รายงานเศรษฐกิจ การเงิน
การคลังภาครฐั ระดบั มหภาค
รายงานเศรษฐกิจ การเงนิ การคลังภาครัฐ
ระดับมหภาค
เร่ือง รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลังภาครัฐระดบั มหภาค
ฉบบั ที่
จดั พิมพค์ รง้ั ที่ 7/2564
จานวนหนา้
จานวนพิมพ์ 1/2564
จดั ทาโดย
40 หนา้
ทปี่ รึกษา
750 เล่ม
คณะผจู้ ดั ทา
สานักงบประมาณของรฐั สภา สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
พมิ พท์ ่ี 1111 ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรงุ เทพมหานคร 10300
โทรศัพท์ 0-2242-5900 ตอ่ 7420
นายศโิ รจน์ แพทย์พันธ์ุ รองเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
นายนพรตั น์ ทวี นกั วเิ คราะหง์ บประมาณเชี่ยวชาญ
นางสาวปิยวรรณ เงินคล้าย นักวิเคราะห์งบประมาณชานาญการพิเศษ
นายณรงคช์ ยั ฐิตินนั ท์พงศ์ นกั วิเคราะหง์ บประมาณชานาญการพเิ ศษ
นายวีรวัฒน์ พลิ ากลุ นักวิเคราะหง์ บประมาณชานาญการ
นางสาวนนั ทยิ า แสนโกศกิ นักวเิ คราะหง์ บประมาณปฏิบตั กิ าร
สานักการพมิ พ์ สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
1111 ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
โทรศพั ท์ 0-2242-5900 ต่อ 5411
แบบสารวจความพึงพอใจตอ่ เอกสารวิชาการ
ของสานกั งบประมาณของรัฐสภา (PBO)
สานกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร
รายงานเศรษฐกจิ การเงนิ การคลงั ภาครฐั ระดบั มหภาค
คานา
สานักงบประมาณของรัฐสภา มีหน้าท่ีสนับสนุนการดาเนินงานด้านวิชาการให้กับฝ่ายนิติบัญญัติ
เพ่ือให้การพิจารณาอนุมตั ริ ่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปมี ปี ระสิทธิภาพ จึงได้รวบรวม
ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมที่สาคัญและมีความจาเป็นประกอบการพิจารณารายจ่ายประจาปี
ประกอบด้วย ข้อมูลด้านเศรษฐกิจท้ังระดับมหภาคและข้อมูลภาคครัวเรือน เช่น ผลิตภัณฑ์มวลรวมใน
ประเทศ อัตราเงินเฟ้อ รายได้และค่าใช้จ่ายเฉล่ียต่อเดือนต่อครัวเรือน หนี้สินต่อครัวเรือน และข้อมูล
ด้านการคลัง เช่น แผนการคลังระยะปานกลาง โครงสร้างงบประมาณ ผลการจัดเก็บรายได้ของรัฐบาล
และหน้ีสาธารณะคงค้าง เพ่ือให้สมาชิกรัฐสภา คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ใช้เป็นข้อมูลประกอบการ
พิจารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
สานักงบประมาณของรัฐสภา หวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อสมาชิก
รัฐสภา และผู้ท่ีสนใจใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีตอ่ ไป
สานักงบประมาณของรัฐสภา
พฤษภาคม 2564
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร -ก- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลงั ภาครัฐระดบั มหภาค หนา้
ก
สารบญั ข
1
คานา
สารบญั 4
สาระสังเขป 6
8
ด้านเศรษฐกจิ 9
1 ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมในประเทศ Gross domestic product
2 ผลติ ภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ระดับภูมิภาคและจงั หวดั 10
3 ผลติ ภัณฑ์ประชาชาติ 11
4 อตั ราเงินเฟอ้ 13
14
ภาคครัวเรือน 15
5 จานวนประชากร 18
6 สถิตดิ า้ นแรงงาน 19
7 รายไดโ้ ดยเฉลีย่ ตอ่ เดือนตอ่ ครวั เรอื น 20
8 ค่าใช้จ่ายเฉล่ยี ต่อเดอื นต่อครัวเรอื น 21
9 หน้ีสินทั้งสนิ้ เฉล่ียตอ่ ครวั เรอื น จาแนกรายจังหวัด พ.ศ. 2554 - 2560
10 สดั สว่ นของหนค้ี รัวเรือนตอ่ GDP 23
11 เส้นคา่ ความยากจน (Poverty line) 24
12 สดั สว่ นคนจน 24
13 สัมประสทิ ธคิ์ วามไม่เสมอภาค (Gini coefficient) 27
28
ดา้ นการคลัง 30
14 แผนการคลงั ระยะปานกลาง
15 ฐานะการคลังตามระบบกระแสเงนิ สดของรัฐบาล
16 โครงสร้างงบประมาณ
17 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล
18 หน้ีสาธารณะคงค้างระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 - 2562
บรรณานกุ รม
สานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร -ข- สานกั งบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลงั ภาครฐั ระดบั มหภาค
สาระสงั เขป
การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ในประเทศไทยท่ีเกิดขึ้นต้ังแต่ต้นปี 2563 และ
ทวีความรุนแรงข้ึนในเดือนเมษายน 2564 สร้างผลกระทบต่อประเทศในทุกภาคส่วน ครอบคลุมภาค
ครวั เรอื น (Households) ภาคธรุ กิจ (Business Sector) และภาครฐั (Public Sector)
ด้านเศรษฐกิจ : เกิดการหดตัว โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ปี 2563 ปรับลดลง
ร้อยละ 7.1 จากปี 2562 จาก 16.85 ล้านล้านบาท เป็น 15.69 ล้านล้านบาท และอัตราเงินเฟ้อมีค่า
ต่าสุดในรอบ 5 ปี อยู่ท่ีร้อยละ -0.85 จากการชะลอการบริโภค ซึ่งส่งผลให้การลงทุนภาคเอกชนชะลอ
ตัว นอกจากน้ี ภาคครวั เรือนกไ็ ดร้ บั ผลกระทบอยา่ งรุนแรง เหน็ ได้จากหนีภ้ าคครวั เรอื นต่อ GDP เพ่มิ ขน้ึ
สูงสุดในรอบ 10 ปี อยู่ที่ร้อยละ 89.3 ในปี 2563 จากร้อยละ 66.2 ในปี 2554 โดยวัตถุประสงค์ของ
การก่อหน้ีของภาคครัวเรือนดังกล่าว เป็นไปเพ่ือการบริโภคอุปโภคมากกว่าการลงทุน ที่จะสร้างรายได้
ในอนาคต
ภาคครัวเรือน : ตลาดแรงงานปรับตัวแย่ลงโดยเฉพาะผู้ประกอบอาชีพอิสระที่ได้รับผลกระทบ
อย่างรุนแรง ซึ่งในปี 2563 อัตราการว่างงานมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างมีนัยสาคัญเป็น 1.69 จากเดิม
ร้อยละ 0.98 ในปี 2562 โดยภาคใต้มีอัตราการว่างงานสูงถึงร้อยละ 2.38 สาหรับกลุ่มอุตสาหกรรม
ท่ีมีอัตราการว่างงานสูงท่ีสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ 1) กิจกรรมโรงแรม และการบริการด้านอาหาร
2) การขายสง่ และการขายปลกี การซอ่ มยานยนต์และรถจกั รยานยนต์ และ 3) การก่อสรา้ ง
จานวนประชากรที่มีอายุสูงกว่า 60 ปี มีอยู่ถึงร้อยละ 16.7 ซ่ึงส่งผลกระทบต่อการพัฒนา
ประเทศท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคม ทาให้กาลังแรงงานและผลิตผลลดลง ปัญหาคุณภาพชีวิตของ
ผสู้ ูงอายุ และการใช้งบประมาณจานวนมากในการจดั สวัสดกิ ารแกผ่ สู้ ูงอายุ
แนวโน้มหน้ีสินทั้งส้ินเฉล่ียทั้งครัวเรือนสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีค่าเฉล่ียท้ังประเทศ จานวน
146,713 บาท จากข้อมูลรายจังหวัด ปี พ.ศ. 2562 จังหวัดที่มีหน้ีสินเฉล่ียท้ังครัวเรือนสูงที่สุด คือ
จังหวัดปทุมธานี เท่ากับ 288,110 บาท และจังหวัดท่ีมีหนี้สินเฉล่ียท้ังครัวเรือนน้อยที่สุดคือ จังหวัด
ยะลา มเี ท่ากบั 16,895บาท
การกระจายรายได้มีความแตกต่างกันค่อนข้างมาก โดย ผลิตภัณฑ์ภาคต่อหัว (GRP per
capita) ปี 2562 ระหว่างจังหวัดที่มีค่าสูงสุดและต่าท่ีสุด มีความแตกต่างกันถึง 16.62 เท่า โดยภาค
ตะวันออก มีค่าเฉล่ียของผลิตภัณฑ์ภาคต่อหัวสูงสุดเท่ากับ 502,471 บาทต่อปี รองลงมาคือ เขต
กรุงเทพฯและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคตะวันตก ภาคใต้ ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือซ่ึงมี
ค่าเฉลี่ยของผลิตภณั ฑ์ภาคตอ่ หัวตา่ สดุ เท่ากบั 86,171 บาทตอ่ ปี
ด้านการคลัง : ประเทศมีความเส่ียงทางการคลังสูงขึ้น เนื่องจากการจัดเก็บรายได้มีแนวโน้ม
ลดลง สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP เพิ่มข้ึนอย่างมีนัยสาคญั ดุลเงินสดหลังกู้ ณ เดอื นกุมภาพันธ์ 2564
ตดิ ลบจานวน 55,874 ล้านบาท ส่งผลตอ่ ปริมาณเงินคงคลังในอนาคต เน่ืองจากเป็นแหล่งเงินสนับสนุน
การเบิกจา่ ยงบประมาณ
ในระยะ 5 ปีข้างหน้า คาดว่า การจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีจะยังคงเป็นแบบขาดดุล
งบประมาณ ซึ่งเปน็ แนวโน้มทางการคลังที่เกิดขึ้นในระยะสิบปีท่ีผ่านมา ทั้งนี้ รายจ่ายมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน
ในอัตราท่ีใกล้เคียงกับการจัดเก็บรายได้ของรัฐบาล ดังน้ัน หากเศรษฐกิจชะลอตัวหรือ GDP ลดลง
จะทาให้การจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ส่งผลให้เกิดการขาดดุลการคลัง
สานกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร -1- สานกั งบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลงั ภาครัฐ ระดบั มหภาค
และหนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มข้ึน ทั้งนี้ คาดว่า สัดส่วนหน้ีสาธารณะต่อ GDP จะยังคงมีค่าเป็นไปตาม
กรอบวินัยการเงินการคลัง ท่ีกาหนดไว้ไม่เกินร้อยละ 60 โดยการกู้เงินในอนาคตควรนาไปพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม สร้างขีดความสามารถของประเทศผ่านโครงการลงทุนโครงสร้างพนื้ ฐานเป็นหลกั
กล่าวโดยสรุป สถานการณ์เศรษฐกิจภายในและภายนอกประเทศได้รับผลกระทบจากการ
ระบาดระลอกใหม่ของไวรัส COVID-19 เศรษฐกิจมีการชะลอตัวอย่างมีนัยสาคัญ ซึ่งอาจทาให้ GDP
ขยายตัวต่ากว่าระดับที่คาดหวังไว้ไปอีกระยะหนึ่ง กิจกรรมทางเศรษฐกิจยังคงคงอยู่ในภาวะซบ้ซา
โดยเฉพาะภาคบริการและการท่องเท่ียว ซ่ึงอาจส่งผลตอ่ ภาคการคลังของประเทศ โดยภาครัฐจะจัดเก็บ
รายได้ลดลง หนี้สาธารณะเพ่ิมขึ้นจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ เพื่อเยียวยา และ
กระตุ้นเศรษฐกิจ ส่งผลให้สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ และอาจส่งผลต่อ
จานวนเงินคงเหลอื ท่จี ะสามารถกู้เงินไดต้ ามกรอบวนิ ัยการเงนิ การคลงั และแผนการคลังระยะปานกลาง
สืบเน่ืองจากวิกฤติโรคระบาดช่วงที่ผ่านมา (2 ระลอก) ทาให้อัตราการว่างงานปี 2563 เพ่ิม
สูงขึ้นอย่างมากจากปี 2562 ค่าเฉลี่ยผลติ ภณั ฑ์ภาคตอ่ หวั (GRP per capita) ปี 2562 ระหวา่ งจังหวัดที่
มีค่าสูงสุดและต่าท่ีสุด มีความแตกต่างกันถึง 16.62 เท่า การวดั การกระจายทั้งด้านรายได้ และรายจ่าย
มีแนวโน้มลดลง ภาพรวมสัดส่วนคนจนท้ังประเทศลดลง แต่ยังมีความแตกต่างระหว่างภาคอย่างมาก
สาหรับค่าเฉล่ียรายได้และค่าใช้จ่ายต่อครัวเรือน ปี 2562 รายได้เฉลี่ยยังสูงกว่าค่าใช้จ่ายเฉล่ีย
อย่างไรก็ตาม สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP เพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว และหนี้สินเฉล่ียต่อครัวเรือน ปี 2562
ยังอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากน้ี การที่ประเทศไทยกาลังจะ
เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์จะทาให้อัตรารายได้เฉลี่ยที่แรงงานจะได้รับลดลงและส่งผลลบต่อผลิต
ภาพแรงงานเฉล่ยี
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
เนื่องจากประเทศไทยพ่ึงพารายได้จากภาคบริการและการส่งออกเป็นหลัก ส่งผลให้การฟ้ืนตัว
ทางเศรษฐกิจและสังคมเป็นไปอย่างล่าช้า โดยข้ึนอยู่กับปัจจัยท้ังในประเทศและต่างประเทศ รัฐบาลจึง
จาเป็นต้องเรง่ ดาเนินการฟน้ื ฟปู ระเทศในประเดน็ ต่าง ๆ ดงั นี้
1. เร่งการสนับสนุนงานด้านสาธารณสุข โดยเฉพาะการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ (Herd Immunity)
ด้วยการกระจายการฉีดวัคซีนให้กับประชาชน เพ่ือให้สามารถใช้ชีวิตตามปกติ และการสร้างความ
เช่ือมัน่ ใหก้ บั ต่างประเทศ
2. กระตุน้ ให้เกิดกาลังซือ้ และความเช่ือมน่ั ในการบริโภคในภาคประชาชน
3. ส่งเสริมภาคบริการ โดยเฉพาะภาคการทอ่ งเท่ยี วให้ฟ้ืนตวั อยา่ งรวดเรว็
4. สง่ เสรมิ ศักยภาพ SME ใหม้ สี ภาพคล่องเพียงพอท่จี ะดาเนินธุรกจิ
5. กระจายความเจริญสู่ภูมิภาค สร้างศักยภาพการแข่งขันให้กับทุกภูมิภาค เพื่อลดสัดส่วน
คนจน และความเหลื่อมล้าในการกระจายรายได้
6. ส่งเสริมศักยภาพแรงงานและวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอย่างเป็น
ระบบ ให้มีทักษะการทางานภายใต้สถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงไป และการนานวัตกรรม หรือ
เทคโนโลยีเขา้ มาใชใ้ นกระบวนการผลติ เพ่ือทดแทนแรงงานในภาวะที่ประเทศเขา้ ส่สู งั คมสูงวัย
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -2- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลังภาครฐั ระดับมหภาค
ด้านเศรษฐกจิ
1. ผลิตภัณฑม์ วลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP)
ทม่ี า: สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ประกอบด้วย (1) GDP ภาคเกษตรกรรม (2) GDP นอกภาคเกษตรกรรม
ทีม่ า: สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -3- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลังภาครฐั ระดบั มหภาค
ท่ีมา: สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
GDP ช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ปี 2554 - 2563) พบว่า ปรับเพ่ิมข้ึนจาก 11.30 ล้านล้านบาทในปี
2554 เป็น 15.69 ล้านล้านบาทในปี 2563 ซึ่งมีอัตราการเติบโตต่อปีส่วนใหญ่อยู่ในแดนบวก แต่
หลังจากเกิดภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และการระบาดของไวรัสโควิด 19 ทาให้ GDP ลดลงร้อยละ -
7.13 โดยเฉลย่ี ร้อยละ 90 มาจากนอกภาคเกษตรกรรม และสว่ นทเ่ี หลือร้อยละ 10 จากภาคเกษตรกรรม
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรกรรม ปรับเพิ่มขึ้นจาก 1.31 ล้านล้านบาท ในปี 2554
เป็น 1.36 ล้านล้านบาทในปี 2563 โดยอตั ราการเปลี่ยนแปลงไม่มีแนวโน้มท่ีชัดเจน จะเห็นไดว้ ่า ขนาด
ของวงเงินมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นอย่างจากัด ทาให้อัตราการเติบโตไม่สม่าเสมอ ในขณะท่ีผลิตภัณฑ์
มวลรวมในประเทศนอกภาคเกษตรกรรม ปรับเพ่ิมขึ้นจาก 9.99 ล้านล้านบาท ในปี 2554 เป็น 14.33
ลา้ นลา้ นบาท ในปี 2563 ซึง่ มีอตั ราการเตบิ โตลดลงจากปีกอ่ นหนา้
การเปลี่ยนแปลงของ GDP ทั้งจากภาคเกษตรกรรมและนอกภาคเกษตรกรรมมีอัตรา
การขยายตัวไม่มีทิศทางที่ชัดเจน และมีแนวโน้มปรับตัวลงอย่างมากในปี 2563 เนื่องจาก เศรษฐกิจ
