รายงานการวเิ คราะห์
ร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
ปีงบประมาณ ย่อมทาให้เงินงบประมาณส่วนน้ันตกไป เป็นการเสียโอกาสในการใช้งบประมาณเพ่ือ
พัฒนาประเทศในเร่ืองทจี่ าเปน็ เร่งดว่ น
ในขณะเดียวกัน ตามมาตรา 45 แห่งพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561
กาหนดให้ “มเี งินทนุ สารองจา่ ย” ไว้ จานวน “หา้ หมื่นล้านบาท” เพ่ือไว้ใช้จ่ายในกรณีจาเป็นเร่งด่วน
เพอ่ื ประโยชน์แกร่ าชการแผน่ ดิน หรอื กรณีท่ีรายจ่ายงบกลาง “รายการเงินสารองจ่ายเพ่ือกรณีฉุกเฉิน
หรอื จาเปน็ ” ต้งั ไวไ้ มเ่ พยี งพอ จึงเปน็ หลักประกันอยู่แล้วว่าหากมีกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็นรัฐบาลก็ยังมี
เงนิ ทนุ สารองไว้ใช้จา่ ยได้
ดังนั้น รายจ่ายงบกลางรายการเงินสารองจ่ายเพ่ือกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น จึงควรต้ังไว้ให้
เพียงพอกับความจาเป็น โดยพิจารณาผลการใช้จ่ายท่ีผ่านมา ประกอบกับกรอบวินัยการเงินการ
คลงั ตามท่ีกฎหมายกาหนด
3.8 งถประมาฒรายจ่ายสาหรัถรฐั วิสาหกจิ
3.8.1 ทลการดาเตติ งาตและฐาตะการเงิตใตภาพรวม
“รฐั วสิ าหกจิ ” เป็นหน่วยงานธรุ กิจทร่ี ัฐบาลเป็นเจ้าของไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบหน่วยงาน
องค์การของรัฐ รวมถึงบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่รัฐหรือองค์กรของรัฐถือหุ้นร่วมทุนอยู่ด้วย
ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบ มีลักษณะการดาเนินงานในเชิงธุรกิจที่มุ่งแสวงหากาไร หรือการให้บริการ
สาธารณะโดยสามารถเรียกเก็บค่าบริการจากประชาชนผู้ใช้บริการได้ จึงมีหน้าที่หารายได้เข้ารัฐ ดังน้ัน
โดยหลักการรฐั วสิ าหกิจจะต้องพึง่ พาตวั เองไดโ้ ดยไมจ่ าเปน็ ต้องได้เงนิ อุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดนิ ทุกปี
ท้ังน้ี ข้อมูลล่าสุดของกระทรวงการคลัง ตามรายงานฐานะการเงินเมื่อสิ้นงวดบัญชี
ปี 2560 ซึ่งเป็นงบการเงินท่ีผ่านการรับรองของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินแล้ว รัฐวิสาหกิจไทย
มีจานวนท้ังสิ้น 55 แห่ง มีสินทรัพย์รวม 13,487,147.44 ล้านบาท มีรายได้รวม 3,417,361.18 ล้านบาท
เมอื่ หักค่าใชจ้ ่ายจานวน 3,109,809.04 ล้านบาท ทาให้มีกาไรสุทธิจานวน 328,855.00 ล้านบาท คิดเป็น
กาไรสุทธิต่อสินทรัพย์รวมประมาณร้อยละ 2.49 ซ่ึงมีการนาส่งกาไรหรือเงินรายได้อื่นเข้าคลังเป็น
รายได้แผน่ ดนิ จานวน 158,726.78 ลา้ นบาท หรอื ประมาณร้อยละ 48.26 ของกาไรสทุ ธิในแต่ละปี
ตารางณ่ี 3-4 ภาพรวมการดาเติตงาตของรัฐวสิ าหกจิ และการตาส่งกาไรเปต็ รายไดแ้ ทต่ ดิต
หนว่ ย:ล้านบาท
ปงี บประมาณ 2559 2560 2561*
1. สินทรัพย์รวม 12,661,990 13,487,147.44 13,861,850.01
2. หน้ีสินรวม 10,375,783 11,031,270.91 11,191,791.78
3. สว่ นของทนุ 2,286,027 2,455,876.53 2,670,058.23
4. กาไรสุทธิ 263,532 328,855.00 299,426.35
5. นาส่งรายได้แผ่นดนิ 154,595.79 158,726.78 152,149.21
6. งบประมาณท่อี ดุ หนุนรัฐวสิ าหกิจ 143,804.82 140,263.10 156,292.05
7. ภาระงบประมาณอดุ หนุน 10,790.97 18,463.68 (4,142.84)
รัฐวิสาหกิจสุทธิในแต่ละปี (5 - 6)
หมายเหตุ: * ตัวเลขประมาณการ หมายถงึ งบการเงินท่ียงั ไมไ่ ดร้ ับการรบั รองจากสานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ
ทมี่ า: เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 5 รายงานภาวะเศรษฐกจิ และการคลัง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563
ประมวลผลและจดั ทาโดย: สานักงบประมาณของรัฐสภา (Parliamentary Budget Office : PBO)
สานกั งบประมาณของรฐั สภา สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร
- 33 -
รายงานการวเิ คราะห์
ร่างพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
อย่างไรก็ตาม แมว้ า่ ผลการดาเนนิ งานในภาพรวมรัฐวสิ าหกิจไทยยังคงมีผลกาไร และ
สามารถนาส่งส่วนของกาไรเป็นรายได้แผ่นดิน แต่ก็มีรัฐวิสาหกิจหลายแห่งที่มีผลการดาเนินงานที่
ขาดทุนอย่างต่อเน่ือง เช่น การรถไฟแห่งประเทศไทย องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร บริษัท
