The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กระทรวงอุตสาหกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaipbo.parliament, 2022-02-02 03:44:01

กระทรวงอุตสาหกรรม

กระทรวงอุตสาหกรรม

กระทรวงอุตสาหกรรม

และ
แผนงานบรู ณาการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการแหง่ อนาคต

สารบญั หน้า
1-16
ส่วนที่ 1 ภาพรวมกระทรวง 17-25
ส่วนที่ 2 แผนงานบูรณาการท่หี น่วยงาน
26-58
ภายใต้กระทรวงเปน็ เจ้าภาพหลัก 26-32
ส่วนที่ 3 การวเิ คราะห์รายหน่วยงาน 33-36
37-40
- สานกั งานปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรม 41-44
- กรมโรงงานอุตสาหกรรม 45-48
- กรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม 49-52
- กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร่ 53-58
- สานกั งานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย
- สานักงานมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม
- สานกั งานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม

สาวน

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

กระทรวงอตุ สาหกรรม

สว่ นท่ี 1 ภาพรวมกระทรวง

1. วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ อานาจหนา้ ที่
วิสัยทัศน์ : ปฏิรูปอุตสาหกรรมสู่ 4.0 เพ่ิมมูลค่าเศรษฐกิจอุตสาหกรรมของไทยให้เติบโตไม่น้อยกว่าร้อยละ

4.5 ภายในปี 2564”
พันธกิจ
1. กาหนดนโยบายแผนยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พร้อมทั้งชี้นาและ

เตอื นภัยภาคอตุ สาหกรรมให้ก้าวทนั โลก
2. ขับเคลอ่ื นการพฒั นาอุตสาหกรรมด้วยระบบนเิ วศอตุ สาหกรรม เพอื่ รองรับอตุ สาหกรรมไทย 4.0
3. ส่งเสริมและพฒั นาศักยภาพของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน

ให้มีความเขม้ แข็งและสามารถแข่งขนั ได้ในตลาดโลก
4. พัฒนากลไกที่มีประสิทธิภาพเพ่ือการกากับดูแลการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมให้มีการพัฒนา

อยา่ งสมดุลและยั่งยืน เปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม และมคี วามรับผดิ ชอบต่อผ้ผู ้บู ริโภค ชุมชน และสังคม
5. บูรณาการและติดตามการดาเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมกับ

หนว่ ยงานและภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง เพอื่ ผลักดันใหเ้ กดิ ประสิทธผิ ล

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 1 สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

ความเช่ือมโยงกบั ยุทธศาสตรช์ าติ เป้าหมาย ตัวช้ีวดั แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ นโยบายสาคัญ

แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ กาหนดไว้ 23 ประเด็น โดยมคี วามเช่อื มโยง ดังแผนภาพ

ทมี่ า: สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ
จัดทาโดย : สานักงบประมาณของรฐั สภา

โดยแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติท้ัง 23 ประเด็นจะมีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องท่ี
จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามน้ัน รวมทั้งการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีต้องสอดคล้องกับ แผนแม่บทซ่ึง
จะนาไปสู่การปฏิบัติ เพ่ือให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่งย่ังยืนเป็นประเทศ
พฒั นาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง” ได้

เม่ือพิจารณาการจัดสรรงบประมาณปี 2563 พบว่า กระทรวงอุตสาหกรรมได้รับจัดสรรงบประมาณ
สอดรับยุทธศาสตร์ชาติ จานวน 2 ยุทธศาสตร์ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 9 ประเด็น (เอกสาร
งบประมาณ ฉบบั ที่ 3 เล่มท่ี 12 หน้า 3-4) แสดงตาม

อย่างไรก็ตาม จากเอกสารดังกล่าว PBO มีข้อสังเกตว่า กระทรวงอุตสาหกรรมมีงบประมาณ
รายจ่ายส่วนใหญ่ระบุไว้ภายใต้อื่นๆ จานวน 3,682.38 ล้านบาท ซ่ึงไม่แสดงว่างบประมาณจานวน
ดังกล่าวนาไปใช้จ่ายเพ่ือพัฒนาประเทศใด ท้ังนี้ ในการจัดทางบประมาณกระทรวงอุตสาหกรรมควรระบุ
ความเช่ือมโยงของการใช้จา่ ยงบประมาณท่นี าไปสู่การพัฒนาตามแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรใ์ ห้ชดั เจน

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 2 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

2. สรปุ ภาพรวมงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และเงนิ นอกงบประมาณสมทบ

(จาแนกตามหน่วยรับงบประมาณ)

2.1 งบประมาณรายจ่ายประจาปี

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้กาหนดวงเงนิ งบประมาณรายจ่าย จานวน 3,200,000.0 ลา้ นบาท

กระทรวงอุตสาหกรรมได้รับจัดสรรงบประมาณ รวมจานวน 5,363.85 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 0.16

ของงบประมาณจ่ายประจาปี ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 5,478.16 ล้านบาทหรือลดลง

รอ้ ยละ 2.1 โดยหน่วยงานที่ได้รับงบประมาณสูงสุด คือ กรมส่งเสริมอตุ สาหกรรม ไดร้ ับจัดสรรงบประมาณ จานวน

หน่วย : ลำ้ นบำท 1,353.03 ล้านบาท หรือคิด เป็นสัดส่วนร้อย
หนว่ ยงาน ปงี บประมาณ ปี 63 เพม่ิ /(ลด) จากปี 62
จานวน รอ้ ยละ ละ25.23 ในขณะสานักงานเศรษฐกิจ
รวมทงั้ สน้ิ ปี 2562 ปี 2563
1. สว่ นราชการและองคก์ ารมหาชน
เงิน สดั สว่ น อุตสาหกรรมได้รับจัดสรรงบประมาณต่าสุด

5,478.16 5,363.85 - 114.32 - 2.09 จานวน 295.72 ล้านบาท หรือคิดเป็น
5,231.16 132.68 2.54
5,363.85 100.00

1.1 สว่ นราชการ 5,231.16 5,363.85 100.00 132.68 2.54 สัดสว่ นร้อยละ 5.51
1. สำนักงำนปลัดกระทรวงอตุ สำหกรรม
1,268.95 1,155.98 21.55 - 112.97 - 8.90

2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 586.90 567.21 10.57 - 19.70 - 3.36

3. กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 1,287.19 1,353.03 25.23 65.85 5.12

4. กรมอตุ สำหกรรมพน้ื ฐำนและกำรเหมอื งแร่ 438.79 596.60 11.12 157.81 35.97

5. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำล 719.66 601.56 11.22 - 118.10 - 16.41

6. สำนักงำนมำตรฐำนผลติ ภัณฑ์อตุ สำหกรรม 622.60 793.73 14.80 171.13 27.49

7. สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม 307.06 295.72 5.51 - 11.34 - 3.69

1.2 องคก์ ารมหาชน - -- --

2. รฐั วสิ าหกจิ 247.00 - - - 247.00 -100.00

1.กำรนิคมอตุ สำหกรรมแหง่ ประเทศไทย 247.00 - - - 247.00 -100.00

3. กองทนุ และเงินทนุ หมุนเวียน - -- --

ทมี่ า: เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ท่ี 1 รำยรับรำยจ่ำยเปรียบเทยี บ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 (เอกสำรคำดส้ม)

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 3 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

2.2 เงินนอกงบประมาณสมทบ
ในชว่ ง 5 ปี 2559-2563 ส่วนราชารภายใต้กระทรวงอุตสาหกรรมไมม่ ีการดาเนินงานโดยใช้เงิน

นอกงบประมาณสมทบกับงบประมาณรายจ่ายเลย ยกเว้น การนคิ มอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้ใช้เงนิ นอก
งบประมาณสมทบ จานวน 75.00 ล้านบาท ในปีงบประมาณ 2559

3. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (จาแนกตามงบรายจา่ ย)
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กระทรวงอุตสาหกรรมได้รับจัดสรรงบประมาณ จานวน 5,363.85 ล้านบาท

โดยเป็นงบรายจ่ายอ่ืน สูงท่ีสุด จานวน 2,047.22 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 38.17 ของงบประมาณท่ีได้รับ
การจัดสรรทั้งส้ิน ขณะที่งบเงนิ อุดหนุน ได้รับจดั สรรน้อยที่สุด จานวน 218.57 ล้านบาท หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 4.07
ของงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรทั้งส้นิ

หน่วย : ล้ำนบำท

หน่วยงาน งบบคุ ลากร งบดาเนินงาน งบลงทนุ งบเงินอดุ หนุน งบรายจา่ ยอนื่ รวม

รวมทงั้ สนิ้ 1,633.65 620.08 844.31 218.57 2,047.22 5,363.85

1. สำนักงำนปลัดกระทรวงอตุ สำหกรรม 510.66 268.06 118.84 65.75 192.67 1,155.98

2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 243.93 98.49 83.19 9.01 132.58 567.21

3. กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม 355.04 66.42 38.94 27.04 865.60 1,353.03

4. กรมอตุ สำหกรรมพน้ื ฐำนและกำรเหมอื งแร่ 218.96 34.90 69.96 - 272.79 596.60

5. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำล 61.23 27.09 63.66 4.52 445.06 601.56

6. สำนักงำนมำตรฐำนผลติ ภัณฑ์อตุ สำหกรรม 179.64 72.64 467.13 10.06 64.26 793.73

7. สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม 64.19 52.47 2.60 102.20 74.27 295.72

ทมี่ า: เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ท่ี 3 เล่มท่ี 12 ตำมร่ำงพระรำชบัญญตั งิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

4. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (จาแนกตามแผนงาน)
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กระทรวงอุตสาหกรรมได้รับจัดสรรงบประมาณ จานวน 5,363.85 ล้านบาท

จาแนกตามแผนงาน ประกอบด้วย แผนงานบุคลากรภาครัฐ จานวน 1,656.16 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 30.88
แผนงานพื้นฐาน จานวน 1,294.48 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 24.13 แผนงานยุทธศาสตร์ จานวน 834.19 ล้าน
บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 15.55 และแผนงานบูรณาการ จานวน 1,579.02 ล้านบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 29.44

หน่วยงาน แผนงาน แผนงาน แผนงานยทุ ธศาสตร์ หน่วย : ล้ำนบำท
แผนงาน รวม
บคุ ลากรภาครฐั พน้ื ฐาน เพื่อสนบั สนนุ เพอ่ื สนบั สนนุ รวม บรู ณาการ

(ด้านการ ด้านการสรา้ ง ด้านการสรา้ งการ

สรา้ ง ความสามารถ เติบโตบน

ความสามารถ ในการแข่งขนั คุณภาพชีวติ ท่ี

ในการแข่งขัน) เปน็ มิตรต่อ

สิ่งแวดล้อม

รวมทงั้ สนิ้ 1,656.16 1,294.48 767.09 67.10 834.19 1,579.02 5,363.85

1. สำนักงำนปลัดกระทรวงอตุ สำหกรรม 524.42 297.10 261.03 - 261.03 73.44 1,155.98

2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 244.59 122.95 108.98 67.10 176.08 23.59 567.21

3. กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 359.18 115.46 15.53 - 15.53 862.87 1,353.03

4. กรมอตุ สำหกรรมพน้ื ฐำนและกำรเหมอื งแร่ 221.77 249.88 110.96 - 110.96 14.00 596.60

5. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำล 61.76 358.56 171.49 - 171.49 9.75 601.56

6. สำนักงำนมำตรฐำนผลติ ภัณฑ์อตุ สำหกรรม 180.07 86.40 60.35 - 60.35 466.92 793.73

7. สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม 64.38 64.13 38.75 - 38.75 128.46 295.72

ทมี่ า: เอกสำรงบประมำณ ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 12 ตำมร่ำงพระรำชบญั ญัตงิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 4 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

5. งบประมาณแผนงานบูรณาการที่กระทรวงอตุ สาหกรรมได้รบั จัดสรร
ปีงบประมาณ 2563 กระทรวงอุตสาหกรรม ได้รับการจัดสรรงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการรวม

ทั้งสิ้น 7 แผนงาน วงเงิน 1,579.02 ล้านบาท (รวมรัฐวิสาหกิจ) ลดลงจากปี 2562 (1,914.34 ล้านบาท) จานวน
335.32 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ-17.52 แผนงานบูรณาการท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณสูงสุด คือ แผนงาน
บูรณาการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพและบริการแห่งอนาคต จานวน 834.34 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 52.84)
รองลงมา ได้แก่ แผนงานบูรณาการพัฒนาผู้ประกอบการ เศรษฐกิจชุมชนและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
สู่สากล จานวน 478.91 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 30.33) แผนงานบูรณาการการพัฒนาพ้ืนที่ระดับภาค จานวน
160.66 ล้านบาท (สัดส่วนรอ้ ยละ 10.17)

หน่วย : ลำ้ นบำท

แผนงานบรู ณาการ ปงี บประมาณ เพม่ิ /(ลด) จากปี 62

ปี 2562 ปี 2563 จานวน ร้อยละ

เงิน สดั สว่ น

รวมทง้ั สน้ิ 1,914.34 1,579.02 100.00 -335.32 - 17.52

1. กำรพฒั นำอตุ สำหกรรมศกั ยภำพและบริกำรแหง่ อนำคต 693.84 834.34 52.84 140.50 20.25

1. สำนักงำนปลัดกระทรวงอตุ สำหกรรม 189.01 - - -189.01 -100.00

2. กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม 179.45 231.33 - 51.88 28.91

3. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำล 9.75 9.75 - - 100.00

4. สำนักงำนมำตรฐำนผลติ ภัณฑ์อตุ สำหกรรม 184.70 466.92 - 282.22 152.80

5. สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม 130.94 126.34 - - 4.59 - 3.51

2. กำรพฒั นำผ้ปู ระกอบกำร เศรษฐกจิ ชมุ ชนและวสิ ำหกจิ ขนำด 534.44 478.91 30.33 - 55.54 - 10.39

กลำงและขนำดยอ่ มสู่สำกล

2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 12.63 11.51 - - 1.12 - 8.86

3. กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 521.82 467.40 - - 54.42 - 10.43

3. กำรพฒั นำพน้ื ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 254.11 7.61 0.48 -246.49 - 97.00

1. สำนักงำนปลดั กระทรวงอตุ สำหกรรม 5.49 5.49 - - 100.00

2. สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม 1.61 2.12 - 0.51 100.00

3. รัฐวสิ ำหกจิ (กำรนิคมอตุ สำหกรรมแห่งประเทศไทย) 247.00 - - -247.00 - 1.00

4. กำรพฒั นำเศรษฐกจิ และสังคมดจิ ิทัล 142.55 - - -142.55 100.00

1. สำนักงำนปลดั กระทรวงอตุ สำหกรรม 79.69 - - - 79.69 100.00

2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 26.75 - - - 26.75 100.00

3. กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 8.95 - - - 8.95 100.00

4. กรมอตุ สำหกรรมพน้ื ฐำนและกำรเหมอื งแร่ 6.72 - - - 6.72 100.00

5. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำล 9.15 - - - 9.15 100.00

6. สำนักงำนมำตรฐำนผลิตภัณฑ์อตุ สำหกรรม 11.30 - - - 11.30 100.00

5. กำรจัดกำรมลพษิ และส่งิ แวดล้อม 89.79 26.08 1.65 - 63.71 - 70.96

1. สำนักงำนปลัดกระทรวงอตุ สำหกรรม 9.94 - - - 9.94 100.00

2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 65.89 12.08 - - 53.81 - 81.67

