว่ ย: ลำ้ นบำท

หน่วยงำน แผนงำนพนื้ ฐำน (1) แผนงำนยุทธศำสตร์ (2) แผนงำนบรู ณำกำร (3) รวมโอน (1+2+3) พรบ.งบประมำณ 2563 งบประมำณโอน
ต่อ พรบ.งบประมำณ

สำนกั งำนปลดั กระทรวงกำรทอ่ งเท่ียวฯ 41.2 12.6 53.9 694.4 7.8%
40.3 77.0 1,663.7 4.6%
กรมกำรทอ่ งเที่ยว 36.7 1,006.4 9.2%
92.5 2,091.4 1.1%
กรมพลศกึ ษำ 38.5 54.0 22.5
3.6 5,455.9 4.5%
มหำวิทยำลยั กำรกีฬำแหง่ ชำติ 18.9 52.9 245.9
57.6
รวมทงั้ สิน้ 135.3

ทม่ี า: พระราชบัญญตั ิโอนงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. 2563

2. งบประมาณรายจา่ ย จำแนกตามงบรายจา่ ย

หน่วยงำน หนว่ ย: ลำ้ นบำท งบรายจา่ ยส่วนใหญ่

งบบุคลำกร งบดำเนินงำน งบลงทนุ งบเงนิ อุดหนุน งบรำยจำ่ ยอ่ืน รวม รอ้ ยละ 57.3
เป็นงบเงนิ อดุ หนนุ
1.ส่วนรำชกำร และองคก์ ารมหาชน 1,572.6 900.4 1,646.7 744.3 1,405.0 6,268.9 8,110.5 ล้านบาท
สำนักงำนปลดั กระทรวงกำรท่องเท่ียวฯ 201.2 110.5 25.5 7.9 345.2 690.2
กรมกำรท่องเที่ยว 839.3 243.9 161.7 0.1 504.9 1,749.9 โดยเป็นงบประมาณของ
กรมพลศกึ ษำ 75.5 98.2 618.7 6.2 475.9 1,274.5
มหำวิทยำลยั กำรกีฬำแห่งชำติ 456.6 447.7 840.8 การท่องเท่ียว
องคก์ ำรบรหิ ำรกำรพฒั นำพืน้ ที่พเิ ศษเพ่ือกำรทอ่ งเที่ยวอยำ่ งย่งั ยนื (องคก์ ำรมหำชน) 281.3 79.0 2,105.4 แห่งประเทศไทย
448.8 448.8 5,116.5 ล้านบาท

2.รฐั วิสำหกจิ 0.0 0.0 526.3 7,366.2 0.0 7,892.5
กำรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 31.1 5,116.5 5,147.6
กำรกีฬำแหง่ ประเทศไทย 1,572.6 495.2 2,249.7 2,744.9
11.1% 8,110.5
รวมเงนิ งบประมำณทงั้ สิน้ (1+2) 900.4 2,173.0 57.3% 1,405.0 14,161.4
สัดสว่ นตอ่ งบประมำณ 6.4% 15.3% 9.9% 100.0%

ทม่ี า: เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เลม่ ท่ี 2 และเล่มท่ี 14

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 2

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : ภาพรวมกระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา

3. งบประมาณรายจา่ ย จำแนกตามแผนงาน

หน่วยงำน หนว่ ย: ลำ้ นบำท งบประมาณ
สว่ นใหญ่
แผนงำนบคุ ลำกรภำครฐั แผนงำนพนื้ ฐำน แผนงำนยุทธศำสตร์ แผนงำนบรู ณำกำร รวม ร้อยละ 29.7
จดั สรรอยูภ่ ายใต้
1.สว่ นรำชกำร และองคก์ ารมหาชน 1,722.2 2,093.1 1,707.9 745.7 6,268.9
สำนกั งำนปลดั กระทรวงกำรทอ่ งเท่ียวฯ 209.9 302.2 178.2 690.2 แผนงานบูรณาการ
กรมกำรทอ่ งเที่ยว 856.3 628.1 1,055.5 265.5 1,749.9
กรมพลศกึ ษำ 76.3 114.0 652.5 28.8 1,274.5 4,201 ลา้ นบาท
มหำวิทยำลยั กำรกีฬำแหง่ ชำติ 461.9 991.1
องคก์ ำรบรหิ ำรกำรพฒั นำพืน้ ที่พเิ ศษเพ่ือกำรทอ่ งเท่ียวอยำ่ งย่งั ยนื (องคก์ ำรมหำชน) 117.9 57.8 1,707.8 2,105.4
2.รัฐวิสำหกิจ 273.2 448.8
กำรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 1,240.9 1,488.6 1,707.8 3,455.3 7,892.5
กำรกีฬำแหง่ ประเทศไทย 956.8 1,088.5 3,415.7 3,102.3 5,147.6
284.1 24.1% 353.0 2,744.9
รวมเงินงบประมำณทงั้ สิน้ (1+2) 400.1 4,201.0 14,161.4
สัดสว่ นต่องบประมำณ 2,963.1 3,581.6 29.7% 100.0%
20.9% 25.3%

ท่ีมา: เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เล่มที่ 2 และเลม่ ที่ 14

4. งบประมาณแผนงานบรู ณาการ

หน่วย: ลา้ นบาท

แผนงานบูรณาการ งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณของกระทรวง
แผนงานบูรณาการขับเคลอื่ นการแกไ้ ขปัญหาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ 28.8 แผนงานบรู ณาการ ตอ่ แผนงานบรู ณาการทงั้ หมด

(%)

9,731.7 0.3%

แผนงานบูรณาการสรา้ งรายไดจ้ ากการท่องเท่ียว (เจา้ ภาพ) 4,144.9 6,967.9 59.5%

แผนงานบูรณาการพัฒนาพน้ื ท่ีระดบั ภาค 27.3 22,189.5 0.1%

รวม 4,201.0 38,889.1 10.8%

ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เลม่ ที่ 2 เล่มท่ี 18 (2) และเล่มที่ 14

5. รายการผกู พัน 2564 2565 2566 หนว่ ย:ล้านบาท
586.5 482.3 192.4
รำยกำรผกู พนั งบประมำณขำ้ มปี จำแนกตำมหน่วยงำน 25.0 32.1 33.5 2567
1. สว่ นรำชกำร และองคก์ ารมหาชน 206.6 275.6 61.8 142.3
สำนกั งำนปลดั กระทรวงกำรทอ่ งเทยี่ วฯ 21.1 55.6
กรมกำรทอ่ งเทีย่ ว 292.4 0.9 0.9 63.9
กรมพลศกึ ษำ 41.3 102.2 24.6
มหำวิทยำลยั กำรกีฬำแหง่ ชำติ 488.2 71.6 71.6 1.8
องคก์ ำรบรหิ ำรกำรพฒั นำพนื้ ท่ีพเิ ศษเพอ่ื กำรทอ่ งเทยี่ วอยำ่ งย่งั ยนื (องคก์ ำรมหำชน) 286.2 472.0 364.5
2. รัฐวสิ ำหกจิ 202.1 195.55 116.29 -
กำรทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย 1,074.7 276.50 248.25
กำรกีฬำแหง่ ประเทศไทย 14,161.4 954.3 556.9 21.0
รวมรำยกำรผกู พนั งบประมำณข้ำมปี (1+2) 7.6% 14,682.8 9,276.6 116.3
ประมำณกำรรำยจ่ำยล่วงหน้ำ 6.5% 6.0% 76.54
สดั ส่วนรำยกำรผกู พนั ข้ำมปี ต่อประมำณกำรรำยจำ่ ย 39.74
258.6
9,106.4
2.8%

ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เล่มที่ 2 และเลม่ ที่ 14

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 3

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : ภาพรวมกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา

6. ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ

หน่วยงำน วงเงินงบประมำณ เบกิ จำ่ ย %เบกิ จำ่ ย ผ ล ก า ร เ บ ิ ก จ ่ า ย ต ั ้ ง แ ต ่ ต้ น
ปีงบประมาณ 2563 จนถึง
1. สว่ นรำชกำร และองคก์ ารมหาชน 5,888.9 3,789.1 64.3% วันที่ 10 กรกฎาคม 2563
สำนกั งำนปลดั กระทรวงกำรทอ่ งเท่ยี วฯ 694.4 345.6 49.8% กระทรวงการท่องเที่ยวและ
70.6% กีฬา และหน่วยงานในกำกับ
กรมกำรทอ่ งเทย่ี ว 1,663.7 1,175.1 เบิกจ่ายงบประมาณได้ทั้งส้ิน
51.1% 12,100.3 ล้านบาท คิดเป็น
กรมพลศกึ ษำ 1,006.4 514.7 63.1% ร้อยละ 80.5 ของงบประมาณ
100.0% รายจ่ายหลังโอนเปลี่ยนแปลง
มหำวทิ ยำลยั กำรกีฬำแหง่ ชำติ 2,091.4 1,320.7 (15,037.1 ล้านบาท)
90.9%
องคก์ ำรบรหิ ำรกำรพฒั นำพนื้ ท่ีพเิ ศษเพอื่ กำรทอ่ งเที่ยวอยำ่ งย่งั ยืน (องคก์ ำรมหำชน) 433.0 433.0 95.3%
80.2%
2. รฐั วสิ ำหกิจ 9,148.2 8,311.2 80.5%
กำรทอ่ งเทยี่ วแหง่ ประเทศไทย 6,436.9 6,137.3
กำรกีฬำแหง่ ประเทศไทย 2,711.3 2,173.9

รวม 15,037.1 12,100.3

ท่มี า : ระบบการบริหารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) กรมบญั ชกี ลาง

7. เงนิ กนั ไวเ้ บิกเหลื่อมปี

หน่วยงาน เงนิ กนั ไว้เบกิ เหลอ่ื มปี ณ วันท่ี 19 มิถนุ ายน 2563

รวมเงินกันสะสม (1) เบิกจา่ ย (2) คงเหลือ (3=1-2) ก่อหนี้แล้ว เบิกจ่ายต่อเงินกันฯ

สนง.ปลดั กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า 172.0 141.1 30.8 30.5 82.1%