การบนิ ไทย จากดั (มหาชน) เป็นตน้ โดยประมาณการว่าในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 รัฐวิสาหกิจไทย
จะมีหนี้สินรวม จานวนถึง 11,191,791.78 ล้านบาท จึงทาให้รัฐบาลมีภาระทางการคลังจากการ
รับภาระหนแี้ ทนรัฐวสิ าหกิจที่มีผลการดาเนินงานขาดทุนอย่างต่อเนื่อง รวมถึงต้องจัดสรรงบประมาณ
อุดหนนุ ใหแ้ ก่รฐั วสิ าหกิจเหล่าน้ีเพ่ือเป็นทุนในการดาเนินกิจการในแต่ละปีอีกด้วย และมีแนวโน้มท่ีจะ
ทาให้เงินอุดหนุนรัฐวิสาหกิจจะมีจานวนมากกว่า ส่วนของกาไรหรือเงินรายได้อื่นท่ีรัฐวิสาหกิจนาส่ง
คลังเป็นรายได้แผ่นดินด้วย แต่ทั้งนี้ หากไม่รวมงบประมาณเพื่อชดเชยการสูญเสียรายได้ของ
สถาบันการเงนิ เฉพาะกิจ จากการดาเนินกจิ กรรม มาตรการ หรือโครงการตามนโยบายของรัฐบาล
รวมถงึ การรบั ภาระหนี้แทนรัฐวิสาหกิจ เช่น การรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
แห่งประเทศไทย โดยรวมถือว่ารัฐวิสาหกิจไทยยังสามารถรักษาระดับการนาส่งกาไรเป็นรายได้
แผ่นดนิ ได้อยา่ งตอ่ เน่อื ง
แทตภาพณี่ 3-12 กาไร/ขาดณตุ ของรฐั วสิ าหกิจ ปงี ถประมาฒ พ.ศ. 2560* (10 ลาดถั แรก)
กาไรสงู สดุ ขาดณตุ สงู สหดุ น่วย: ล้านบาท
104,474.0 บมจ. ปตท. การยางแห่งประเทศไทย -118.0
องค์การคลังสินค้า -172.9
54,957.8 การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ
48,533.5 ธนาคารออมสนิ องค์การสวนสตั ว์ -185.4
26,550.1 การไฟฟา้ สว่ นภูมภิ าค บมจ. การบินไทย -2,072.0
21,312.5 ธนาคารกรงุ ไทย บมจ.อสมท -2,541.8
20,599.6 การท่าอากาศยานฯ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย -2,926.4
11,812.7 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ บมจ. ทีโอที -3,660.0
10,854.8 การไฟฟ้านครหลวง บมจ. กสท.โทรคมนาคม -4,544.4
9,539.7 การทางพิเศษฯ องค์การขนสง่ มวลชนฯ -4,916.8
9,343.3 โรงงานยาสบู การรถไฟแหง่ ประเทศไทย -18,346.6
หมายเหตุ: * ตัวเลขงบการเงินไดร้ บั การรับรองจากสานกั งานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ
ทม่ี า: เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 5 รายงานภาวะเศรษฐกจิ และการคลงั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
ประมวลผลและจดั ทาโดย: สานักงบประมาณของรัฐสภา (Parliamentary Budget Office : PBO)
สานักงบประมาณของรัฐสภา สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
- 34 -
รายงานการวเิ คราะห์
รา่ งพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
3.8.2 การจัดสรรงถประมาฒเป็ตเงติ อุดหตุตรัฐวิสาหกจิ
สาหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รฐั บาลไดม้ ีการจัดสรรเงินอุดหนุนแก่รัฐวิสาหกิจ
จานวน 24 แหง่ รวม 156,292.1 ล้านบาท คิดเปน็ สดั สว่ นต่องบประมาณรายจ่ายประจาปีอยู่ท่ีร้อยละ
4.88 โดยมีรายละเอยี ดตามตารางท่ี 3-5
ตารางณ่ี 3-5 การจดั สรรงถประมาฒให้แก่รฐั วสิ าหกจิ ปงี ถประมาฒ พ.ศ. 2563
2563 ลักษณะการจัดสรรงบประมาณ (หน่วย : ลา้ นบาท)
รฐั วิสาหกิจทไ่ี ดร้ บั เงนิ อดุ หนนุ รายจ่ายของ รายจ่าย แผนงาน การดาเนนิ งาน รวม
หน่วยงาน บุคลากร บรหิ ารหน้ี ภายใต้แผนงาน
1. การกฬี าแหง่ ประเทศไทย รัฐวสิ าหกิจ ภาครัฐ ภาครัฐ บูรณาการ
2. การเคหะแหง่ ชาติ
3. การทอ่ งเทีย่ วแห่งประเทศไทย 2,082.0 282.0 - 357.2 2,721.2
4. การยางแหง่ ประเทศไทย
5. การรถไฟแหง่ ประเทศไทย 1,775.4 - - - 1,775.4
6. การรถไฟฟา้ ขนส่งมวลชน
แหง่ ประเทศไทย (รฟม.) 2,160.6 943.5 - 3,432.8 6,536.9
7. ธนาคารพฒั นาวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม 80.0 - - - 80.0
แหง่ ประเทศไทย
8. ธนาคารเพอ่ื การเกษตร 2,683.1 306.2 8,033.5 2,716.1 13,738.9
และสหกรณ์
9. ธนาคารออมสิน - - 9,031.3 3,506.9 12,538.2
10. ธนาคารอาคารสงเคราะห์
11. บรรษัทประกันสินเชอื่ 1,386.8 - - - 1,386.8
อตุ สาหกรรมขนาดยอ่ ม
12. บรรษัทบรหิ ารสินทรพั ย์ 59,653.4 - 30,166.4 - 89,819.8
ธนาคารอสิ ลามแหง่ ประเทศไทย
จากดั 5,045.4 -- - 5,045.4
13. สถาบันการบนิ พลเรือน 148.4 -- - 148.4
14. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ -- - 4,073.7
เทคโนโลยแี ห่งประเทศไทย (วว.) 4,073.7
15. องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ -- - 2,800.0
2,800.0
509.6 83.6 - 48.3 641.5
303.3 426.3 137.2 866.8
2,243.4 - 3,072.6 - 5,316.0
สานกั งบประมาณของรฐั สภา สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร
- 35 -
รายงานการวเิ คราะห์
ร่างพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
2563 ลักษณะการจัดสรรงบประมาณ (หน่วย : ล้านบาท)
รฐั วิสาหกิจทไี่ ดร้ ับเงนิ อุดหนนุ รายจ่ายของ รายจ่าย แผนงาน การดาเนนิ งาน รวม
หนว่ ยงาน บคุ ลากร บรหิ ารหน้ี ภายใต้แผนงาน
รฐั วสิ าหกิจ ภาครฐั ภาครัฐ บูรณาการ
16. องคก์ ารคลงั สินค้า 1,559.6 - - - 1,559.6
17. องค์การจัดการน้าเสีย 65.4 65.6 - 304.9 435.9
18. องคก์ ารตลาดเพ่ือการเกษตร 8.1 16.3 - - 24.4
19. องค์การพพิ ธิ ภณั ฑว์ ิทยาศาสตร์ 1,074.6 93.2 - - 1,167.8
แหง่ ชาติ
20. องคก์ ารสวนพฤกษศาสตร์ 108.3 60.6 - 2.3 171.2
21. องคก์ ารสวนสตั ว์ 719.0 161.9 - - 880.9
22. องค์การอตุ สาหกรรมป่าไม้ 220.8 24.8 - - 245.6
23. การประปาสว่ นภมู ภิ าค -- - 4,008.1 4,008.1
24. การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย - - - 309.6 309.6
156,292.1
รวม 88,700.9 2,464.0 50,303.8 14,823.4
ที่มา: รา่ งพะราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
ประมวลผลและจัดทาโดย: สานกั งบประมาณของรัฐสภา (Parliamentary Budget Office : PBO)
1. จากตารางท่ี 3–5 จะเห็นว่าในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รัฐบาลได้จัดสรร
งบประมาณเป็นเงินอุดหนุนให้แก่รัฐวิสาหกิจ 24 แห่ง เป็นจานวน 156,292.1 ล้านบาท โดยแบ่ง
ออกเปน็ 4 สว่ น ไดแ้ ก่
1.1 เงินอุดหนนุ สาหรบั การดาเนินงานตามภารกิจหน้าท่ีของรัฐวิสาหกิจ (Function)
ภายใตแ้ ผนงานพืน้ ฐานและแผนงานยุทธศาสตร์ จานวน 21 แห่ง รวมเป็นเงนิ 88,700.9 ล้านบาท
1.2 เงนิ อุดหนุนทีเ่ ป็นรายจ่ายด้านบคุ ลากรของรฐั วสิ าหกิจ จานวน 11 แห่ง รวมเป็น
เงนิ 2,464.0 ล้านบาท
1.3 เงินอุดหนุนภายใต้แผนงานบริหารหนี้ภาครัฐสาหรับรัฐวิสาหกิจท่ีมีผลการ
ดาเนินงานขาดทุนอย่างต่อเนื่องรวมถึงรัฐวิสาหกิจที่ต้องเร่งรัดดาเนินงานโครงสร้างพื้นฐานตาม
นโยบายรัฐบาลซ่ึงจะเป็นต้องกู้เงินมาดาเนินการ ได้แก่ การรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟฟ้าขนส่ง
มวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) รวมถงึ การตัง้ งบประมาณเพื่อชดเชยภาระคงค้างให้แก่สถาบันการเงิน
เฉพาะกิจ (SFIs) รวมกัน จานวน 50,303.8 ลา้ นบาท
1.4 เงินอุดหนุนรัฐวิสาหกิจเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานภายใต้แผนงานบูรณาการ
เช่น แผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นที่ระดับภาค แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้า และ
แผนงานบรู ณาการดา้ นโลจสิ ตกิ ส์ และการทอ่ งเที่ยวและบริการ รวมทั้งส้ิน 14,823.4 ลา้ นบาท
สานกั งบประมาณของรัฐสภา สานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร
- 36 -
รายงานการวิเคราะห์
รา่ งพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
2. สาหรับรัฐวิสาหกิจท่ีเป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) ซึ่งได้รับมอบหมายให้
ดาเนนิ กิจกรรม มาตรการ หรือโครงการ ตามนโยบายรัฐบาล ยังคงได้รับการจัดสรรงบประมาณสูงสุด
เช่น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จานวน 89,819.8 ลา้ นบาท
ท้ังนี้ รายงานความเส่ียงทางการคลัง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (ตาม
มาตรา 87 แหง่ พระราชบญั ญัติวินัยการเงินการคลงั ของรฐั พ.ศ. 2561) รัฐบาลยังมีภาระคงค้างที่ต้อง
ชดเชยให้แก่สถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) สาหรับการดาเนินการตามนโยบายรัฐบาลมีจานวน
รวมท้ังส้ิน 855,121.0 ล้านบาท ซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลต้องตั้งงบประมาณชดเชยให้ในโอกาสแรก
ท่ีกระทาได้ ตามความในมาตรา 20 (5) แห่งพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561
ขณะเดียวกัน สถาบันการเงินเฉพาะกิจบางแห่งก็ยังประสบปัญหาการขาดทุน เช่น ธนาคารอิสลาม
