สานักงบประมาณของรฐั สภา
(สงร.)
รายงานการวเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
หน่วยงานของรัฐสภา
- ภาพรวม หนา้ ที่ ๑
- สถาบนั พระปกเกล้า หน้าที่ ๑๖
- สานักงานเลขาธิการวฒุ ิสภา หนา้ ที่ ๑๙
- สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร หน้าที่ ๒๕
และกองทุนเพ่ื อผู้เคยเปน็ สมาชิกรฐั สภา
สานกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หน่วยงานของรัฐสภา
หน่วยงานของรฐั สภา
สว่ นที่ 1 ภาพรวมหน่วยงานของรัฐสภา
ภาพรวมงบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566
เสนอจดั สรรตามร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน้า 1
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรัฐสภา
คณะรัฐมนตรีได้พิจารณารายละเอียดค่าใช้จ่ายของแต่ละหน่วยงานแล้วมีความเห็นว่า เนื่องจากวงเงินการ
จดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีจำนวนจำกัด แต่มีหน่วยรับงบประมาณและข้อผูกพัน
ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก จึงได้กำหนดวงเงินที่จัดสรรไว้ในร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2566 มาตรา 30 มาตรา 37 มาตรา 38 และมาตรา 39 (ทุนหมุนเวียน) รวมเป็นเงินทั้งส้ิน
7,909.1733 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 0.25 ของวงเงินงบประมาณรวมทั้งประเทศ ลดลงจากปีที่แล้ว
(8,248.3428 ล้านบาท) จำนวน 339.1695 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.11 แบ่งเป็นงบประมาณของส่วนราชการ
3 หน่วย รวมเปน็ เงนิ ทง้ั สิ้น 7,752.1733 ล้านบาท และทนุ หมุนเวยี น 1 ทุน เป็นเงนิ 157.0000 ล้านบาท
1. วิสัยทศั น์ พันธกิจ และผลสมั ฤทธ์ิและประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั
วิสัยทัศน์ สถาบันวิชาการชั้นนำด้านการพัฒนาประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล และสันติวิธี มุ่งนำความรู้สู่
สงั คม เพื่อประโยชนส์ ่วนรวม
พนั ธกิจ
1. ศึกษาวิจยั ทางวิชาการเพ่ือสรา้ งองค์ความรู้ และเสนอแนะการแก้ไขปัญหาเก่ียวกับการพัฒนาการเมือง
การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอย่างเปน็ ระบบ
สถาบนั 2. ให้บริการทางวิชาการทั้งในรูปของการศึกษาอบรมทางวิชาการ ให้คำปรึกษา ให้ข้อเสนอแนะ
พระปกเกลา้ เชิงนโยบายและบริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความรู้ทางการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ธรรมาภบิ าลและสนั ติวธิ ี
3. สง่ เสรมิ งานวชิ าการของรัฐสภา
4. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และสนับสนุนความรู้ความเข้าใจ และการใช้สิทธิหน้าที่ของพลเมืองตาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
5.ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์การทั้งในและต่างประเทศ เพื่อการพัฒนาการเมืองการปกคร อง
ในระบอบประชาธิปไตย ธรรมาภบิ าล และสันติวิธี
6.ส่งเสริมและพัฒนาพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวให้เป็นแหล่งเรียนรู้
ด้านพระปกเกลา้ ศกึ ษา
7. บรหิ ารงานกองทนุ เพื่อการพัฒนาและเผยแพร่ประชาธปิ ไตย
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร หน้า 2
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรัฐสภา
สถาบัน ผลสัมฤทธ์ิและประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ บั จากการใช้จา่ ยงบประมาณ
พระปกเกล้า (1) ผลสัมฤทธิ์ : ผู้ผ่านการศึกษาอบรมจากสถาบันพระปกเกล้าเกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและ
พฤติกรรม สู่การเปน็ ผูน้ ำทางความคดิ และการทำงานเพ่ือเผยแพร่พัฒนาประชาธปิ ไตย ธรรมาภิบาลและ
สำนักงาน สนั ติวิธีและนำความรู้ท่ี ได้รบั ไปขยายผลต่อหรือนำไปประยุกตใ์ ชเ้ พื่อสร้างประโยชน์ตอ่ สาธารณะ
เลขาธิการ ตัวชี้วัด : รอ้ ยละของผเู้ ขา้ รับการศึกษาอบรม กลุ่มเป้าหมายท่ปี รบั เปล่ียนทัศนคติ และพฤตกิ รรมความเป็นผู้นำ
วุฒิสภา ตามระบอบประชาธปิ ไตย ร้อยละ 80
(2) ผลสัมฤทธิ์ : ประชาชนได้ตระหนกั ถึงการเป็นพลเมืองที่ดตี ามวิถีประชาธิปไตยและสามารถปฏบิ ัติตนเปน็
พลเมืองทด่ี ีของสงั คม ตลอดจนขยายผลไปสูภ่ าคสว่ นตา่ ง ๆ ที่กวา้ งขวางข้นึ
ตวั ชว้ี ัด : รอ้ ยละของกลุ่มเป้าหมายทม่ี พี ฤติกรรมความเปน็ พลเมอื งตามระบอประชาธิปไตย ร้อยละ 80
วสิ ัยทัศน์
เป็นองค์กรหลักดา้ นนิติบัญญัติของประเทศทีม่ ีสมรรถนะสูง ในการสนับสนุนภารกิจวฒุ ิสภา เพื่อประชาชนและ
ประโยชน์สว่ นรวม
พนั ธกิจ
1.สนบั สนุนการขับเคล่ือนภารกิจด้านนติ บิ ัญญตั ิ
2.สนับสนุนภารกิจด้านการติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ และการดำเนินการ ตาม
ยทุ ธศาสตรช์ าติ
3.ยกระดบั การพฒั นางานดา้ นกฎหมายและงานด้านวิชาการของวฒุ สิ ภา
4.บริหารจัดการให้เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง ทันสมัย ตามหลักธรรมาภิบาล และทันต่อการ
เปลยี่ นแปลง
5.พัฒนาและเสริมสรา้ งการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข และส่งเสรมิ การมี
ส่วนร่วมของประชาชน
ผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั จากการใช้จ่ายงบประมาณ
(1) ผลสัมฤทธ์ิ : ประชาชนไดร้ ับความร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกับการเมือง กฎหมายและการมีสว่ นร่วมของประชาชน
ตัวชี้วัด : จำนวนสื่อ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ประชาชน (กลุ่มเป้าหมาย) เกิดความรู้
ความเข้าใจและมสี ว่ นร่วมด้านการเมืองและกฎหมาย (อย่างน้อย 5 ส่อื /แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชน (กลุ่มเป้าหมาย) มีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมด้านการเมืองและ
กฎหมาย ร้อยละ 85
(2) ผลสมั ฤทธิ์ : ประชาชนได้รับผลประโยชนจ์ ากกระบวนการนติ บิ ญั ญัตอิ ันเนอื่ งมาจากกฎหมายที่มีคุณภาพ
ตวั ชว้ี ัด : รอ้ ยละของความสำเร็จของการพจิ ารณากฎหมายท่เี ขา้ สูก่ ระบวนการนิตบิ ญั ญัติ รอ้ ยละ 100
ตัวชวี้ ดั : รอ้ ยละของกฎหมายทเ่ี ข้าสู่กระบวนการนิติบัญญัติทม่ี ีคุณภาพ (ความถูกต้อง / ความทันเวลา)
ร้อยละ 100
(3) ผลสัมฤทธิ์ : ประชาชนได้รบั ประโยชน์จากกระบวนการติดตาม เสนอแนะและเร่งรดั การปฏริ ูปประเทศและการ
ดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ที่มีประสิทธิภาพส่งผลให้วุฒิสภาสามารถให้ข้อเสนอแนะที่มีผลต่อการปฏิรูป
ประเทศในภาพรวม
ตวั ชวี้ ดั : รอ้ ยละความสำเรจ็ ของการสนับสนนุ ภารกจิ การติดตาม เสนอแนะและเร่งรัดการปฏริ ปู ประเทศและ
การดำเนินการตามยุทธศาสตร์ ตามกรอบระยะเวลาท่ีกำหนด (นับจากวันท่ไี ดร้ บั รายงาน) รอ้ ยละ 100
ตวั ชีว้ ดั : ประเด็นขอ้ เสนอแนะจากการติดตาม เสนอแนะและเร่งรัดการปฏริ ูปประเทศและการดำเนินการตาม
ยทุ ธศาสตร์ ทีฝ่ ่ายบริหารนำไปใชใ้ นการปฏริ ปู ประเทศอย่างนอ้ ยด้านละ 1 เรื่อง รวม 7 เร่อื ง
สำนกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร หน้า 3
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรฐั สภา
สำนักงาน วสิ ัยทัศน์
เลขาธกิ าร สำนกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเปน็ SMART Parliament
สภา พนั ธกิจ
ผู้แทนราษฎร 1. เสรมิ สร้างกระบวนการนิตบิ ญั ญตั ิให้มีคณุ ภาพและไดม้ าตรฐานสากล
2. เสรมิ สรา้ งบทบาทและความร่วมมือในเวทีรฐั สภาระหวา่ งประเทศ
3. สง่ เสริมการมีสว่ นร่วมทางการเมือง และเสรมิ สร้างภาพลักษณ์ของสถาบนั นิติบัญญตั ิ
4. บริหารจัดการองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง (HPO) และแข่งขันได้ดว้ ยนวตั กรรม
ผลสมั ฤทธ์แิ ละประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ
(1) ผลสมั ฤทธ์ิ : ประชาชนมีความเช่ือม่ันต่อกระบวนการนิติบญั ญตั ิ
ตัวชี้วัด : ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนที่เข้าใช้ข้อมูลด้านกระบวนการนิติบัญญัติผ่านดิจิทัล
ร้อยละ 80
ตวั ช้ีวดั : ประชาชนท่เี ขา้ ใช้ขอ้ มูลด้านกระบวนการนติ ิบญั ญัตผิ า่ นดจิ ิทลั ไม่นอ้ ยกว่า 30,000 ครงั้
(2) ผลสัมฤทธ์ิ : ประชาชนผูม้ ีสิทธิเลือกต้งั มกี ลไกในการจดั ทำร่างกฎหมายและเขา้ ชื่อเสนอกฎหมาย
ตัวชี้วัด : ประชาชนผู้มีสทิ ธิเลอื กตั้งมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั หลักเกณฑ์และวธิ ีการในการเขา้ ชื่อเสนอ
กฎหมายที่ประกาศใช้ตามร่างพระราชบัญญัติการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2564 และการเข้าชื่อเสนอ
กฎหมายทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (e-initiative) ไมน่ อ้ ยกว่า รอ้ ยละ 80
ตัวชี้วัด : จำนวนร่างกฎหมายที่ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีการจัดทำและเสนอผ่านทางระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ (e-initiative) จำนวน 3 ฉบับ
2. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรช์ าติ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ
หน่วยงานของรัฐสภา ได้รับงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2566 จำนวน 7,752.1733 ล้านบาท (ไม่รวมทุน
หมุนเวียน) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง จำนวน 457.0159 ล้านบาท (ร้อยละ 5.90) และยุทธศาสตร์
ชาติด้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ จำนวน 7,295.1574 ลา้ นบาท (รอ้ ยละ 94.10)
โดยมงี บประมาณท่ีสอดรบั กบั แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ทั้งสิน้ 7 ประเด็น ประกอบดว้ ย
1) แผนแม่บท ความม่นั คง จำนวน 457.0159 ลา้ นบาท คดิ เปน็ สัดสว่ นรอ้ ยละ 5.90
2) แผนแม่บท การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ จำนวน 887.8189 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 11.45