กรมพลศึกษา 364.7 134.1 230.6 228.7 36.8%

กรมการท่องเทย่ี ว 378.4 239.7 138.7 138.6 63.3%

มหาวทิ ยาลยั การกฬี าแหง่ ชาติ 254.3 226.7 27.7 27.7 89.1%

การกฬี าแห่งประเทศไทย 336.8 175.0 161.8 161.8 52.0%

รวมทง้ั สิ้น 1,506.2 916.6 589.6 587.2 60.9%

ท่มี า : รายงานผลการเบิกจ่ายเงินกนั ไวเ้ บิกเหลื่อมปี จำแนกรายปที ไี่ ด้รับงบประมาณ กรมบญั ชีกลาง

8. ประเดน็ ขอ้ สงั เกตของกรรมาธิการฯ ทส่ี ำคญั
8.1 อตุ สาหกรรมการท่องเที่ยวเปน็ เครื่องมือทางเศรษฐกจิ ท่สี รา้ งรายได้ให้แก่ประเทศเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง

ดังนัน้ งบประมาณทไ่ี ด้รับจดั สรรจากรฐั บาลควรสอดคลอ้ งกบั ความสำคญั ของอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว
8.2 การจัดทำโครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ตัวชี้วัด และงบประมาณการท่องเที่ยวและกีฬา ควรเชื่อมโยง

กับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท และแผนย่อยของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ
9. บทวเิ คราะห์ของ PBO

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจสำคัญในการพัฒนาและบูรณาการด้านการ
ท่องเทีย่ วและการกฬี า เพอื่ สร้างเสรมิ ความเจริญเติบโตของเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมถงึ การส่งเสริม
ให้คนไทยออกกำลังกาย เล่นกีฬา และนันทนาการ ให้เป็นวิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะที่ย่ังยืน ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายเป็น
ประชาชนคนไทยท่วั ประเทศ โดยในปี 2563 กระทรวงการท่องเที่ยว ไดต้ ั้งเปา้ หมายเชิงเศรษฐกิจอย่างท้าทาย
ว่าจะสามารถสร้างรายได้จากการท่องเท่ียวใหโ้ ตขึ้นรอ้ ยละ 10 รวมมลู ค่ากว่า 3.7 ล้านลา้ นบาท

สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 4

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : ภาพรวมกระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า

เปา้ หมายเชงิ เศรษฐกจิ
เพือ่ สรา้ งรายได้จากการทอ่ งเทีย่ ว ปี 2563

+10% 3.7 = 1.3 + 2.4
ลา้ นลา้ นบาท ลา้ นลา้ นบาท
รายได้ท่องเท่ียวสะสม รายได้ ลา้ นลา้ นบาท
ไทยเทย่ี วไทย ต่างชาติเที่ยวไทย
ม.ค.-พ.ค. 63 - 59% รายได้รวม
0.2 0.3
%CH (y-o-y) 0.5
ล้านล้านบาท ลา้ นลา้ นบาท
ลา้ นล้านบาท

ท่มี า: ขอ้ มูลจากกองเศรษฐกจิ การท่องเทย่ี วและกีฬา (ข้อมูลเบื้องตน้ ณ วนั ท่ี 25 มถิ ุนายน 2563)

แต่สถานการณ์ท่องเที่ยวของไทยในช่วงเดือน ม.ค.-พ.ค. 2563 กลับไม่เอื้ออำนวย เนื่องจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควดิ -19 ทเ่ี กดิ ขน้ึ มรี ะดบั ความรุนแรงและมแี นวโน้มทีจ่ ะขยายออกไปอีก
สง่ ผลใหก้ ารเดินทางของนักท่องเทยี่ วต่างประเทศลดลงจนแทบไม่มีการเดินทาง โดยมีนกั ท่องเท่ียวต่างชาติเข้ามา
ท่องเที่ยวไทยเพียง 6.7 ล้านคน และนักท่องเที่ยวชาวไทย 25 ล้านคน-ครั้ง สร้างรายได้ท่องเที่ยวสะสมรวม
0.5 ล้านล้านบาท หดตัวราวร้อยละ 59 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา ซึ่งปัจจัยเสี่ยงในระยะต่อไป
คาดวา่ น่าจะเป็นรายจ่ายต่อหัวของนักท่องเท่ยี วที่จะปรบั ลดลงจากปีก่อนหน้าดว้ ย ตามราคาสินค้าและบริการ
ด้านการทอ่ งเท่ียวท่ีมีแนวโน้มลดลงตามสถานการณท์ ่องเท่ียวท่ซี บเซา อยา่ งไรกด็ ี สถานการณ์ดังกล่าวเกิดจาก
ปัจจัยทางธรรมชาติ ไม่ได้เกิดจากปัจจัยทางโครงสร้าง ส่งผลให้ภาคทอ่ งเที่ยวน่าจะกลับมาฟื้นตัวอย่างรวดเรว็
อกี ครั้งหลังจากสถานการณค์ ลคี่ ลายในช่วงครงึ่ หลงั ของปีงบประมาณน้ี

ในปงี บประมาณ 2564 กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกฬี า ไดร้ บั จดั สรรงบประมาณรวมทง้ั สิน้ 14,161.4
ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา จำนวน 875.7 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 5.8 งบประมาณ
ดังกล่าวนี้คิดเป็นร้อยละ 0.4 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี โดยรัฐบาลได้ให้ความสำคัญในด้านการ
ท่องเที่ยว โดยยังคงกำหนดให้เป็น 1 ใน 14 เรื่องหรือแผนงานสำคัญ (Flagship) ด้วยการบรรจุอยู่ในแผนงาน
บูรณาการสร้างรายไดจ้ ากการท่องเท่ียว งบประมาณท้ังส้ิน 6,967.9 ลา้ นบาท เพ่มิ ขึ้นจากปีงบประมาณท่ีผ่านมา
จำนวน 166.7 ล้านบาท หรอื เพมิ่ ข้นึ ร้อยละ 2.5

PBO มคี วามเห็นวา่

ในระยะที่ผ่านมาอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวของไทย ประสบปัญหาในเชิงโครงสร้างการตลาดท่ีขาด
ความสมดุลหลายปัจจัย ได้แก่

• การท่องเทยี่ วพ่งึ พารายไดจ้ ากตลาดต่างประเทศเป็นหลัก และมาจากตลาดหลกั เพยี งไม่ก่ีตลาด

• รายไดจ้ ากการท่องเทย่ี วเตบิ โตจากการเพ่ิมขึน้ ของจํานวนนักทอ่ งเที่ยวเป็นหลกั มากกว่าการเตบิ โตจากค่าใช้จ่าย
• นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ที่เดินทางเข้าไทยเป็นกลุ่ม Mass หรือระดับล่าง-กลาง โดยนักท่องเที่ยวต่างประเทศ
กระจุกตัวในพน้ื ท่ีหลกั และช่วง High Season ส่วนนกั ทอ่ งเทย่ี วในประเทศกระจุกตวั ในช่วงวนั หยุด

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 5

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : ภาพรวมกระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า

ปจั จยั ดงั กลา่ ว ถือเปน็ ความเสย่ี งของภาคการท่องเที่ยวไทยท่ีอาจส่งผลกระทบต่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
ในระยะยาว บวกกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่เรากำลังเผชิญอยู่ในขณะนี้ และมาตรการ
Lockdown ภายในประเทศของรัฐบาล ได้ส่งผลกระทบตอ่ ภาคการท่องเทย่ี วเป็นสำคัญ

ดังนั้น กลไกสำคัญที่สุดในเวลานี้ จึงเป็นการใช้จ่ายของภาครัฐในการช่วยเหลือเยียวยาและเพิ่ม
สภาพคล่องให้แกผ่ ู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมและธรุ กิจท่ีเก่ียวเนื่อง รวมถึงกระต้นุ การใช้จ่ายภาคประชาชน
ผ่านการท่องเที่ยวภายในประเทศ เพื่อรองรับในช่วงที่นักท่องเที่ยวต่างประเทศยังไม่สามารถเดินทางเข้ามา
ทอ่ งเทยี่ วในประเทศได้ โดยเฉพาะภาคการท่องเท่ียวในสถานการณป์ กติ เชน่ ในปี 2561 ทสี่ รา้ งรายได้มูลค่ารวม
กว่า 2.94 ล้านล้านบาท (ต่างชาติเที่ยวไทย 1.87 ล้านล้านบาท และไทยเที่ยวไทย 1.07 ล้านล้านบาท) คิดเป็น
สัดส่วน GDP ด้านการท่องเที่ยวต่อ GDP ประเทศ เท่ากับร้อยละ 17.8 จะเห็นได้ว่า รายได้รวมจากการ
ท่องเทยี่ วใกลเ้ คยี งกับวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี แสดงถงึ ความสำคัญของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวท่ีมี
สว่ นชว่ ยผลกั ดนั เศรษฐกจิ ของประเทศและสามารถกระจายรายได้ลงไปยงั ระดบั ทอ้ งถ่นิ ได้

อย่างไรก็ดี งบประมาณรายจ่ายที่ได้รับจัดสรรจากรัฐบาลในแต่ละปีงบประมาณเพื่อพัฒนาการ
ท่องเที่ยวนั้นมีสัดส่วนต่ำมาก กล่าวคือ งบประมาณที่จัดสรรให้แก่กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และ
หน่วยงานในกำกับ ในแต่ละปีงบประมาณ คิดเป็นสัดส่วนไม่ถึงร้อยละ 1 ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี
โดยในปีงบประมาณ 2564 และประมาณการรายจา่ ยล่วงหน้า 3 ปีข้างหน้า (2565-2567) มีแนวโนม้ ได้รบั
งบประมาณลดลง จากปีงบประมาณนี้ที่ได้รับ 14,161.4 ล้านบาท เป็น 9,106.4 ล้านบาท ในปี 2567 หรือ
ลดลงร้อยละ 60.3 จึงทำให้มีงบประมาณที่จะสง่ เสริมและกระตุน้ การท่องเท่ียวไมม่ ากนกั

นอกจากนี้ โครงการ “เราเที่ยวด้วยกัน” ที่มีช่องทางการจองที่พักทั้งจองกับโรงแรมโดยตรงและจอง
ผ่าน Online Travel Agency (OTAs) นั้น เพื่อให้มาตรการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ต้องจัดให้มีระบบการติดตามและตรวจสอบ รวมท้ัง
กำหนดหลักเกณฑ์ให้ชัดเจนในการกำหนดราคาที่พักของผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อป้องกัน
ปัญหาการฉวยโอกาสข้นึ ราคาอย่างไม่เปน็ ธรรมของผู้ประกอบการบางแหง่ ด้วย