แห่งประเทศไทย โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ได้รับการเพิ่มทุนจาก “กองทุนพัฒนาสถาบัน
การเงนิ เฉพาะกิจ” จานวน 16,079.0 ลา้ นบาท เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาการขาดทนุ ดงั กลา่ ว
3. ในส่วนของรัฐวิสาหกิจ “ด้านการให้บริการสังคม” ท่ียังคงมีผลการดาเนินงาน
ขาดทุนอย่างต่อเนื่อง เช่น การรถไฟแห่งประเทศไทย องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ เป็นต้น ยังเป็น
ภาระทร่ี ฐั บาลต้องจดั สรรเงนิ อดุ หนุนอย่างต่อเน่อื ง ซ่ึงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การรถไฟแห่งประเทศ
ไทย ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จานวน 13,738.9 ล้านบาท องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ จานวน
2,243.5 ล้านบาท
รัฐบาลยังคงมีภาระทางการคลังจากการรับภาระหน้ีแทนรัฐวิสาหกิจท่ีมีผลการ
ดาเนินงานขาดทุนอย่างต่อเนื่อง เช่น การรถไฟแห่งประเทศไทย องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ เป็นต้น
โดย ณ สิน้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มภี าระทางการคลงั ในสว่ นนี้ รวมท้ังสน้ิ 218,405.0 ลา้ นบาท
4. ในขณะเดียวกัน การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และการรถไฟฟ้าขนส่ง
มวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ก็มีภาระท่ีต้องดาเนินการโครงสร้างพื้นฐานระบบรางเพ่ือรองรับการ
ขยายตัวของของเศรษฐกิจและสังคมตามนโยบายของรัฐบาล จึงต้องมีการกู้เงินมาดาเนินการทาใ ห้
รัฐบาลต้องตั้งงบประมาณอุดหนุนรัฐวิสาหกิจดังกล่าว เพื่อการชาระหน้ีสาธารณะ จานวน 8,033.5
ล้านบาท และจานวน 9,031.3 ล้านบาท ตามลาดบั
5. นอกจากน้ี รัฐบาลยังได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่รัฐวิสาหกิจท่ีมีส่วนในการ
ดาเนินงานตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ภายใต้แผนงานบูรณาการต่าง ๆ เช่น แผนงานบูรณาการ
พัฒนาพื้นท่ีเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) แผนงานบูรณาการการบริหารจัดการทรัพยากรน้า
แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาค แผนงานบูรณาการการการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว
และบรกิ าร เป็นต้น โดยเฉพาะการประปาส่วนภูมิภาค ซึ่งได้รับการจัดสรรงบประมาณในส่วนนี้สูงสุด
จานวน 4,035.1 ล้านบาท การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย จานวน 3,432.8 ล้านบาท การรถไฟฟ้า
ขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) จานวน 3,506.8 ล้านบาท และการรถไฟแห่งประเทศไทย
จานวน 2,716.1 ลา้ นบาท ตามลาดับ
สานักงบประมาณของรัฐสภา สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
- 37 -
รายงานการวิเคราะห์
รา่ งพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
ขอ้ สงั เกต PBO
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รัฐบาลได้จัดสรรเงินอุดหนุนรวมเป็นเงินกว่า 2,463.8 ล้านบาท
เพ่ือเป็นรายจ่ายด้านบุคลากรของรัฐวิสาหกิจ จานวน 11 แห่ง ซ่ึงส่วนใหญ่รัฐวิสาหกิจเหล่าน้ีมีข้อ
ถกเถียงกันว่า ตามหลักการจาแนกประเภทหน่วยงานของรัฐควรจะเป็น “องค์การมหาชน” มากกว่า
เป็น “รัฐวิสาหกิจ” ได้แก่ องค์การสวนสัตว์ การกีฬาแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
สถาบันการบินพลเรือน องค์การสวนพฤกษศาสตร์ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ องค์การ
จดั การน้าเสีย องค์การตลาดเพ่ือการเกษตร และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศ
ไทย (วว.) ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2550 ให้ กพร. ไปทบทวนเพื่อปรับสถานภาพ
ให้สอดคล้องกับการบรหิ ารงานภาครฐั ตอ่ ไป
3.9 งถประมาฒกองณตุ และเงติ ณุตหมุตเวียต
แทตภาพณ่ี 3-13 งถประมาฒกองณตุ และเงิตณตุ หมตุ เวียต ปงี ถประมาฒ พ.ศ. 2563
หน่วย : ลา้ นบาท
160,000.0 กองณุตและเงติ ณตุ หมตุ เวียต จานวน 24 กองทุนฯ ได้รับการ
จัดสรรงบประมาณทั้งสิ้น 202,268.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.3
140,533.4
140,000.0
ของงบประมาณรายจ่ายประจาปี ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ.