3. กรมอตุ สำหกรรมพน้ื ฐำนและกำรเหมอื งแร่ 13.96 14.00 - 0.04 0.28

6. กำรตอ่ ตำ้ นกำรทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ 3.33 - - - 3.33 -100.00

1. สำนักงำนปลัดกระทรวงอตุ สำหกรรม 3.33 - - - 3.33 -100.00

7. กำรพฒั นำพน้ื ทรี่ ะดบั ภำค 122.13 160.66 10.17 38.53 31.55

1. สำนักงำนปลัดกระทรวงอตุ สำหกรรม 40.76 67.94 - 27.18 66.69

2. กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 81.37 92.72 - 11.34 13.94

8. กำรพฒั นำดำ้ นคมนำคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 37.96 29.25 1.85 - 8.71 - 22.94

1. กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม 37.96 29.25 - - 8.71 100.00

9. กำรวจิ ัยและนวตั กรรม 36.18 - - - 36.18 -100.00

1. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำล 36.18 - - - 36.18 - 100.00

10. กำรพฒั นำและส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐำนรำก - 42.17 2.67 42.17 100.00

กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม - 42.17 - 42.17 100.00

ทม่ี า: 1. ข้อมลู ปีงบประมำณ 2562 จำกเอกสำรงบประมำณ ฉบับทื่ 3 เล่มท่ี 11 ฉบบั ปรับปรุง ตำมพระรำชบัญญัตงิ บประมำณ

รำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562

2. ขอ้ มลู ปงี บประมำณ 2563 จำกเอกสำรงบประมำณ ฉบบั ที่ 3 เลม่ ท่ี 12 ตำมร่ำงพระรำชบัญญัตงิ บประมำณรำยจ่ำย

ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 5 สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

 งบประมาณแผนงานบูรณาการการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพและบริการแห่งอนาคต
ของกระทรวงอุตสาหกรรม จานวน 834.34 ลา้ นบาท ให้ความสาคัญกับการดาเนินงานเพ่ือสนับสนุนเป้าหมายท่ี 2
เน้นการจัดต้ังศูนย์ทดสอบยานยนต์และยางล้อแห่งชาติ ดาเนินการโดยสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ซึ่งมีงบประมาณด้านน้ีสูงถึง 466.92 ล้านบาท นอกจากนี้ยังให้ความสาคัญกับเป้าหมายที่ 3 การยกระดับ
อุตสาหกรรมและบริการ ดิจิทัล ข้อมูล ปัญญาประดิษฐ์ หุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติ และอิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะ
ให้มีศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมมีงบประมาณเกี่ยวกับการส่งเสริม
และพัฒนาบคุ ลากรในภาคอุตสาหกรรมน้ีสูงถึง 172.20 ล้านบาท

เปา้ หมาย/แนวทางการดาเนนิ งาน/ตวั ช้ีวดั หน่วย : ล้ำนบำท
งบประมาณ

รวมงบประมาณทก่ี ระทรวงอตุ สาหกรรมไดร้ ับจดั สรร 834.34
เปา้ หมายที่ 1 สง่ เสริมอตุ สาหกรรมแหง่ อนาคตแบบครบวงจร และสรา้ งเศรษฐกจิ ฐานชีวภาพ (Bio-economy) 9.75
แนวทางที่ 1.2 สง่ เสริมและสนับสนุนการพัฒนาผลติ ภณั ฑท์ ม่ี ีมูลคา่ เพมิ่ จากนวัตกรรมอาหาร และการใช้วตั ถดุ บิ 9.75
ชีวภาพทเ่ี ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
9.75
สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำลทรำย (โครงกำรพฒั นำและสง่ เสริมอตุ สำหกรรมชวี ภำพ) 486.71
เปา้ หมายท่ี 2 ผลกั ดนั การเปลย่ี นผา่ นอตุ สาหกรรมยานยนตไ์ ปสยู่ านยนตส์ มัยใหม่และพฒั นาขีดความสามารถใน
การแข่งขันของอตุ สาหกรรมระบบราง และอากาศยาน 9.17
แนวทางท่ี 2.1 สง่ เสรมิ พัฒนา และตอ่ ยอดดา้ นเทคโนโลยี นวัตกรรมและมาตรฐานทส่ี าคญั ในอตุ สาหกรรมยาน
ยนตส์ มัยใหม่ ระบบราง และอากาศยาน 9.17
466.92
สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม (โครงกำรพฒั นำอตุ สำหกรรมศกั ยภำพ) 466.92
แนวทางที่ 2.2 ผลกั ดนั การจดั ตงั้ ศนู ยท์ ดสอบยานยนตแ์ ละยางลอ้ แหง่ ชาติ
10.63
สำนักงำนมำตรฐำนผลิตภณั ฑ์อตุ สำหกรรม (โครงกำรส่งเสริมกำรผลติ ยำนยนตไ์ ฟฟำ้ ในประเทศไทยและศนู ย์
ทดสอบยำนยนตแ์ ละยำงลอ้ แห่งชำต)ิ 10.63
แนวทางที่ 2.3 สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การพัฒนาผลติ ภณั ฑท์ ม่ี ีมูลคา่ เพม่ิ ในอตุ สาหกรรมยายยนตส์ มัยใหม่ ระบบ 176.38
ราง และอตุ สาหกรรมอากาศยานและชน้ิ สว่ น
กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม (โครงกำรพฒั นำศกั ยภำพอตุ สำหกรรมยำนยนต์) 4.18
เปา้ หมายที่ 3 สง่ เสรมิ การวิจยั พัฒนา และสรา้ งนวัตกรรมเพอิ่ ยกระดบั อตุ สาหกรรมและบรกิ าร ดจิ ทิ ลั ข้อมูล
ปญั ญาประดษิ ฐ์ หนุ่ ยนต์ ระบบอตั โนมัติ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อจั ฉรยิ ะ ใหม้ ีศกั ยภาพและขีดความสามารถในการ 4.18
แข่งขัน 172.20
แนวทางท่ี 3.1 พัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานและมาตรฐานทสี่ าคญั ในการพัฒนาอตุ สาหกรรมและบริการดจิ ทิ ลั ข้อมูล
ปญั ญาประดษิ ฐ์ หนุ่ ยนต์ ระบบอตั โนมัติ และอเิ ลก็ ทรอนิกสอ์ จั ฉรยิ ะของไทย 172.20
สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม (โครงกำรพฒั นำอตุ สำหกรรมศกั ยภำพ) 48.50
แนวทางที่ 3.3 สง่ เสริมและพัฒนาบคุ ลากรในภาคอตุ สาหกรรมตา่ งๆ ตงั้ แตผ่ ผู้ ลติ ผใู้ หบ้ ริการ และแรงงานให้ 48.50
สามารถทางานดา้ นดจิ ทิ ลั ข้อมูล ปญั ญาประดษิ ฐ์ หนุ่ ยนต์ ระบบอตั โนมัติ และอเิ ลก็ ทรอนิกสอ์ จั ฉริยะ ทม่ี ีความ 48.50
ซับซ้อนมากขน้ึ รวมทงั้ สนับสนุนการกรวมกลมุ่ เครือข่าย 113.00
กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม (โครงกำรพฒั นำศกั ยภำพและเชื่อมโยงอตุ สำหกรรมดว้ ยเทคโนโลยี)
เปา้ หมายท่ี 4 สง่ เสรมิ และพัฒนาอตุ สาหกรรมและบรกิ ารทางการแพทย์ 22.64
แนวทางที่ 4.2 สง่ เสรมิ การวิจยั พัฒนาเทคโนโลยี และนวตั กรรมในอตุ สาหกรรมและบริการทางการแพทย์ 22.64
กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม (โครงกำรพฒั นำศกั ยภำพและเชื่อมโยงอตุ สำหกรรมกำรแพทยค์ รบวงจร) 80.00
เปา้ หมายที่ 5 เพม่ิ ผลติ ภาพภาคอตุ สาหกรรมและบริการตลอดหว่ งโซ่คณุ คา่ และพัฒนาการจดั การฐานข้อมูล 80.00
อตุ สาหกรรม และการคาดการณเ์ ทคโนโลยใี นอนาคต
แนวทางที่ 5.1 พฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานของระบบนเิ วศอตุ สาหกรรม 10.35
สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม (โครงกำรพฒั นำอตุ สำหกรรมศกั ยภำพ) 10.35
แนวทางที่ 5.2 เพมิ่ ผลติ ภาพการผลติ ของอตุ สาหกรรมและบรกิ ารตลอดหว่ งโซค่ ณุ คา่
สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม (โครงกำรยกระดบั ผลติ ภำพเพอื่ สร้ำงควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขัน
ภำคอตุ สำหกรรม)
แนวทางท่ี 5.3 พฒั นาผปู้ ระกอบการและบคุ ลากรภาคอตุ สาหกรรมและบรกิ ารเพอ่ื เพม่ิ ผลติ ภาพ
สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม (โครงกำรยกระดบั ผลติ ภำพเพอื่ สร้ำงควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั
ภำคอตุ สำหกรรม)
ทม่ี า: เอกสำรงบประมำณ ฉบับทื่ 3 เลม่ ที่ 18(2)
ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 6 สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