3) แผนแมบ่ ท การตอ่ ตา้ นทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ จำนวน 0.2040 ลา้ นบาท คิดเป็นสัดสว่ นร้อยละ 0.0026
4) แผนแม่บท กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม จำนวน 1.2350 ล้านบาท คิดเปน็ สดั ส่วนร้อยละ 0.02
5) แผนแม่บท การดำเนินการภารกิจยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ จำนวน 848.5589 ล้านบาท
คิดเปน็ สัดส่วนรอ้ ยละ 10.95
6) แผนแม่บท การดำเนินการภารกิจพื้นฐานเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ จำนวน 1,046.7845 ล้านบาท
คิดเปน็ สัดสว่ นร้อยละ 13.50
7) แผนบุคลากรภาครฐั จำนวน 4,510.5561 ล้านบาท คดิ เป็นสัดส่วนร้อยละ 58.18
สำนกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร หน้า 4
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรัฐสภา
สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร หนา้ 5
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หน่วยงานของรฐั สภา
5.90% ของงบประมาณหนว่ ยงานของรฐั สภา
94.10% ของงบประมาณหนว่ ยงานของรัฐสภา
ท้งั นี้ ปี 2566 การจัดทำงบประมาณตาม
ภารกิจของหน่วยงานของรัฐสภามีความ
สอดคล้อง ครอบคลุมแผนแม่บทภายใต้แผน
ยุทธศาสตร์ทั้งหมด 4 ประเด็น โดยงบประมาณ
ส ่ วนใหญ ่ รองร ั บแผนแม ่ บทประเด็ น
การบริการประชาชนและประสิทธิภาพ
ภาครัฐ (สัดสว่ นร้อยละ 11.45)
สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร หนา้ 6
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรฐั สภา
3. สรปุ ภาพรวมงบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
3.1 งบประมาณจำแนกตามหนว่ ยรับงบประมาณ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน่วยงานของ
รัฐสภา (รวมทุนหมุนเวียน) ได้รับจัดสรรงบประมาณรวมจำนวน
7,909.1733 ล้านบาท ลดลง จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
(8,248.3428 ล้านบาท) จำนวน 339.1695 ล้านบาทหรือร้อยละ
4.11 ของงบประมาณที่ไดร้ ับจดั สรรปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดย
หนว่ ยงานที่ได้รับงบประมาณสูงสุด คอื สำนกั งานเลขาธิการสภา
ผ้แู ทนราษฎร ได้รบั จดั สรรงบประมาณเป็นเงิน 5,596.3127 ล้าน
บาท หรือคิด เป็นสัดส่วนร้อยละ 70.76 ในขณะกองทุนหมุนเวียน
เพื่อผู้เคยเป็นสมาชิกรัฐสภา ได้รับจัดสรรงบประมาณต่ำสุด จำนวน
157.0000 ล้านบาท หรอื คดิ เปน็ สัดสว่ น ร้อยละ 1.99
งบประมาณที่ หน่วยงานของรัฐสภา ไดร้ บั จดั สรรงบประมาณเป็นงบเงนิ อุดหนนุ ท้ังจำนวน รอ้ ยละ 100
3.2 งบประมาณ จำแนกตามแผนงาน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน่วยงานของรัฐสภา (รวมทุน
หมุนเวียน) ได้รับจัดสรรงบประมาณรวม จำแนกตามแผนงาน ประกอบด้วย
แผนงานบุคลากรภาครัฐ จำนวน 4,510.5561 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 57.03
แผนงานพื้นฐาน จำนวน 1,203.7845 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 15.22 แผนงาน
ยุทธศาสตร์ จำนวน 2,194.6287 ล้านบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 27.75 และแผนงานบูรณาการ
จำนวน 0.2040 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 0.0026 รายละเอียดตาราง ดงั นี้
สำนักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร หน้า 7
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรัฐสภา
3.3 งบประมาณจำแนกตามรายจ่ายประจำ – รายจา่ ยลงทุน
เมื่อพิจารณาภาพรวมโครงสร้างงบประมาณช่วง 5 ปี (พ.ศ. 2562 – 2566) ของหน่วยงานของ
รัฐสภา (รวมทนุ หมนุ เวยี น) พบวา่ รายจา่ ยประจำมีแนวโนม้ สัดส่วนสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง โดยมสี ัดส่วนเฉลี่ยร้อยละ
31.27 ในขณะทรี่ ายจ่ายลงทุนมีแนวโน้มสดั สว่ นลดลง โดยมสี ัดสว่ นเฉล่ยี ร้อยละ 68.73
ปี 2566 หน่วยงานของรัฐสภา(รวมทุนหมุนเวียน) ได้รับจดั สรรงบประมาณ 7,909.1733 ล้านบาท
จำแนกเป็นรายจ่ายประจำ 6,601.8894 ล้านบาท หรือร้อยละ 83.47 และรายจ่ายลงทุน 1,307.2839 ล้านบาท หรือ
ร้อยละ 16.53 พิจารณารายหน่วยงาน พบว่า งบประมาณของแต่ละหน่วยงานส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายประจำ ในขณะท่ี
รายจา่ ยลงทนุ สว่ นใหญ่เป็นของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร หน้า 8
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หน่วยงานของรฐั สภา
หน่วยงานของรัฐสภา ควรมีการเตรียมความพร้อมและแผนการดำเนินการรองรับ
ที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะรายการใหม่ ปี 2566 สำหรับรายการเดิมหน่วยงานควรมีแผน หรือมารตรการเร่งรัด
เพื่อให้การดำเนินการและการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนเป็นไปตามกรอบเป้าหมายที่กำหนด (เนื่องจากที่ผ่านมาผลการ
เบกิ จา่ ยต่ำกว่าเป้าหมาย) ทัง้ นี้ จะทำใหก้ ารใชจ้ ่ายงบประมาณของภาครฐั ชว่ ยเพิ่มมูลคา่ ทางเศรษฐกิจได้อยา่ งเต็มที่
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 141 วรรคสอง ได้บัญญัติไว้ว่า
“รัฐต้องจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอต่อการปฏิบัติหน้าที่โดยอิสระของรัฐสภา ศาล องค์กรอิสระและองค์กรอัยการ
ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ ในกรณีที่เห็นว่างบประมาณที่ได้รับการ
จัดสรรอาจไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติหน้าที่ รัฐสภา ศาล องค์กรอิสระ หรือองค์กรอัยการจะยื่นคำขอแปรญัตติต่อ
คณะกรรมาธิการโดยตรงก็ได้” ดังนั้น ถ้าเห็นว่างบประมาณที่ได้รับจัดสรรยังไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติหน้าที่โดยอิสระ
“หน่วยงานของรฐั สภา” กส็ ามารถยืน่ คำแปรญตั ติตอ่ คณะกรรมาธิการ วสิ ามญั ฯ สภาผู้แทนราษฎรได้
4. รายการผูกพนั
หน่วยงานของรัฐสภา มีรายการผูกพันข้ามปี (รวมวงเงินชดเชยงบประมาณที่ถูกพับไป) รวมทั้งสิ้น 12
รายการ โดยงบประมาณตง้ั ในปีงบประมาณ 2566 จำนวน 342.5343 ล้านบาท
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร หน้า 9
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรัฐสภา
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา มีรายการผูกพันข้ามปี (รายการผูกพันเดิม) จำนวน 4 รายการ ซึ่งในปี 2566
ไดร้ ับงบประมาณ จำนวน 9.7529 ลา้ นบาท เปน็ คา่ เช่ารถยนต์ ดงั นี้
1) คา่ เช่ารถตโู้ ดยสาร 12 ท่ีนั่ง พรอ้ มพนกั งานขับรถ จำนวน 22 คนั วงเงนิ 8.7728 ล้านบาท
2) คา่ เช่ารถยนต์ประจำตำแหนง่ จำนวน 1 คัน วงเงนิ 0.3240 ล้านบาท
3) คา่ เชา่ รถยนต์สว่ นกลาง จำนวน 4 คนั วงเงิน 0.6552 ลา้ นบาท
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร มีรายการผูกพันข้ามปี จำนวน 8 รายการ วงเงินในปี 2566
จำนวน 67.0223 ลา้ นบาท แบง่ เป็นการชดเชยงบประมาณที่พบั ไป จำนวน 265.7591 ล้านบาท
รายการผกู พันเดมิ จำแนกเป็น
1) คา่ เช่ารถยนต์ 2 รายการ วงเงนิ 10.7220 ลา้ นบาท ประกอบด้วย
- คา่ เชา่ รถยนต์ พรอ้ มพนักงานขบั รถ จำนวน 10 คนั วงเงิน 2.7612 ลา้ นบาท
- คา่ เชา่ รถยนต์โดยสาร พร้อมพนกั งานขบั รถ จำนวน 20 คนั วงเงนิ 7.9608 ลา้ นบาท
2) ค่าที่ดิน ส่งิ กอ่ สร้าง 4 รายการ วงเงิน 266.1714 ลา้ นบาท ประกอบด้วย
- ค่าควบคุมงานก่อสรา้ งอาคารรัฐสภาแหง่ ใหม่ วงเงิน 0.4120 ลา้ นบาท
- ค่าจ้างที่ปรึกษาโครงการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ ฯ วงเงิน 14.4797 ล้านบาท (ชดเชย
งบประมาณท่ีพบั ไป)
- งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วงเงิน 155.4516 ล้านบาท (ชดเชยงบประมาณ
ท่ีพบั ไป)
- งานสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ จำนวน 1 รายการ วงเงิน 95.8278 ล้านบาท (ชดเชย
งบประมาณที่พับไป)
รวมงบประมาณชดเชยงบประมาณทพี่ ับไปจำนวน 3 รายการ วงเงนิ 265.7591 ล้านบาท
รายการผูกพนั เร่ิมใหม่ ปี 2566 -2568 จำนวน 2 รายการ วงเงินปี 2566 จำนวน 55.8880 ล้านบาท
จำแนกเป็น 1) ค่าใช้จ่ายในการค่าก่อสร้างอาคารที่พักสวัสดิการสำนักงานเลขาธิการสภา
ผูแ้ ทนราษฎร แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ กรงุ เทพมหานคร วงเงนิ ทั้งส้ิน 998.0000 ลา้ นบาท
ปี 2566 ตัง้ งบประมาณ 49.9000 ล้านบาท
ปี 2567 ผกู พันงบประมาณ 474.0500 ล้านบาท
ปี 2568 ผูกพนั งบประมาณ 474.0500 ล้านบาท
2) ค่าใช้จ่ายในการควบคุมงานก่อสร้างอาคารที่พักสวัสดิการสำนักงานเลขาธิการสภา
ผแู้ ทนราษฎร แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ กรงุ เทพมหานคร วงเงินทง้ั สน้ิ 29.9400 ล้านบาท
ปี 2566 ตง้ั งบประมาณ 5.9880 ล้านบาท
ปี 2567 ผูกพนั งบประมาณ 11.9760 ลา้ นบาท
ปี 2568 ผูกพันงบประมาณ 11.9760 ล้านบาท
สำนกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร หน้า 10
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรฐั สภา
5. เงินนอกงบประมาณ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน่วยงานของรัฐสภา มีเงินนอกงบประมาณ ตามเอกสาร
งบประมาณฉบับที่ 7 รวมจำนวน 8,226.0820 ล้านบาท นำเงินนอกงบประมาณไปสมทบงบประมาณรายจ่ายประจำปี
จำนวน 1 ล้านบาท และมีแผนการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณจำนวน 7,752.1733 ล้านบาท ส่งผลให้มีรายได้เงินนอก
งบประมาณสุทธิ จำนวน 472.9087 ล้านบาท เป็นรายได้เงินนอกงบประมาณสะสมยกไปปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
ทั้งนี้หน่วยงานของรัฐสภาได้จัดสรรงบประมาณเป็นเงินอุดหนุน เมื่อใช้จ่ายและคงเหลือแล้วสามารถเก็บไว้
ที่หน่วยงานโดยไม่ต้องนำส่งคืนคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ดังนั้นหน่วยงานจึงถือว่า เงินงบประมาณที่รับจัดสรรให้เป็นเงนิ