ด้วยเหตุผลดังกล่าวไปข้างต้น PBO จึงมีข้อสังเกตเกี่ยวกับกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รวมทั้ง
ขอ้ เสนอเพ่อื พฒั นาด้านกีฬาและทอ่ งเที่ยวบางประการ ดงั นี้

1. รัฐบาลควรให้ความสำคัญกับ
สัดส่วนงบประมาณรายจ่ายประจำปีของ
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เนื่องจากการ
ท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมหลักที่สร้างรายได้
ให้แก่ประเทศไทย รวมทั้งพิจารณาจัดสรร
งบประมาณบางส่วน เพื่อวิจัยและนวัตกรรม
ด้านการท่องเที่ยวและกีฬา เนื่องจากเป้าหมาย
การให้บริการกระทรวงในปีงบประมาณ 2564
ไม่ปรากฎว่ามีงบประมาณในส่วนน้ี

สำนกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 6

รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : ภาพรวมกระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกีฬา

นอกจากนี้ ในด้านการใชเ้ งินงบประมาณเพื่อการท่องเที่ยว ซง่ึ ขณะนี้อยู่ในสถานการณ์พิเศษที่มีการใช้
เงินแผ่นดินอีกจำนวนหนึ่งจากวงเงินกู้ 400,000 ล้านบาท ตามพระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้
เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 ซึ่งมีแผนงานหรอื โครงการจำนวนมากที่เก่ียวขอ้ งกับการทอ่ งเท่ียว (โครงการที่
สำคัญปรากฎตามตารางด้านล่าง) ดังนั้นการพิจารณางบประมาณเพื่อการท่องเที่ยวในเวลาน้ี จึงต้องพิจารณา
ภาพรวมของการใช้จ่ายเงินแผ่นดิน ทั้งเงินงบประมาณประจำปี และเงินกู้ในโครงการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว
ประกอบกนั เพ่ือลดความซ้ำซ้อนของการใชง้ บประมาณด้วย

ตารางแสดงโครงการสำคญั ด้านการท่องเที่ยวทใ่ี ชเ้ งินกู้ตามพระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลงั กูเ้ งินฯ พ.ศ. 2563

ช่ือโครงการ วงเงนิ (ล้านบาท) หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ
"เราเทย่ี วดว้ ยกนั " 20,000 การท่องเทยี่ วแหง่ ประเทศไทย
"กำลงั ใจ" 2,400 การท่องเท่ยี วแห่งประเทศไทย
พื้นทที่ อ่ งเท่ยี วปลอดภัยสำหรบั นกั ท่องเท่ยี ว (Safety Zone) 15
พฒั นาศกั ยภาพแหล่งท่องเทย่ี วเรียนร้ดู ้านสัตวป์ ่า 741 กรมการทอ่ งเทย่ี ว
กรมอุทยานแห่งชาตฯิ
ทม่ี า : มติคณะรฐั มนตรี เม่อื วันที่ 8 กรกฎาคม 2563

2. ควรมีแนวทางลดค่าใช้จ่ายบคุ ลากรภาครฐั ซ่ึงมีสัดส่วนรวม 27.5% ของงบประมาณรวมซ่ึงจะ
ทำให้เหลอื เงินงบประมาณเพ่อื ไปพฒั นาดา้ นการท่องเท่ียวและการกีฬามากข้ึน

ทั้งนี้ การกีฬาแห่งประเทศไทย และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้ขอรับเงินอุดหนุนจาก
งบประมาณรายจ่ายประจำปีเป็น “รายจา่ ยบคุ ลากร” เป็นรฐั วิสาหกิจที่ควรมีการทบทวนบทบาท หนา้ ที่ และ
โครงสร้างองค์กรใหม่ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปและสอดคล้องกับหลักการจำแนกประเภท
หนว่ ยงานของรัฐ โดยอาจปรับเปล่ยี นรปู แบบไปเป็นหน่วยงานของรัฐประเภทอ่นื ท่ี “ไม่ใชร่ ฐั วิสาหกิจ”

3. ควรยกระดับมาตรฐานและความสำคัญในด้านความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคง
ปลอดภัยและด้านสุขอนามัย เนื่องจากไทยได้รับการจัดอันดับน้อยที่สุดจากรายงาน Travel & Tourism
Competitiveness Report 2019 (TTCI)1 โดยเฉพาะในเร่ืองความปลอดภยั แม้ว่าปัญหาดังกลา่ วน้ีได้สะท้อน
ออกมาในรูปของเงนิ งบประมาณทเ่ี พิม่ ข้นึ ในปีน้ี เชน่ ในผลผลติ ท่ี 3 การใหบ้ รกิ ารดา้ นอำนวยความสะดวกและ
ความปลอดภัยด้านการท่องเท่ียว ของกรมการท่องเท่ียว ไดร้ บั งบประมาณเพ่ิมข้ึนจากปีงบประมาณก่อนร้อยละ
62.7 แต่ค่าใช้จ่ายกว่าร้อยละ 50 ยังคงเป็นงบดำเนินงาน โดยเป็นค่าจ้างพนักงานช่วยเหลือตำรวจท่องเที่ยว
มากท่ีสุด รองลงมาเป็นค่าเช่ารถยนต์สายตรวจและรถบรรทุก อีกทั้งงบลงทุนท้ังหมด ยังเป็นค่าก่อสร้างอาคาร

1 World Economic Forum ไดจ้ ดั อนั ดับความสามารถการแข่งขันด้านการท่องเทยี่ วท่วั โลก โดยประเทศไทยอยู่ในอนั ดับ 31 ของโลก หรืออันดับท่ี
3 ในกลุม่ อาเซยี น โดยมี 3 ดา้ นท่ีได้รับการจัดอนั ดับน้อยทีส่ ุด ไดแ้ ก่ 1) ความยง่ั ยืนของสง่ิ แวดล้อม 2) ความม่นั คงปลอดภัย 3) สุขภาพและอนามัย
นอกจากนี้ ยังมีดัชนีที่มีอันดับลดลง 4 รายการ ได้แก่ 1) ความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม 2) การแข่งขันด้านราคา 3) ทรัพยากรธรรมชาติ และ 4)
โครงสร้างพ้ืนฐานด้านขนสง่ ทางอากาศ

สำนักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 7

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : ภาพรวมกระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา

ที่พักอาศัย/อาคารที่ทำการและสิ่งประกอบ ซึ่งมีบางรายการเป็นรายการผูกพันใหม่ และใช้งบประมาณ
ค่อนข้างสูง ดังนั้น ควรพิจารณาจัดสรรงบประมาณบางส่วน นำมาจัดซื้อระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อมาชว่ ย
เพิ่มประสทิ ธิภาพในด้านการอำนวยความสะดวกและเพม่ิ ความปลอดภยั ทางการท่องเที่ยวให้มากขนึ้

4. การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม ควรมีการส่งเสริมการจดทะเบียน การคุ้มครอง
การใช้ทรัพย์สินทางปัญญาและภูมิปัญญา เพื่อสนับสนุนการพัฒนาต่อยอดไปสู่การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
และการเป็นเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภูมิภาค ได้แก่ แหล่งประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมไทย มรดก
ทางวัฒนธรรม กจิ กรรม/สินค้าของชมุ ชน อาหารไทย และการแพทยแ์ ผนไทย

5. หนึ่งในตัวชี้วัดของแผนงานบูรณาการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว คือ สัดส่วนรายได้จาก
การทอ่ งเที่ยวของเมืองหลักและเมอื งรองเป็น 85:15 เป็นการวัดรายได้จากการท่องเทยี่ วของจังหวัดเมืองรอง
ทั้ง 55 จังหวัดรวมกันแล้วเทียบกบั รายได้ของเมืองหลกั ทัง้ หมด ซึ่งยังขาดการพิจารณาเป็นรายจงั หวัด ที่แสดง
ให้เห็นว่าอัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้เพิ่มขึ้นสูงมากแต่กระจุกตัวบางจังหวัด หรือมีกระจายตัวไปทุก
จังหวัด ดังนั้น หน่วยงานเจ้าภาพของแผนงานนี้ จึงควรมีการประเมินผลด้านการกระจายตัวของจำนวน
นักท่องเที่ยวและสัดส่วนรายได้จากการท่องเที่ยวไปสู่เมืองรอง/ชุมชนด้วย ซึ่งจะตอบวัตถุประสงค์ของ
แผนงานได้ครอบคลุมและสะท้อนผลสัมฤทธิ์ทีแ่ ท้จรงิ ของงบประมาณที่ได้ใชจ้ า่ ยไปว่าสามารถเป็นเครื่องมือใน
การลดความเหลือ่ มล้ำได้หรอื ไม่

6. การส่งเสริมด้านการตลาดในพื้นที่จังหวัดท่องเที่ยวเมืองรอง ควรพิจารณาถึงความพร้อมของ
แหล่งท่องเที่ยวในการรองรบั นักทอ่ งเท่ียว เชน่ การคมนาคมเขา้ ถึงแหล่งท่องเทยี่ ว สงิ่ อำนวยความสะดวก การ
บริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว และมาตรฐานด้านที่พัก เป็นต้น รวมทั้งคำนึงถึงศักยภาพความพร้อมด้านการ
ท่องเที่ยวของแต่ละจังหวัดที่มีความแตกต่างกัน เพื่อให้เกิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนต่อวิถีชีวิตของชุมชน
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

7. ควรสร้างสนามกีฬา/ลานกีฬาที่มีมาตรฐานให้ทั่วถึงทุกจังหวัด และเร่งรัดการดำเนินงานเพ่ือ
แกไ้ ขปัญหาสนามกีฬาทกี่ ่อสร้างเสร็จแลว้ แตอ่ ยรู่ ะหว่างการส่งมอบงาน หรอื ปล่อยท้ิงร้าง ไม่มกี ารใช้ประโยชน์