ชะลอตัวจากผลกระทบของโรคระบาด COVID 19 ปัญหาภัยแล้ง และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
ประชากรท่ีทาใหว้ ยั แรงงานมแี นวโน้มลดลง
สานักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร -4- สานักงบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลงั ภาครัฐ ระดบั มหภาค
2. ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศ ระดบั ภมู ิภาคและจังหวดั
ภาวะเศรษฐกิจไทยในปี 2562 พิจารณาจาแนกตามรายภูมิภาค พบว่า ภาคใต้ เขตกรุงเทพฯ
และปริมณฑล ภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปรับตัวดีขึ้น
เล็กน้อยจากปี 2561 โดยขยายตัวร้อยละ 4.71 ร้อยละ 4.42 ร้อยละ 2.84 ร้อยละ 1.78 ร้อยละ 1.76
และ ร้อยละ 1.66 ตามลาดับ ส่วนภาคกลาง ชะลอตัวลงร้อยละ -0.16 โดยมีโครงสร้างสาขาการ
ผลติ หลักของแต่ละภมู ภิ าค ดงั นี้
1) เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีสัดส่วนสูงท่ีสุดร้อยละ 47.50 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมใน
ประเทศ สาขาการผลิตหลักของพน้ื ท่นี ี้ ได้แก่ สาขาการผลติ สินคา้ อุตสาหกรรมสาขาการขายส่งและการ
ขายปลกี ฯ และ สาขากจิ กรรมทางการเงินและการประกันภัย
2) ภาคตะวันออก มีสัดส่วนร้อยละ 18.01 สาขาการผลิตหลัก ได้แก่ สาขาการผลิตสินค้า
อุตสาหกรรม สาขาการขายส่งและการขายปลีกฯ และ สาขาการทาเหมอื งแรแ่ ละเหมืองหนิ
3) ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือมีสัดส่วนร้อยละ 9.45 สาขาการผลิตหลัก ได้แก่ สาขาเกษตรกรรม
ฯ สาขาการผลติ สนิ คา้ อตุ สาหกรรม และสาขาการขายสง่ และการขายปลีกฯ
4) ภาคใต้ มีสัดส่วนร้อยละ 8.72 สาขาการผลิตหลัก ได้แก่ สาขาเกษตรกรรมฯ สาขาที่พักแรม
และบริการด้านอาหาร และสาขาการขายสง่ และการขายปลีกฯ
5) ภาคเหนือ มีสัดส่วนร้อยละ 7.69 สาขาการผลิตที่สาคัญ ได้แก่ สาขาเกษตรกรรมฯ สาขา
การผลติ สินคา้ อตุ สาหกรรม และสาขาการขายส่งและการขายปลีกฯ
6) ภาคกลาง มสี ัดส่วนรอ้ ยละ 5.10 สาขาการผลิตหลกั ไดแ้ ก่ สาขาการผลติ สนิ คา้ อตุ สาหกรรม
สาขาการขายส่งและการขายปลีกฯ และ สาขาเกษตรกรรมฯ
7) ภาคตะวันตก มีสัดส่วนร้อยละ 3.54 สาขาการผลิตหลัก ได้แก่ สาขาการผลิตสินค้า
อุตสาหกรรม สาขาเกษตรกรรมฯ และสาขาการขายสง่ และการขายปลีกฯ
ภาค GRP ประชากร GRP PER สดั ส่วน GRP
(ล้านล้านบาท) ปี 2562 CAPITA 2562 GRP 2562 2561 และ 2562
(พนั คน) (รอ้ ยละ)
2560 2562 (บาท) ความ ร้อยละ
47.50 แตกต่าง
กรงุ เทพและ 7.69 8.03 16.93 474,004
ปรมิ ณฑล 18.01 0.34 4.42
ภาคตะวนั ออก 2.99 3.04 6.06 502,471 9.45
ภาค 1.57 1.60 18.52 86,171 0.05 1.76
ตะวันออกเฉยี งเหนือ 8.72 0.03 1.66
ภาคใต้ 1.41 1.47 9.59 153,659 7.69
ภาคเหนือ 1.26 1.30 11.37 114,287 5.10 0.07 4.71
ภาคกลาง 0.86 0.86 3.18 271,360 3.54 0.04 2.84
ภาคตะวันตก 0.59 0.60 3.67 163,129 100 0.00 -0.16
236,860 0.01 1.78
รวมท้ังประเทศ 16.37 16.90 69.32
0.53 3.32
ท่มี า: สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร -5- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลงั ภาครฐั ระดบั มหภาค
ผลิตภัณฑ์ภาคตอ่ หัว (GRP per capita)
ปี 2562 ภาคตะวันออก มีค่าเฉล่ียของผลิตภัณฑ์ภาคต่อหัวสูงสุดเท่ากับ 502,471 บาทต่อปี
รองลงมาคือ เขตกรุงเทพฯและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคตะวันตก ภาคใต้ ภาคเหนือ และภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนือซึ่งมีค่าเฉลยี่ ของผลติ ภัณฑ์ภาคตอ่ หัวตา่ สุดเท่ากับ 86,171 บาทตอ่ ปี
GRP per capita และอัตราเพิม่ ขน้ึ ปี 2561-2562
ภาค GRP Per capita (บาทตอ่ ป)ี อตั ราเพ่มิ (ร้อยละ)
ตะวนั ออก 2560 2561 2562 2561 2562
กทม. และปรมิ ณฑล 479,960 502,492 502,471 4.69 (0.00)
436,667 458,549 474,004 5.01 3.37
กลาง 264,183 271,731 271,360 2.86 (0.14)
ตะวนั ตก 150,365 160,253 163,129 6.58 1.79
ใต้ 144,551 147,600 153,659 2.11 4.11
เหนือ 104,451 110,656 114,287 5.94 3.28
ตะวันออกเฉียงเหนอื 80,976 84,434 86,171 4.27 2.06
243,787 5.21 2.92
เฉลยี่ ทง้ั ประเทศ 225,126 236,860
ท่มี า: สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ
ผลติ ภณั ฑจ์ ังหวัดต่อหวั (GPP per capita)
ปี 2562 จงั หวดั ที่มีผลติ ภัณฑจ์ งั หวัดตอ่ หวั สูง ส่วนใหญ่อยูใ่ นพนื้ ท่ีภาคตะวันออก เขตกรงุ เทพฯ
และปริมณฑล และภาคกลาง โดยจังหวัดระยอง มีผลิตภัณฑ์จังหวดั ต่อหัวสูงสุดที่ 988,748 บาทต่อคน
ตอ่ ปี ส่วนจังหวดั ท่ีมีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวต่า ได้แก่ จังหวัดนราธิวาส มีผลิตภัณฑ์จังหวัดตอ่ หัวตา่ สุดที่
59,498 บาทต่อคนต่อปี หรือมีความแตกต่างกับผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวของจังหวัดระยอง เท่ากับ
16.62 เท่า
ทั้งนี้ จังหวัดที่มีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ ระยอง กรุงเทพมหานคร
ชลบุรี ปราจีนบุรี และ ฉะเชิงเทรา ตามลาดับ ส่วนจังหวัดที่มีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวอยู่ใน 5 ลาดับ
ต่าสุด คือ นราธวิ าส ยโสธร หนองบวั ลาภู แมฮ่ ่องสอน และสกลนคร ตามลาดับ
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร -6- สานกั งบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลังภาครัฐ ระดบั มหภาค
ผลิตภณั ฑจ์ งั หวดั ต่อหวั ปี 2562
10 อันดับที่ตา่ ท่ีสุด บาทตอ่ ปี 10 อนั ตับทสี่ ูงท่สี ดุ บาทต่อปี
นราธวิ าส 59,498 สระบรุ ี 336,393
ยโสธร 349,406
หนองบัวลาภู 62,623 สมุทรปราการ 388,372
แมฮ่ อ่ งสอน 428,351
สกลนคร 63,002 สมุทรสาคร 439,159
มุกดาหาร 459,005
บึงกาฬ 63,370 ภูเก็ต 551,150
ชยั ภูมิ 571,234
อานาจเจริญ 65,900 อยธุ ยา 637,397
อุบลราชธานี 988,748
66,599 ฉะเชิงเทรา
68,727 ปราจนี บรุ ี
70,159 ชลบุรี
71,815 กรงุ เทพมหานคร
72,607 ระยอง
ทมี่ า: สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ
3. ผลิตภณั ฑป์ ระชาชาติ
ท่ีมา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
มูลค่าผลิตภัณฑ์ประชาชาติปรับเพ่ิมข้ึนจาก 166,356 บาทต่อคนในปี 2554 เป็น 234,806
บาทต่อคนในปี 2562 โดยซ่งึ มแี นวโนม้ เตบิ โตมาโดยตลอด
อย่างไรก็ตาม รายได้ประชาชาติยังไม่สามารถบ่งชี้การกระจายรายได้เท่าที่ควร โดยรายได้
ประชาชาติท่ีวัดได้อาจต่ากว่าความเป็นจริง เนื่องจากการคานวณรายได้ประชาชาตินั้นจะรวมเฉพาะ
ธุรกรรมท่ีผ่านระบบตลาดเท่านั้น แต่ในประเทศไทยมีธุรกรรมที่ไม่ผ่านระบบตลาด เช่น การปลูกพืช
เล้ียงสัตว์ การทางานท่ีบ้าน เปน็ ต้น อยเู่ ป็นจานวนมาก
สานกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร -7- สานกั งบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลังภาครัฐ ระดับมหภาค