นอกงบประมาณ ทั้งจำนวน ซึ่งอาจไม่สะท้อนถึงรายได้ที่เกิดจากการดำเนินงานของหน่วยงานอย่างแท้จริง ซึ่งหาก
พิจารณารายได้ในส่วนที่เกิดจากการดำเนินงาน พบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน่วยงานของรัฐสภามีรายได้
จากการดำเนนิ งาน 54.0000 ลา้ นบาท โดยหนว่ ยงานทน่ี ำเงินนอกงบประมาณมาสมทบงบประมาณรายจ่ายประจำปี
มเี พยี ง สำนกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร เพยี งหน่วยงานเดยี ว โดยสมทบจำนวน 1 ล้านบาทเทา่ กนั ทกุ ปี
หนว่ ย : ลา้ นบาท
ท่มี า : 1. เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 7 รายงานสถานะและแผนการใช้จา่ ยเงินนอกงบประมาณของหน่วยรบั งบประมาณประจำปีงบประมาณ 2566 หนา้ 275 – 278
2. รายไดเ้ งินนอกงบประมาณกบั การสมทบงบประมาณรายจา่ ยประจำปี สำนกั งบประมาณของรฐั สภา
หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นข้อมลู ที่เกดิ ขนึ้ จรงิ สำหรบั ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 – 2568 เปน็ การประมาณการ
2. หนว่ ยงานที่รบั จัดสรรงบประมาณเปน็ เงินอุดหนุน นบั รวมเงินงบประมาณรายจา่ ยประจำปีเปน็ รายได้เงนิ นอกงบประมาณประจำปี
สำนักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร หน้า 11
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรฐั สภา
6. ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณประจำปีงบประมาณ 2563 – 2565
จากรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี ตามระบบบริหารการเงินและการคลังภาครัฐ
แบบอเิ ล็กทรอนกิ สใ์ หม่ (New GFMIS Thai) ในชว่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2565 พบวา่ ณ วันท่ี 19 กรกฎาคม 2565
หน่วยงานของรัฐสภา มีงบประมาณหลังโอนเปลี่ยนแปลง จำนวน 8,088.3428 ล้านบาท เบิกจ่ายจำนวน
5,938.5799 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 73.42 จำแนกเป็นรายจ่ายประจำเบิกจ่ายจำนวน 4,276.2863 ล้านบาท คิดเป็น
รอ้ ยละ 71.69 รายจา่ ยลงทนุ เบกิ จา่ ยจำนวน 1,662.2936 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 78.27 รายละเอียดตามตาราง ดังน้ี
หน่วย : ลา้ นบาท
ทีม่ า : ระบบบริหารการเงนิ การคลงั แบบอเิ ล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) กรมบญั ชีกลาง
หน่วยงานของรัฐสภาควรเร่งรัดดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการก่อหนี้ผูกพัน และเบิกจ่าย
งบประมาณรายจ่ายลงทุน เนื่องจากมีสัดส่วนการเบิกจ่ายที่อยู่ในระดับต่ำมาก ขณะที่เหลือระยะเวลาในการ
ดำเนินการเพียง 2 เดือน จะสิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ให้การดำเนินการเป็นตามแผนการดำเนินงานและ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณที่กำหนดไว้ อีกทั้งสอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2564 เรื่อง การ
ติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณและการใช้จ่ายภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ซึ่งกำหนดเป้าหมายการ
เบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 93 โดยเบิกจ่ายงบประจำไม่น้อยกว่าร้อยละ 98 เบิกจ่ายงบลงทุนไม่
นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 75 และมกี ารใชจ้ ่ายงบประมาณในภาพรวม ทั้งรายจา่ ยประจำ และรายจา่ ยลงทุน ร้อยละ 100
7. ประเดน็ ข้อสงั เกตของกรรมาธิการฯ ท่ีสำคญั ในปีที่ผา่ นมา
ประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ปี 2564 ปี 2565
ส.ส. ส.ว. ส.ส. ส.ว.
ประเด็นที่ 1 : .ภาพรวมการบริหารจดั การ
สำนกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร ควรมีการปรบั กระบวนวธิ ีพจิ ารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ
รายจ่ายประจำปีให้เหมาะสมกับเงื่อนเวลาและจำนวนหน่วยรับงบประมาณที่ต้องมาชี้แจง เพื่อให้การ
พิจารณามีประสทิ ธภิ าพ โดยเฉพาะการพจิ ารณางบประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นและจังหวัดกับ
กลุม่ จงั หวดั ที่มหี น่วยรบั งบประมาณจำนวนมาก ควรมกี ารประชุมผ่านสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ควรกำหนดบทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติของคณะกรรมาธิการ
สามัญและวสิ ามญั รวมทั้งคณะอนกุ รรมาธกิ ารให้เหมาะสมชัดเจนและเขา้ ใจตรงกันก่อนปฏบิ ัตหิ น้าทเ่ี พอื่ ให้
การทำหนา้ ทีเ่ ปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพภายใต้กรอบของกฎหมาย
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ควรให้ความสำคัญกับการปฏิบัติ
หน้าที่ราชการของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านการรักษาความลับของทางราชการ โดยกำหนดแนวทางการและ
กระบวนการปฏิบตั ิงานให้มคี วามชัดเจน
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ควรกำหนดทิศทางและแนวทางในการดำเนินการที่ชัดเจน เพื่อนำไปสู่
วสิ ยั ทศั น์การเป็นองคก์ รท่มี ีศกั ยภาพสูง
สำนักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร หนา้ 12
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หน่วยงานของรฐั สภา
ประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ ปี 2564 ปี 2565
ส.ส. ส.ว. ส.ส. ส.ว.
สำนกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร ควรพิจารณาและให้ความสำคญั ในการผลกั ดนั ใหส้ ำนักงบประมาณ
ของรัฐสภาเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่รองรับการพจิ ารณา ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี
ของทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาให้เป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการประสานความร่ วมมือ
ระหวา่ งรัฐสภาและสำนกั งบประมาณอยา่ งใกล้ชิด
ประเด็นท่ี 2 : .พฒั นาบุคลากร
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร ควรพฒั นาการปฏิบตั ิหน้าท่ีในเชิงรุกอยา่ งเป็นระบบ โดยเฉพาะใน
การตดิ ตามประสานงานเพ่อื นำสง่ รายละเอยี ดข้อมลู ท่ีหน่วยงานช้แี จงตอบขอ้ หารือให้กบั สมาชกิ รฐั สภา
สำนกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร ควรพฒั นาบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นและมีการทำงานอย่าง
มอื อาชพี เพอ่ื สนบั สนุนการทำงานของสมาชกิ รัฐสภา
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ควรพิจารณากรอบโครงสร้าง
และการสร้างองค์ความรู้ให้แก่บุคลากร เพื่อรองรับการปฏิบัติหน้าที่หลักขององค์กรและการปฏิบัติหน้าที่
ของคณะกรรมาธิการให้เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพและสอดคล้องกบั ภารกจิ ขององค์กร โดยเฉพาะภารกิจ
หลักทจ่ี ะเพิม่ ขน้ึ ใหมต่ ามกฎหมายในสว่ นของนกั กฎหมายนติ ิบญั ญัตทิ ่ยี งั ไม่มโี ครงการหรอื กจิ กรรมใดรองรบั
การพฒั นาบคุ ลากรกล่มุ ดังกลา่ วโดยตรง
สำนักงานเลขาธกิ ารวฒุ สิ ภา ควรพัฒนาองคก์ รและบคุ ลากรเพอ่ื ใหม้ ีความเข้มแข็งในการตดิ ตามแผนการปฏริ ูปประเทศ
ประเดน็ ท่ี 3 : .พัฒนาภารกจิ ดา้ นฝึกอบรม
สถาบันพระปกเกล้า ควรพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมให้มุ่งเน้นเชิงคุณภาพมากกว่าปริมาณ ขยายกลุ่มเป้าหมายให้
ครอบคลมุ ทุกระดับโดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ทั้งนี้ การคดั เลอื กกลุ่มเป้าหมายเขา้ รบั การฝกึ อบรมไมใ่ หซ้ ้ำซอ้ นกับ
หลกั สตู รฝึกอบรมของหน่วยงานอนื่ รวมท้งั วทิ ยากรประจำหลกั สูตรควรเป็นบคุ คลทมี่ ีความรคู้ วามเชี่ยวชาญและมี
ความเปน็ กลางทางเมอื ง
สถาบันพระปกเกล้า ควรมุ่งเน้นและให้ความสำคัญกับการจัดหลักสูตรหรือสอดแทรกเนื้อหาในหลักสูตร
เกย่ี วกบั การส่งเสริมหรือการสรา้ งภาวะความเปน็ ผู้นำ โดยการสร้างอัตลักษณ์ของสถาบันให้เป็นองค์กรหลักใน
การบม่ เพาะความเปน็ ผูน้ ำ เพื่อใหผ้ ู้เขา้ รับการอบรมตระหนักถงึ ความสำคญั และมีภาวะความเป็นผูน้ ำ
ประเด็นที่ 4 : .วิจยั และพฒั นา
สถาบันพระปกเกล้าควรเน้นการวิจัยและพัฒนาเพื่อสนับสนุนความต้องการของสมาชิกรัฐสภาและ
สนับสนุนการแก้ไขปัญหาดา้ นการเมอื ง กฎหมายและประชาธปิ ไตยของประเทศ รวมทงั้ การติดตามผลของ
การบังคับใชก้ ฎหมาย ตลอดจนการจัดสรรทุนสนบั สนนุ การวจิ ยั ควรเปดิ เผย โปรง่ ใส และมีธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า ควรศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะแนวทางการทำงานของสมาชิกรัฐสภาและ
กรรมาธกิ ารในการพจิ ารณาอนุมัติ รา่ งพระราชบญั ญัตติ ่าง ๆ
รัฐสภา ควรพัฒนาให้เป็นองค์กรที่ทันสมัย นำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินงานควบคู่กับสร้างสภาพแวดล้อมให้เป็น
องค์กรสีเขยี ว (Green Office) รวมทง้ั จดั ให้มีลานกจิ กรรมในพ้ืนท่รี ฐั สภา เพ่อื ให้รฐั สภาเปน็ พนื้ ที่ของประชาชนในการจัด
กจิ กรรมที่ประชาธปิ ไตย
ประเด็นที่ 5 : .การบรหิ ารจดั การเผยแพร่ ประชาสมั พันธ์
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎรควรมีแผนพัฒนาสถานีวทิ ยุโทรทัศนร์ ัฐสภา ใหค้ รอบคลมุ พนื้ ทีท่ ่วั ประเทศ และ
สามารถเข้าถึงประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิผล เพื่อส่งเสริมประชาธิปไตยและเผยแพร่ทำงานของ
รฐั สภาและสมาชกิ รฐั สภา
สถาบนั พระปกเกลา้ ควรใหค้ วามสำคัญกบั การจัดพมิ พแ์ ละเผยแพรผ่ ลงานวิจัยและเอกสารวิชาการเพื่อให้
สาธารณชนรบั ร้แู ละใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ย่างทั่วถึง รวมทัง้ ควรมีการตดิ ตามประเมนิ ผลการนำไปใชป้ ระโยชน์
ประเด็นท่ี 6 : .การบรหิ ารจดั การ.โครงการ และงบประมาณ
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ควรกำกับดูแลการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ โดยให้