ดังนั้น หากประเทศไทยจะตั้งเป้าหมายอย่างท้าทายในระยะ 5 ปี ข้างหน้า เพื่อให้การท่องเที่ยวไทย
เป็นอุตสาหกรรมหลักที่สร้างรายได้ให้แก่ประเทศอย่างยั่งยืน โดยสามารถสร้างรายได้ที่มากกว่าวงเงิน
งบประมาณรายจ่ายประจำปีดังกล่าวไปข้างต้น ภาครัฐควรพิจารณาทบทวนความเหมาะสมของสัดส่วน
งบประมาณรายจ่ายประจำปีที่จัดสรรเพื่อการพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวว่าควรจะมี
จำนวนและสัดส่วนงบประมาณเป็นเท่าใดของงบประมาณประเทศในแต่ละปี ขณะเดียวกันการเชื่อมโยง
ขอ้ มูลการใชจ้ ่ายของนักท่องเทยี่ วเพ่ือใหส้ ามารถคำนวณรายได้จากการท่องเทีย่ วในรปู แบบกระแสเงินสดยังถือ
วา่ มีความจำเป็นอยา่ งยิง่ เนอ่ื งจากข้อมูลทแ่ี มน่ ยำจะเปน็ ประโยชนต์ ่อการวางแผนการท่องเทีย่ วในระยะยาว

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 8

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนกั งานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

เอกสารงบประมาณฉบับที่ 3 เล่มท่ี 2 หน้า 203 -226

สำนักงานปลัดกระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา หนว่ ย : ลา้ นบาท

“ศนู ย์กลางในการขับเคล่อื นการพฒั นาและบูรณาการด้านการท่องเท่ยี วและกีฬา” งบประมำณ เพ่มิ / ลด
จำนวน %
งบประมาณท่ไี ดร้ ับจดั สรรในปี 2564 จำนวน 690.2 ลา้ นบาท
690.2 -4.2 -0.6%
ลดลง จำนวน 4.2 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 0.6 โดยงบประมาณ

ส่วนใหญ่ ร้อยละ 44 อยู่ภายใต้แผนงานพื้นฐาน และเป็นงบรายจ่าย จำแนกตามแผนงาน

อ่ืนมากทสี่ ุดรอ้ ยละ 50

แผนงาน/ผลผลติ /โครงการ

จำแนกตามงบรายจา่ ย

รายจ่ายที่สำคญั

ผลผลติ : นโยบาย แผน และงานดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว
 มีรายการค่าใช้จ่ายใหม่ คือ ค่าเช่ารถยนต์ประจำตำแหน่ง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 612,000 บาท
เป็นรายการผกู พนั ใหม่ (ปี 64-68) วงเงนิ ทงั้ ส้นิ 4.6 ลา้ นบาท คดิ เปน็
อัตราค่าเช่าตลอดระยะเวลา 5 ปี 76,500 บาทต่อเดือน (เอกสาร
งบประมาณหนา้ 212)

ผลผลติ : นโยบาย แผน และงานด้านการกฬี า ผลการเบิกจ่าย

ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 65 จำนวน 112 ล้านบาท วงเงนิ งบประมำณหลังโอนเปลย่ี นแปลง ผลกำรเบกิ จำ่ ย
เป็นค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของสำนักงานการ จานวน %
ท่องเทยี่ วและกฬี าจงั หวดั 694.4 345.6 49.8%
งบดำเนนิ งาน มีรายการผกู พนั ใหม่ ดงั น้ี
ทม่ี า : ระบบการบรหิ ารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)
1. คา่ เช่ารถยนต์โดยสาร 12 ทนี่ ่งั ดเี ซล สว่ นภมู ิภาค 55 คนั กรมบัญชีกลาง ต้งั แต่ตน้ ปีงบประมาณจนถงึ 10 กรกฎาคม 2563

วงเงนิ ทง้ั ส้ิน 81.7 ลา้ นบาท (ผกู พนั ปี 64-68) เงนิ กนั ไว้เบกิ เหลื่อมปี ณ วันที่ 19 มถิ ุนำยน 2563
2. คา่ เช่ารถบรรทกุ ดีเซล ขนาด 1 ตนั 2,400 ซซี ี
เงนิ กนั ฯ เบกิ จ่ำย % เบกิ จำ่ ย คงเหลือ กอ่ หนีแ้ ลว้
สำนักงานการท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัด จำนวน 15 คัน สะสม
วงเงนิ ทั้งสน้ิ 17.7 ลา้ นบาท (ผูกพันปี 64-69) 30.5
172.0 141.1 82.1% 30.8

 ผลผลิตนี้ มีงบประมาณเป็นค่าเช่าสูงมาก หากหมดสัญญาแล้ว หน่วยงานควรพิจารณาเปรียบเทียบ

ความค้มุ คา่ ของการซื้อและเชา่ เพ่อื เปน็ การประหยัดงบประมาณ หนา้ 9

สำนักงบประมาณของรฐั สภา

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมการท่องเที่ยว

กรมการท่องเทีย่ ว เอกสารงบประมาณฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 2 หนา้ 227 -251

หนว่ ย : ลา้ นบาท

“สง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพการทอ่ งเทีย่ วอย่างย่ังยนื ” งบประมำณ เพ่ิม / ลด
จำนวน %
งบประมาณทีไ่ ด้รบั จดั สรรในปี 2564 จำนวน 1,749.9 ลา้ นบาท
1,749.9 86.3 5.2%
เพิ่มขึ้น 86.3 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.2 งบประมาณส่วนใหญ่ร้อยละ
จำแนกตามแผนงาน
49 อย่ภู ายใต้แผนงานบคุ ลากรภาครฐั โดยเปน็ งบบุคลากรมากท่ีสดุ ร้อยละ 48

แผนงาน/ผลผลิต/โครงการ

จำแนกตามงบรายจา่ ย

รายจา่ ยท่ีสำคัญ กรมการทอ่ งเที่ยวผลการเบกิ จา่ ย

ผลผลิต: การอนุญาตการประกอบธุรกิจนำเท่ียวฯ และการถ่ายทำ วงเงนิ งบประมำณหลังโอนเปลย่ี นแปลง ผลกำรเบิกจำ่ ย
ภาพยนตร์ต่างประเทศในประเทศไทย
1,663.7 จานวน %
ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 73 จำนวน 178.0 ล้านบาท 1,175.1 70.6%
เป็นค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการสร้างภาพยนตร์ต่างประเทศ
ลดลงจากปกี อ่ น 128,000 บาท (ปี 2563 ไดร้ ับงบ 178.2 ลา้ นบาท) ท่ีมา : ระบบการบรหิ ารการเงินการคลงั ภาครฐั แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)
กรมบญั ชีกลาง ตง้ั แตต่ น้ ปงี บประมาณจนถงึ 10 กรกฎาคม 2563
ข้อสังเกต
ผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน ของปี 2563 รายได้จากการถ่าย เงินกนั ไว้เบกิ เหลอ่ื มปี ณ วันท่ี 19 มถิ ุนำยน 2563
ทำภาพยนตร์ต่างประเทศในประเทศไทยอยู่ที่ 1,584 ล้านบาท
จากแผน 4,840 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 33 ของแผน อย่างไรก็ดี เงนิ กันฯ เบกิ จ่ำย % เบกิ จ่ำย คงเหลือ ก่อหนีแ้ ล้ว
กรมการท่องเที่ยวได้กำหนดเป้าหมายอย่างท้าทายว่าจะมีรายได้ สะสม
ในสว่ นน้ีเพ่มิ ข้ึน เป็นจำนวน 5,856 ล้านบาท ภายในปี 2566 138.6
378.4 239.7 63.3% 138.7

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 10

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กรมการท่องเทยี่ ว

ผลผลิตที่ 3 การให้บรกิ ารดา้ นอำนวยความสะดวกและความปลอดภยั งบประมาณ 326.7 ลา้ นบาท

 ปีงบประมาณนี้ กรมการท่องเที่ยวได้ให้ความสำคัญในด้านอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยให้กับ
นกั เท่ยี ว โดยได้จดั สรรงบประมาณใหผ้ ลผลิตนี้เพมิ่ ขึน้ จากปกี อ่ น 126 ลา้ นบาท หรอื เพิ่มขนึ้ ร้อยละ 62.7

 คา่ ใชจ้ า่ ยส่วนใหญ่ (ร้อยละ 51.6) เป็นงบดำเนินงาน 168.5 ลา้ นบาท

โดยเปน็ คา่ จา้ งพนกั งานชว่ ยเหลือตำรวจทอ่ งเทยี่ วมากทส่ี ดุ จำนวน
61.1 ลา้ นบาท รองลงมาเป็นค่าเช่ารถยนต์สายตรวจ และรถบรรทุก
พร้อมอปุ กรณ์ 226 คัน จำนวน 61 ล้านบาท

 คา่ ใช้จ่ายอีกสว่ นเปน็ งบลงทนุ 158.2 ล้านบาท (ร้อยละ 48.4)

งบลงทุนทั้งหมดนี้ เป็นค่าก่อสร้างอาคารที่พักอาศยั /อาคารที่ทำการและสง่ิ
ประกอบ โดยรายการที่รัฐสภาควรพิจารณาอย่ารอบคอบ คือ ค่าก่อสร้าง
อาคารที่พักอาศัยของตำรวจท่องเที่ยว กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยว 2
และสิ่งก่อสร้างประกอบ จังหวัดเชียงใหม่ 1 แห่ง จำนวน 10.7 ล้านบาท
ซึ่งเป็นรายการผกู พนั ใหม่ในปี 2564-2565 วงเงนิ ทั้งสน้ิ 53.7 ล้านบาท

นอกจากนี้ ค่าก่อสรา้ งอาคารที่ทำการกองบัญชาการตำรวจท่องเท่ยี ว (บช.ทท)
อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 1 แห่ง งบประมาณ 128.8 ล้านบาท
ซึง่ เป็นรายการผูกพันเกา่ (ปี 2562 -2564) ได้มกี ารขยายระยะเวลาดำเนินการ
จากเดิมสิ้นสุดปี 2564 เป็น 2565 โดยวงเงินดำเนินการลดลงจากเดิม 451.0
ล้านบาท เปน็ 449.4 ล้านบาท (เอกสารงบประมาณหนา้ 244)