4. อตั ราเงินเฟอ้
ที่มา: ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉล่ียปี 2563 เท่ากับ -0.85 ลดลงต่าสุดในรอบ 5 ปี (พ.ศ. 2559 - 2563)
โดยมีปัจจัยสาคัญจากการลดลงของกลุ่มพลังงาน (ร้อยละ -11.55) และ หมวดเคหสถาน (ร้อยละ
-1.02) ตามราคาน้ามันตลาดโลกท่ีมีความต้องการลดลง และมาตรการต่างๆของรัฐเพื่อช่วยลดค่าครอง
ชพี อย่างไรก็ตาม หมวดอาหารสด สูงข้ึนร้อยละ 1.72 เน่ืองจากปริมาณผลผลิตน้อย และเปน็ ชว่ งวิกฤติ
โรคโควดิ 19 และอัตราเงินเฟ้อยังคงมีแนวโน้มทีต่ า่ ต่อไปอกี ระยะหนงึ่ เนื่องจากผลกระทบจากเศรษฐกจิ
โลก และการระบาดของโรคโควดิ 19
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร -8- สานักงบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลงั ภาครัฐ ระดับมหภาค
ภาคครวั เรือน
5. จานวนประชากร
ท่ีมา: กรมการปกครอง
หมายเหตุ : ไม่รวม ผ้เู กิดในปจี นั ทรคติ ผมู้ ีช่ืออยู่ในทะเบียนบา้ นกลาง ประชากรทไี่ มใ่ ชส่ ญั ชาติไทย
ท่มี า: กรมการปกครอง
ขอ้ มูลจากกรมการปกครอง ณ เดอื นธันวาคม 2563 พบว่า ประเทศไทยมีประชากร 66.19
ลา้ นคน จาแนกเป็นหญงิ 33.81 ล้านคน หรอื ร้อยละ 51.08 และชาย 32.37 ลา้ นคน หรอื ร้อยละ
48.92 แบง่ ตามช่วงอายุ จะพบว่า ประชากรสว่ นใหญอ่ ยู่ในช่วงอายุ 41-50 ปี ร้อยละ 15.84 และ
รองลงมาอยชู่ ่วงอายุ 31-40 ปี และ 51-60 ปี โดยมีสดั สว่ นใกล้เคยี งกัน
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -9- สานักงบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลงั ภาครฐั ระดับมหภาค
6. สถติ ดิ า้ นแรงงาน
6.1 จานวนแรงงานในระบบและนอกระบบ
ทีม่ า: สานกั งานสถิติแห่งชาติ
ปี 2554 - 2563 จานวนแรงงานในระบบเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง จาก 14.73 ล้านคนในปี 2554
เป็น 17.56 ล้านคนในปี 2563 หรือร้อยละ 16.37 ในขณะที่แรงงานนอกระบบมีจานวนลดลงจาก
24.59 ล้านคนในปี 2554 เป็น 20.36 ล้านคน หรือร้อยละ 17.17
6.2 จานวนผปู้ ระกนั ตนภาคบงั คบั (มาตรา 33)
ทม่ี า: ธนาคารแหง่ ประเทศไทย และสานักงานประกนั สงั คม
จานวนผู้ประกันตนภาคบังคับ (มาตรา 33) มีจานวนเพ่ิมข้ึน จาก 9.05 ล้านคน ในปี 2554 เป็น
11.12 ล้านคน ในปี 2563 หรือ ร้อยละ 29.55 ท้ังน้ี ข้อมูลการจ้างงานในตลาดแรงงานของสานักงาน
ปลัดกระทรวงแรงงาน พบว่า ในเดือนกุมภาพันธ์ 2563 มีแรงงานในระบบประกันสังคมหรือผู้ประกันตน
มาตรา 33 จานวน 11.12 ล้านคน
สานกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร -10- สานักงบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลังภาครฐั ระดบั มหภาค
6.3 อัตราการว่างงาน
ท่มี า: ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
การสารวจภาวะการทางานของประชากร ช่วงปี 2554 - 2563 พบว่า ภาพรวมท้ังประเทศมี
อัตราการว่างงานเพิ่มข้ึนจากร้อยละ 0.68 เป็นร้อยละ 1.69 ซึ่งเพ่ิมข้ึนกว่าปี 2562 เกือบเท่าตัว
เน่ืองจาก การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก และการระบาดของโรค COVID-19 และจากข้อมูลรายภาค ปี
2563 อัตราการว่างงานของทุกภาคก็เพ่ิมข้ึนอย่างมีนัยสาคัญ โดยภาคใต้มีอัตราการว่างงานสูงที่สุด
เท่ากับ ร้อยละ 2.38 และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอัตราการว่างงานต่าท่ีสุด เท่ากับ ร้อยละ 1.37
ท้ังนี้ อตั ราการว่างงานเดอื น กุมภาพันธ์ และมีนาคม 2563 เทา่ กับ 1.09 และ 1.03 ตามลาดับ
สานกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร -11- สานักงบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลังภาครัฐ ระดบั มหภาค
7. รายไดโ้ ดยเฉลี่ยตอ่ เดือนต่อครัวเรือน
ท่มี า: สานักงานสถิตแิ หง่ ชาติ
การเปรียบเทียบรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน เป็นรายภาค จากปี 2554 ถึง 2562 พบว่า
กรุงเทพมหานครยังคงมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนสูงที่สุด แต่ภาคที่มีรายได้ต่อเดือนต่าที่สุด คือ ภาคเหนือ
โดยมีอตั ราความเปล่ียนแปลงของแตล่ ะภาค ดังน้ี
1. ทว่ั ราชอาณาจักร เพ่ิมขึ้นจาก 23,236 บาท เป็น 26,018 บาทต่อเดอื น หรอื ร้อยละ 11.97
2. กรงุ เทพมหานคร ลดลงจาก 41,631 บาท เป็น 37,751 บาทตอ่ เดือน หรอื ร้อยละ -9.32
3. ภาคกลาง เพม่ิ ขึ้นจาก 20,288 บาท เป็น 25782 บาทต่อเดอื น หรือ ร้อยละ 23.82
4. ภาคเหนอื เพิ่มขึน้ จาก 17,350 บาท เปน็ 20270 บาทต่อเดอื น หรือ ร้อยละ 16.83
5. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื เพิม่ ขนึ้ จาก 18,217 บาท เปน็ 20,600 บาทต่อเดอื น หรือ ร้อยละ
13.08
6. ภาคใต้ ลดลงจาก 27,326 บาท เป็น 25,647 บาทต่อเดือน หรอื รอ้ ยละ -6.14
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -12- สานักงบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลังภาครฐั ระดับมหภาค
8. ค่าใชจ้ ่ายเฉลี่ยต่อเดือนต่อครวั เรือน
ทีม่ า: การสารวจภาวะเศรษฐกจิ และสังคมของครวั เรอื น สานักงานสถติ ิแห่งชาติ กระทรวงดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม
หมายเหตุ: 1. ค่าใช้จ่ายเฉล่ียต่อเดือนของครัวเรือน หมายถึง ค่าใช้จ่ายเฉล่ียท่ีจาเป็นต้องใช้ในการยังชีพ โดยไม่รวมค่าใช้จ่ายค่าใช้จ่าย
ประเภทสะสมทนุ เช่น การซ้ือบา้ น ทีด่ นิ เปน็ ตน้
2. คา่ ใชจ้ า่ ยทไ่ี มเ่ ก่ียวกบั การอปุ โภคบรโิ ภค รวมคา่ ภาษี ของขวัญ และเงนิ บริจาค เบี้ยประกนั ภัย เงนิ ซื้อสลากกนิ แบง่ ดอกเบี้ย
เงนิ กู้ และค่าใชจ้ ่ายอนื่ ๆ ที่ไม่เก่ยี วกับการอุปโภคบรโิ ภค
ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยตอ่ ครัวเรือนเฉล่ียท้ังประเทศ เปรียบเทียบระหว่างปี 2554-2562 เพ่ิมสูงขึ้นจาก
17,403 บาท ในปี 2554 เปน็ 20,742 บาท หรอื รอ้ ยละ 19.19 โดยภาคกลางมอี ตั ราการเพม่ิ ข้นึ เทา่ กบั
ร้อยละ 21.77 ในขณะที่ภาคใต้มอี ตั ราการเพมิ่ ขึน้ ตดิ ลบ เท่ากับร้อยละ -0.44
โดยมีอัตราความเปล่ียนแปลงของแตล่ ะภาค ดังน้ี
1. ทัว่ ราชอาณาจกั ร เพมิ่ ข้ึนจาก 17,403 บาท เป็น 20,742 บาทตอ่ เดอื น หรือ รอ้ ยละ 19.19
2. กรงุ เทพมหานคร ลดลงจาก 27,566 บาท เป็น 30,778 บาทตอ่ เดอื น หรอื รอ้ ยละ 11.65
3. ภาคกลาง เพิม่ ข้ึนจาก 16,954 บาท เป็น 20,645 บาทต่อเดอื น หรือ รอ้ ยละ 21.77
4. ภาคเหนอื เพ่มิ ขึน้ จาก 13,668 บาท เปน็ 15,329 บาทตอ่ เดอื น หรอื รอ้ ยละ 14.46
5. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ เพม่ิ ขึน้ จาก 14,375 บาท เป็น 16,553 บาทตอ่ เดือน หรอื รอ้ ยละ 15.15
6. ภาคใต้ ลดลงจาก 19,686 บาท เป็น 19,641 บาทต่อเดือน หรอื ร้อยละ 0.44
สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร -13- สานกั งบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลงั ภาครฐั ระดับมหภาค