 งบประมาณแผนงานบูรณาการพัฒนาผู้ประกอบการ เศรษฐกิจชุมชนและวิสาหกิจขนาดกลาง

และขนาดย่อมสู่สากล ของกระทรวงอุตสาหกรรม จานวน 478.91 ล้านบาท เป็นงบประมาณสาหรับ

การดาเนินงานของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จานวน 467.40 ล้านบาท และกรมโรงงานอุตสาหกรรม จานวน

11.51 ล้านบาท โดยปี 2563 ให้ความสาคัญในการพัฒนาวิสาหกิจขนาดย่อมให้ก้าวสู่ธุรกิจสมัยใหม่ ภายใต้

เป้าหมายตัวชี้วดั “วิสาหกจิ ขนาดย่อมไดร้ บั การพัฒนาการประกอบธรุ กิจสมัยใหม่ จานวน 71,000 ราย”

หน่วย : ลำ้ นบำท

เปา้ หมาย/แนวทางการดาเนนิ งาน/ตวั ชว้ี ัด งบประมาณ

รวมงบประมาณทก่ี ระทรวงอตุ สาหกรรมไดร้ ับจดั สรร 478.91
เปา้ หมายท่ี 1 SME ไทยเตบิ โต เข้มแข็ง แข่งขันไดใ้ นระดบั สากล เพอ่ื เปน็ พลงั สาคญั ในการขับเคลอ่ื นเศรษฐกจิ 478.91
แนวทางท่ี 1.1 พฒั นาวิสาหกจิ ในระยะเริ่มตน้ ในสามารถเตบิ โตได้ 52.20
โครงการสร้างและพฒั นาวสิ าหกจิ ในระยะเร่ิมตน้ 52.20
52.20
กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 107.00
แนวทางท่ี 1.2 พัฒนาวิสาหกจิ รายยอ่ ยใหป้ ระกอบธรุ กจิ อยา่ งมืออาชีพ 33.00
โครงการพัฒนาวสิ าหกจิ สคู่ วามเปน็ มืออาชีพ 33.00
14.00
กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม 14.00
โครงการพฒั นาคณุ ภาพมาตรฐานสนิ คา้ และบริการ 60.00
60.00
กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม 233.51
โครงการขยายโอกาสทางการตลาด 15.00

กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม 15.00
แนวทางที่ 1.3 พัฒนาวิสาหกจิ ขนาดยอ่ มใหก้ า้ วสธู่ รุ กจิ สมัยใหม่ 64.01
โครงการพฒั นาวสิ าหกจิ สธู่ รุ กจิ สมัยใหม่
64.01
กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม 154.51
โครงการยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานสนิ คา้ และบริการ
11.51
กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 143.00
โครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ า/ผลติ ภาพ 10.00
10.00
กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม
กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม 10.00
แนวทางท่ี 1.4 พัฒนาวิสาหกจิ ขนาดกลางและวสิ าหกจิ ทมี่ ีศกั ยภาพใหเ้ ข้าสกู่ ารแข่งขันระดบั สากล 76.19
โครงการยกระดบั วิสาหกจิ สอู่ งคก์ รระดบั สากล 68.69

กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม 68.69
แนวทางที่ 1.5 พฒั นาปจั จยั แวดลอ้ มในการสง่ เสรมิ SME ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ 7.50
โครงการพัฒนาศนู ยก์ ารใหบ้ ริการและความช่วยเหลอื แก่ SME
7.50
กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม
โครงการพัฒนาระบบการสง่ เสรมิ SME

กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม
ทมี่ า: เอกสำรงบประมำณ ฉบับท่ื 3 เลม่ ที่ 18(2)
ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 7 สานักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

 งบประมาณแผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาค ของกระทรวงอุตสาหกรรม จานวน 160.66

ล้านบาท เป็นงบประมาณสาหรับการดาเนินงานของสานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม จานวน 67.94 ล้าน

บาท และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จานวน 92.72 ล้านบาท โดยปี 2563 ให้ความสาคัญกับการเพ่ิมศักยภาพ

ภาคอตุ สาหกรรม การคา้ และการลงทุน ภายใตเ้ ป้าหมายตัวช้วี ัด “มลู ค่าการคา้ การลงทนุ เพ่ิมขึน้ รอ้ ยละ 2”

หน่วย : ลำ้ นบำท

เปา้ หมาย/แนวทางการดาเนินงาน/ตวั ช้ีวัด งบประมาณ

รวมงบประมาณทกี่ ระทรวงอตุ สาหกรรมไดร้ บั จดั สรร 160.66

เปา้ หมายที่ 1 เศรษฐกจิ ระดบั ภาคเตบิ โตตามศกั ยภาพ ประชาชนมีความเปน็ อยแู่ ละคณุ ภาพชีวติ ดขี ้ึน 160.66

แนวทางที่ 1.1 เพมิ่ ศกั ยภาพภาคอตุ สาหกรรม การคา้ และการลงทนุ 82.06

สำนักงำนปลัดกระทรวงอตุ สำหกรรม 43.28

กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม 38.78

แนวทางท่ี 1.2 เพม่ิ ศกั ยภาพภาคการเกษตร 41.86

สำนักงำนปลดั กระทรวงอตุ สำหกรรม 22.46

กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 19.40

แนวทางที่ 1.3 เพมิ่ ศกั ยภาพการทอ่ งเทย่ี วและบริการ 30.80

สำนักงำนปลัดกระทรวงอตุ สำหกรรม 2.20

กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 28.60

แนวทางที่ 1.4 พฒั นาดา้ นสงั คมยกระดบั คณุ ภาพชีวติ 5.94

กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 5.94

ทมี่ า: เอกสำรงบประมำณ ฉบับทื่ 3 เล่มท่ี 18(2)