120,000.0 2562 จานวน 17,644.3 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 9.6
- ร้อยละ 97.8 เป็นงบประมาณของกองทุนและเงินทุนหมุนเวียน
100,000.0 ท่ไี ด้รับการจดั สรรงบประมาณสงู สุด 5 ลาดับแรก
80,000.0 - ร้อยละ 2.2 เป็นงบประมาณของกองทุนฯ อื่น ๆ จานวน 19
กองทุนฯ ซ่ึงมี 4 กองทุนฯ ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณในปี 2563
60,000.0 โดยไม่ได้รบั การจดั สรรงบประมาณในปี 2562 ได้แก่ กองทุนส่งเสริม
40,000.0 การค้าระหว่างประเทศ กองทุนผู้สูงอายุ กองทุนส่งเสริมงาน
40,000.0 12,554.6 วฒั นธรรม และกองทุนป้องกันและปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ
3,858.9
20,000.0 950.7 505.9
935.0810.5 202.5
150.0 90.0 90.0 72.0 70.0 52.6 40.0 30.0 22.8 20.8 10.0 10.0 8.9
700.0550.0
0.0
ทมี่ า: งบประมาณโดยสงั เขป ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สานกั งบประมาณ สานกั นายกรฐั มนตรี
ประมวลผลและจดั ทาโดย: สานักงบประมาณของรัฐสภา (Parliamentary Budget Office : PBO)
สานกั งบประมาณของรฐั สภา สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
- 38 -
รายงานการวเิ คราะห์
รา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ตารางณ่ี 3-6 เปรียถเณียถสดั ส่วตงถประมาฒของกองณุตและเงติ ณตุ หมตุ เวยี ต
ณีไ่ ด้รัถงถประมาฒสูงสดุ 5 ลาดถั แรก ปงี ถประมาฒ พ.ศ. 2562 – 2563
กองทนุ ปงี บประมาณ สัดสว่ น ปงี บประมาณ สดั ส่วน เพ่มิ ข้นึ /ลดลง
พ.ศ. 2562 ร้อยละ พ.ศ. 2563 รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
6,264.3 4.7
1) หลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ 134,269.1 72.7 140,533.4 69.5
0.0 0.0
2) ประชารฐั สวัสดกิ ารเพ่ือเศรษฐกจิ ฐานรากและสังคม 40,000.0 21.7 40,000.0 19.8 10,640.9 556.0
1,321.5 52.1
3) ส่งเสรมิ วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม 1,913.7 1.0 12,554.6 6.2
-24.0 -2.5
4) เพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา 2,537.4 1.4 3,858.9 1.9 18,202.7 10.1
5) ส่งเสริมวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม 974.7 0.5 950.7 0.5 -558.4 -11.3
17,644.3 9.6
รวมทง้ั 5 กองทุน 179,694.9 97.3 197,897.6 97.8
กองทุนอ่ืน ๆ (19 กองทุนฯ) 4,929.4 2.7 4,371.0 2.2
รวมทั้งส้ิน 184,624.3 100.0 202,268.6 100.0
ทีม่ า: งบประมาณโดยสังเขป ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงบประมาณ สานักนายกรฐั มนตรี
ประมวลผลและจดั ทาโดย: สานักงบประมาณของรัฐสภา (Parliamentary Budget Office : PBO)
กองทุนและเงินทุนหมุนเวียนท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณมากท่ีสุด 5 อันดับแรก
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้แก่ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนประชารัฐสวัสดิการเพื่อ
เศรษฐกิจฐานรากและสังคม กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กองทุนเพ่ือความเสมอภาค
ทางการศึกษา และกองทุนส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม รวมงบประมาณท้ังส้ิน 197,897.6
ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 97.8 ของวงเงินงบประมาณกองทุนและเงินทุนหมุนเวียนท้ังส้ิน เพ่ิมข้ึนจาก
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 18,202.7 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.1
ขอ้ สังเกต PBO
กองทนุ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จากขอ้ มลู รายงานความเส่ยี งทางการคลัง ปี 2560 ของสานัก
นโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง พบว่า กองทุนดังกล่าวมีความเสี่ยงและอาจจะประสบปัญหา
ทางการเงินได้ในอนาคต เนอ่ื งจากคา่ ใช้จ่ายกองทุนหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติมีแนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึนจากการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้างอายุประชากรของประเทศที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจะเป็นภาระทางการคลัง
ให้กบั รัฐบาลอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เนือ่ งจากเป็นภาระผูกพันตามกฎหมายท่ีต้องจัดสรรงบประมาณให้กองทุน
ดังกล่าว
กองทนุ ประชารฐั สวสั ดกิ ารเพ่ือเศรษฐกจิ ฐานรากและสังคม ไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 งบกลาง รายการเงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉิน จานวน 10,000 ล้านบาท
โดยคณะรัฐมนตรีเห็นชอบเมื่อวันท่ี 24 กันยายน 2562 เพ่ือให้กองทุนเป็นกลไกขับเคล่ือนโครงการบัตร
สวัสดิการแห่งรัฐ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับเป็นนโยบายสาคัญและเร่งด่วนของรัฐบาล อย่างไร
ก็ตาม กองทนุ ควรมกี ารประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิของการดาเนนิ งานอย่างรอบดา้ น และรายงานต่อสาธารณะตอ่ ไป
กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 12,554.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน
10,640.9 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 556.0
สานกั งบประมาณของรฐั สภา สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร
- 39 -
รายงานการวิเคราะห์
ร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
3.10 งถประมาฒรายจา่ ยใตลกั ษฒะถูรฒาการเชิงยุณดศาสตร์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้กาหนดให้มีแผนงานบูรณาการ จานวน 15 แผนงาน ภายใต้
ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ 6 ดา้ น รวมงบประมาณท้งั สนิ้ 235,091.0 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ
7.3 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปี ประกอบด้วย
แทตภาพณ่ี 3-14 สดั สว่ ตงถประมาฒแทตงาตถรู ฒาการ ประจาปงี ถประมาฒ พ.ศ. 2563
1,313.5 ลถ.