ขอ้ สังเกต PBO

1. “งบลงทุนทั้งหมด” ภายใต้ผลผลิต การให้บริการด้านอำนวยความสะดวกและความปลอดภัย เป็นค่า
ก่อสร้างอาคารที่พักอาศัย/ที่ทำการ ทั้งนี้ จากกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการเป็นกองบังคับการหรือส่วนราชการ
อย่างอื่น ในสํานักงานตํารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2560 ได้ขยายโครงสร้างภารกิจของ บช.ทท เป็น 1) กอง
บงั คับการอาํ นวยการ 2) กองบงั คับการตํารวจท่องเที่ยว 1-3 โดยแต่ละกองบังคับการมภี ารกจิ ย่อยลงไปอีก 5 กอง/
ฝ่าย และ 3) กองกํากับการควบคุมธุรกิจนําเท่ียวและมัคคุเทศก์ ทำให้ต้องขยายการก่อสร้างท่ีพักอาศัยและที่ทำการ
อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้คงเหลือเงินงบประมาณจำนวนไม่มากนักเพื่อไปใช้ในภารกิจที่สำคัญและจำเป็น ดังน้ัน
กรมการท่องเท่ียวควรมีแนวทางหรือวางแผนเพอ่ื ลดค่าใชจ้ ่ายบุคลากรภาครัฐท่มี ีอยู่รอ้ ยละ 49 ของงบประมาณ
รวม โดยพิจารณาลดการก่อสร้างที่พักอาศัยและอาคารที่ทำการของตำรวจท่องเที่ยวลงแล้วนำมาจัดซ้ือ
ระบบเทคโนโลยีทท่ี ันสมยั เพ่ือมาช่วยอำนวยความสะดวกและเพิ่มความปลอดภยั ใหก้ ับนกั ท่องเทย่ี วมากข้ึน

2. ตำรวจท่องเที่ยว แม้มีภารกิจสนับสนุนด้านการท่องเที่ยว แต่ได้มีการขอรับจัดสรรงบประมาณผ่าน
กรมการทอ่ งเทย่ี ว อาจทำใหก้ ารจัดสรรงบประมาณเพ่ือการท่องเทีย่ วไม่สะท้อนความเป็นจริง ดงั น้นั ควรขอรับ
งบดังกล่าวผ่านสำนกั งานตำรวจแห่งชาติ ซง่ึ เป็นหนว่ ยงานต้นสังกัด

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 11

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กรมพลศึกษา

เอกสารงบประมาณฉบบั ที่ 3 เลม่ ท่ี 2 หนา้ 252 -295

กรมพลศกึ ษา หนว่ ย : ลา้ นบาท

“คนไทยออกกำลังกาย เลน่ กฬี า และนนั ทนาการ เปน็ วถิ ีชีวติ เพ่ือสุขภาวะที่ยัง่ ยนื ” งบประมำณ เพ่ิม / ลด

งบประมาณท่ีไดร้ ับจัดสรรในปี 2564 จำนวน 1,274.5 ล้านบาท จำนวน %

เพมิ่ ขึ้น 268.1 ล้านบาท หรือเพม่ิ ขึน้ ร้อยละ 26.6 งบประมาณสว่ นใหญ่รอ้ ยละ 83 1,274.5 268.1 26.6%
อย่ภู ายใตแ้ ผนงานยทุ ธศาสตร์ โดยเป็นงบลงทุนมากที่สดุ รอ้ ยละ 48
จำแนกตามแผนงาน

แผนงาน/ผลผลติ /โครงการ

จำแนกตามงบรายจา่ ย

รายจ่ายท่ีสำคญั

โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนากฬี า นนั ทนาการ และวิทยาศาสตร์การกฬี า
 ร้อยละ 33.4 เป็นค่าปรับปรุงสนามกฬี า 14 แหง่ 352.8 ล้านบาท

 ร้อยละ 20.5 เปน็ ค่าก่อสร้างสระว่ายน้ำชมุ ชน 12 แหง่ 216 ล้านบาท

ขอ้ สังเกต PBO

 กรมพลศึกษาได้กำหนดตัวชี้วัด คือ ประชาชนออกกำลังกาย เล่นกีฬา ผลการเบิกจา่ ย

และนันทนาการอย่างสม่ำเสมอ ร้อยละ 36 แต่การส่งเสริมให้คนไทยออก ตง้ั แต่ต้นปีงบประมาณจนถึง 10 กรกฎาคม 2563

กำลังกายเป็นวิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะที่ยั่งยืน เป็นภารกิจสำคัญระดับชาติมี วงเงินงบประมำณหลังโอนเปล่ียนแปลง ผลกำรเบกิ จ่ำย

กลุ่มเป้าหมายกว่า 66 ล้านคนทัว่ ประเทศ ซึ่งต้องบูรณาการการทำงานร่วมกับ 1,006.4 จานวน %
ทุกภาคส่วน เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ 514.7 51.1%

สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ เป็นตน้ เงนิ กนั ไว้เบกิ เหลอ่ื มปี ณ วันท่ี 19 มถิ ุนำยน 2563
ดังนั้น กรมพลศึกษา ควรพิจารณาทบทวนในการจัดทำภารกจิ หรือมีแนวทาง เงนิ กันฯสะสม เบกิ จำ่ ย % เบกิ จำ่ ย คงเหลอื กอ่ หนีแ้ ล้ว

ในการบรหิ ารงาน เพื่อใหส้ ามารถบรรลุผลภาพรวมไดเ้ ป็นรูปธรรมมากขึน้ 364.7 134.1 36.8% 230.6 228.7
ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมอาสาสมัครกีฬาและผู้นำการออกกำลังกาย งบประมาณ 6.7 ล้านบาท (เอกสาร

งบประมาณหน้า 266 ข้อ 17) มีการอบรมไปแล้ว 16 รุ่น ๆ ละ 100 คน รวม 1,600 คน ควรมีการติดตามและ

ประเมินว่าผูท้ ี่อบรมไปแล้วได้มีสว่ นสนับสนนุ ให้ประชาชนได้เล่นกีฬาและออกกำลังกายในระดบั ชุมชนหรือหมูบ่ ้าน

หรือไม่ ถ้าเกดิ ผลสมั ฤทธแิ์ ละประชาชนไดร้ ับประโยชนจ์ ากการส่งเสริมในลักษณะน้ี กรมพลศึกษาควรขอรับจัดสรร

งบประมาณเพิ่มขึ้นตามผลการเบิกจ่ายที่เกิดขึ้น โดยจากเอกสารชี้แจงงบประมาณของกรมฯ เมื่อปีงบประมาณ

2562 หน้า 50 ระบุว่ามีผลการเบิกจ่ายจริงช่วงระหว่างปี 61-62 ประมาณ 15-22 ล้านบาท และเพื่อให้เกิดผล

สัมฤทธิ์เป็นรูปธรรม ควรร่วมบูรณาการกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้แต่ละหมู่บ้านมีอาสาสมัครกีฬาและ

ผูน้ ำการออกกำลังกายครอบคลมุ 75,032 หม่บู า้ นทั่วประเทศ

ควรให้ความสำคญั เก่ียวกบั กีฬาเพ่ือสขุ ภาพ และกฬี าทางปัญญา (Mind Sport)

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 12

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวทิ ยาลยั การกีฬาแห่งชาติ

เอกสารงบประมาณฉบับท่ี 3 เล่มที่ 2 หน้า 271 -295

มหาวิทยาลยั การกฬี าแหง่ ชาติ หนว่ ย : ลา้ นบาท

“เปน็ สถาบนั การศกึ ษาอนั ดับหนึง่ ดา้ นศาสตรก์ ารกีฬาในภูมภิ าคอาเซียน” เพ่ิม / ลด
งบประมำณ
งบประมาณท่ไี ดร้ บั จดั สรรในปี 2564 จำนวน 2,105.4 ลา้ นบาท
จำนวน %
เพ่ิมขึ้น จำนวน 14 ล้านบาท หรอื เพมิ่ ขนึ้ ร้อยละ 0.7 งบประมาณสว่ นใหญ่ 2,105.4 14.0 0.7%
รอ้ ยละ 47 อยู่ภายใต้แผนงานพนื้ ฐาน โดยเป็นงบลงทนุ มากท่สี ุดรอ้ ยละ 40 จำแนกตามแผนงาน

แผนงาน/ผลผลติ /โครงการ

จำแนกตามงบรายจา่ ย

เงนิ นอกงบประมาณ ผลการเบิกจ่าย
หน่วยงาน มเี งนิ นอกงบประมาณคงเหลือในแต่ละปีประมาณ 300
ล้านบาท ควรพจิ ารณานำมาสมทบกับงบประมาณรายจา่ ยประจำปี ตัง้ แต่ตน้ ปงี บประมาณจนถึง 10 กรกฎาคม 2563

รายจา่ ยท่ีสำคัญ วงเงนิ งบประมำณหลังโอนเปล่ียนแปลง ผลกำรเบกิ จำ่ ย
ผลผลติ ที่ 3 : การสร้างและพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรม จานวน %
งบประมาณ 64.9 ล้านบาท (เอกสารงบประมาณหนา้ 288) 2,091.4 1,320.7 63.1%
 ผลการดำเนนิ งานปีงบประมาณ 2563 (6 เดอื น) ตวั ช้วี ดั โครงการ/
กิจกรรมด้านการจัดการความรแู้ ละด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ทีม่ า : ระบบ GFMIS กรมบัญชีกลาง
สือ่ สาร ทำไดเ้ พยี ง 15 จากทงั้ หมด 64 โครงการ/กิจกรรม
เงนิ กนั ไว้เบกิ เหลอ่ื มปี ณ วันที่ 19 มถิ ุนำยน 2563

เงนิ กันฯสะสม เบกิ จำ่ ย % เบกิ จำ่ ย คงเหลือ กอ่ หนีแ้ ล้ว

254.3 226.7 89.1% 27.7 27.7

ข้อสังเกต PBO

จากการศึกษาเพื่อวิเคราะห์งบประมาณการพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงบประมาณของรัฐสภา

ได้มีข้อค้นพบว่า การจัดการเรียนการสอนสำหรับชนดิ กีฬาทีม่ ุ่งสู่ความเป็นเลศิ ยังไมค่ รอบคลุมชนดิ กฬี าเพ่ือต่อยอดสู่

กฬี าอาชีพ กลา่ วคือ ชนิดกฬี ามุ่งสู่ความเปน็ เลิศในแตล่ ะวิทยาเขตของมหาวทิ ยาลัยการกฬี าแหง่ ชาติ ทัง้ 29 ชนิดกีฬา