9. หนีส้ นิ ท้งั สน้ิ เฉลย่ี ตอ่ ครัวเรือน จาแนกรายจังหวดั พ.ศ. 2554 – 2562 หน่วย: บาท
ภาค จงั หวัด 2554 2556 2558 2560 2562
ทง้ั ประเทศ รวมทง้ั สิน้ 9,387,759 11,470,796 12,038,659 13,362,222 12,143,194
กรุงเทพมหานคร เฉลยี่ 123,523 148,971 156,346 173,535 157,704
ภาคกลาง กรงุ เทพมหานคร 218,741 275,577 164,706 202,700 180,297
รวมภาค 2,891,185 4,060,922 3,745,770 4,276,727 3,737,502
ภาคเหนอื เฉลย่ี 115,647 162,437 149,831 171,069 149,500
สมทุ รปราการ 115,169 207,741 87,647 179,804 123,126
นนทบุรี 258,853 260,752 277,606 288,940 248,010
ปทมุ ธานี 145,293 386,957 221,748 294,901 288,110
พระนครศรอี ยุธยา 81,609 106,260 216,816 234,446 235,806
อ่างทอง 133,918 212,498 132,829 117,942 120,418
ลพบรุ ี 87,009 97,449 92,474 69,611 81,028
สิงหบ์ รุ ี 133,378 151,450 168,239 187,918 117,751
ชัยนาท 175,957 264,144 273,336 286,888 200,562
สระบุรี 142,504 248,741 197,696 286,460 245,176
ชลบุรี 186,509 159,084 149,192 170,023 124,323
ระยอง 104,910 171,432 145,527 124,478 42,507
จันทบรุ ี 124,266 110,504 130,258 186,072 144,098
ตราด 91,346 147,139 147,114 193,675 158,440
ฉะเชิงเทรา 102,745 217,298 75,443 80,062 50,753
ปราจนี บรุ ี 127,503 110,519 161,433 135,499 131,928
นครนายก 77,091 134,040 144,657 112,920 140,247
สระแกว้ 106,147 166,090 249,127 169,876 188,177
ราชบุรี 116,257 192,593 104,894 255,930 191,123
กาญจนบุรี 68,786 105,780 89,862 157,164 178,101
สพุ รรณบรุ ี 53,265 36,593 50,553 45,861 60,153
นครปฐม 59,484 175,894 153,504 75,904 105,576
สมทุ รสาคร 104,822 56,367 128,830 104,677 139,201
สมุทรสงคราม
เพชรบุรี 9,244 9,857 8,090 130,743 63,515
ประจวบครี ขี ันธ์ 125,291 109,519 170,522 226,175 185,828
รวมภาค 159,828 222,219 168,374 160,757 173,544
เฉลี่ย 2,066,749 2,492,391 2,731,417 3,018,447 2,663,370
เชียงใหม่ 121,573 146,611 160,672 177,556 156,669
ลาพูน 89,080 39,182 31,196 115,220 112,077
ลาปาง 177,830 188,174 231,587 228,039 192,726
อตุ รดติ ถ์ 157,080 174,046 119,216 197,836 153,688
แพร่ 112,976 125,871 149,576 156,686 184,059
น่าน 131,010 149,357 180,460 158,585 180,970
126,774 188,161 162,325 201,992 179,748
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร -14- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลงั ภาครฐั ระดบั มหภาค
ภาค จังหวดั 2554 2556 2558 2560 2562
ภาคตะวนั ออก
เฉยี งเหนือ พะเยา 104,638 80,663 148,001 150,059 84,865
เชียงราย 111,092 44,956 73,166 30,608 99,624
ภาคใต้ แมฮ่ ่องสอน 41,957 38,341 123,172 122,602 74,586
นครสวรรค์ 174,706 232,771 188,941 211,666 174,064
อทุ ัยธานี 140,001 219,238 194,462 263,755 204,890
กาแพงเพชร 105,745 178,672 204,669 210,410 179,776
ตาก 60,390 120,246 145,791 127,988 87,070
สโุ ขทัย 122,772 176,298 218,302 230,998 203,014
พษิ ณโุ ลก 157,766 224,876 263,135 273,212 203,702
พิจิตร 161,005 208,219 148,751 176,992 160,780
เพชรบูรณ์ 91,930 103,320 148,667 161,800 187,733
รวมภาค 2,634,889 2,727,477 3,172,649 3,568,781 3,496,398
เฉลย่ี 138,678 136,374 158,632 178,439 174,820
นครราชสีมา 116,108 170,703 245,760 223,239 285,595
บุรรี ัมย์ 161,895 117,814 159,766 131,638 123,403
สรุ ินทร์ 196,381 187,498 246,348 251,796 256,332
ศรีสะเกษ 112,526 191,057 135,277 189,528 170,138
อบุ ลราชธานี 173,065 166,222 136,208 195,122 138,854
ยโสธร 165,082 63,643 123,720 121,377 69,665
ชยั ภมู ิ 105,134 164,135 155,902 194,195 183,326
อานาจเจริญ 145,074 134,560 173,276 226,033 216,777
บึงกาฬ 69,432 257,989 212,781 220,843
หนองบัวลาภู - 96,118 140,079 187,626 143,822
ขอนแก่น 121,289 79,850 62,493 90,787 75,036
อดุ รธานี 77,193 167,665 197,757 171,114 238,094
เลย 165,688 103,670 169,523 148,124 244,140
หนองคาย 123,951 80,636 107,736 98,463 77,924
มหาสารคาม 64,424 194,195 128,258 248,623 224,948
รอ้ ยเอด็ 167,718 244,163 149,907 182,396 97,318
กาฬสินธุ์ 187,017 124,725 131,577 134,002 190,144
สกลนคร 154,871 157,855 164,190 197,078 174,896
นครพนม 138,725 90,411 102,816 192,868 234,936
มุกดาหาร 76,338 123,125 184,067 171,992 130,206
รวมภาค 182,411 1,914,430 2,224,118 2,295,568 2,065,627
เฉลยี่ 1,576,195 136,745 158,866 163,969 147,545
นครศรธี รรมราช 112,585 123,678 164,476 152,743 167,206
กระบี่ 89,625 168,946 373,325 289,237 216,586
พังงา 177,495 123,376 164,167 131,646 73,554
ภเู กต็ 82,728 91,904 135,376 239,552 236,635
สรุ าษฎรธ์ านี 71,829 198,998 219,065 240,462 143,906
144,725
สานักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร -15- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลังภาครฐั ระดับมหภาค
ภาค จังหวัด 2554 2556 2558 2560 2562
ระนอง 161,420 180,869 106,994 156,195 122,787
ชมุ พร 130,164 197,459 199,746 157,728 118,778
สตูล 101,355 155,314 145,458 166,361 177,974
สงขลา 107,472 161,526 172,272 174,405 125,826
ตรงั 154,678 160,207 131,873 177,207 210,015
พัทลุง 169,819 162,249 206,986 183,718 205,324
ปัตตานี 83,777 109,103 141,540 137,592 197,894
ยะลา 60,167 35,829 22,272 28,438 16,895
นราธิวาส 40,943 44,974 40,567 60,283 52,249
ทีม่ า: สานกั งานสถิติแห่งชาติ
ทม่ี า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 - 2562 ประเทศไทยมีแนวโน้มหนี้สินท้ังสิ้นเฉลี่ยทั้งครัวเรือนสูงขึ้น
มีค่าเฉลี่ยทั้งประเทศ เท่ากับ 146,713 บาท โดยเม่ือจาแนกเป็นรายจังหวัด ในปีพ.ศ. 2562 พบว่า
จังหวัดที่มีหนี้สินเฉลี่ยท้ังครัวเรือนสูงท่ีสุดคือ จังหวัดปทุมธานี เท่ากับ 288,110 บาท และจังหวัดท่ีมี
หนส้ี ินเฉล่ยี ทั้งครวั เรือนนอ้ ยทส่ี ุดคอื จงั หวดั ยะลา เทา่ กับ 16,895บาท
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร -16- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลังภาครัฐ ระดบั มหภาค
เมื่อจาแนกเป็นรายภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร พบว่า ในปี พ.ศ. 2560 กรุงเทพมหานคร มี