ความสำคัญกับการใช้งานในภารกิจของรัฐสภา ความสมบูรณ์ และมีคุณภาพในเชิงสถาปัตย์
สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร หน้า 13
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรัฐสภา
ประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ ปี 2564 ปี 2565
ส.ส. ส.ว. ส.ส. ส.ว.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ควรทบทวนรายการ โครงการ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ
เดินทางไปศึกษาดูงาน ประชุมสัมมนา อบรม ณ ต่างประเทศ และควบคุมการประชุมที่ต้องมีผู้เข้าร่วม
จากต่างประเทศให้เหมาะสมตามภารกิจที่ต้องดำเนินการและให้สอดคล้องกับสถานการณ์ เพื่อลด
ความเส่ียงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
สำนักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร ควรให้คณะกรรมาธกิ ารศกึ ษาการจัดทำและตดิ ตามการบรหิ ารงบประมาณ
ทำการศึกษาและติดตามการจัดทำงบประมาณในปีงบประมาณถัดไปร่วมกับทุกหน่วยงานตลอดระหว่าง
ปีงบประมาณ เพื่อให้มีข้อมูลนำเสนอต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจำปี พ.ศ. ... ได้ครบถว้ นมากยิง่ ขนึ้
ประเดน็ ที่ 7 : .สวัสดกิ ารบคุ ลากร
สำนกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ควรใหค้ วามสำคัญในเร่ืองสวัสดิการของบคุ ลากรรฐั สภาทุกประเภทและ
ทุกระดับอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อสร้างแรงจูงใจให้มีการปฏิบัติงานอย่างเต็มกำลังและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
รวมทงั้ ใหค้ วามสำคญั กับผทู้ ี่มคี วามจำเป็นต้องปฏบิ ัตหิ น้าท่ี นอกเวลาราชการและคำนึงถึงความปลอดภัยในการ
ปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการนอกจากนี้ ควรจัดให้มีสวัสดิการหรือสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับข้าราชการ
รฐั สภาทม่ี ภี าระต้องเลีย้ งดบู ตุ รในระหวา่ งการปฏบิ ัติหนา้ ที่ เช่น ศนู ยเ์ ลี้ยงเดก็ หรือห้องปัม๊ นม เป็นต้น
ประเด็นท่ี 8 : .การบรู ณาการทำงาน
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา และสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ควรบูรณาการการทำงานร่วมกัน
โดยเฉพาะในภารกจิ ท่ไี ด้รบั ประโยชน์รว่ มกนั เพือ่ ความคุม้ ค่าและเกิดประโยชนส์ ูงสุด
สถาบันพระปกเกล้า ควรมบี ทบาทในการช่วยสนบั สนุนภารกิจการดำเนินการของรฐั สภา สภาผู้แทนราษฎร
และวฒุ ิสภาดา้ นงานวิจัย โดยกำหนดเปน็ เปา้ หมาย และแนวทางการดำเนนิ การทมี่ ุ่งเนน้ งานดา้ นวิชาการ
8. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของ PBO
8.1 การกำหนดผลสัมฤทธแิ์ ละเปา้ หมายการใหบ้ รกิ ารหน่วยงาน
เนื่องจากสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา เป็น
หน่วยงานที่สนับสนุนการปฏิบัติงานของฝ่ายนิติบัญญัติตามรัฐธรรมนูญให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น
ผลสัมฤทธ์ขิ องการดำเนินงานและการใชจ้ ่ายงบประมาณ ของทงั้ 2 หน่วยงาน ควรมีแนวทางไปในทศิ ทางเดยี วกัน
เป้าหมายเดียวกัน สอดคล้องกับข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาร่างพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (วุฒิสภา) “สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาและสำนักงาน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ควรมีการหารือร่วมกันเพื่อกำหนดใหแ้ ผนงาน/โครงการและการใช้งบประมาณ
ที่จะดำเนินการให้อยู่ภายใต้แผนแม่บทและยุทธศาสตร์ชาติด้านเดียวกัน เพราะสำนักงานทั้งสองมีภารกิจ
ใกล้เคยี งกนั แผนงาน/โครงการ รวมทั้งการใช้งบประมาณต้องอยู่ภายใตแ้ ผนแม่บทและยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ น
เดียวกัน นอกจากนั้น การกำหนดตัวชี้วัดทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณจะต้องสอดคล้องกับแผนการ
ดำเนินงานเป็นรูปธรรม และมีการบริหารงานบุคคลที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน” ซึ่งจากเอกสารงบประมาณ ปี 2566
พบว่า ทั้ง 2 หน่วยงาน ยังคงมีทิศทางในการกำหนดผลสัมฤทธิ์ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ และเป้าหมาย ตัวชี้วัดการ
ให้บริการหน่วยงานที่แตกตา่ งกัน เช่น การกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของผลสมั ฤทธิ์และประโยชน์ทีค่ าดว่าจะ
ได้รับ โดยสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ให้ความสำคัญกับกระบวนการตรากฎหมายที่มีประสิทธิภาพ
เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชน การบรรลุเป้าหมายในการสนับสนุนภารกิจของวุฒิสภา ในขณะที่
สำนักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร ให้ความสำคัญกับความเชือ่ มั่นของประชาชนต่อกระบวนการนิติบญั ญัติ
และกลไกการจดั ทำรา่ งกฎหมายและเขา้ ชอื่ เสนอกฎหมาย
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร หนา้ 14
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรฐั สภา
8.2 ระบบการบริหารจดั การอาคารรฐั สภา
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา เป็นส่วนราชการ
ภายใต้หน่วยงานรัฐสภาที่อยู่ภายในอาคารสำนักงานแห่งเดียวกัน ระบบการบริหารจัดการภาพรวมเป็นความ
รับผิดชอบของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและสะดวกรวดเร็วในการบริหาร
จัดการ ทั้งนี้ในส่วนของงานรักษาความปลอดภัยภายในพื้นที่ของอาคารรัฐสภา ควรมีอยู่ภายใต้มาตรฐานและการ
ปฏิบัติที่เปน็ แนวทางเดียวกนั
8.2 ค่าเชา่ รถตโู้ ดยสาร
ในปัจจุบัน ได้มีการขนย้ายหน่วยงานทั้งหมดมาปฏบิ ัติหน้าที่ท่อี าคารรฐั สภาแห่งใหม่อย่างเต็ม
รปู แบบ ทั้ง สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา และสำนักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร ยังคงมีงบประมาณท่ีเป็นรายการ
ผูกพัน สำหรบั ค่าเช่ารถตโู้ ดยสาร ดงั น้ี
หน่วยงาน ระยะเวลาผูกพนั จำนวนคนั วงเงนิ ทัง้ สัญญา ตัง้ ปี 2566
สำนักงานเลขาธกิ ารวุฒสิ ภา 6 ปี 2563-2568 22 คนั 43.8636 8.7728
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร 5 ปี 2564-2568 30 คัน 53.6110 10.6220
รวมท้ังสนิ้ 42 คัน 83.6676 16.7336
จึงค วรพิจารณาทบทวนค ่า ใช้จ่ายสำหรับเป็นค่าเช่ารถ ตู้ โดยสา รให้มีความเ หมาะสม
สอดคลอ้ งกับภารกจิ และความจำเป็นต่อการใช้งานเพื่อใหก้ ารใชจ้ า่ ยงบประมาณเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ
8.3 การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลดา้ นวชิ าการ และดา้ นกฎหมายอยา่ งทั่วถึงและเทา่ เทยี ม
การปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้น รัฐสภาเป็นองค์การสำคัญที่ทำหน้าที่ทางนิติบัญญัติ
โดยการตรากฎหมาย เพื่อใช้บริหารราชการแผ่นดิน ทำหน้าที่ควบคุมตรวจตราดูแลการบริหารงานของรัฐบาลให้
เป็นไปตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อสภา โดยภารกิจหนึ่งท่ีสำคัญของหน่วยงานของรฐั สภา คือ การเป็นหน่วยงาน
สนับสนุนส่งเสรมิ องคค์ วามรู้ ข้อมลู ตา่ ง ๆ ทง้ั ทางด้านกฎหมาย และดา้ นวิชาการที่เกีย่ วขอ้ ง ซึง่ ปัจจบุ ันหน่วยงาน
ในภายใต้กำกับหลายส่วนที่ทำหน้าที่ผลิตผลงานด้านวิชาการสนับสนุนฝ่ายนิติบัญญัติในการพิจารณ าเห็นชอบ
ร่างกฎหมายโดยเฉพาะพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี การติดตามการดำเนินงานและการใช้จ่าย
งบประมาณของฝ่ายบริหารในแต่ละด้าน ผลงานผลผลิตดังกล่าวล้วนแล้วเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์
สำหรับประชาชนในการนำไปใช้สำหรับการติดตาม ตรวจสอบการบริหารราชการแผ่นดินของฝ่ ายบริหารให้
เป็นไปอยา่ งค้มุ คา่ โปร่งใส ดังนั้น หน่วยงานของรฐั สภาจงึ ควรให้ความสำคญั ในการเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ข้อมูล
ด้านวิชาการ และด้านกฎหมายให้ครอบคลุมทุกช่องทาง และอำนวยการให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้
สะดวก และง่ายต่อการสืบค้น เพื่อสร้างการรับรู้ให้กับประชาชนให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกันภายใต้ระบอบ
ประชาธิปไตย
_________________________________
สำนกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร หน้า 15
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หน่วยงานของรฐั สภา
สถาบนั พระปกเกลา้ เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 เลม่ ที่ 15 หนา้ 5 - 16
1. วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ อำนาจหนา้ ท่ี
วิสยั ทัศน์
สถาบันวิชาการชั้นนำดา้ นการพัฒนาประชาธิปไตยธรรมาภิบาล และสันติวิธี มุ่งนำความรูส้ ู่สังคมเพื่อประโยชน์
ส่วนรวม
พนั ธกิจ
1. ศึกษาวิจัยทางวชิ าการเพื่อสร้างองคค์ วามรู้ และเสนอแนะการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาการเมือง การ
ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอย่างเป็นระบบ
2. ให้บรกิ ารทางวิชาการทงั้ ในรูปของการศกึ ษาอบรมทางวิชาการ ให้คำปรกึ ษา ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและ
บริการข้อมลู ขา่ วสารเก่ยี วกับความรทู้ างการเมือง การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย ธรรมาภบิ าลและสนั ตวิ ิธี
3. ส่งเสริมงานวชิ าการของรัฐสภา
4. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และสนับสนุนความรู้ความเข้าใจ และการใช้สิทธิหน้าที่ ของพลเมืองตาม
รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย
5. ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์การทั้งในและต่างประเทศ เพื่อการพัฒนาการเมือง การปกครองใน