มเี พยี ง 6 ชนดิ กฬี า ทเี่ ปน็ กฬี าอาชีพในประเทศไทย ได้แก่ บาสเกตบอล ฟตุ บอล ฟตุ ซอล ตระกร้อ วอลเลย์บอล และ

แบดมินตัน ดังนั้น เพื่อให้มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติเป็นสถาบันการศึกษาด้านศาสตร์การกีฬาในภูมิภาคอาเซียน

ควรพิจารณาพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนให้ครอบคลุมชนิดหรือประเภทกีฬาที่คณะกรรมการกีฬาอาชีพ

กำหนด รวมทั้งควรมีระบบการศึกษาที่เชื่อมโยงสอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ และมีมาตรฐานด้านคุณภาพ

การศกึ ษาเชน่ เดียวกับมหาวทิ ยาลยั อน่ื ๆ เพื่อนำไปสู่กฬี าเพื่อความเป็นเลิศและตอ่ ยอดสูก่ ฬี าอาชพี ได้

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 13

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 องคก์ ารบริหารการพัฒนาพน้ื ทพี่ ิเศษเพือ่ การทอ่ งเทยี่ วอยา่ งยง่ั ยนื

องค์การบริหารการพัฒนาพน้ื ท่พี เิ ศษเพ่อื การท่องเที่ยว เอกสารงบประมาณฉบบั ที่ 3 เล่มที่ 2 หนา้ 297 -328
อยา่ งยง่ั ยนื (องคก์ ารมหาชน) หรือ อพท. หน่วย: ลา้ นบาท

“พฒั นาการทอ่ งเท่ยี วอยา่ งย่ังยืนเพื่อสร้างชุมชนแหง่ ความสขุ ” งบประมาณ เพ่ิม / ลด

งบประมาณท่ีไดร้ บั จัดสรรในปี 2564 จำนวน 448.8 ลา้ นบาท จานวน %

เพมิ่ ขนึ้ จำนวน 15.8 ล้านบาท หรือเพม่ิ ขึ้นรอ้ ยละ 3.6 งบประมาณสว่ นใหญ่ 448.8 15.8 3.6%
ร้อยละ 61 อยภู่ ายใตแ้ ผนงานบูรณาการ โดยเปน็ งบเงนิ อดุ หนุนทงั้ หมด
จำแนกตามแผนงาน
แผนงาน/ผลผลิต/โครงการ

จำแนกตามงบรายจา่ ย

รายจา่ ยท่ีสำคัญ

ผลผลิต: พื้นท่ีที่มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวได้รับการพัฒนา ผลการเบิกจา่ ย
เพ่ือยกระดับมาตรฐานด้านการท่องเที่ยว (เอกสารงบประมาณหนา้ 305)
รัฐสภาควรพิจารณาอย่ารอบคอบในรายการทจี่ ะเร่ิมต้นผูกพัน วงเงนิ งบประมาณหลงั โอนเปลยี่ นแปลง ผลการเบกิ จา่ ย
ใหม่ในปี 64-69 งบประมาณ 6.4 ล้านบาท จำนวน 9 รายการ
วงเงินทัง้ ส้นิ 31.2 ลา้ นบาท ได้แก่ 433.0 จานวน %
1. คา่ เชา่ รถ 8 คัน จำนวน 1.7 ลา้ นบาท วงเงินท้ังสน้ิ 13 ลา้ นบาท 433.0 100%

ที่มา : ระบบการบริหารการเงนิ การคลงั ภาครฐั แบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)
กรมบัญชีกลาง ตัง้ แตต่ น้ ปงี บประมาณจนถงึ 10 กรกฎาคม 2563

2. คา่ เช่าอาคารสำนักงานพน้ื ที่พิเศษอุทยานประวตั ศิ าสตร์สุโขทัยฯ 0.7 ลา้ นบาท วงเงนิ ทัง้ สิ้น 2.2 ล้านบาท
3. ค่าเช่าอาคารสำนักงานส่วนกลาง (ชั้น 31) พื้นที่ 617.5 ตร.ม. อาคารทิปโก้ กรุงเทพฯ จำนวน 4 ล้านบาท
โดยเป็นรายการผูกพันงบประมาณเริ่มตั้งแต่ปี 64-67 วงเงินทั้งสิ้น 16 ล้านบาท (ข้อมูลพื้นท่ีเช่าจากเอกสาร
ประกอบการชี้แจง หน้า 22)

โครงการส่งเสริมการท่องเทยี่ วเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม มรี ายการผูกพันใหม่ (ปี 64-67) คือ ค่าปรบั ปรุง
และส่งิ กอ่ สรา้ งประกอบพร้อมปรบั ปรงุ ภูมิทัศน์ 1 แหง่ งบประมาณ 34.9 ล้านบาท
วงเงินท้ังสน้ิ 261.3 ล้านบาท แบ่งเปน็ เงนิ งบประมาณ จำนวน 174.3 ล้านบาท

เงินนอกงบประมาณ จำนวน 87.0 ลา้ นบาท

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 14

รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 การกฬี าแหง่ ประเทศไทย

การกฬี าแห่งประเทศไทย (กกท.) เอกสารงบประมาณฉบับท่ี 3 เลม่ ท่ี 2 หนา้ 11 -30

หน่วย: ลา้ นบาท

“พฒั นากีฬาเพื่อความเปน็ เลิศสรู่ ะดบั นานาชาติ ตอ่ ยอดสู่ระดับอาชพี และสรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ” งบประมาณ เพ่ิม / ลด

งบประมาณที่ไดร้ ับจัดสรรในปี 2564 จำนวน 2,744.9 ล้านบาท จานวน %

เพิ่มข้ึน จำนวน 33.6 ล้านบาท หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 1.2 งบประมาณส่วนใหญ่ 2,744.9 33.6 1.2%
ร้อยละ 62 อยภู่ ายใต้แผนงานยทุ ธศาสตร์ โดยเปน็ งบอดุ หนุนมากท่ีสดุ รอ้ ยละ 82
จำแนกตามแผนงาน
ข้อสังเกต กกท. ได้ขอรับเงินอุดหนุนจากงบประมาณรายจ่ายประจำปีเป็น

“ค่าใช้จ่ายบุคลากร”อย่างต่อเนื่อง โดยในปีงบประมาณ 2564 ได้ขอรับเงิน

อุดหนุนในส่วนนี้ จำนวน 266.9 ล้านบาท ทั้งนี้ เพื่อให้รัฐวิสาหกิจโดยรวม

สามารถบรหิ ารทรพั ยส์ นิ ของรฐั ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ลดการพึ่งพาเงินอดุ หนุน

จากงบประมาณแผน่ ดนิ มีกำไร สามารถเลีย้ งดูตัวเองได้ และเปน็ แหล่งรายไดท้ ี่

สำคัญของรัฐบาล ดงั นนั้ ควรมีการทบทวนบทบาท หนา้ ท่ี และโครงสร้างองคก์ ร

ใหม่ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปและสอดคล้องกับหลักการ จำแนกตามงบรายจา่ ย
จำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐ โดยอาจปรับเปลี่ยนรูปแบบไปเป็นหน่วยงาน

ของรัฐประเภทอ่ืนที่ “ไมใ่ ช่รัฐวสิ าหกจิ ”

แผนงาน/ผลผลติ /โครงการ

ผลการเบิกจา่ ย

ตงั้ แต่ตน้ ปงี บประมาณจนถงึ 10 กรกฎาคม 2563

วงเงนิ งบประมาณหลงั โอนเปลย่ี นแปลง ผลการเบิกจา่ ย

2,711.3 จานวน %
2,173.9 80.2%
ท่ีมา : ระบบ GFMIS กรมบัญชกี ลาง

เงนิ นอกงบประมาณ เงนิ กนั ไว้เบกิ เหล่อื มปี ณ วันท่ี 19 มถิ ุนายน 2563
กกท. มแี นวโน้มทจ่ี ะใช้จา่ ยเงินนอกงบประมาณเกินตัว ในระยะ 3 ปี ข้างหน้า
ระหว่างปีงบประมาณ 2564-2566 กล่าวคือ หน่วยงานมีรายได้ประเภทเงิน เงนิ กันฯ เบกิ จา่ ย % เบกิ จ่าย คงเหลือ กอ่ หนีแ้ ล้ว
นอกงบประมาณ ทงั้ จากรายได้ของหนว่ ยงานและจากทนุ หมุนเวยี นรวมกนั สะสม
161.8
336.8 175.0 52.0% 161.8

3,820.1 ล้านบาท โดยมีแผนที่จะนำเงินดังกล่าวมาสมทบกับงบประมาณรายจ่ายประจำปี จำนวน 12.7 ล้านบาท

ในขณะทีแ่ ผนการใชจ้ า่ ยอนื่ ยังคงใชจ้ า่ ยเป็นรายจ่ายประจำเตม็ จำนวนทกุ ปี (เอกสารงบประมาณ หน้า 30)

รายจ่ายที่สำคญั รายการผูกพนั ใหม่ ปี 64-68 รายการผกู พนั ใหม่ ปี 64-66
ผลผลติ :การบริหารจดั การองค์กรและบรกิ ารทางการกฬี า ผลผลิต: การสง่ เสริมและบริการทางการกีฬา
ค่าก่อสร้างศูนย์ฝึกกีฬามวยสากลมาตรฐานสากล
1. คา่ เช่ารถบรรทุก 52 คนั 9.8 ล้านบาท วงเงินทงั้ สนิ้ 48.9 ลา้ นบาท งบประมาณ 109.8 ลา้ นบาท วงเงินท้ังสนิ้ 610 ลา้ นบาท
2. ค่าเชา่ รถโดยสาร 12 ท่ีน่งั 34 คัน 10.1 ล้านบาท วงเงิน 50.3 ลา้ นบาท

ข้อสังเกต กกท.ควรจัดทำแผนระยะยาวสำหรับการผลิตและพัฒนาบุคลากรกีฬาของชาติในแต่ละวิชาชีพ

ให้ได้มาตรฐานและเพียงพอสำหรับการกีฬาของประเทศทั้ง 6 กลุ่ม ตามประกาศคณะกรรมการการกีฬาแห่ง

ประเทศไทยวา่ ด้วยการกำหนดบคุ ลากรกฬี า (ฉบับที3่ ) พ.ศ. 2561

สำนักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 15

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 การท่องเที่ยวแหง่ ประเทศไทย