ที่มา: งบประมาณโดยสังเขป ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงบประมาณ สานกั นายกรฐั มนตรี
จัดทาโดย: สานักงบประมาณของรัฐสภา (Parliamentary Budget Office : PBO)
สานกั งบประมาณของรัฐสภา สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
- 40 -
รายงานการวิเคราะห์
ร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
แนวทางในการจดั ทาแผนงานบรู ณาการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีลักษณะเป็นโครงการ
สาคญั มคี วามจาเป็นเร่งด่วน ลดความซ้าซ้อน ลดค่าใช้จ่าย มีวัตถุประสงค์ ตัวช้ีวัดสามารถวัดผลสัมฤทธ์ิ
ได้ชัดเจน มีเจ้าภาพหลัก และควรมีกรอบระยะเวลาดาเนินการประมาณ 3 – 5 ปี และต้องเป็นการ
ดาเนินการร่วมกันตั้งแต่ 2 หน่วยงานขึ้นไป (ต่างกระทรวง) ร่วมรับผิดชอบดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายที่
กาหนด และมีตัวชีว้ ัดร่วม (Joint KPIs)
แผนงานบูรณาการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ สูงสุด 5 อันดับแรก โดยมีงบประมาณรวม 5
แผนงาน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 85.3 ของงบประมาณในลักษณะบูรณาการทั้งหมด ซงึ่ ประกอบด้วย
1. แผนงานบรู ณาการด้านคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์ 97,389.0 ลา้ นบาท
2. แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรพั ยากรนา้ 59,431.1 ลา้ นบาท
3. แผนงานบูรณาการพฒั นาพ้นื ทีร่ ะดับภาค 20,811.2 ล้านบาท
4. แผนงานบรู ณาการเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก 17,009.1 ล้านบาท
5. แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 10,865.5 ลา้ นบาท
แสดงให้เห็นว่ารัฐบาลได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาประเทศเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนอย่างมีคุณภาพ กระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคให้ทั่วถึง และเน้นการเพิ่มขีดความสามารถ
ในการการแข่งขัน รวมท้งั แกไ้ ขปัญหาความมน่ั คงในพื้นทภ่ี าคใต้
ท้งั นี้ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 มีแผนงานบรู ณาการจานวนท้งั สิน้ 24 แผนงาน ซึ่งแผนงาน
บูรณาการจานวน 15 แผนงาน ที่ไดร้ ับการจัดสรรเงินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นแผนงานบูรณา
การที่ดาเนินการต่อเน่ืองจากปี 2562 จานวน 14 แผนงาน และเป็นแผนงานบูรณาการท่ีดาเนินการใหม่
ในปี 2563 จานวน 1 แผนงาน ได้แก่ แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ส่วนท่ีเหลือ
จานวน 10 แผนงานบูรณาการในปี 2562 มีการปรับโครงสร้างแผนงานเป็นแผนงานยุทธศาสตร์ ในปี
2563
อย่างไรก็ตาม รัฐบาลควรนาผลการเบิกจ่ายงบประมาณของแผนงานบูรณาการประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2562 (รายละเอยี ดผลการเบิกจ่ายตามแผนภาพ 3-15) ท่ีต้องดาเนินการต่อเน่ืองใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มาประกอบการพิจารณาการตั้งงบประมาณรายจ่ายให้มีความเหมาะสมกับ
ศักยภาพของการดาเนินงานท่ีผ่านมา เพื่อให้การใช้จ่ายงบประมาณมีความคุ้มค่าและเกิดประสิทธิภาพ
สูงสดุ
สานกั งบประมาณของรฐั สภา สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร
- 41 -
รายงานการวิเคราะห์
รา่ งพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
แทตภาพณ่ี 3-15 ทลการเถิกจา่ ยแทตงาตถรู ฒาการประจาปงี ถประมาฒ พ.ศ. 2562
แทตงาตถรู ฒาการ แผนงานทปี่ รับโครงสรา้ งเป็นแผนงานยุทธศาสตารใ์ นปี 2563
แผนงานเดิมทไ่ี ด้รบั การจดั สรรงบประมาณต่อเนอ่ื งในปี 2563
พฒั นาระบบประกันสุขภาพ* 102.1%
พฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต 99.8%
สร้างความเสมอภาคเพื่อรองรบั สังคมผสู้ งู อายุ 99.4%
วจิ ัยและนวตั กรรม 99.0%
พัฒนาผ้ปู ระกอบการ เศรษฐกจิ ชมุ ชน และวิสาหกิจขนา 98.2%
ปอ้ งกนั ปราบปราม และบาบดั รกั ษาผูต้ ดิ ยาเสพตดิ 97.1%
ต่อต้านการทุจรติ และประพฤติมิชอบ 96.4%
สง่ เสรมิ การกระจายอานาจใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองส่วนท้ 95.7%
จดั การปญั หาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ 94.8%
พัฒนาศกั ยภาพการผลิตภาคการเกษตร 91.8%
พฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ และการจัดการมลพิ 90.8%
พัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ 88.3%
สร้างรายได้จากการท่องเทยี่ ว กีฬา และวัฒนธรรม 87.7%
ขับเคล่อื นการแก้ไขปัญหาจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 85.2%
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดจิ ทิ ลั 79.9%
บริหารจดั การทรัพยากรนา้ 78.4%
พัฒนาพ้ืนที่ระดบั ภาค 73.3%
พัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์ 70.9%
พฒั นาพ้นื ทเี่ ขตเศรษฐกจิ พิเศษ 69.6%
ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรูใ้ หม้ ีคุณภาพ 69.5%
ขับเคล่ือนเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก 68.6%
สง่ เสริมการพัฒนาจังหวัดและกลมุ่ จงั หวัดแบบบรู ณา 66.4%
พฒั นาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ 44.2%
ปฏริ ูปกฎหมายและพฒั นากระบวนการยุติธรรม 38.9%
หมายเหตุ: *เน่อื งจากค่าใชจ้ ่ายในการรกั ษาพยาบาลขา้ ราชการ ลกู จ้าง และพนกั งานของรฐั ทีต่ ั้งไวใ้ นปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน
70,000 ลา้ นบาท มผี ลเบกิ จา่ ย ณ วนั ที่ 13 กันยายน 2562 จานวน 72,197.3 ลา้ นบาท
ท่ีมา: ระบบการบริหารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) กรมบัญชกี ลาง ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562
จัดทาโดย: สานกั งบประมาณของรฐั สภา
สานกั งบประมาณของรัฐสภา สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร
- 42 -
รายงานการวิเคราะห์
ร่างพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
3.11 งถประมาฒรายจา่ ยใตมิติพ้ตื ณี่ (Area)
การจดั ทางบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 พบว่า การจัดสรรงบประมาณ
รายจา่ ยในมติ พิ น้ื ที่ (Area) ประกอบด้วย งบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการเพ่ือพัฒนาพื้นที่ระดับ
ภาค งบประมาณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และเงินอุดหนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จาแนกเป็น
3 ส่วน ดงั น้ี
3.11.1 งถประมาฒรายจา่ ยของแทตงาตถรู ฒาการเพื่อพัถตาพืต้ ณี่ระดถั ภาค
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้รับจัดสรรงบประมาณ จานวน 20,811.2 ล้านบาท
โดยเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 727.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.6 เมื่อพิจารณา
งบประมาณรายจ่ายโดยจาแนกตามภูมิภาคต่าง ๆ ทั้ง 6 ภาค มีลาดับการได้รับจัดสรรงบประมาณสูงสุด
ตามลาดับ ได้แก่
1) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 6,517.2 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 31.3
2) ภาคใต้ จานวน 4,038.1 ล้านบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 19.4