ระบอบประชาธปิ ไตย ธรรมาภิบาล และสนั ติวธิ ี
6. สง่ เสริมและพฒั นาพิพธิ ภณั ฑพ์ ระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอย่หู วั ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านพระปกเกลา้ ศกึ ษา
7. บรหิ ารงานกองทนุ เพ่อื การพฒั นาและเผยแพร่ประชาธปิ ไตย
อำนาจหน้าท่ี
ตามพระราชบัญญัติสถาบันพระปกเกล้า พ.ศ. 2541 การจัดตั้ง วัตถุประสงค์ และอำนาจหน้าที่ของ
สถาบัน มาตรา 5 ให้จัดตั้งสถาบันขึ้น เรียกว่า “สถาบันพระปกเกล้า” และให้สถาบันน้ีเป็นนิตบิ ุคคลอยู่ในกำกับ
ดแู ลของ ประธานรัฐสภา กิจการของสถาบันไม่อยภู่ ายใต้บงั คับแห่งกฎหมายว่าดว้ ยการคมุ้ ครองแรงงานกฎหมาย
ว่า ด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน ทั้งนี้ เลขาธิการ รอง
เลขาธิการ พนักงานและลูกจ้างของสถาบันต้องได้รับประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้ในกฎหมาย ว่า
ดว้ ยการค้มุ ครองแรงงานกฎหมายวา่ ดว้ ยประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงนิ ทดแทนสถาบันเป็นหน่วยงานของ
รฐั ท่ีไม่เปน็ ส่วนราชการตามกฎหมาย ว่าดว้ ยการจดั ระเบยี บปฏิบัตริ าชการฝ่ายรัฐสภา และไม่เปน็ รฐั วิสาหกิจตาม
กฎหมายวา่ ด้วยการงบประมาณและกฎหมายอ่ืน
มาตรา 6 สถาบนั มวี ตั ถปุ ระสงคด์ ังนี้
(1) ศึกษาและวิเคราะห์ทางวิชาการต่างๆเพ่ือเป็นแนวทาง ในการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างเป็นระบบ
(2) ประสานงานกบั หนว่ ยงานอืน่ ๆ ด้านนโยบายเพ่ือการพัฒนา ประชาธปิ ไตย
(3) วิจยั และสนับสนุนการวจิ ัยเพ่ือการพฒั นาประชาธิปไตย
(4) เผยแพร่และสนับสนุนการเผยแพร่ประชาธิปไตยตามรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(5) จดั และสนับสนนุ การศึกษาอบรมบุคลากรจากภาครฐั ภาคเอกชน และประชาชนเกย่ี วกบั
การเมือง การปกครอง และการเศรษฐกิจและสงั คมในระบอบประชาธปิ ไตย
(6) บริการข้อมลู ขา่ วสารเก่ียวกับความร้แู ละผลงานวิจัย และวิชาการทางการเมืองการปกครอง
ใน ระบอบประชาธิปไตย
(7) สง่ เสรมิ ความรว่ มมือกับองค์กรในประเทศและตา่ งประเทศ ในกจิ การเก่ยี วกับการพัฒนา
ประชาธิปไตย
สำนกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร หน้า 16
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หน่วยงานของรัฐสภา
(8) ส่งเสริมงานวชิ าการของรัฐสภา
(9) บริหารกองทุนตามพระราชบัญญตั นิ ้ี
(10) กระทำการอ่นื ใดตามท่ีกฎหมายกำหนดให้เปน็ หน้าท่ขี องสถาบนั หรอื ตามท่ีสภาสถาบนั กำหนด
2. ผลสมั ฤทธิ์และประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รบั จากการใช้จ่ายงบประมาณ
3. สรปุ ภาพรวมงบประมาณ
งบประมาณปี 2566 สถาบนั พระปกเกล้า ไดร้ ับจดั สรรทงั้ ส้นิ จำนวน 216.5720 ล้านบาท หรอื รอ้ ยละ 2.74
ของงบประมาณหน่วยงานรัฐสภา เพิ่มขึ้น จากปีงบประมาณ 2565 จำนวน 18.5906 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.39
โดยงบประมาณจำแนกตามแผนงานต่าง ๆ ดังนี้
แผนงาน หน่วย : ลา้ นบาท
สถาบนั พระปกเกลา้ งบประมาณรายจ่าย สดั สว่ น เพมิ่ - ลด ร้อยละ
1. แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ ปี 2565 ปี 2566
2. แผนงานพนื้ ฐานดา้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ 197.9814 216.5720 100.00 18.5906 9.39
ผลผลิต : การสร้างองคค์ วามร้ใู นการพฒั นาประชาธิปไตย 103.7454 111.3573 51.42 7.6119 7.34
3. แผนงานยุทธศาสตร์พฒั นาและเสริมสร้างการเมืองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี 77.4036 61.3242 28.32 - 16.0794 -20.77
พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข 77.4036 61.3242 28.32 - 16.0794 -20.77
ผลผลติ : การสร้างองคค์ วามรแู้ ละตระหนักถึงการทาหน้าทพ่ี ลเมอื งทด่ี ตี ามวิถีระบอบ 16.8324 43.8905 20.27 27.0581 160.75
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
ทมี่ า : เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 เล่มท่ี 15 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - 2566 16.8324 43.8905 20.27 27.0581 160.75
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร หนา้ 17
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หน่วยงานของรัฐสภา
เมื่อพิจารณาโครงสร้างงบประมาณ ในช่วงปี 2562 - 2566 พบว่า สถาบันพระปกเกล้า มีสัดส่วน
“รายจ่ายประจำ” อยู่ที่ร้อยละ 87.11 ในขณะที่ “รายจ่ายลงทุน” มีสัดส่วนค่าเฉลีย่ ร้อยละ 12.89 ปี 2566 รายจ่าย
ประจำมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 86.10 เป็น ร้อยละ 93.42 และรายจ่ายลงทุนมีสัดส่วนลดลงจากร้อยละ
13.90 เป็น รอ้ ยละ 6.58
4. เงนิ นอกงบประมาณ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สถาบันพระปกเกล้า มีเงินนอกงบประมาณ ตามเอกสาร
งบประมาณฉบับที่ 7 รวมจำนวน 689.4807 ล้านบาท ไม่นำเงินนอกงบประมาณไปสมทบงบประมาณรายจ่าย
ประจำปี และมีแผนการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณจำนวน 216.5720 ล้านบาท ส่งผลให้มีรายได้เงินนอกงบประมาณ
สุทธิ จำนวน 472.9087 ล้านบาท เป็นรายได้เงินนอกงบประมาณสะสมยกไปปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ทั้งน้ี
หน่วยงานของรัฐสภาได้จดั สรรงบประมาณเป็นเงินอดุ หนนุ เมื่อใช้จ่ายและคงเหลือแล้วสามารถเก็บไว้ที่หน่วยงาน
โ ด ย ไ ม ่ ต ้ อ ง น ำ ส ่ ง ค ื น ค ลั งเป็ น
รายได้แผ่นดิน ดังนั้นหน่วยงานจึง
ถือวา่ เงนิ งบประมาณทร่ี ับจัดสรร
ให้เป็นเงินนอกงบประมาณ
ทั้งจำนวน ซึ่งอาจไม่สะท้อนถึง
รายได้ที่เกิดจากการดำเนินงาน
ข อ ง ห น ่ ว ย ง า น อ ย ่ า ง แ ท ้ จ ริ ง
ซึ่งหากพิจารณารายได้ใน
ส่วนที่เกิดจากการดำเนินงาน
พบว่า ในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566 สถาบันพระปกเกล้า
มีรายได้จากการดำเนินงาน
54.0000 ลา้ นบาท
ทม่ี า : 1. เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 7 รายงานสถานะและแผนการใช้จา่ ยเงินนอกงบประมาณของหน่วยรับงบประมาณประจำปงี บประมาณ 2566 หนา้ 275 – 278
2. รายไดเ้ งินนอกงบประมาณกับการสมทบงบประมาณรายจ่ายประจำปี สำนกั งบประมาณของรฐั สภา
หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เปน็ ข้อมลู ท่ีเกดิ ขน้ึ จรงิ สำหรบั ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 – 2568 เปน็ การประมาณการ
2. หนว่ ยงานทร่ี ับจัดสรรงบประมาณเป็นเงนิ อุดหนุน นับรวมเงินงบประมาณรายจา่ ยประจำปีเป็นรายได้เงินนอกงบประมาณประจำปี
สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร หนา้ 18
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรฐั สภา
5. ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณประจำปีงบประมาณ 2563 – 2565
จากรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี ตามระบบบริหารการเงินและการคลังภาครัฐ
แบบอิเล็กทรอนิกสใ์ หม่ (New GFMIS Thai) ในชว่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 – 2565 พบว่า ณ วนั ที่ 19 กรกฎาคม 2565
สถาบันพระปกเกล้า มีงบประมาณหลังโอนเปล่ียนแปลง จำนวน 197.9814 ล้านบาท เบิกจ่ายจำนวน197.9814 ล้านบาท
คดิ เปน็ ร้อยละ 100 จำแนกเป็นรายจ่ายประจำ เบิกจา่ ยจำนวน 170.4544 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 100 รายจ่ายลงทุนเบิกจ่าย
จำนวน 27.5270 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 100.00 รายละเอียดตามตาราง ดงั น้ี
หน่วย : ลา้ นบาท
ท่มี า : ระบบบรหิ ารการเงินการคลังแบบอิเล็กทรอนกิ ส์ใหม่ (New GFMIS Thai) กรมบญั ชกี ลาง
6. ขอ้ สังเกต/ความเหน็ ของ PBO
1. ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ ตามเอกสาร
งบประมาณ ฉบบั ท่ี 3 งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 เลม่ ท่ี 15 หน้า 6
: ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการศึกษาอบรมกลุ่มเป้าหมายที่ปรับเปลี่ยนทัศนคติ และพฤติกรรมความ
เปน็ ผนู้ ำตามระบอบประชาธิปไตย
: ร้อยละ 80 ของกลมุ่ เป้าหมายท่ีมพี ฤติกรรมความเปน็ พลเมอื งตามระบอบประชาธิปไตย
กรณีดังกล่าว สถาบันฯ มีแนวทางในการกำหนดตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ฯ อย่างไร เหตุใดจึงกำหนดไว้
ท่ีร้อยละ 80 อย่างตอ่ เน่ืองตั้งแตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สถาบนั ฯ วัดผลอย่างเป็นรูปธรรมอย่างไรในการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม
2. การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับฝ่ายนิติบัญญัติ จากอำนาจหน้าที่และวัตถุประสงค์ของ
การจัดตั้งสถาบัน ในข้อ (1) ศึกษาและวิเคราะห์ทางวิชาการต่างๆ เพื่อเป็นแนวทาง ในการพัฒนาประชาธิปไตย
อยา่ งเปน็ ระบบ และ (8) ส่งเสรมิ งานวิชาการของรฐั สภา ดังน้ัน
1) ผลงานวิจัย หรือผลงานวิชาการ ควรช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงานและเสริมสร้างความ
เข้มแข็งของฝ่ายนิติบัญญัติ โดยเฉพาะการสร้างองค์ความรู้ และเสนอแนะการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนา
การเมอื ง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
2) สถาบันควรดำเนินการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะให้เกิดการปฏิรูปกระบวนการ
พิจารณากฎหมาย โดยเฉพาะกฎหมายเกี่ยวด้วยการเงินให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส เป็นธรรม และเป็นกลาง
ทางการเมอื ง
3. การเผยแพร่ผลงานวชิ าการ สถาบนั พระปกเกลา้ เป็นแหลง่ ข้อมลู ผลงานวจิ ัย หรอื ผลงานวิชาการ
ที่ได้รับการยอมรับ และถูกนำไปอ้างอิง หรือนำไปประยุกต์ใช้เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตย ธรรมาภิ