การทอ่ งเท่ยี วแห่งประเทศไทย เอกสารงบประมาณฉบบั ท่ี 3 เลม่ ที่ 14 หน้า 51 -83

หน่วย: ลา้ นบาท

“ส่งเสริมการท่องเทยี่ วใหป้ ระเทศไทยเป็นแหลง่ ทอ่ งเท่ียวยอดนยิ ม เพ่มิ / ลด
งบประมำณ
(Preferred Destination) อย่างยง่ั ยนื จำนวน %

งบประมาณที่ได้รับจดั สรรในปี 2564 จำนวน 5,147.6 ลา้ นบาท 5,147.6 -1,289.2 -20.0%

ลดลง จำนวน 1,289.2 ลา้ นบาท หรอื ลดลงร้อยละ 20 งบประมาณส่วนใหญ่

ร้อยละ 60 อยภู่ ายใต้แผนงานบูรณาการสรา้ งรายได้จากการทอ่ งเท่ียว จำแนกตามแผนงาน

โดยเปน็ งบอดุ หนุนมากท่ีสุดรอ้ ยละ 99

แผนงาน/ผลผลิต/โครงการ

จำแนกตามงบรายจา่ ย

รายจ่ายที่สำคัญ

รายการบุคลากรภาครัฐ มคี า่ ใชจ้ า่ ยดำเนินงานทสี่ ำคัญ ดังนี้

1) ค่าเช่าบ้าน 32 ราย 48.4 ล้านบาท ผลการเบกิ จา่ ย

2) ค่าเช่าบ้าน 16 ราย 29.5 ล้านบาท เป็นรายการผูกพันใหม่ ตงั้ แต่ต้นปงี บประมาณจนถงึ 10 กรกฎาคม 2563

เริ่มตั้งแต่ปี 2564-2566 วงเงินท้ังสิ้น จำนวน 88.6 ล้านบาท วงเงินงบประมำณหลังโอนเปล่ียนแปลง ผลกำรเบกิ จำ่ ย
จานวน %
6,436.9 6,137.3 95.3%

ข้อสงั เกต ทม่ี า : ระบบการบริหารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

กรมบญั ชีกลาง

 ททท. ได้ขอรับเงินอุดหนุนจากงบประมาณรายจ่ายประจำปีเป็น “ค่าใช้จ่ายบุคลากร”อย่างต่อเนื่อง

โดยในปีงบประมาณ 2564 ไดข้ อรบั เงินอดุ หนนุ ในส่วนนี้ จำนวน 834.8 ลา้ นบาท ทง้ั น้ี เพอ่ื ให้รฐั วสิ าหกิจ

โดยรวมสามารถบริหารทรัพย์สินของรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดการพึ่งพาเงินอุดหนุนจากงบประมาณ

แผ่นดิน มีกำไร สามารถเลี้ยงดูตัวเองได้ และเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญของรัฐบาล ดังนั้น ควรมีการทบทวน

บทบาท หน้าที่ และโครงสร้างองค์กรใหม่ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปและสอดคล้องกับ

หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐ โดยอาจปรับเปลี่ยนรูปแบบไปเป็นหน่วยงานของรัฐประเภทอื่นที่

“ไมใ่ ชร่ ัฐวิสาหกจิ ”

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 16

รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

ทั้งนี้ ผลการดำเนินงานของ ททท.สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2562 กลุ่มกิจการมีกำไรเบ็ดเสร็จรวม
สำหรับปี จำนวน 76.5 ล้านบาท และนำส่งส่วนของกำไรเข้าคลังเป็นรายได้แผ่นดิน จำนวน 30.9 ล้านบาท
โดยรายได้ส่วนใหญ่เป็นเงินอุดหนุนจากรัฐบาล จำนวน 6,894.4 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 90 ของรายได้
ท้ังหมดจำนวน 7,658.9 ล้านบาท ส่วนค่าใช้จ่ายมีจำนวน 7,463.2 ล้านบาท

ผลผลติ : การสง่ เสริมการท่องเที่ยวตลาดตา่ งประเทศ

รายจา่ ยสว่ นใหญ่ 58% เป็นค่าใชจ้ ่ายดำเนินงานสำนักงาน
ต่างประเทศ จำนวน 308 ล้านบาท
รายจา่ ยอีกส่วนทม่ี สี ัดส่วนสงู ถึง 28% คือ ค่าเช่าอาคารสำนกั งาน
23 แห่ง จำนวน 148.3 ล้านบาท
ข้อสังเกต หน่วยงานควรมีแนวทางในการลดการจัดตั้งสำนักงานใน
ต่างประเทศ โดยเน้นส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์แบบ Go
Digital โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ เคร่ืองมือหลักในการ
เข้าถึงลกู ค้าทงั้ เชงิ ลึกและเชิงกว้างมากขน้ึ

 มรี ายการผูกพันใหม่ จำนวน 6 รายการ ดังนี้

1. คา่ เชา่ อาคารสำนักงาน 3 รายการ 6 แหง่ (ปี 64 – 68) จำนวน 35.9 ล้านบาท วงเงินทั้งสิ้น 130 ล้านบาท
2. คา่ เช่ารถยนต์ 2 คนั (เริ่มปี 64 – 66) งบประมาณ 1.6 ล้านบาท วงเงนิ ทั้งสิ้น 5.3 ลา้ นบาท
3. ค่าเชา่ คลังเกบ็ วัสดุและเอกสาร (เร่ิมปี 64 –66) 1 แหง่ จำนวน 0.3 ล้านบาท วงเงินทั้งสิ้น 0.8 ล้านบาท

ผลผลติ : การสง่ เสริมการท่องเทีย่ วตลาดในประเทศ

 รายจ่ายส่วนใหญ่ 46.8% เป็นค่าใช้จ่ายดำเนินงานและสำนักงานในประเทศ จำนวน 162.8 ล้านบาท
โดยเมื่อรวมกับค่าใช้จ่ายดำเนินงานแล้ว อาทิ ค่าเช่าอาคารสำนักงาน และค่าเช่ารถ จำนวน 25.7 ล้านบาท
จะมีงบดำเนนิ งานรวมกันกวา่ 188.5 ล้านบาท หรอื คิดเปน็ 54.2% ของงบทง้ั หมดภายใตผ้ ลผลติ น้ี
 มรี ายการผูกพันใหม่ เรมิ่ ตงั้ แตป่ ี 2564-2566 เป็นค่าเชา่ อาคารสำนกั งาน 9 แหง่ จำนวน 2.8 ลา้ นบาท
(วงเงินท้ังสิ้น 7.8 ล้านบาท)
ขอ้ สงั เกต
 โครงการ “เราเทยี่ วด้วยกนั ”

มีช่องทางการจองที่พักทั้งจองกับโรงแรมโดยตรงและจองผ่าน online travel agency (OTAs) ดังนั้น
เพื่อให้มาตรการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
จะต้องจัดให้มีระบบการติดตามและตรวจสอบ รวมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์ให้ชัดเจนในการกำหนดราคาที่พัก
ของผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อป้องกันปัญหาการฉวยโอกาสขึ้นราคาอย่างไม่เป็นธรรมของ
ผูป้ ระกอบการบางแห่ง

สำนักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 17

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : แผนงานบูรณาการสรา้ งรายได้จากการท่องเทย่ี ว

เอกสารงบประมาณฉบบั ที่ 3 เลม่ ที่ 18 (2) หนา้ 665-709

สว่ นที่ 3 แผนงานบูรณาการที่หน่วยงานภายใตก้ ระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬาเปน็ เจา้ ภาพหลกั

แผนงานบรู ณาการสรา้ งรายได้จากการทอ่ งเที่ยว

1. วัตถปุ ระสงค์

1. กระจายการทอ่ งเท่ยี วในมติ ิพืน้ ที่และรายได้ส่ชู ุมชน ตลอดจนใหค้ วามสาคญั กับการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วอยา่ งยั่งยืน
2. พัฒนาการท่องเทีย่ วทงั้ ระบบ
3. รักษาจุดเด่นของประเทศดา้ นขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรม เอกลกั ษณค์ วามเปน็ ไทย ตลอดจนให้คณุ ค่ากบั สิ่งแวดล้อม
4. สร้างความเชอ่ื ม่ันในเรอ่ื งความปลอดภัยให้แกน่ กั ท่องเทย่ี ว และบงั คบั ใชก้ ฎหมายให้เกดิ ความปลอดภัย

2. หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ

หนว่ ยงานเจ้าภาพ กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา สานกั งานปลัดกระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกฬี า

หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง 11 กระทรวง 21 หนว่ ยงาน 2 รัฐวิสาหกิจ

3. กลมุ่ เปา้ หมาย นักทอ่ งเที่ยวชาวไทยและตา่ งประเทศ ผ้ปู ระกอบการธุรกจิ ท่องเทีย่ ว และประชาชนในชมุ ชนทอ้ งถน่ิ

4. สรุปภาพรวมงบประมาณและผลการเบิกจ่าย
ปงี บประมาณ 2564 แผนงานบรู ณาการสรา้ งรายได้จากการทอ่ งเทยี่ ว ได้รับจดั สรรงบประมาณรวมท้ังสิ้น 6,967.9

ล้านบาท เพิ่มข้ึนจากปีงบประมาณก่อน 166.7 ล้านบาท หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 2.5 โดยเป้าหมายของแผนงาน คือ 1.