3) ภาคเหนือ จานวน 3,709.8 ลา้ นบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 17.8
4) ภาคกลาง จานวน 3,082.7 ล้านบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 14.8
5) ภาคตะวนั ออก จานวน 2,476.8 ล้านบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 11.9
6) ภาคใตช้ ายแดน จานวน 986.6 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 4.7
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยังคงเป็นภาคที่ได้รับจัดสรรงบประมาณสูงสุด จานวน
6,517.2 ล้านบาท ทั้งน้ี เนื่องจากเป็นภาคที่มีจานวนจังหวัดสูงถึง 20 จังหวัด และเป็นพื้นท่ีที่ประสบ
ปญั หาความยากจน สว่ นภาคใตช้ ายแดน ประกอบด้วย 3 จังหวัด ได้แก่ นราธิวาส ปัตตานี ยะลา เป็น
ภาคท่ไี ด้รบั จัดสรรงบประมาณต่าสุด จานวน 986.6 ล้านบาท
3.11.2 งถประมาฒรายจ่ายของจงั หวดั และกล่มุ จงั หวดั
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้รับจัดสรรงบประมาณ จานวน 24,000.0 ล้านบาท
คิดเป็นร้อยละ 0.75 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปี ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน
3,579.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 13.0 งบประมาณดังกล่าว ตั้งไว้ในแผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมการ
พัฒนาจังหวัดและกลุ่มจงั หวดั แบบบูรณาการ แบง่ ออกเป็น 2 สว่ น ประกอบดว้ ย
1) งบประมาณรายจ่ายของกลุ่มจังหวัด 18 กลุ่มจังหวัด รวมจานวนทั้งสิ้น 6,331.0
ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 26.38 ของงบประมาณรายจ่ายจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ลดลงจาก
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 1,869.7 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 22.8
กลุ่มจังหวัดที่ได้รับจัดสรรงบประมาณสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ 1) กลุ่มจังหวัด
ภาคตะวนั ออก 1 จานวน 539.4 ล้านบาท 2) กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน จานวน 525.7 ล้านบาท 3) กลุ่ม
จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 จานวน 481.5 ล้านบาท 4) กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
จานวน 442.5 ล้านบาท และ 5) กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 จานวน 442.0 ล้านบาท
ตามลาดับ
อย่างไรก็ตาม ทุกกลุ่มจังหวัดล้วนได้รับจัดสรรงบประมาณลดลงจากปีงบประมาณ
พ.ศ. 2562 โดยกลุ่มจังหวัดท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ในสัดส่วน
สานักงบประมาณของรัฐสภา สานกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร
- 43 -
รายงานการวิเคราะห์
รา่ งพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
สูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ลดลงร้อยละ 47.1 กลุ่มจังหวัดภาคใต้
ชายแดน ลดลงรอ้ ยละ 46.1 และกลุ่มจงั หวดั ภาคกลางปรมิ ณฑล ลดลงรอ้ ยละ 40.1
2) งบประมาณรายจ่ายของจังหวัด 76 จังหวัด รวมจานวนท้ังส้ิน 17,669.0 ล้านบาท
คิดเป็นร้อยละ 73.62 ของงบประมาณรายจ่ายจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ลดลงจากปีงบประมาณ
พ.ศ. 2562 จานวน 1,709.9 ลา้ นบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 8.8
จังหวัดที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดชลบุรี
จานวน 432.2 ล้านบาท จังหวัดนครราชสีมา จานวน 406.9 ล้านบาท จังหวัดสมุทรปราการ จานวน
366.7 ล้านบาท จังหวัดบุรีรัมย์ จานวน 346.7 ล้านบาท และจังหวัดระยอง จานวน 344.9 ล้านบาท
ตามลาดับ
สาหรับจังหวัดที่ได้รับจัดสรรงบประมาณต่าสุด 5 อันดับ ได้แก่ จังหวัดพิจิตร
จานวน 120.9 ล้านบาท จังหวัดยะลา จานวน 133.0 ล้านบาท จังหวัดนราธิวาส จานวน 133.9 ล้านบาท
จังหวัดปตั ตานี จานวน 136.9 ลา้ นบาท และจงั หวัดระนอง จานวน 145.4 ลา้ นบาท ตามลาดบั
3.11.3 งถประมาฒรายจา่ ยเงติ อุดหตตุ องค์กรปกครองส่วตณอ้ งถิ่ต
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รัฐบาลจัดสรรรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนกระจายอานาจฯ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ในสัดส่วนร้อยละ 29.5 ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล เป็นจานวน 804,826.0 ล้านบาท เพิ่มข้ึนจาก
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 53,345.9 ล้านบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.1 แบง่ เป็น
1) รายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ท้ังที่จัดเก็บเอง และที่รัฐบาลจัดเก็บและ
แบ่งให้ จานวน 496,876.0 ล้านบาท เพิ่มข้ึนจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 21,526.0 ล้านบาท
คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.5
2) เงินอุดหนุนท่ีรัฐบาลจัดสรรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามร่างพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 307,950.0 ล้านบาท เพิ่มข้ึนจาก
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 31,819.9 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 11.5 ประกอบดว้ ย
2.1) เงินอุดหนุนเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตาบล ประกอบด้วย เทศบาล
จานวน 2,442 แห่ง อบต. จานวน 5,332 แห่ง โดยจัดสรรผ่านกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
กระทรวงมหาดไทย
2.2) เงินอดุ หนนุ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ท่เี ปน็ หน่วยรับงบประมาณโดยตรง
ประกอบดว้ ย กรุงเทพมหานคร เมอื งพทั ยา และองค์การบริหารส่วนจังหวดั จานวน 76 แห่ง
สานักงบประมาณของรัฐสภา สานักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร
- 44 -
รายงานการวิเคราะห์
ร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
เอกสารอ้างองิ
กระทรวงการคลัง, สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั . (2562). แนวโนม้ และสัดสว่ นการจัดเก็บรายได้
รฐั บาล. สบื ค้นจาก http://www.fpo.go.th
กระทรวงการคลงั , สานักงานเศรษฐกิจการคลงั . (2562). ฐานะเงินคงคลัง ณ วนั สน้ิ ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2562. สืบค้นจาก http://www.fpo.go.th
กระทรวงการคลงั . (2562). ฐานะทางการคลงั ตามระบบกระแสเงนิ สดของรัฐบาล. สบื ค้นจาก
http://www.fpo.go.th/main/Statistic-Database.aspx
กระทรวงพาณชิ ย์. (2562). ดัชนีราคาผู้บรโิ ภคประเทศไทยชุดท่ัวไปรายเดือน. สบื คน้ จาก
http://www.price.moc.go.th/th/home
กรมบัญชกี ลาง. (2562). ผลการเบิกจา่ ยเงนิ งบประมาณประจาปี 2562 จาแนกตามกระทรวง
สบื ค้นจาก https://www.gfmis.go.th/
สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ. (2562).แนวโนม้ ปัจจัยสาคัญทางเศรษฐกิจ
ทม่ี ผี ลต่อการเจริญเตบิ โตของประเทศ. สบื คน้ จาก https://www.nesdb.go.th
/main.php?filename=index
สานกั งานบรหิ ารหนส้ี าธารณะ. (2562). ข้อมูลหนส้ี าธารณะคงค้างปีงบประมาณ พ.ศ. 2562.