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

6. รายการผูกพัน

ปีงบประมาณ 2563 กระทรวงอุตสาหกรรม มรี ายการผูกพันข้ามปี รวมท้งั สิ้น 35 รายการ

งบประมาณตง้ั ในปีงบประมาณ 2563 จานวน 182.44 ลา้ นบาท

หนว่ ยงาน จานวน ปี 2563 หน่วย : ล้ำนบำท
182.44 ปงี บประมาณ
รวมทงั้ สนิ้ รายการ 58.08 ปี 2564 ปี 2565 ปี 2566-จบ รวม
1. สำนักงำนปลัดกระทรวงอตุ สำหกรรม 35
13 526.11 71.02 106.23 885.80

67.77 50.31 62.36 238.53

2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 1 3.05 6.09 6.09 15.23 30.46

3. กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 1 3.82 7.63 7.63 19.08 38.16

4. กรมอตุ สำหกรรมพน้ื ฐำนและกำรเหมอื งแร่ - - -- - -

5. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำลทรำย 13 21.56 71.61 5.05 4.72 102.93

6. สำนักงำนมำตรฐำนผลติ ภณั ฑ์อตุ สำหกรรม 7 95.94 373.00 1.94 4.85 475.73

7. สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม - - -- - -

ทมี่ า: เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ที่ 12 ตำมร่ำงพระรำชบัญญัตงิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 (เอกสำรคำดแดง)

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 8 สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

7. ขอ้ มูลงบการเงนิ

ตามพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังภาครัฐ พ.ศ. 2561 มาตรา 17 กาหนดให้การจัดสรร

งบประมาณต้องคานึงถึงฐานะเงินนอกงบประมาณของหน่วยงานที่สามารถใช้จ่ายได้ รวมตลอดถึงรายได้หรือ

เงินอ่ืนใดท่ีหน่วยงานของรัฐนั้นมีอยู่หรือสามารถนามาใช้จ่ายได้ ดังน้ัน สานักงบประมาณของรัฐสภา เห็นว่า

การวิเคราะห์งบการเงินของหน่วยรับงบประมาณจะเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ

งบประมาณรายจ่ายประจาปจี งึ ได้วิเคราะห์งบการเงนิ ในประเด็น ดังน้ี
 การวิเคราะห์สภาพคล่อง จากข้อมูลในงบแสดงฐานะการเงินของหน่วยงานภายใต้กระทรวง

อุตสาหกรรม เพื่อประเมินฐานะการเงินโดยรวมในเบื้องต้นของหน่วยรับงบประมาณ ด้วยอัตราส่วน Current

Ratio : สินทรัพย์หมุนเวียน/หน้ีสินหมุนเวียน (ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 2556) ซ่ึงแสดงถึง

ความสามารถในการชาระหนร้ี ะยะสน้ั ของหน่วยงาน
 การวิเคราะห์รายได้ และค่าใช้จ่ายจากข้อมูลในงบแสดงผลการดาเนินงานทางการเงิน

ของหน่วยงาน โดยวิเคราะห์โครงสร้างรายได้ และค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานในรอบ ระยะเวลาบัญชี

เพอื่ ประเมินประสทิ ธิภาพในการดาเนินงานของหนว่ ยงาน

7.1 ฐานะการเงิน : สภาพคลอ่ ง

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 หน่วย : ล้ำนบำท
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561

หน่วยงาน สนิ ทรพั ยห์ มุนเวียน หนสี้ นิ หมุนเวยี น สภาพคลอ่ ง สนิ ทรัพยห์ มุนเวยี น หนส้ี นิ หมุนเวียน สภาพคลอ่ ง

(1) (2) (3)=(1)/(2) เทา่ (1) (2) (3)=(1)/(2) เทา่

สว่ นราชการ

1. สำนักงำนปลดั กระทรวงอตุ สำหกรรม 1,471.16 1,005.23 1.46 1,202.54 838.30 1.43
29.23
2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 15.61 0.53 19.14 53.32 0.36
372.16
3. กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 426.70 90.07 1.15 474.77 616.76 0.77
59.23
4. กรมอตุ สำหกรรมพนื้ ฐำนและกำรเหมอื งแร่ 141.77 23.06 1.57 185.26 129.40 1.43
6.47
5. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำล 2.84 0.05 3.94 34.51 0.11
2,141.27
6. สำนักงำนมำตรฐำนผลติ ภณั ฑ์อตุ สำหกรรม 21.46 0.93 62.66 14.58 4.30

7. สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม 4.86 0.75 3.49 8.26 0.42

รัฐวสิ าหกจิ

1.กำรนิคมอตุ สำหกรรมแหง่ ประเทศไทย 10,768.49 5.03 11,676.29 2,552.06 4.58

ทม่ี า : ระบบ CFS ของกรมบญั ชกี ลำง สบื คน้ ณ วนั ที่ 31 ตลุ ำคม 2562

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรฐั สภำ

จากการวิเคราะห์สภาพคล่อง ปี 2560 - 2561 พบว่า หน่วยรับงบประมาณภายใต้กระทรวง
อุตสาหกรรม ส่วนใหญ่มีสภาพคล่องต่า กล่าวคือ มีสัดส่วนระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี้สินระยะส้ันต่า
แสดงให้เห็นว่ามีความสามารถในการชาระหน้ีอยู่ในเกณฑ์ต่า หรืออาจขาดความสามารถในการชาระหน้ี
โดยงบแสดงฐานการเงินปีงบประมาณ 2561 หน่วยงานท่ีมีสภาพคล่องสูงสุด คือ การนิคมอุตสาหกรรมแห่ง
ประเทศไทย ซ่ึงมีสินทรัพย์หมุนเวียน 4.58 เท่าของหน้ีสินหมุนเวียน และหน่วยงานท่ีมีสภาพคล่องต่าสุด คือ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม ซง่ึ มสี ินทรพั ย์หมนุ เวยี นตอ่ หนีส้ ินระยะสัน้ เพียง 0.36 เทา่

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 9 สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

7.2 รายได้และค่าใชจ้ า่ ย

7.2.1 รายได้

ตามพระราชบญั ญัติว่าด้วยวินัยการเงินการคลัง พ.ศ. 2560 มาตรา 17 บัญญัตไิ วว้ ่า “ การจัดสรร

งบประมาณรายจ่ายให้แก่หน่วยงานของรัฐต้องคานงึ ถึง... (2) ฐานะเงินนอกงบประมาณของหนว่ ยงานของรฐั ที่

สามารถใชจ้ ่ายได้ รวมตลอดถึงรายไดห้ รอื เงินอ่นื ใดทห่ี น่วยงานของรัฐน้ันมีอยูห่ รือสามารถนามาใช้จา่ ยได้”

พิจารณาตาราง พบว่า ในช่วงปี 2560 – 2561 หน่วยรับงบประมาณภายใต้กระทรวงอุตสาหกรรม

ส่วนใหญ่มีรายนอกงบประมาณน้อย เนื่องจากเป็นหน่วยงานของรัฐท่ีไม่แสวงหากาไร แต่อย่างไรก็ตาม

มบี างหน่วยงานมรี ายไดเ้ งนิ นอกงบประมาณค่อนข้างสูง

สาหรับ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ มีรายได้นอกงบประมาณ

ในปี 2561 มากกวา่ 5,000 ลา้ นบาท

ดังนั้น ในการจัดทางบประมาณควรพิจารณารายได้นอกงบประมาณด้วย กรณีที่หน่วยรับ

งบประมาณมีรายได้นอกงบประมาณสูง ควรพิจารณานาเงินรายได้ดังกล่าวมาสมทบกับงบประมาณรายจ่าย

เพื่อดาเนินภารกิจของหน่วยงาน เพื่อช่วยลดภาระงบประมาณแผ่นดิน และสอดคล้องกับพระราชบัญญัติ

วา่ ด้วยวนิ ัยการเงินการคลัง พ.ศ. 2560 มาตรา 17 ขา้ งต้น

หน่วย : ลำ้ นบำท

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561

หนว่ ยงาน รายได้ รายไดน้ อก รวมรายได้ รายได้ รายไดน้ อก รวมรายได้

งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ

(1) (2) (3)=(1)+(2) (1) (2) (3)=(1)+(2)