สัดสว่ นผลติ ภัณฑ์มวลรวมในประเทศด้านการท่องเท่ียวต่อผลิตภณั ฑ์มวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 21 และ 2. อันดับ

ขีดความสามารถทางการแข่งขันดา้ นการท่องเที่ยวของประเทศไทย โดย TTCI อยู่ในอันดบั ท่ี 30 ของโลก ในปี 2564

ท่องเที่ยวเชิงสรา้ งสรรคและวฒั นธรรม 12.34 %

859.67 ลา้ นบาท

ทอ่ งเทีย่ วเชิงธรุ กจิ 6.97% ท่องเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ
485.54 ล้านบาท 67.12 ล้านบาท

0.96%

แนวทาง

ทอ่ งเทยี่ วส้าราญทางน้า 3.59%
250.16 ล้านบาท
5,235.45 ลา้ นบาท
ทอ่ งเที่ยวเช่อื มโยงภมู ิภาค
ระบบนเิ วศการทอ่ งเท่ียว 70 ลา้ นบาท

75.14% 1.00%

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 18

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 :แผนงานบรู ณาการสรา้ งรายไดจ้ ากการท่องเที่ยว

งบประมาณ จำแนกตามกระทรวง/หนว่ ยงาน

ท่ีมา :เอกสารงบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบบั ที่ 3 เลม่ ท่ี 18 (2)

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (งบประมาณหลงั โอนเปลย่ี นแปลง)

รายจ่ายประจา ผลการเบกิ จ่าย รายจ่ายลงทนุ ผลการเบกิ จา่ ย รวม ผลการเบกิ จ่าย

4,656.5 จำนวน % 2,565.9 จำนวน % 7,222.4 จำนวน %
3,682.7 79.1% 762.6 29.7% 4,445.4 61.5%

ทีม่ า: ระบบการบรหิ ารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) กรมบัญชีกลาง ข้อมูลต้งั แตต่ น้ ปงี บประมาณ ถึงวนั ที่ 31 พฤษภาคม 2563

5. ขอ้ สงั เกตของกรรมาธกิ ารฯ ทส่ี ำคัญท่ผี า่ นมา
5.1 ควรปรับปรุงการท่องเที่ยวของไทยให้ดีขึ้นทั้ง 3 ด้าน คือ ความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม ความม่ันคง

ปลอดภัย สุขภาพและอนามัย ซึ่งถูกจัดอันดับน้อยท่ีสุดจากการจัดอันดับขีดความสามารถทางการแข่งขันด้าน
การท่องเทีย่ ว โดย Travel & Tourism Competitiveness Index :TTCI

5.2 การจัดทำโครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ตัวช้ีวัด และงบประมาณ ควรเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ แผน
แมบ่ ท และแผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ

สำนักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 19

รายงานการวเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 :แผนงานบรู ณาการสร้างรายไดจ้ ากการท่องเท่ยี ว

6. ข้อสังเกตของ PBO

แผนงานบูรณาการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว เป็นการดำเนินงานเพอื่ ขับเคล่ือน 1 ใน 12 นโยบาย
สำคัญของรัฐบาล คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขันของไทยให้บรรลุผลสำเร็จเพ่ือ
กระจายการท่องเท่ียวในมิติพื้นที่และรายได้สู่ชุมชน ตลอดจนการพัฒนาการท่องเที่ยวท้ังระบบอย่างย่งั ยืนโดย
การพัฒนาให้อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวเป็นเครื่องมือในการช่วยกระตุ้ นเศรษฐกิจให้ถึงชุมชนท้องถ่ินอย่าง
ต่อเน่ืองและลดความเหลื่อมล้ำของสังคมไทย ดังนั้น “การดำเนินงานภายใต้แผนงานบูรณาการสร้างรายได้
จากการทอ่ งเท่ียวจึงไม่ใชก่ ารดำเนนิ งานปกติที่นำภารกิจประจำของหน่วยรับงบประมาณมาบรู ณาการ แต่
เป็นภารกิจพิเศษและสำคัญเร่งด่วนท่ีหลายหน่วยงานร่วมกันดำเนินการให้สำเร็จตามยุทธศาสตร์ภายใน
ระยะเวลาที่กำหนด” สำนกั งบประมาณของรฐั สภาเห็นว่าควรให้ความสำคญั กับแผนงานบูรณาการสรา้ งรายได้
จากการทอ่ งเทีย่ วหลายประเดน็ ดงั น้ี

อันดับ TTCI รายงาน Travel & Tourism Competitiveness Report 2019
ประเทศไทย (TTCI) ของ World Economic Forum ความสามารถการ
แข่งขันด้านการท่องเท่ียวของไทย ในปี 2562 ประเทศไทยได้รับ
ปี 2562
คะแนนรวม 4.5 คะแนน (เต็ม 7.0 คะแนน) อยู่ในอันดับ 31
THAILAND ของโลก หรืออันดับท่ี 3 ในกลุ่มอาเซียน รองจากสิงคโปร์และ

มาเลเซีย โดยดัชนีทมี่ ีอันดับลดลง 4 รายการ คือ ความย่ังยืนของ
ส่ิงแวดล้อม การแข่งขันด้านราคา ทรัพยากรธรรมชาติ และ
โครงสร้างพ้ืนฐานด้านขนส่งทางอากาศ

THAILAND ดัชนีทม่ี ีอนั ดับน้อยที่สุด คือ
ความยั่งยืนของสง่ิ แวดลอ้ ม (อนั ดบั ที่ 130)
ความมัน่ คงปลอดภัย (อันดับท่ี 111)
สขุ ภาพและอนามยั (อันดบั ท่ี 88)

ทรัพยากรธรรมชาติ

คอื ดชั นีที่ไทยมอี ันดับดีทสี่ ดุ
(อันดบั 10)

Source: World Economic Forum Retrived November 20, 2019,
From http://www3.weforum.org/docs/WEF_TTCR_2019.pdf

สำนกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 20

รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 :แผนงานบูรณาการสรา้ งรายไดจ้ ากการทอ่ งเทีย่ ว

1) หน่ึงในตัวชี้วัดของแผนงานบูรณาการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว คือ สัดส่วนรายได้จากการ
ทอ่ งเท่ียวของเมอื งหลกั และเมืองรองเปน็ 85:15

เป็นการวัดรายได้จากการท่องเท่ียวของจังหวัดเมืองรองทั้ง 55 จังหวัดรวมกันแล้วเทียบกับรายได้ของ
เมืองหลักทั้งหมด ซ่ึงยังขาดการพิจารณาเป็นรายจังหวัด ที่แสดงให้เห็นว่าอัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้
เพิ่มขึ้นสูงมากแต่กระจุกตัวบางจังหวัด หรือมีกระจายตัวไปทุกจังหวัด ดังน้ัน สำนักงานปลัดกระทรวงการ
ท่องเท่ียวและกีฬา ซึ่งหน่วยงานเจ้าภาพของแผนงาน จึงควรติดตามประเมินผลด้านการกระจายตัวของ
จำนวนนักท่องเท่ียวและสัดส่วนรายได้จากการท่องเท่ียวไปสู่เมืองรอง/ชุมชนด้วย เพื่อให้สามารถประเมิน
ผลสมั ฤทธ์ิจากการใชจ้ ่ายงบประมาณวา่ สามารถกระจายรายได้สชู่ ุมชนและลดความเหล่ือมลำ้ ไดห้ รอื ไม่

2) แนวทางการดำเนินงานที่ 1 ท่องเทีย่ วเชงิ สรา้ งสรรค์และวฒั นธรรม (เอกสารงบประมาณหนา้ 674)

ควรมีการส่งเสริมการจดทะเบียน การคุ้มครอง การใช้ทรัพย์สินทางปัญญาและภูมิปัญญาเพื่อสนับสนุน
การพัฒนาต่อยอดไปสู่การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และการเป็นเมืองศูนยก์ ลางการท่องเที่ยวของภูมิภาค ได้แก่
แหล่งประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมไทย มรดกทางวัฒนธรรม กิจกรรมและสินค้าของชุมชน อาหารไทย และ
การแพทย์แผนไทย

โดยกำหนดตัวชว้ี ัด เป็นอัตราการขยายตัวของจำนวนสินค้าและบรกิ ารการท่องเทีย่ วเชงิ สร้างสรรค์และ
วฒั นธรรมท่ีได้รบั การขน้ึ ทะเบียนทรพั ยส์ ินทางปญั ญาด้วย

3) โครงการพัฒนาระบบความปลอดภัยและการอำนวยความสะดวกด้านการท่องเท่ียว ของกรมการ
ท่องเทยี่ ว งบประมาณ 185.6 ลา้ นบาท ลดลงจากปที ่ีผา่ นมา จำนวน 20.9 ล้านบาท หรอื -10.1%

จะเห็นได้ว่า ได้รับจัดสรรงบประมาณลดลง แต่ 1 ใน ดัชนี TTCI ที่ไทยได้รับการจัดอันดับน้อยที่สุด คือ
ด้านความม่ันคงปลอดภัย ซึ่งยังคงเป็นปัญหาด้านท่องเท่ียวท่ีไทยต้องยกระดับความเข้มข้นให้มากขึ้น รวมท้ัง
ด้านสุขภาพและอนามัย ที่ยังพบว่า โครงการพัฒนาและยกระดับระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารและการ
จัดการอนามัยสง่ิ แวดล้อมเพอื่ รองรับการท่องเท่ยี ว ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ได้รับงบประมาณใน
ปีนี้ 9.2 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.1 ของงบประมาณทั้งหมดของแผนงานบูรณาการนี้ แสดงให้เห็นว่า
หนว่ ยงานมสี ่วนรว่ มในการดำเนนิ โครงการที่ส่งผลไปสู่เปา้ หมายของแผนงานน้อยมาก

นอกจากน้ี แผนงานบูรณาการฯ ควรให้ความสำคัญไปท่ีอันดับความสามารถด้านการแข่งขัน ประเด็น
ย่อยในด้านท่ีถูกลดอันดับลงท้ัง 4 รายการด้วย ได้แก่ ด้านความยั่งยืนของส่ิงแวดล้อม ด้านการแข่งขันด้าน
ราคา ด้านโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการขนส่งทางอากาศ และดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ

4) แผนงานได้กำหนดเป้าหมายการดำเนินงานในพื้นที่จังหวัดท่องเท่ียวเมืองรองท้ังหมด 55 จังหวัด ทั้งนี้
เพื่อให้เกิดการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนต่อวิถีชีวิตของชุมชนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในการส่งเสริม
ด้านการตลาด จึงควรพิจารณาถึงความพร้อมของแหล่งท่องเท่ียวในการรองรับนักท่องเท่ียว เช่น การ
คมนาคมเข้าถึงแหลง่ ท่องเท่ียว สิ่งอำนวยความสะดวก การบริหารจัดการแหล่งท่องเทย่ี ว และมาตรฐานด้านที่
พัก เป็นตน้ รวมทง้ั คำนงึ ถงึ ศกั ยภาพความพร้อมด้านการท่องเท่ยี วของแตล่ ะจังหวัดทมี่ ีความแตกตา่ งกัน

สำนักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 21


Click to View FlipBook Version