หน้ีสินเฉลี่ยท้ังครัวเรือนสูงท่ีสุด จานวน 180,297 บาท ลาดับถัดไปได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ โดยมีรายละเอียดในแตล่ ะภมู ภิ าค ดังน้ี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีหน้ีสินเฉลี่ยท้ังครัวเรือนเฉลี่ยรายภาค จานวน 174,820 บาท โดย
จังหวัดท่ีมีหน้ีสินเฉลี่ยทั้งครัวเรือนสูงที่สุด 3 อันดับแรก คือ 1) นครราชสีมา 2) สุรินทร์ 3) เลย และ
จังหวดั ทม่ี ีหนส้ี ินเฉลี่ยท้ังครัวเรอื นต่าทีส่ ุด 3 อันดบั แรก คือ 1) ยโสธร 2) ขอนแก่น 3) หนองคาย
ภาคเหนือ มหี นีส้ นิ เฉลยี่ ทั้งครวั เรอื นเฉล่ยี รายภาค จานวน 156,669 บาท โดยจงั หวดั ทีม่ ีหนสี้ ิน
เฉลี่ยท้ังครัวเรือนสูงที่สุด 3 อันดับแรก คือ 1) อุทัยธานี 2) พิษณุโลก 3) สุโขทัย และจังหวัดท่ีมีหน้ีสิน
เฉลีย่ ท้ังครวั เรอื นตา่ ท่ีสุด 3 อนั ดบั แรก คอื 1) แม่ฮ่องสอน 2) พะเยา 3) ตาก
ภาคกลาง มหี นสี้ นิ เฉลี่ยท้งั ครัวเรอื นเฉล่ยี รายภาค จานวน 149,500 บาท โดยจังหวัดท่ีมีหนส้ี นิ
เฉลี่ยท้ังครัวเรือนสูงที่สุด 3 อันดับแรก คือ 1) ปทุมธานี 2) นนทบุรี 3) สระแก้ว และจังหวัดท่ีมีหน้ีสิน
เฉลย่ี ทัง้ ครวั เรือนตา่ ท่สี ดุ 3 อันดับแรก คอื 1) ระยอง 2) ฉะเชิงเทรา 3) สุพรรณบุรี
ภาคใต้ มีหนี้สินเฉล่ียท้ังครัวเรือนเฉลี่ยรายภาค จานวน 147,545 บาท โดยจังหวัดท่ีมีหน้ีสิน
เฉลี่ยท้ังครัวเรือนสูงท่ีสุด 3 อันดับแรก คือ 1) ภูเก็ต 2) กระบี่ 3) ตรัง และจังหวัดที่มีหน้ีสินเฉลี่ยทั้ง
ครวั เรอื นต่าท่ีสดุ 3 อันดบั แรก คอื 1) ยะลา 2) นราธวิ าส 3) พังงา
10. สดั ส่วนของหนค้ี รวั เรือนตอ่ GDP
เคร่ืองชี้สินเช่ือภาคครัวเรือนจากสถาบันการเงินต่อ GDP : คานวณจากยอดคงค้างสินเช่ือภาคครัวเรือน (เงิน
ใ ห้ กู้ จ า ก ส ถ า บั น รั บ ฝ า ก เ งิ น แ ล ะ ส ถ า บั น ก า ร เ งิ น อื่ น ) ห า ร ด้ ว ย ผ ล ร ว ม ข อ ง GDP ใ น ช่ ว ง
4 ไตรมาสยอ้ นหลงั
ทม่ี า: ธนาคารแห่งประเทศไทย
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร -17- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลงั ภาครฐั ระดับมหภาค
สินเชื่อจากสถาบันการเงินต่อ GDP ช่วง 10 ปีท่ีผ่านมา (ปี 2554 - 2563) พบว่า มีการเร่งตัว
เพิ่มข้ึนอย่างมาก จากร้อยละ 66.2 ในปี 2554 เป็น ร้อยละ 89.3 ในปี 2563 ทั้งน้ี สิ่งท่ีควรพิจารณา
เก่ียวกับหนี้ภาคครัวเรือน คือวัตถุประสงค์ของการก่อหน้ีของภาคครัวเรือนควรส่งเสริมให้ใช้สินเช่ือไป
เพ่อื การลงทนุ หรือสร้างรายได้มากกวา่ ท่จี ะใช้อุปโภคบริโภค
11. เส้นคา่ ความยากจน (Poverty line)
เส้นความยากจน เป็นการคานวณเป็นตัวเงินที่สะท้อนต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายของปัจเจกบคุ คลใน
การได้มาซ่ึงอาหารและส่ิงจาเป็นพ้ืนฐานท่ีทาให้สามารถดารงชีวิตได้ มีหน่วยเป็นบาทต่อเดือน หาก
บุคคลใดมรี ะดบั รายได้ หรอื ค่าใช้จ่าย (ระดบั การบริโภค) ตา่ กวา่ เส้นคา่ ความยากจนถอื วา่ เปน็ คนจน
ทม่ี า: สานกั งานสถติ แิ ห่งชาติ
ปี 2562 เส้นแบ่งความยากจนท่ัวประเทศ อยู่ท่ี 2,763 บาท ต่อคน ต่อเดือน ซ่ึงต่ากว่าเส้นแบ่ง
ความยากจนในกรุงเทพมหานครที่ 3,276 บาท ต่อคน ต่อเดือน เส้นแบ่งความยากจนในภาคกลางที่
2,933 บาท ต่อคน ต่อเดือน และเส้นแบ่งความยากจนในภาคใต้ท่ี 2,820 บาท ต่อคนต่อเดือน ท้ังนี้
ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเส้นค่าความยากจนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ อยู่ที่ 2,463
และ 2,476 บาท ต่อคน ต่อเดือน ตามลาดับ
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -18- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลังภาครัฐ ระดบั มหภาค
12. สัดส่วนคนจน
ท่ีมา: สานักงานสถติ แิ ห่งชาติ
ปี 2562 สัดส่วนคนจนแต่ละภาคมีอัตราส่วนลดลงจากปี 2560 โดยสัดส่วนคนจนเฉลี่ยทั้ง
ประเทศ เท่ากับ ร้อยละ 6.24 โดย ภาคใต้มีสัดส่วนคนจนมากท่ีสุดท่ีร้อยละ 11.27 รองลงมาคือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 8.37 ภาคเหนือ ร้อยละ 6.67 และภาคกลาง ร้อยละ 4.23 ทั้งน้ี
กรงุ เทพมหานคร มีสัดสว่ นคนจนนอ้ ยท่ีสุดคือ ร้อยละ 0.59
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -19- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลงั ภาครัฐ ระดบั มหภาค
13. สัมประสทิ ธ์ิความไม่เสมอภาค (Gini coefficient)
ค่าสัมประสิทธิ์ จีนี่ (Gini coefficient): เป็นเครื่องมือในการวดั ความไม่เท่าเทียมในรูปของสัดส่วน
(Gini ratio) ซง่ึ ค่าอยูร่ ะหวา่ ง 0 กับ 1
การแปลความหมาย: ยิ่งค่าเข้าใกล้ 1 มากเท่าไรแสดงว่าแสดงว่าความไม่เท่าเทียมกันของรายจ่าย
เพอ่ื การอุปโภคบริโภคมมี ากขน้ึ
13.1 สัมประสทิ ธิค์ วามไมเ่ สมอภาค (Gini coefficient) ของรายได*้ จาแนกตามภาค และเขต
พ้ืนท่ี
หนว่ ย: รอ้ ยละ
ป/ี ภาค ทว่ั กรงุ เทพ ภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวันออก ภาคใต้
ราชอาณาจกั ร มหานคร เฉียงเหนอื
2554 0.48 0.51 0.40 0.44 0.46 0.46
2556 0.47 0.45 0.40 0.43 0.44 0.44
2558 0.45 0.40 0.40 0.39 0.43 0.45
2560 0.45 0.41 0.40 0.42 0.45 0.45
2562 0.43 0.34 0.39 0.41 0.44 0.44
ท่มี า: สานกั งานสถิติแหง่ ชาติ
หมายเหตุ : * รายได้ หมายถึง รายไดป้ ระจา ท่ีไมร่ วมรายรับอนื่ ๆ (เช่น เงินทนุ การศกึ ษา มรดก พินัยกรรม ของขวัญ ประกันสขุ ภาพ
ประกนั ภัยและประกันชวี ิต/ประกันสงั คมเงนิ ถกู สลาก เงนิ รางวัล คา่ นายหน้าและเงนิ ไดจ้ ากการพนนั เปน็ ต้น)
13.2 สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini coefficient) ของรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค
จาแนกตามภาค
หนว่ ย: ร้อยละ
ปี/ภาค ทว่ั กรุงเทพ ภาคกลาง ภาค ภาคตะวนั ออก ภาคใต้
ราชอาณาจักร เหนอื เฉียงเหนอื
2554 0.38 0.40 0.33 0.35 0.35 0.34
2555 0.39 0.37 0.34 0.35 0.35 0.37
2556 0.38 0.33 0.33 0.35 0.34 0.35
2557 0.37 0.34 0.32 0.33 0.35 0.35
2558 0.36 0.34 0.31 0.31 0.34 0.35
2559 0.37 0.34 0.32 0.33 0.33 0.36
2560 0.36 0.34 0.31 0.33 0.33 0.34
2561 0.36 0.31 0.33 0.32 0.33 0.35
2562 0.35 0.29 0.32 0.31 0.32 0.34
ทีม่ า: สานักงานสถติ ิแห่งชาติ
ค่าเฉลี่ยของเส้นค่าความยากจนท่ัวประเทศปี 2554 เท่ากับ 2,415 บาทต่อเดือน และเพิ่มขึ้น
เป็น 2,763 บาทต่อเดือน ซึ่งแต่ละพื้นท่ีเส้นค่าความยากจนจะแตกต่างกัน ปี 2562 กรุงเทพมหานครมี
ค่าเท่ากับ 3,276 บาทตอ่ เดือน สาหรับภาคเหนือมีค่าเท่ากับ 2,463 บาทตอ่ เดือน เม่ือพิจารณาสัดส่วน
คนจน พบว่า ปี 2554 มีสัดส่วนคนจนท่ัวประเทศเท่ากับร้อยละ 13.22 และลดลงเหลือ ร้อยละ 6.24
ในปี 2562 อย่างไรก็ตาม พ้ืนท่ีที่มีสัดส่วนคนจนมากท่ีสุด คือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 18.11
ในปี 2554 และลดลงเหลอื รอ้ ยละ 8.32 ในปี 2562 ด้านการกระจายรายได้ มีแนวโน้มท่ดี ีขึ้น