สว่ นราชการ

1. สำนักงำนปลดั กระทรวงอตุ สำหกรรม 21,898.57 20.86 21,919.43 1,733.30 22.92 1,756.22

2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 749.78 17.64 767.42 699.26 23.54 722.79

3. กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 1,796.00 352.74 2,148.74 1,775.78 109.00 1,884.79

4. กรมอตุ สำหกรรมพน้ื ฐำนและกำรเหมอื งแร่ 618.97 73.68 692.66 570.72 23.73 594.45

5. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำล 822.26 0.22 822.47 440.29 0.34 440.63

6. สำนักงำนมำตรฐำนผลิตภณั ฑ์อตุ สำหกรรม 602.89 1.68 604.58 556.04 1.67 557.72

7. สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม 427.38 5.82 433.20 344.41 0.12 344.53

รฐั วิสาหกจิ

1.กำรนิคมอตุ สำหกรรมแห่งประเทศไทย - 5,898.76 5,898.76 - 5,976.82 5,976.82

ทม่ี า : ระบบ CFS ของกรมบญั ชกี ลำง สบื คน้ ณ วนั ที่ 31 ตลุ ำคม 2562

ประมวลโดย: สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 10 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

7.2.2 คา่ ใชจ้ า่ ย หน่วย : ลำ้ นบำท

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561

หนว่ ยงาน คา่ ใช้จา่ ย คา่ ใช้สอย คา่ ใช้จา่ ยจาก เงินรางวลั คา่ ใช้จา่ ยอน่ื รวมคา่ ใช้จา่ ย คา่ ใช้จา่ ย คา่ ใช้สอย คา่ ใช้จา่ ยจาก เงินรางวัล คา่ ใช้จา่ ยอน่ื รวมคา่ ใช้จา่ ย
บคุ ลากร การอดุ หนนุ หรอื โบนสั
บคุ ลากร การอดุ หนนุ หรือโบนสั

(1) (2) (3) (4) (5) (6)=(1)+...+(5) (1) (2) (3) (4) (5) (6)=(1)+...+(5)

สว่ นราชการ 1,912.17 2,853.02 21,031.72 - 1,390.74 27,187.65 1,896.22 2,521.42 420.59 - 1,482.02 6,320.26

1. สำนักงำนปลดั กระทรวงอตุ สำหกรรม 597.89 464.12 20,382.65 - 442.27 21,886.93 605.75 458.82 274.59 - 456.71 1,795.87

2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 282.59 252.35 7.92 - 243.65 786.51 270.17 251.09 8.14 - 253.19 782.59

3. กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม 409.82 1,433.71 21.03 - 276.17 2,140.73 412.04 1,222.02 30.03 - 297.60 1,961.68

4. กรมอตุ สำหกรรมพนื้ ฐำนและกำรเหมอื งแร่ 267.58 167.60 - - 144.23 579.41 254.50 134.08 - - 156.88 545.45

5. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำล 67.04 238.56 455.53 - 61.93 823.06 65.12 256.40 4.75 - 75.70 401.96

6. สำนักงำนมำตรฐำนผลติ ภัณฑ์อตุ สำหกรรม 213.55 141.05 9.33 - 182.83 546.76 213.21 93.13 9.51 - 197.52 513.37

7. สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม 73.69 155.63 155.27 - 39.66 424.24 75.44 105.89 93.58 - 44.44 319.34

รฐั วสิ าหกจิ 419.38 340.62 - 138.79 2,863.21 3,762.00 424.54 353.43 - 175.72 2,797.73 3,751.42

1.กำรนิคมอตุ สำหกรรมแห่งประเทศไทย 419.38 340.62 - 138.79 2,863.21 3,762.00 424.54 353.43 - 175.72 2,797.73 3,751.42

ทม่ี า : ระบบ CFS ของกรมบญั ชกี ลำง สบื คน้ ณ วนั ท่ี 31 ตลุ ำคม 2562

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กระทรวงอุตสาหกรรมมีค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนจริงจานวน 6,320.26 ล้านบาท

ส่วนใหญ่เป็นค่าใช้สอย จานวน 2,521.42 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 39.89 โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

มคี ่าใช้สอยสูงทส่ี ุด จานวน 1,222.02 ล้านบาท หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ 62.29

8. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 5 ปีย้อนหลงั (พ.ศ. 2558 - 2562)
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของกระทรวงอุตสาหกรรม

(รวมรฐั วสิ าหกจิ ) ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2562 รวมทัง้ ส้ิน 5,090.82 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 92.54 แบ่งเปน็ รายจ่าย
ประจา 4,482.23 ล้านบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 96.80 และรายจ่ายลงทุน 608.59 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 69.87
ผลการเบิกจ่ายทุกหน่วยงานต่ากว่าเป้าหมายที่กาหนดตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ
รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ท่ีกาหนดไว้เม่ือสิ้นปีงบประมาณ ให้มีการเบิกจ่ายร้อยละ 100
โดยเฉพาะผลการเบกิ จ่ายในรายจ่ายลงทนุ แสดงใหเ้ ห็นว่า มกี ารดาเนนิ การลา่ ช้ากว่าแผนทกี่ าหนดอย่างมาก

พิจารณาผลการเบิกจ่ายรายหน่วยงาน (ยกเว้นรัฐวิสาหกิจ) พบว่า หน่วยงานท่ีเบิกจ่ายสูงสุด คือ
สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย เบิกจ่ายร้อยละ 99.32 ในขณะที่หน่วยงานที่เบิกจ่ายต่าสุด คือ
สานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม เบิกจ่ายรอ้ ยละ 71.42

รายจ่ายลงทุนมีผลการเบิกจ่ายต่ากว่าเป้าหมายค่อนข้างมาก บางหน่วยงานเบิกจ่ายต่ากว่าร้อยละ 60
ได้แก่ สานักงานปลัดกระทรวงฯ (ร้อยละ 52.81) กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (ร้อยละ 38.09)
สานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ (รอ้ ยละ 44.76) และสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (รอ้ ยละ 39.54)

อย่างไรก็ดี พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา 43 กาหนดให้การเบิกเงินจากคลังตามงบประมาณ
รายจ่ายประจาปีให้กระทาได้ภายในปีงบประมาณน้ัน กรณีไม่สามารถเบิกเงินได้ภายในปีงบประมาณ ให้ขยายเวลา
เบิกเงินจากคลังได้เฉพาะกรณีท่ีหน่วยรับงบประมาณได้ก่อหน้ีผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมาณ และได้กันเงินไว้ตาม
ระเบียบเก่ียวกับการเบิกจ่ายเงินจากคลังแล้ว และขยายเวลาขอเบิกเงินได้ไม่เกิน 6 เดือนของปีงบประมาณถัดไป
ดังนั้น หน่วยรับงบประมาณควรเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ ปี 2563 ให้เป็นไปตามแผนที่กาหนดภายใน
สิน้ ปีงบประมาณ

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 11 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

หนว่ ยงาน ปี 2559 ปี 2560
(เปา้ หมายการเบกิ จา่ ย 96%) (เปา้ หมายการเบกิ จา่ ย 96%)
พรบ. งปม.หลงั โอนฯ เบกิ จา่ ย % งปม. งปม.หลงั โอนฯ เบกิ จา่ ย % งป

รวมทงั้ สน้ิ 5,986.37 5,964.40 5,612.21 94.10 5,922.88 5,935.47 5,471.76 92.19 6,14