บาล เพ่อื ประโยชนส์ ขุ ของประเทศชาติอยา่ งย่งั ยนื อย่างไรกต็ าม ที่ผา่ นมา การเขา้ ถงึ แหล่งข้อมลู ของสถาบันทาง
เว็บไซต์เขา้ ถงึ ไดย้ าก ผู้เข้ารับบริการต้องเปน็ สมาชิก หรอื ต้องเป็นนกั ศึกษาของสถาบนั เท่านั้น บุคคลที่สนใจทวั่ ไป
ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ จึงทำให้ผลงานวิชาการยังไม่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ในวงกว้าง ดังนั้น สถาบันฯ
ควรพฒั นาระบบการเข้าถงึ แหลง่ ขอ้ มูลด้านวชิ าการใหส้ าธารณชนสามารถเข้าถงึ ได้อย่างแพรห่ ลาย
สำนกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร หนา้ 19
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรัฐสภา
4. การบูรณาการด้านข้อมูลด้านงานวิจัย หรือผลงานวิชาการ สถาบันมีภารกิจในการส่งเสริม
งานวิชาการของรัฐสภา ภารกิจนี้เป็นการส่งเสริมงานวิชาการในภาพรวมของรัฐสภาที่มีหน่วยงานประกอบด้วย
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา อย่างไรปัจจุบันมีการบูรณาการข้อมูลด้าน
งานวิจัย หรือผลงานวิชาการกับหน่วยงานภายใต้สำนักงานฯ ทั้ง 2 ดังกล่าวอย่างไร ในประเด็นใด หน่วยงาน
ใดบา้ ง
_________________________________
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร หน้า 20
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรัฐสภา
สำนกั งานเลขาธกิ ารวฒุ สิ ภา (เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เล่มที่ 15 หน้า 17 - 35)
1. วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ อำนาจหน้าท่ี
วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรหลักด้านนติ ิบญั ญัติของประเทศทีม่ ีสมรรถนะสูง ในการสนับสนุนภารกิจวฒุ ิสภา
เพื่อประชาชนและประโยชนส์ ว่ นรวม
พันธกิจ :
1.สนบั สนุนการขบั เคล่อื นภารกิจด้านนิตบิ ญั ญตั ิ
2. สนับสนุนภารกิจด้านการติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ และการดำเนินการตาม
ยุทธศาสตร์ชาติ
3. ยกระดับการพฒั นางานดา้ นกฎหมายและงานดา้ นวชิ าการของวฒุ สิ ภา
4. บริหารจดั การใหเ้ ป็นองค์กรท่ีมีสมรรถนะสูง ทนั สมัย ตามหลกั ธรรมาภบิ าล และทันตอ่ การเปลย่ี นแปลง
5. พัฒนาและเสริมสร้างการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และ
ส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มของประชาชน
2. ผลสมั ฤทธิแ์ ละประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับจากการใชจ้ ่ายงบประมาณ
สำนักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร หน้า 21
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หน่วยงานของรฐั สภา
ขอ้ สังเกตสำนักงบประมาณของรัฐสภา
ในปี 2566 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา มีการปรับเปลี่ยนกำหนดตัวชี้วัดใหม่ 3 ตัวชี้วัด โดยยกเลิก
ตัวชี้วัดเดิม กรณีดังกล่าวมี หลักเกณฑ์การกำหนดอย่างไร ผลการดำเนินงานภายใต้ตัวชี้วัดเดิมเป็นอย่างไร มีปัญหา
อุปสรรคในการ ประเมินติดตามหรือไม่ ทั้งนี้ การกำหนดตัวชี้วัดต้องมีความสอดคล้องกับเป้าหมาย ตัวชี้วัดของ
แผนพัฒนาประเทศที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะความสอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ การปรับเปลี่ยนตัวชี้วัด
อาจส่งต่อความต่อเนอ่ื งในการขบั เคลือ่ นการดำเนินงาน และการตดิ ตามประเมนิ ผลที่เป็นรูปธรรม
3. สรุปภาพรวมงบประมาณ
งบประมาณปี 2566 สำนกั งานเลขาธิการวุฒิสภา ได้รบั จัดสรรทั้งสิ้น จำนวน 1,939.2886 ลา้ นบาท
หรือร้อยละ 24.52 ของงบประมาณหนว่ ยงานรัฐสภา เพ่ิมขึ้น จากปงี บประมาณ 2565 จำนวน 103.8419 ล้าน
บาท คดิ เป็นร้อยละ 5.66 โดยงบประมาณจำแนกตามแผนงานตา่ งๆ ดังนี้
สำนักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร หน้า 22
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หน่วยงานของรัฐสภา
เมื่อพิจารณาโครงสรา้ งงบประมาณ ในชว่ งปี 2562 - 2566 พบว่า สำนักงานเลขาธกิ ารวฒุ ิสภา มีสัดส่วน
“รายจา่ ยประจำ” เฉลีย่ อย่ทู ี่รอ้ ยละ 97.77 ในขณะที่ “รายจา่ ยลงทนุ ” มีสดั สว่ นเฉล่ียร้อยละ 2.23 ปี 2566 รายจ่าย
ประจำมสี ัดสว่ นเพ่ิมข้นึ จากร้อยละ 97.33 เป็น รอ้ ยละ 94.05 และรายจา่ ยลงทุนมสี ดั ส่วนลดลงจากร้อยละ 2.67
เปน็ รอ้ ยละ 5.95
สำนกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร หน้า 23
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรฐั สภา
4. ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณประจำปีงบประมาณ 2563 – 2565
จากรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี ตามระบบบริหารการเงินและการคลังภาครัฐ
แบบอเิ ล็กทรอนิกสใ์ หม่ (New GFMIS Thai) ในชว่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 – 2565 พบวา่ ณ วันที่ 19 กรกฎาคม 2565
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา มีงบประมาณหลังโอนเปลี่ยนแปลง จำนวน 1,835.4467 ล้านบาท เบิกจ่ายจำนวน
1,309.9878 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 71.37 จำแนกเป็นรายจ่ายประจำเบิกจ่ายจำนวน 1,303.5495 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
73.01 รายจ่ายลงทุนเบิกจ่ายจำนวน 6.4384 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.89 ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนต่ำกว่า
เปา้ หมายการเบิกจา่ ยงบประมาณและการใชจ้ า่ ยภาครัฐประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รายละเอียดตามตาราง ดังน้ี
หนว่ ย : ลา้ นบาท
ที่มา : ระบบบริหารการเงินการคลังแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ หม่ (New GFMIS Thai) กรมบญั ชกี ลาง
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาควรเร่งรัดดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการก่อหนี้ผูกพัน และเบิกจ่าย
งบประมาณรายจ่ายลงทุน เนื่องจากมีสัดส่วนการเบิกจ่ายที่อยู่ในระดับต่ำมาก ซึ่งสำนักงานฯ ได้รับจัดสรร
งบประมาณรายจ่ายงบลงทุนจำนวน 49.0637 ล้านบาท มีการเบิกจ่ายเพยี งจำนวน 6.4384 ล้านบาท คิดเป็นร้อย
ละ 12.89 ซง่ึ รายจ่ายงบลงทนุ ดงั กลา่ วไมเ่ ป็นรายการผูกพนั
ขอ้ สังเกตสำนกั งบประมาณของรฐั สภา
ขณะที่เหลือระยะเวลาในการดำเนินการเพียง 2 เดือน จะสิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนัก
งานฯ มีแนวทางดำเนินการเร่งรดั และติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณอยา่ งไร แนวโนม้ การเบกิ จ่ายจะเปน็ ไปตาม
เป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณและการใช้จ่ายภาครัฐประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หรือไม่อย่างไร ใน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 มีการต้ังงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ไมเ่ ป็นรายการผูกพนั จำนวน 115.4762 ลา้ นบาท
สูงกว่าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประมาณร้อยละ 42 มีการเตรียมการและวางแผนการดำเนินการให้สามารถ
เบกิ จ่ายงบประมาณได้ทันในปีงบประมาณพ.ศ. 2566 อยา่ งไร
_________________________________
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร หน้า 24
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรฐั สภา
สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร (เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 15 หน้า 37 - 60)
และกองทนุ เพื่อผู้เคยเป็นสมาชกิ รัฐสภา (เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เลม่ ที่ 15 หน้า )
1. วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ และผลสมั ฤทธิแ์ ละประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ บั จากการใชจ้ า่ ยงบประมาณ
วิสัยทศั น์ : สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร เป็น SMART Parliament
พันธกิจ : 1. เสรมิ สรา้ งกระบวนการนติ ิบัญญตั ิให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล
2. เสริมสรา้ งบทบาทและความร่วมมือในเวทรี ัฐสภาอาเซยี นและรฐั สภาระหวา่ ง
ประเทศ
3. เสริมสรา้ งวฒั นธรรมทางการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชนในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข
ผลสัมฤทธิแ์ ละประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับจากการใชจ้ ่ายงบประมาณ
สำนกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร หน้า 25
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หน่วยงานของรัฐสภา
ขอ้ สังเกตสำนกั งบประมาณของรัฐสภา
ตัวช้ีวดั ผลสัมฤทธป์ิ ระชาชนมีความเชื่อม่ันต่อกระบวนการยตุ ธิ รรม ที่กำหนดไวใ้ นปงี บประมาณ พ.ศ. 2566
หน่วยงานมีแนวทางในการกำหนดตัวชี้วัดอย่างไร วัดความพึงพอใจที่ร้อยละ 80 ของการเข้าใช้ข้อมูลด้าน
กระบวนการนิติบัญญัติผา่ นระบบดิจทิ ัล และไมน่ ้อยกว่า 30,000 คร้ัง ในการเข้าใช้ข้อมูลด้านกระบวนการนิติ
บัญญตั ผิ า่ นระบบดจิ ิทัล กลมุ่ เป้าหมายทเ่ี ป็นประชาชน ตัวจริงหรือไม่ มกี ารพิสูจน์การเข้าถึงและการประเมิน
ความพึงพอใจอย่างไร
3. สรุปภาพรวมงบประมาณ
งบประมาณปี 2566 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ได้รับจัดสรรทั้งสิ้น จำนวน 5,596.3127
ลา้ นบาท หรือรอ้ ยละ 70.76 ของงบประมาณหน่วยงานรัฐสภา ลดลง จากปีงบประมาณ 2566 จำนวน 458.6020
ลา้ นบาท คิดเปน็ ร้อยละ 7.57 โดยงบประมาณจำแนกตามแผนงานต่าง ๆ ดังน้ี
สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร หน้า 26
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หน่วยงานของรัฐสภา
เมื่อพิจารณาโครงสร้างงบประมาณ ในช่วงปี 2562 - 2566 พบว่า สำนักงานเลขาธิการสภา