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร -20- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลังภาครัฐ ระดับมหภาค
การวดั ความไม่เสมอภาค ท้ังด้านรายไดแ้ ละรายจ่ายโดยใชส้ ัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini
coefficient) จาแนกตามพน้ื ที่ พบว่า
1. ด้านรายได้ ท่ัวราชอาณาจักรมีค่าลดลงจาก 0.48 ในปี 2554 เป็น 0.43 ในปี 2562 โดย
พื้นทที่ มี่ คี า่ ลดลงมากทส่ี ดุ คือ กรงุ เทพมหานคร และพืน้ ท่ีที่มีคา่ ลดลงน้อยท่ีสุดคอื ภาคกลาง และภาคใต้
2. ด้านรายจ่าย ท่ัวราชอาณาจักรมีค่าลดลงจาก 0.38 ในปี 2554 เป็น 0.35 ในปี 2562 โดย
พน้ื ท่ีทม่ี คี ่าลดลงมากทสี่ ดุ คือ กรงุ เทพมหานคร และพืน้ ท่ที ีม่ ีคา่ ลดลงนอ้ ยที่สดุ คือ ภาคใต้
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร -21- สานักงบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลงั ภาครัฐ ระดับมหภาค
ดา้ นการคลงั
14. แผนการคลังระยะปานกลาง
พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561 มาตรา 13 ให้มีแผนการคลังระยะ
ปานกลางและงบประมาณของรัฐ รวมทั้งแผนการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี และแผนการ
บริหารหนี้สาธารณะ ซ่ึงให้คณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังภาครัฐจัดทาให้แล้วเสร็จภายใน
3 เดือนนบั แตว่ นั สิ้นปงี บประมาณทกุ ปี แล้วเสนอให้คณะรัฐมนตรีใหค้ วามเห็นชอบ ซงึ่ คณะรัฐมนตรไี ดม้ ี
มตเิ ห็นชอบเมื่อวนั ที่ 22 ธันวาคม 2563
หนว่ ย: ล้านล้านบาท
ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
รายไดร้ ฐั บาลสุทธิ 2.68 2.40 2.49 2.62 2.75
อตั ราการเพ่ิม (รอ้ ยละ) -2.0 -10.3 3.8 5.2 5.0
งบประมาณรายจา่ ย 3.29 3.10 3.20 3.31 3.42
อตั ราการเพิม่ (รอ้ ยละ) 2.7 -5.7 3.2 3.4 3.3
ดุลการคลงั -0.61 -0.70 -0.71 -0.69 -0.67
ดุลการคลงั ตอ่ GDP (ร้อยละ) -3.7 -4.0 -3.9 -3.6 -3.4
หน้ีสาธารณะคงค้าง 9.08 9.77 10.41 10.97 11.46
หนี้สาธารณะคงคา้ งต่อ GDP (ร้อยละ) 56.0 57.6 58.6 59.0 58.7
ผลติ ภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) 16.55 17.33 18.10 18.94 19.91
ทีม่ า: หนังสอื สานกั เลขาธิการคณะรฐั มนตรี ด่วนท่ีสดุ ท่ี นร 0505/ ว 616 ลงวนั ที่ 24 ธันวาคม 2563
การดาเนินนโยบายการคลังในระยะปานกลาง รัฐบาลยังคงดาเนินนโยบายการคลังแบบขยายตัว
ผ่านการจัดทางบประมาณแบบขาดดลุ เพ่ือฟื้นฟเู ศรษฐกิจและสังคม โดยงบประมาณรายจ่ายเพิ่มข้ึนใน
อัตราที่ใกล้เคียงกับรายได้รัฐบาล ในส่วนหนี้สาธารณะคงค้าง ประมาณการไว้ใกล้เคียงกับกรอบวินัย
การเงินการคลงั ท่กี าหนดไว้ไม่เกินรอ้ ยละ 60
สานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร -22- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลังภาครฐั ระดบั มหภาค
15. ฐานะการคลังตามระบบกระแสเงนิ สดของรัฐบาล
ปงี บประมาณ 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 หน่วย: ลา้ นลา้ นบาท
1. รายไดน้ าสง่ คลงั 1.89 1.98 2.16 2.08 2.21 2.41 2.35 2561 2562 2563
2.52 2.54 2.34
2. รายจา่ ย 2.18 2.30 2.40 2.46 2.60 2.81 2.89 3.01 3.04 3.17
2.79 2.79 2.94
- ปีปจั จบุ ัน 2.05 2.15 2.17 2.25 2.38 2.58 2.69 0.22 0.25 0.22
-0.48 -0.50 -0.83
- ปีก่อน 0.13 0.15 0.23 0.21 0.22 0.23 0.20 0.09 0.03 0.10
3. ดลุ เงินงบประมาณ -0.29 -0.32 -0.24 -0.38 -0.39 -0.40 -0.54
4. ดลุ เงินนอก 0.18 0.01 0.00 0.03 0.07 0.02 0.07
งบประมาณ
5. ดลุ เงินสดกอ่ นกู้ -0.11 -0.30 -0.24 -0.36 -0.32 -0.37 -0.47 -0.39 -0.47 -0.72
0.50 0.35 0.78
6. กู้เพ่ือชดเชยการ 0.20 0.34 0.28 0.25 0.25 0.39 0.55
ขาดดลุ
7. ดลุ เงนิ สดหลังกู้ 0.09 0.04 0.04 -0.11 -0.07 0.02 0.08 0.11 -0.12 0.06
0.52 0.63 0.51
8. เงนิ คงคลังตน้ ปี 0.43 0.52 0.56 0.61 0.50 0.43 0.44 0.63 0.51 0.57
9. เงนิ คงคลงั 0.52 0.56 0.61 0.50 0.43 0.44 0.52
ปลายปี
ทม่ี า: สานักงานเศรษฐกจิ การคลัง (ปรับปรงุ วนั ท1่ี 6 มนี าคม 2563)
หมายเหตุ: ข้อมูลปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ระยะเวลา 5 เดอื น (ตลุ าคม 2563 – กมุ ภาพนั ธ์ 2563)
ปี 2563 มีรายได้ที่นาส่งคลังลดลงจาก 2.54 ล้านล้านบาทในปี 2562 เป็น 2.34 ล้านล้านบาท
ในปี 2563 หรือร้อยละ -7.86 และด้านรายจ่าย มีรายจ่ายรวมปีปัจจุบันและปีก่อนเพ่ิมขึ้นจาก 3.04
ล้านล้านบาท เป็น 3.17 ล้านล้านบาท ทาให้ฐานะการคลังของประเทศขาดดุลเงินงบประมาณ และดุล
เงินสดก่อนกู้ติดลบมาโดยตลอด ส่งผลให้รัฐบาลต้องกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะใน
ปี 2557 - 2558 และ 2562 มีดุลเงินสดหลังกตู้ ดิ ลบ
16. โครงสรา้ งงบประมาณ
ทีม่ า: สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -23- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลงั ภาครฐั ระดบั มหภาค
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการคลงั
ทมี่ า: สานักงานเศรษฐกจิ การคลัง
งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2555 - 2564 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จาก 2.17 ล้านล้านบาท
ในปี 2554 เปน็ 3.29 ล้านลา้ นบาทในปี 2564 โดยมกี ารจัดเกบ็ รายไดไ้ ดต้ ่ากว่าวงเงินงบประมาณ ทาให้
รัฐบาลต้องกู้เงินชดเชยการขาดดุลงบประมาณมาโดยตลอด ท้ังน้ี สัดส่วนวงเงินขาดดุลงบประมาณอยู่
ระหวา่ งรอ้ ยละ 10 - 21 ของงบประมาณรายจา่ ยประจาปี
การเปรียบเทียบรายจ่ายประจาและรายจ่ายลงทุนกับวงเงินงบประมาณ พบว่า สัดส่วนของ
รายจ่ายประจาต่อวงเงินงบประมาณยังเป็นสัดส่วนที่สูงประมาณร้อยละ 80 และมีรายจ่ายลงทุนเพียง
ร้อยละ 20 ดังนน้ั หากระยะต่อไปรายจา่ ยประจามีแนวโน้มสูงข้นึ อาจทาให้กรอบวงเงนิ มาตรการกระตุ้น
เศรษฐกิจยามจาเป็นลดลง รวมไปถึงการจัดสรรงบประมาณเพ่ือใช้ในการลงทุนของภาครัฐในการ
ผลกั ดนั นโยบายท่จี ะยกระดับศักยภาพเศรษฐกจิ ไทยได้ในระยะยาวอย่ใู นกรอบจากัด
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร -24- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลังภาครัฐ ระดบั มหภาค
โครงสร้างงบประมาณรายจา่ ยจาแนกตามลกั ษณะงานและลกั ษณะเศรษฐกิจ
การจาแนกตามลักษณะงาน เป็นการแสดงงบประมาณตามวัตถุประสงค์ในการดาเนินกิจกรรม
ตา่ ง ๆ ของรัฐบาล โดยยึดหลักในการจาแนกรายจ่ายของรัฐบาลของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ซ่ึง
ได้จาแนกการดาเนนิ งานของรฐั บาลตามวตั ถปุ ระสงคอ์ ยา่ งกว้างขวางออกเป็นดา้ นต่าง ๆ 10 ด้าน
งบประมาณจาแนกตามลักษณะงานปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ลักษณะงานที่มสี ดั ส่วนการจดั สรรสงู ที่สุด 5 อนั ดับ ได้แก่