สืบคน้ จาก http://www.pdmo.go.th/th/monthly-public-debt-report/q-2562
สานกั เลขาธกิ ารนายกรัฐมนตร.ี (2562). มตคิ ณะรฐั มนตรี เมื่อวนั ท่ี 24 กันยายน 2562
เรอ่ื ง แผนการบริหารหนสี้ าธารณะ ประจาปงี บประมาณ 2563. สบื คน้ จาก
http://www.thaigov.go.th
สานกั งบประมาณ. (2557). งบประมาณโดยสังเขป ฉบับปรับปรุงตามพระราชบัญญัติงบประมาณ
รายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: อรุณการพมิ พ์.
. (2558). งบประมาณโดยสงั เขป ฉบับปรับปรุงตามพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2569. กรุงเทพฯ: อรณุ การพิมพ์.
. (2559). งบประมาณโดยสงั เขป ฉบับปรับปรุงตามพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ.์
. (2560). งบประมาณโดยสังเขป ฉบับปรบั ปรงุ ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ.์
. (2561). งบประมาณโดยสงั เขป ฉบับปรับปรงุ ตามพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ.์
. (2562). งบประมาณโดยสังเขป ฉบับปรบั ปรุงตามพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
.(2562). เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2563 เลม่ ท่ี 18 (2). กรุงเทพฯ: ราไทยเพรส.
.(2561). เอกสารงบประมาณ ฉบบั ท่ี 5 รายงานภาวะเศรษฐกิจและการคลัง ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อกั ษรไทย.
สานกั งบประมาณของรัฐสภา สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
- 45 -
รายงานการวิเคราะห์
รา่ งพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
.(2562). เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 5 รายงานภาวะเศรษฐกิจและการคลัง ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563. กรุงเทพฯ: ราไทยเพรส.
.(2562). คู่มือการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563.
สืบคน้ จาก http://www.bb.go.th
.(2562). รา่ งพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563.
สบื คน้ จาก http://www.bb.go.th
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). ดลุ ชาระเงนิ . สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/Statistics
/EconomicAndFinancial/Pages/StatBalanceofPayments.aspx
ประกาศคณะกรรมการนโยบายการเงนิ การคลงั ของรัฐ เรือ่ ง กาหนดสัดส่วนต่าง ๆ เพ่ือเป็นกรอบวนิ ัย
การเงนิ การคลังของรฐั พ.ศ. 2561. (2561, 21 มถิ ุนายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่มที่ 135
(ตอนพิเศษ 144 ง), หน้า 9.
ประกาศคณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐ เรอ่ื ง การดาเนนิ กิจกรรม มาตรการ หรอื
โครงการท่กี ่อใหเ้ กดิ ภาระต่องบประมาณหรือภาระทางการคลังในอนาคต พ.ศ. 2561.
(2561, 21 มิถนุ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มท่ี 135 (ตอนพเิ ศษ 144 ง), หนา้ 10.
ประกาศคณะกรรมการนโยบายการเงนิ การคลงั ของรฐั เรื่อง กาหนดอตั ราชดเชยค่าใชจ้ า่ ยหรอื การ
สญู เสยี รายได้ของหน่วยงานของรัฐในการดาเนินกิจกรรม มาตรการหรือโครงการตามท่ี
กาหนดไวใ้ นมาตรา 28 พ.ศ. 2561. (2561, 21 มิถนุ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ท่ี 135
(ตอนพิเศษ 144 ง), หน้า 11.
ประกาศคณะกรรมการนโยบายการเงนิ การคลงั ของรฐั เร่ือง กาหนดสัดสว่ นตา่ ง ๆ เพื่อเป็นกรอบวนิ ยั
การเงนิ การคลงั ของรัฐ พ.ศ. 2562 (ฉบับที่ 2). (2562, 27 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา.
เล่มท่ี 136 (ตอนพิเศษ 135 ง), หน้า 149.
พระราชบญั ญัติวนิ ัยการเงนิ การคลังของรฐั พ.ศ. 2561. (2561, 19 เมษายน). ราชกิจจานเุ บกษา.
เล่ม 135 (ตอนท่ี 27 ก), หนา้ 6-8.
สานักงบประมาณของรัฐสภา สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
- 46 -
สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร
โทรศพั ท์ 0-2244-2222 โทรสำร 0-2244-0088
https://www.parliament.go.th/pbo