สว่ นราชการ 5,965.37 5,943.40 5,591.21 94.07 5,782.88 5,795.47 5,376.12 92.76 5,653
1,643.16 1,598.02 97.25 1,468.25 1,474.90 1,400.55 94.96 1,38
1. สำนักงำนปลัดกระทรวงอตุ สำหกรรม 1,633.67 582.83 540.21 92.69 53
619.09 563.51 91.02 582.42 1,382.64 1,361.91 98.50 1,72
2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 620.33 1,466.65 1,389.37 94.73 1,382.64 497.40 440.25 88.51 40
840.76 783.64 93.21 34
3. กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 1,461.71 488.99 435.72 89.11 497.40 638.66 486.10 76.11 94
873.46 825.41 94.50 840.76 378.27 363.47 96.09 30
4. กรมอตุ สำหกรรมพน้ื ฐำนและกำรเหมอื งแร่ 501.26 507.17 457.37 90.18 633.63 140.00 95.64 68.31 492
344.89 321.82 93.31 377.77 140.00 95.64 68.31 49
5. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำลทรำย 873.46 21.00 21.00 100.00 140.00
21.00 21.00 100.00 140.00
6. สำนักงำนมำตรำฐำนผลิตภณั ฑ์อตุ สำหกรรม 530.06

7. สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม 344.89

รัฐวิสาหกจิ 21.00
1.กำรนิคมอตุ สำหกรรมแห่งประเทศไทย 21.00

ทมี่ า : ระบบ GFMIS ของกรมบญั ชกี ลำง

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรฐั สภำ

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 12 สานักงานเลขา

หน่วย : ล้ำนบำท

ปี 2561 ปี 2562

(เปา้ หมายการเบกิ จา่ ย 96%) (เปา้ หมายการเบกิ จา่ ย 100%)
ปม. งปม.หลงั โอนฯ เบกิ จา่ ย % งปม.หลงั โอนฯ
รายจา่ ยประจา รายลงทนุ รวมเบกิ จา่ ย

งปม.หลังโอนฯ เบกิ จา่ ย % งปม.หลังโอนฯ เบกิ จา่ ย % จานวน %

45.88 5,955.92 5,056.66 84.90 5,501.33 4,630.30 4,482.23 96.80 871.02 608.59 69.87 5,090.82 92.54

3.68 5,675.57 4,791.33 84.42 5,254.33 4,630.30 4,482.23 96.80 624.02 361.59 57.94 4,843.82 92.19
1,181.00 92.31
87.81 1,420.43 1,265.82 89.11 1,279.40 1,196.48 1,137.20 95.05 82.92 43.79 52.81
32.12 533.58 513.11 96.16 586.90 496.06 483.48 97.46 90.85 73.77 81.20 557.25 94.95
1,263.76 97.37
26.25 1,736.65 1,613.20 92.89 1,297.87 1,258.88 1,224.77 97.29 38.99 38.99 100.00 391.18 88.76
05.73 405.73 390.92 96.35 440.72 365.91 362.69 99.12 74.81 28.49 38.09

43.39 343.39 331.76 96.61 719.76 672.49 667.63 99.28 47.27 47.26 99.98 714.89 99.32
444.66 71.42
48.75 925.17 383.71 41.47 622.60 336.59 316.63 94.07 286.01 128.03 44.76 291.09 94.80

09.62 310.61 292.81 94.27 307.06 303.89 289.83 95.38 3.18 1.26 39.54

2.21 280.35 265.33 94.64 247.00 - -- 247.00 247.00 100.00 247.00 100.00
247.00 100.00
92.21 280.35 265.33 94.64 247.00 - -- 247.00 247.00 100.00

าธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

9. เงินกนั ไวเ้ บิกเหลอ่ื มปีและขยายระยะเวลาเบกิ จา่ ย

หน่วย : ลำ้ นบำท

เงินกนั ไวเ้ บกิ เหลอ่ื มปี ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2562

หนว่ ยงาน รวมเงินกนั ฯ เบกิ จา่ ย คงเหลอื เงินกนั ฯ

จานวน % มีหนผ้ี กู พนั ไม่มีหน้ี อยรู่ ะหวา่ รวม
ผกู พนั ดาเนินการ

รวมทง้ั สนิ้ 830.97 474.34 57.08 300.41 56.10 0.12 356.63

สว่ นราชการ 816.14 459.51 56.30 300.41 56.10 0.12 356.63

1. สำนักงำนปลัดกระทรวงอตุ สำหกรรม 98.41 92.88 94.39 5.52 - 0.01 5.52

2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 17.60 15.71 89.26 1.89 - - 1.89

3. กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 124.37 121.34 97.56 2.74 0.18 0.12 3.04

4. กรมอตุ สำหกรรมพนื้ ฐำนและกำรเหมอื งแร่ 26.10 5.49 21.05 20.50 0.11 - 20.61

5. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำล 8.54 8.54 100.00 - - - -

6. สำนักงำนมำตรฐำนผลิตภณั ฑ์อตุ สำหกรรม 523.96 198.38 37.86 269.76 55.81 - 325.57

7. สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม 17.17 17.17 100.00 - --

รฐั วิสาหกจิ 14.83 14.83 100.00 - - - -

1.กำรนิคมอตุ สำหกรรมแห่งประเทศไทย 14.83 14.83 100.00 - - - -

ทมี่ า : ระบบ GFMIS ของกรมบญั ชกี ลำง

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรฐั สภำ

ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562 กระทรวงอุตสาหกรรม (รวมรัฐวิสาหกิจ) มีเงินกันไว้เบิกเหล่ือมปี

สะสมท้งั สิ้น 830.97 ลา้ นบาท เบิกจ่ายแล้ว 474.34 ลา้ นบาท คดิ เป็นร้อยละ 57.08 คงเหลือเงนิ กันฯ 356.63

ล้านบาท มีหนี้ จานวน 300.41 ล้านบาท ไม่มีหน้ี จานวน 56.10 ล้านบาท และอยู่ระหว่างดาเนินการ 0.12

ล้านบาท

พิจารณารายหน่วยงาน พบว่า สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มีเงินกันฯ สะสมสูงสุด

523.96 ล้านบาท เบิกจ่ายแล้ว 198.38 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 37.86 คงเหลือเงินกันฯ 325.57 ล้านบาท มีหนี้

269.76 ล้านบาท ไม่มีหน้ี 55.81 ล้านบาท รองลงมา คือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม มีเงินกันฯ สะสม 124.37 ล้าน

บาท เบิกจ่ายแล้ว 121.34 ลา้ นบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 97.56

10. ประเด็นข้อสังเกตของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในการพิจารณาวาระ 1 รับหลกั การ
10.1 การใช้ ม.44 ออกคาส่ังปิดเหมืองทองอัครา ที่ จ.พิจิตร ซ่ึงมีข้อพิพาท-ร้องเรียน จากชาวบ้าน

ในพื้นที่โดยตลอด ในเรื่องของ สารพิษปนเปื้อนที่มากับดิน น้า และอากาศ นอกจากน้ี ยังมีสภาวะเครียด
ที่เกิดข้ึนจากเสียงของอุตสาหกรรม ทาให้รัฐบาลถูกบริษัทต่างชาติยื่นฟ้อง หากสุดท้ายรัฐบาลไทยแพ้คดี และ
มีความจาเป็นต้องเสียเงินก้อนใหญ่ ก็ต้องยอมเพื่อแลกกับคุณภาพชีวิต การยุติความขัดแย้งในพ้ืนท่ี และนา
สง่ิ แวดลอ้ มทีด่ กี ลบั คืนมา

10.2 งบประมาณปี 2563 ควรให้ความสาคัญกับธุรกิจระดับรากหญ้าให้ทั่วถึงทุกหมู่บ้าน ทุกชุมชน
ซ่ึงท่ัวประเทศมีกว่า 70,000 หมู่บ้าน หากสร้างธุรกิจใหม่หมู่บ้านละ 2 ธุรกิจ จะเกิดการสร้างงานเพิ่มขึ้น
ลดการกระจกุ ตัว และความเหล่ือมลา้ ได้