(1) การบรหิ ารท่วั ไปของรัฐ 736,591.5 ล้านบาท (ร้อยละ 22.42)
(2) การเศรษฐกิจ 669,622.6 ลา้ นบาท (ร้อยละ 20.38)
(3) การศึกษา 482,764.5 ล้านบาท (ร้อยละ 14.69)
(4) การสังคมสงเคราะห์ 482,764.5 ลา้ นบาท (รอ้ ยละ 13.90)
(5) การสาธารณสุข 343,906.2 ล้านบาท (รอ้ ยละ 10.47)
ลักษณะงานทไ่ี ดร้ ับจดั สรรงบประมาณนอ้ ยท่ีสดุ ไดแ้ ก่
(1) การส่ิงแวดล้อม 16,143.4 ลา้ นบาท (ร้อยละ 0.49)
(2) การศาสนา วฒั นธรรมและนันทนาการ 20,438.9 ล้านบาท (ร้อยละ 0.62)
(3) การเคหะและชุมชน 147,594.8 ลา้ นบาท (ร้อยละ 4.49)
(4) การรักษาความสงบภายใน 202,022.7 ล้านบาท (รอ้ ยละ 6.15)
(5) การปอ้ งกันประเทศ 210,203.3 ลา้ นบาท (รอ้ ยละ 6.40)
สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร -25- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานเศรษฐกจิ การเงินการคลงั ภาครัฐ ระดบั มหภาค
ที่มา: งบประมาณโดยสังเขป (ฉบับปรับปรุง) ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
17. ผลการจัดเกบ็ รายไดร้ ัฐบาล
17.1 รายไดส้ ทุ ธิของรัฐบาล ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 – 2563
ที่มา: สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั
หมายเหตุ: รายได้สุทธกิ อ่ นจัดสรรใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ตามพระราชบญั ญตั ิกาหนดแผนฯ
รายได้สุทธขิ องรัฐบาล มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นมาโดยตลอดจาก 1.97 ล้านล้านบาท ในปี 2554 เป็น
2.49 ลา้ นล้านบาท ในปี 2563 คดิ เปน็ ร้อยละ 49 ท้ังนี้ รายไดข้ องรฐั บาลปี 2563 มแี นวโน้มชะลอตัวลง
จากปีกอ่ นหน้า เนือ่ งจากการแพรร่ ะบาดของไวรัส COVID-19 ทาให้การจัดเกบ็ รายไดภ้ าครฐั ลดน้อยลง
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -26- สานกั งบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลังภาครัฐ ระดบั มหภาค
17.2 รายไดน้ าส่งคลงั กบั ประมาณการรายได้
หน่วย: ล้านบาท
ทม่ี า: สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั
รายได้นาส่งคลังที่ผ่านมา ส่วนใหญ่มีปริมาณสูงกว่าประมาณการรายได้ แต่การจัดเก็บรายได้
ของรัฐบาลในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ต่ากว่าประมาณการรายได้ค่อนข้างมาก เน่ืองจากการชะลอตัว
ทางเศรษฐกิจ ซ่ึงเป็นผลมาจาก 1) ความล่าช้าในการประกาศใช้พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 2) วิกฤตภัยแล้งที่จะมีแนวโน้มรุนแรงกว่าทุกปี 3) แนวโน้มการ
ท่องเที่ยวที่ลดลง 4) แนวโน้มการส่งออกที่ลดลงตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า และ 5) การแพร่
ระบาดของไวรัส COVID-19
18. หนส้ี าธารณะคงค้างระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 - 2562
ทีม่ า: สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
สานักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร -27- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลังภาครัฐ ระดับมหภาค
หนีส้ าธารณะคงค้าง มีแนวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ จาก 4.45 ล้านล้านบาท ในปี 2554 เป็น 7.85 ลา้ นล้าน
บาท ในปี 2563 อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาสัดส่วนหน้ีสาธารณะต่อ GDP ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ.
2554 - 2562 มีค่าอยู่ระหว่างร้อยละ 39.12 - 49.36 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2564 มีหน้ีสาธารณะรวม
8.42 ล้านล้านบาท หรือประมาณร้อยละ 53.21 ของ GDP ซึ่งยังอยู่ในกรอบความยั่งยืนทางการคลังที่
กาหนดไวไ้ มเ่ กินร้อยละ 60
หน้สี าธารณะ จาแนกตามประเภทการกู้
หนว่ ย: ลา้ นล้านบาท
ป*ี หนีร้ ัฐบาล หน้ี หนี้รฐั วิสาหกิจทเ่ี ปน็ หน้ีกองทุนเพ่อื หนื้หน่วยงาน รวมหน้สี าธารณะ
รฐั วสิ าหกิจ สถาบันการเงิน การฟ้นื ฟฯู ของรฐั คงค้าง
2554 3.18 1.08 .16 .03 0.00 4.45
2555 3.52 1.06 .35 0.00 .01 4.94
2556 3.77 1.11 .54 0.00 .00 5.43
2557 3.97 1.09 .63 0.00 .01 5.69
2558 4.16 1.07 .54 0.00 .02 5.78
2559 4.47 .99 .50 0.00 .02 5.99
2560 4.96 .97 .43 0.00 .01 6.37
2561 5.45 .95 .37 0.00 .01 6.78
2562 5.66 .89 .34 0.00 .01 6.90
2563 6.73 .80 .31 0.00 .01 7.85
2564 7.33 .80 .29 0.00 .01 8.42
(ก.พ.)
ท่มี า: สานกั งานเศรษฐกจิ การคลงั
เมื่อเปรียบเทียบหนี้แต่ละประเภทกับหนี้สาธารณะทั้งหมด พบว่าเป็นหนี้ท่ีรัฐบาลกู้โดยตรง
ร้อยละ 87.05 หน้ีของรัฐวิสาหกิจท่ีไม่เป็นสถาบันการเงิน ร้อยละ 9.50 สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP
เพ่ิมขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ จากรอ้ ยละ 41.04 ในปี 2562 เป็นรอ้ ยละ 53.21 ในเดือนกุมภาพนั ธ์ 2564
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -28- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานเศรษฐกิจ การเงินการคลงั ภาครัฐ ระดับมหภาค
บรรณานุกรม
กรมการปกครอง. ระบบสถิตทิ างการทะเบยี น. สบื ค้นจาก http://stat.bora.dopa.go.th
กระทรวงพาณิชย.์ ดชั นีราคาผู้บรโิ ภคทั่วไปของประเทศ เดอื นธันวาคม 2563 และ ปี 2563 วนั ที่ 5
มกราคม 2564. สืบคน้ จาก
http://www.price.moc.go.th/price/fileuploader/file_cpi/Cpig122563_tg.pdf
ธนาคารแห่งประเทศไทย. สถิติ. สถิติเศรษฐกิจการเงิน. เครื่องช้ีเศรษฐกิจมหภาคของไทย. สืบค้น จาก
www.bot.or.th
สานักงบประมาณ. งบประมาณโดยสงั เขป ปี 2562-2564. สืบค้นจาก www.bb.go.th
สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั . ข้อมลู สถิติ. สืบค้นจาก www.fpo.go.th
สานักงานสถิติแห่งชาติ. ข้อมูลจากการสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน. สืบค้นจาก
http://statbbi.nso.go.th
สานกั งานสถติ ิแหง่ ชาต.ิ สถติ ิแรงงาน. สบื คน้ จาก http://statbbi.nso.go.th
สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาต.ิ ขอ้ มลู เศรษฐกิจและสงั คม. ขอ้ มลู สถติ .ิ เศรษฐกจิ .
บัญชีประชาชาติ. ภาวะเศรษฐกิจในประเทศรายไตรมาส. Gross Domestic Product Chain
Volume Measures 4/2562. All tables QGDP (Download Excel File) สื บ ค้ น จ า ก
www.nesdb.go.th
กระทรวงพาณชิ ย.์ ดัชนีราคาผูบ้ รโิ ภคทวั่ ไปของประเทศ เดือนธันวาคม 2563 และ ปี 2563 วนั ที่ 5
มกราคม 2564. สบื ค้นจาก
http://www.price.moc.go.th/price/fileuploader/file_cpi/Cpig122563_tg.pd
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร -29- สานกั งบประมาณของรัฐสภา
สานักงบประมาณของรัฐสภา
สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร
www.parliament.go.th/pbo
PBO วิเคราะห์งบประมาณอยา่ งมอื อาชพี เปน็ กลาง และสรา้ งสรรค์