ผู้แทนราษฎร สดั ส่วน“รายจ่ายประจำ” มีแนวโนม้ สงู ขนึ้ อย่างตอ่ เน่ือง โดยมีสดั ส่วนเฉลีย่ อยทู่ ี่ร้อยละ 59.41 ในขณะท่ี
“รายจ่ายลงทุน” มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยสัดส่วนเฉลี่ยร้อยละ 40.59 สำหรับปี 2566 รายจ่ายประจำมี
สัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดจากร้อยละ 66.42 เป็น ร้อยละ 78.96 และรายจ่ายลงทุนมีสัดส่วนลดลงจากร้อย
ละ 33.58 เป็น ร้อยละ 21.04 เนื่องจากการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ในสว่ นของโครงสร้างหลกั ของอาคาร
ได้ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้วรายจ่ายลงทุนที่ได้รับจัดสรรในปี 2566 ส่วนใหญ่เป็นงบประมาณสำหรับระบบ
สาธารณปู โภค สาธารณูปการ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และงานประกอบอ่ืน ๆ
สำนกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร หนา้ 27
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรัฐสภา
6. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปงี บประมาณ 2563 – 2565
จากรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี ตามระบบบริหารการเงินและการคลังภาครัฐ
แบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ในชว่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2565 พบวา่ ณ วนั ท่ี 19 กรกฎาคม 2565
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร มีงบประมาณหลังโอนเปล่ยี นแปลง จำนวน 6,054.9147 ลา้ นบาท เบกิ จ่ายจำนวน
4,430.6106 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ73.17 จำแนกเป็นรายจ่ายประจำเบิกจ่ายจำนวน 2,802.2824 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
69.91 รายจ่ายลงทุนเบกิ จา่ ยจำนวน 1,628.3282 ลา้ นบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 79.57 รายละเอยี ดตามตาราง ดงั นี้
หนว่ ย : ลา้ นบาท
ท่มี า : ระบบบริหารการเงนิ การคลงั แบบอิเลก็ ทรอนิกสใ์ หม่ (New GFMIS Thai) กรมบญั ชีกลาง หน้า 28
สำนกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หน่วยงานของรัฐสภา
6. รายงานงบการเงนิ
ตามพระราชบัญญัติวินัยการเงนิ การคลงั ภาครฐั พ.ศ. 2561 มาตรา 17 กำหนดให้การจดั สรรงบประมาณ
ต้องคำนึงถึงฐานะเงินนอกงบประมาณของหน่วยงานที่สามารถใช้จ่ายได้ รวมถึงรายได้หรือเงินอื่นใด
ที่หน่วยงานของรัฐนั้นมีอยู่หรือสามารถนำมาใช้จ่ายได้ ดังนั้น สำนักงบประมาณของรัฐสภา เห็นว่า การวิเคราะห์
งบการเงินของหน่วยรับงบประมาณจะเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
จึงได้วิเคราะห์งบการเงินจากการสืบค้นรายงานประจำปี 2564 (https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/
parliament_parcy/ewt_dl_link.php?nid=85512&filename=index) ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ซึง่ มีประเดน็ สำคญั ดงั น้ี
6.1 การวิเคราะหส์ ภาพคล่อง จากข้อมูลในงบแสดงฐานะการเงินของสำนักงานฯ ณ วันท่ี 30
กันยายน 2564 เพื่อประเมินฐานะการเงินโดยรวม
ในเบื้องต้นของหน่วยรับงบประมาณ ด้วย
อัตราส่วน Current Ratio : ส ิ น ท ร ั พ ย์
หมุนเวียน/หน้ีสินหมุนเวียน (ตลาดหลักทรัพย์
แห ่ งประเ ทศไทย, 2556) ซ ึ ่ ง แ ส ด ง ถึ ง
ความสามารถในการชำระหนี้ระยะสั้นของ
สำนักงานฯ ได้ 1.17 เท่า ซึ่งข้อมูลในงบแสดง
ฐานะการเงิน พบว่า สำนักงานฯ ลูกหนี้ระยะส้ัน
จำนวนสูงมากถึง 699.5660 ล้านบาท
คิดเปน็ ร้อยละ 92.19 ของสนิ ทรพั ยห์ มุนเวยี นรวม
สินทรพั ย์หมนุ เวยี น/หนส้ี ินหมนุ เวยี น = 758.8404/648.5727 ทั้งนี้ตามรายละเอียดหมายเหตุงบการเงินที่ 6
= 1.17 เทา่ พบว่า ลูกหนี้ระยะสั้นประกอบด้วย 3 บัญชี คือ
ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ 120.6097 ล้านบาท
คิดเป็นร้อยละ 17.24 เงินจ่ายล่วงหน้า จำนวน
574.4116 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 82.11 และ
รายไดค้ า้ งรบั 4.5447 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 0.65
ข้อสังเกตสำนักงบประมาณของรัฐสภา
จากหมายเหตุประกอบงบการเงินหมายเลขที่ 6 สำนักงานฯ มีลูกหนี้ที่เกินกำหนดชำระ 15 วัน ซึ่งส่วนใหญ่เป็น
ลูกหนี้ตั้งแต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 รวมจำนวน 2.6081 ล้านบาท สำนักงานฯ มีการติดตามการชำระของลูกหนี้
จำนวนดังกลา่ ว ตามทีร่ ะเบียบฯ กำหนดอย่างไร ปัจจุบันมีการชำระแล้วหรือไม่
สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร หนา้ 29
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรัฐสภา
6.2 การวิเคราะห์รายได้ และค่าใช้จ่าย จากข้อมูลในงบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงินของ
สำนักงานฯ โดยวิเคราะห์โครงสร้างรายได้ และค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานในรอบระยะเวลาบัญชี เพื่อประเมิน
ประสิทธิภาพในการดำเนินงานจากรายงานแสดงผลการดำเนินงานสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2564 สรุปผลการ
วเิ คราะห์รายได้ และค่าใช้จ่าย ดังน้ี
1. สำนักงานฯ มีค่าใช้จ่ายบุคลากรที่การ
เปลี่ยนแปลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
จำนวน 2 รายการ คอื
- ค่าใช้จ่ายบุคลากร เพิ่มขึ้นจากปี 2563
จำนวน 79.0634 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 5.70
- ค่าตอบแทน ลดลงจากปี 2563 จำนวน
101.6323 ล้านบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 6.27
2. เนอื่ งจากสำนักงานฯ ได้รบั จดั สรรงบประมาณ
เป็นเงินอุดหนุนทั่วไป เมื่อใช้จ่ายคงเหลือ
สำนักงานฯ สามารถเก็บสะสมไว้ใช้จ่ายใน
การดำเนินงานของสำนักงานฯ ได้โดยไม่ต้อง
นำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน จากงบการเงิน พบว่า
สำนักงานฯ มีค่าใช้จ่ายต่ำกว่ารายได้ฯ อย่าง
ต่อเนื่อง รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ เฉล่ีย
3,351.7332 ล้านบาท ซงึ่ การท่ีสำนกั งานฯ
สะท้อนให้ทราบถึงประสิทธภิ าพของการใช้จ่าย
งบประมาณ ที่มีความล่าช้า เกิดจากปัญหา
อุปสรรคในด้านใดสำนักงานฯ มีแนวทางแก้ไข
และเร่งรัดการดำเนินงานและการใช้จ่ายเงิน
งบประมาณอยา่ งไร
4. ขอ้ สงั เกต/ความเหน็ ของสำนกั งบประมาณของรัฐสภา
1. การยกระดบั การใหบ้ รกิ ารด้านวชิ าการ
1) สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสำนักงาน/กลุ่มงานต่าง ๆ ที่มีภารกิจเกี่ยวเนื่องกันให้การ
ดำเนินงานเชงิ บูรณาการ มีการวางแผนการดำเนินงานรว่ มกันอย่างเป็นระบบ
2) พัฒนาช่องทางการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ข้อมูล เอกสารวิชาการให้มีความหลากหลาย
และทันสมัย โดยสามารถเชื่อมโยงข้อมูลทั้งหมดไว้ที่เดียว เพื่อให้สามารถเผยแพร่ข้อมูลให้กับสมาชิกรัฐสภา
คณะกรรมาธิการฯ และผ้รู ับบริการกล่มุ ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งท่ัวถงึ และทนั เหตกุ ารณ์
3) ควรส่งเสรมิ ให้มีการพัฒนาบุคลากรให้มที ักษะ ความเชี่ยวชาญ และความเป็นมืออาชีพใน
ด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนือ่ ง รวมทั้งสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรมีจติ บริการท่ีดี และให้บริการด้วยความเสมอภาคและ
เทา่ เทียม จนเกิดเปน็ วัฒนธรรมขององค์กรต่อไป
2. การอำนวยความสะดวก
1) ควรจัดหาสถานที่จอดรถให้เพียงพอต่อปริมาณรถยนต์ โดยให้ความสำคัญกับข้าราชการ
ในสังกัดรัฐสภา เนื่องจากเป็นผู้ที่มีหน้าที่และสำคัญต่อการขับเคลื่อนการดำเนินงานของรัฐสภา หรือหากไม่
สามารถจัดหาสถานที่จอดรถให้เพียงพอจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพิจารณาถึงสวัสดิการในการจัดหายานพานะใน
การรับ-ส่ง บุคลากรของหน่วยงานให้มีความสะดวกและได้รับความผาสุกในการเดินทางมาปฏิบัติหน้าที่ ทั้งน้ี
สำนกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร หนา้ 30
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรฐั สภา
ต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมและเพียงพอต่อความต้องการของบุคลากรทุกระดับ ทุกคน ไม่เลือกปฏิบัติ
ผ่านการสำรวจความเหน็ จากบคุ ลากรทกุ คนภายในสำนักงานฯ
2) ควรเพิ่มมาตรการที่เข้มงวดในการตรวจสอบบุคคลเข้าออกภายในพื้นที่รัฐสภา เนื่องจากพื้นที่
รัฐสภาแห่งใหม่ โดยเฉพาะตัวอาคาร ซึ่งมีพื้นที่กว้างขวาง และมีทางเข้าหลายทาง จึงจำเป็นต้องมีระบบหรือมาตรการใน
การตรวจสอบ ควบคุมการเข้า-ออก ทีเ่ ขม้ งวด และครอบคลมุ ทว่ั ถึง โดยให้มมี าตรฐานเดยี วกนั ทงั้ อาคาร
3) แม้จะมีการเปิดใช้อาคารสำนักงานรัฐสภาแห่งใหม่อย่างเต็มรูปแบบมาตั้งแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 แต่ปัจจุบันการหาห้องประชุมยังเป็นปัญหาสำหรับสมาชิกรัฐสภา คณะกรรมาธิการฯ ส่วนราชการ และผู้ท่ี
เกย่ี วขอ้ ง ดงั นั้น ควรกำหนดแนวทางในการชแ้ี จงแผนผังอาคาร พร้อมจัดทำปา้ ยบอกทางไปยังหอ้ งประชมุ และห้อง
ต่าง ๆ ให้ชัดเจนและเป็นระบบ รวมทั้ง จัดทำตารางอิเล็กทรอนิกส์แสดงสถานะการประชุมและการใช้ห้อง
ประชมุ ตา่ ง ๆ ในแตล่ ะวัน เพ่ืออำนวยความสะดวกให้กับสมาชิกรัฐสภา คณะกรรมาธกิ ารฯ ผู้ทีเ่ กี่ยวข้อง ใน
การเขา้ ประชุม และรบั บริการของสำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร (ป้ายอจั ฉรยิ ะ)
3. จากเอกสารชี้แจงงบประมาณ ของสำนักงานฯ หน้าที่ 13 พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สำนกั งานฯ ไดร้ บั จัดสรรงบประมาณงบบุคลากรจำนวน 1,956.0231 ลา้ นบาท เบกิ จา่ ยจำนวน 1,918.3712 ล้านบาท
คงเหลอื งบประมาณ 37.9019 ลา้ นบาท คดิ เป็นร้อยละ 1.94 นอกจากน้ีใน หนา้ ที่ 5 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน
2,890.9817 ลา้ นบาท ณ วนั ที่ 31 พฤษภาคม 2565 เบิกจา่ ยแลว้ จำนวน 1,859.8178 ลา้ นบาท (ระยะเวลา 8 เดือน/
เดือนละ 232.4772 ) คิดเป็นร้อยละ 64.33 คงเหลือการดำเนินงานอีก 4 เดอื น เปน็ รายจ่ายบคุ ลากรจำนวน 929.9089
ล้านบาท รวมเป็นรายจ่ายบุคลากร 12 เดือน จำนวน 2,789.7267 ล้านบาท แต่สำนกั งานฯ ตงั้ งบประมาณไว้สูงกว่าท่ี
ต้องจ่ายจริงจำนวน 101.2550 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.50 สำนักงานฯ มีแนวทางในการขอรับจัดสรร
งบประมาณอย่างไร งบประมาณในส่วนที่ตั้งเกินไว้เกี่ยวข้องกับการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการในส่วนของการ
ประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการในช่วงปลายปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หรือไมอ่ ยา่ งไร
4. การยกระดบั การประชุม
1) ตามเอกสารชี้แจงงบประมาณ หน้า 49 สำนักงานฯ ตั้งงบประมาณในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
ค่าอาหารเลี้ยงรับรองสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันประชุม สูงจำนวน 72.0310 ล้านบาท และเป็นค่าอาหารเลี้ยง
รบั รองคณะกรรมิการสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 34.8461 ลา้ นบาท รวม 2 รายการเป็นงบประมาณจำนวน 106.8771
ล้านบาท ปัจจุบันระบบเทคโนโลยีได้มีการพัฒนา และสำนักงานฯ ยังตั้งงบประมาณในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ
พฒั นาระบบการประชุมไว้จำนวนมาก เพอื่ ใหล้ ดการเขา้ มาประชุม ณ อาคารรัฐสภา หากพฒั นาระบบการประชุม
แล้ว คา่ ใชจ้ า่ ยในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการรับรองสมาชิกฯ และค่าอาหารเลี้ยงรับรองฯ ดังกลา่ ว ยังคงจำเป็นต้องตั้ง
หรือไมอ่ ย่างไร ควรพิจารณาทบทวนเพ่ือให้การใช้จา่ ยงบประมาณเกิดประโยชน์สูงสดุ
2) ตามเอกสารชี้แจงงบประมาณ หน้า 52 – 53 สำนักงานฯ มีงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับระบบ
เทคโนโลยสี ารสนเทศสงู มาก ดงั น้ี
หนว่ ย : ล้านบาท
โครงการ วงเงิน
งบประมาณ
1. โครงการบำรุงรักษาโครงการจ้างงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโครงการก่อสร้าง 279.2120
อาคารรฐั สภาแห่งใหม่ พรอ้ มอาคารประกอบ
2. โครงการจัดจ้างบริการศูนย์ปฏิบัติการเฝ้าระวังและรักษาความม่ันคงปลอดภัยทางไซเบอร์ในการ 96.9050
ตรวจสอบ ติดตามเผ้าระวังรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์สำหรับอาคารรัฐสภา พร้อมอาคาร
ประกอบ
สำนกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร หน้า 31
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรฐั สภา
โครงการ วงเงนิ
งบประมาณ
3. โครงการจัดทำระบบประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของสภา 96.0517
ผแู้ ทนราษฎร
4. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์สำหรับห้องปฏิบัติงานของ 98.3000
สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร
5. โครงการพัฒนาแอพพลิเคชั่นระบบการประชุมทางไกลผ่านวีดีโอและการลงมติให้คะแนน 65.0000
ออนไลน์
รวมงบประมาณ 635.4687
- การดำเนินงานโครงการทั้ง 5 โครงการมีความเชื่อมโยงเกี่ยวเนื่องกันอย่างไร เมื่อเพ่ิม
ประสิทธิภาพในการประชุมออนไลน์ หรือผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์แล้ว จะทำให้ค่าใช้จ่ายที่
เก่ยี วข้องกับการจัดประชมุ ลดลง ดงั น้ัน ควรมกี ารพิจารณาทบทวนค่าใช้จ่ายท่ีเก่ียวข้องกับ
การจัดประชุมให้สอดคล้องกับข้อเท็จจริงจากการนำระบบและพัฒนาระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศในการประชุม
- ค่าใช้จ่ายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีการตั้งงบประมาณแล้วในปีงปบ
ระมาณ พ.ศ. 2565 แลว้ จำนวน 1,031.1590 ล้านบาท การดำเนินงานในคา่ ใชจ้ า่ ยดังกล่าว
เป็นการจัดซื้อหรือจ้างหรือพัฒนาระบบในส่วนใด ต่อเนื่องเชื่อมโยงกับโครงการที่ขอรับ
จดั สรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้างตน้ ท้งั 5 รายการหรอื ไม่อย่างไร
5. คา่ ก่อสรา้ งอาคารท่พี กั สวัสดิการสำนักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร
สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร ต้ังรายการผูกพันใหม่ 2 รายการ (กอ่ สรา้ ง + ควบคุม
งาน) ซึ่งเป็นการดำเนินการก่อสร้างอาคารที่พักสวัสดิการสำนักงาน รวมวงเงินทั้งสิ้น 1,024.9400 ล้านบาท ตั้ง
งบประมาณในปี 2566 จำนวน 55.8880 ล้านบาท รายการดังกล่าวมีเหตุผลความจำเป็นอย่างไร (อาคาร
สวัสดิการเดิมยังคงอยู่หรือไม่) กลุ่มเป้าหมายคือใคร เป็นไปตามข้อกำหนดตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องหรือไม่
โดยเฉพาะด้านสิทธทิ พ่ี งึ ได้ของขา้ ราชการ
6. สวสั ดกิ ารบคุ ลากรของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ท่มี มี ากกวา่ 2 พนั คน
1. ควรพิจารณาจัดหาสวัสดิการให้แก่บุคลากรของสำนักงานฯ อย่างเหมาะสม ทั่วถึงครอบคลุม
ทกุ ระดบั ไมเ่ ลือกปฏิบัติ โดยพจิ ารณาจากการสำรวจข้อมูลเหตุผลและความจำเป็นทแี่ ท้จริง เช่น
1.1 การปฏิบัติหน้าที่สนับสนุนการประชุมของรัฐสภา ในช่วงระยะเวลาสมัยประชุม ทั้งการ
ประชมุ ท่ัวไป และ การประชมุ พเิ ศษ
- ควรจัดหาบ้านพัก หรอื ห้องพักลักษณะของการพักแรมช่ัวคราว สำหรับผู้ที่มีบ้านอยู่
ต่างจังหวัด หรอื ปริมณฑล หรอื มขี ้อจำกัดในการเดินทาง เช่น ต้องโดยสารรถสาธารณะ มีระยะทางไกล เป็นตน้
- ควรจัดหายานยนต์รับ - ส่ง บุคลากรสำหรับอำนวยความสะดวกในการเดินทางมา
ปฏบิ ัตงิ านของบคุ ลากร โดยกำหนดจุดรบั - สง่ ใหค้ ลอบคลมุ แหล่งทีอ่ ยู่อาศัยของบุคลากรทง้ั หมดทุกระดบั อย่างทวั่ ถงึ
- ควรจัดให้มียานยนต์รับ - ส่ง บุคลากรที่มีความจำเป็นต้องปฏิบัติงานในสมัยประชุมฯ
ที่ต้องปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ให้ถึงที่พักอาศัยอย่างปลอดภัยและพร้อมจะปฏิบัติหน้าที่ในวันทำการถัดไปได้
อย่างมีความสุข
- ควรจัดหาสถานท่ีจอดยานยนต์ให้แก่บุคลากรให้เพียงพอ และคำนึงถึงความปลอดภัยใน
ทรัพย์สินของบุคลากรด้วย
สำนกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร หน้า 32
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : หน่วยงานของรัฐสภา
1.2 สนับสนนุ การปฏบิ ตั งิ านของบุคลากรของสำนักงานฯ
ควรจัดให้มี Kids Care Zone พร้อมเจ้าหน้าที่ที่มีทักษะในการดูแลเด็ก สำหรับดูแลบุตร
หลานของบุคลากรที่จำเป็นต้องปฏิบัติงาน และมีข้อจำกัดเกี่ยวกับการดูแลบุตรหลานของตน เพื่อให้บุคลากรของ
สำนักงานฯ สามารถปฏิบตั ิหน้าท่ไี ด้อยา่ งเตม็ กำลัง
7. ผลการดำเนินงานและปรับปรุงตามข้อสังเกตตามในรายงานของสำนักงานการตรวจเงิน
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2564 สำนักงานฯ มีการดำเนินการปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้อง
อยา่ งไรบ้าง เนือ่ งจากประเดน็ ความเห็นและข้อสังเกตของสำนักงานการตรวจเงินแผน่ ดิน เปน็ การแสดงความเห็นแบบ
มีเงื่อนไขอย่างต่อเนื่อง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แสดงความเห็นว่า “งบการเงินไม่ถูกต้อง”
สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แสดงความเป็นว่า “ไม่สามารถตรวจสอบหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่าง
เพียงพอ” ในประเด็นบัญชีของ ครุภัณฑ์-สุทธิ จำนวน 539.1233 ล้านบาท ที่มีการกำหนดรหัสทรัพย์สินในระบบ
GFMIS ไม่สอดคล้องกับทะเบียนคุม และ บัญชีทุน จำนวน 274.1370 ล้านบาท ไม่มีเอกสาดรหลักฐานที่เพียงพอ
เกี่ยวกับรายการและจำนวนเงินที่บัญชี นองจากนี้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ยังพบการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ
ข้อเท็จจริงอย่างมีสาระสำคญั ตอ่ รายงานการเงนิ สำหรบั ปีส้ินสดุ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2564 ดังนี้
_________________________________ หน้า 33
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : หนว่ ยงานของรฐั สภา
กองทนุ เพอ่ื ผู้เคยเป็นสมาชิกรัฐสภา (เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 20 หนา้ 171-175)
1. วัตถปุ ระสงค์
เพ่อื เปน็ ทนุ หมุนเวียนและใช้จา่ ยเพอื่ ช่วยเหลือผูเ้ คยเปน็ สมาชิกรัฐสภา ดังตอ่ ไปนี้
1) การจ่ายเงนิ ทนุ เลีย้ งชพี
2) การจา่ ยเงนิ ช่วยเหลือในการรกั ษาพยาบาล
3) การจ่ายเงนิ ชว่ ยเหลือในกรณที ุพพลภาพ
4) การจ่ายเงนิ ชว่ ยเหลอื ในกรณีถึงแกก่ รรม
5) การจ่ายเงินช่วยเหลือในกรณกี ารให้การศึกษาบตุ ร
2. ผลสัมฤทธ์แิ ละประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับในการใช้จา่ ยงบประมาณ
ผลสัมฤทธ์ิ : ผ้เู คยเปน็ สมาชิกรัฐสภาที่ขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนไดร้ ับเงนิ ชว่ ยเหลือจากกองทุน
ครบถว้ น
ตัวชี้วดั : ผเู้ คยเป็นสมาชกิ รัฐสภาที่ขอรบั เงนิ สนับสนนุ จากกองทนุ มีความพงึ พอใจตอ่ การดำเนนิ งานของ
กองทุนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 90
3. สรุปภาพรวมงบประมาณ
ในระยะ 5 ปี กองทุนเพ่ือผู้เคยเป็นสมาชิก
รัฐสภา ได้รับจัดสรรงบประมาณแนวโน้มลดลงอย่าง
ต่อเน่ือง โดยเฉลย่ี ปลี ะ 198.3481 ลา้ นบาท
สำหรับงบประมาณปี 2566 กองทุนเพ่ือ
ผู้เคยเป็นสมาชิกรัฐสภา ได้รับจัดสรรทั้งสิ้น จำนวน
160.0000 ลา้ นบาท ลดลง จากปงี บประมาณ 2565
จำนวน 3.000 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.88
_________________________________
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร หนา้ 34
สานักงบประมาณของรฐั สภา
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร
โทร. ๐ ๒๒๔๒ ๕๙๐๐ ตอ่ ๗๔๒๐
www.parliament.go.th/pbo
“วิเคราะหง์ บประมาณอยา่ งมอื อาชีพ เป็นกลาง และสรา้ งสรรค์”