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 13 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

11. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของ PBO
11.1 ค่าเป้าหมายของผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ

ทก่ี าหนดว่า “ปริมาณกากอุตสาหกรรมที่ได้รับการจัดการนาเข้าระบบ 25 ล้านตัน/ปี” (เอกสารงบประมาณ
ฉบับท่ี 3 เลม่ ที่ 12 หนา้ 2) กบั ค่าเป้าหมายตวั ชวี้ ัดการให้บริการกระทรวง (เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 เล่มที่
12 หน้า 5) เป็นตวั ชี้วัดเดียวกนั หรือไม่ เหตุใดจงึ กาหนดค่าเป้าหมายแตกตา่ งกนั

11.2 ค่าจ้างเหมาบริการ และคา่ จ้างเหมาบคุ ลากร
ปีงบประมาณ 2563 กระทรวงอุตสาหกรรม มีงบดาเนินงาน จานวน 620.08 ล้านบาท

เป็นค่าจ้างเหมาบริการ และค่าจ้างบุคลากรช่วยปฏิบัติงาน จานวน 194.61 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 31.38

ของงบดาเนินงาน เพม่ิ ขนึ้ จากปีงบประมาณ 2562 จานวน 13.78 ลา้ นบาท

หน่วย : ลำ้ นบำท

หน่วยงาน ปี 2562 ปี 2563

คา่ จา้ ง คา่ จา้ ง รวม คา่ จา้ ง คา่ จา้ ง รวม

เหมาบรกิ าร เหมาบคุ ลากร เหมาบริการ เหมาบคุ ลากร

รวมทง้ั สน้ิ 135.39 45.45 180.84 148.29 46.32 194.61

1. สำนักงำนปลดั กระทรวงอตุ สำหกรรม 26.79 11.74 38.53 36.49 11.74 48.22

2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 18.22 18.95 37.18 19.94 18.95 38.90

3. กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 20.05 - 20.05 23.86 - 23.86

4. กรมอตุ สำหกรรมพนื้ ฐำนและกำรเหมอื งแร่ 5.95 1.41 7.36 5.95 2.12 8.08

5. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำล 7.00 2.90 9.91 7.51 3.06 10.57

6. สำนักงำนมำตรฐำนผลิตภัณฑ์อตุ สำหกรรม 15.45 7.55 23.00 16.42 7.55 23.97

7. สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม 41.92 2.90 44.82 38.12 2.90 41.02

ทมี่ า: เอกสำรงบประมำณ ฉบับที่ 3 เล่มท่ี 12 ตำมร่ำงพระรำชบญั ญัตงิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 14 สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

การจ้างเอกชนดาเนินงานในลักษณะการจ้างเหมา ส่วนราชการสามารถดาเนินการได้
โดยเป็นดุลพินิจของหัวหนา้ ส่วนราชการในการพิจารณาตามความจาเป็นและประหยัด และใหเ้ บิกจ่ายได้เท่าท่ี
จ่ายจริง ซึ่งการจ้างเหมาแบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1) งานจ้างเหมาบริการเพ่ือสนับสนุนการดาเนินงานของ
หน่วยงาน นอกเหนือจากภารกิจหลักของหน่วยงาน เป็นการดาเนินงานเฉพาะโครงการ หรือเฉพาะคร้ังคราว
ท่ีมีความจาเป็น เพ่ือเสริมการปฏิบัติงาน 2) งานจ้างเหมาบริการตามภารกิจของหน่วยงาน เป็นการจ้าง
ใหป้ ฏบิ ัติงานในลักษณะเดยี วกับบคุ ลากรประจาของหน่วยงาน

ดังน้ัน การพิจารณาตัดสินใจดาเนินการจ้างเหมาของหน่วยงานควรคานึงถึงหลักความ
คุ้มค่า และเป็นประโยชน์สูงสุดของหน่วยงาน และดาเนินการตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนด และจัดทาแผน
เปา้ หมาย และขอบเขตของการดาเนนิ งานใหช้ ดั เจน

- กรณีการจ้างเหมาบริการเพ่ือสนับสนุนการดาเนินงาน ต้องแสดงเหตุผลความจาเป็น
ในการจ้าง การวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาที่จาเป็นต้องมีการจ้างเหมาบริการ และท่ีมาของการคานวณ
คา่ ใช้จ่ายให้ชัดเจน

- กรณี การจ้างเหมาบริการในภารกิจปกติ (จ้างเหมาบุคลากรช่วยปฏิบัติงาน)
ต้องวิเคราะห์ภาระงานและอัตรากาลัง เพ่ือแสดงให้เห็นถึงความจาเป็นของจ้างเหมาบุคคลเพ่ิม
เพ่อื ปฏบิ ตั งิ านในส่วนทม่ี ีบุคลากรไม่เพยี งพอ และแสดงทมี่ าของการคานวณค่าใช้จา่ ยใหช้ ัดเจน

11.3 ตามแผนยุทธศาสตร์การให้เอกช่วยร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2560 – 2564
กระทรวงอุตสาหกรรม โดยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดาเนิน
จานวน 3 โครงการ รวมมลู คา่ เงนิ ลงทนุ ถึง 26,000 ลา้ นบาท ดงั น้ี

1) โครงการบริหารจัดการท่าเรือสาธารณะแห่งท่ี 2

ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุดมีความยาวหน้าท่า 1,024 เมตร โดยเป็น 

ท่าเรือสาธารณะแห่งท่ี 2 ซ่ึงจะช่วยลดปริมาณความหนาแน่นของ

ท่าเทียบเรือสาธารณะแห่งแรก อานวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการใน

กลุ่มนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นอกจากน้ี ท่าเรือยังสามารถเชื่อมโยง

กับการพัฒนาระบบราง และระบบขนส่งทางน้าเพื่อช่วยลดการคมนาคม

ทางถนน และเพิ่มศักยภาพ ระบบโลจิสติกส์ของประเทศ อีกท้ังยังเป็น

การรองรับปริมาณสนิ ค้าทจ่ี ะเพม่ิ ขน้ึ จากโครงการพัฒนาระเบยี งเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก เป็นการร่วมทุน

โดยให้เอกชนท่ีมีความเชี่ยวชาญติดต้ังงานระบบจัดหาเคร่ืองมือและอุปกรณ์ รวมทั้งบริหารจัดการและ

บารงุ รักษาทา่ เรือสาธารณะ แหง่ ที่ 2 เปน็ ระยะเวลา 30 ปี มูลคา่ เงนิ ลงทนุ ทัง้ สิน้ 3,000 ลา้ นบาท

2) โค รงก ารบ ริห ารจั ด ก า รท่ าเที ย บ เรือ ส า ธ ารณ ะเพื่ อ ข น ถ่ าย สิ น ค้ า เห ล ว

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยจะดาเนินการจัดหาเอกชนเข้ามา 
บริหารจัดการและบารุงรักษาท่าเทียบเรือสาธารณะ เพื่อขนถ่ายสินค้า

เหลว เพื่อให้สามารถดาเนินกิจการได้ต่อไปภายหลังส้ินสุดสัญญา

สัมปทานปัจจุบันในปี 2565 โดยท่าเรือสาธารณะเพ่ือขนถ่ายสินค้าเหลว

จะเชื่อมโยงกับการขนส่งโดยท่อภายในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด

เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการในกลุ่มปิโตรเคมีในการนาเข้า

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 15 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

วัตถุดิบและส่งออกผลิตภัณฑ์ และเพิ่มศักยภาพ ระบบโลจิสติกส์ให้แก่ผู้ประกอบการปิโตรเคมีของประเทศ
รว่ มทุนโดยให้เอกชนท่ีมคี วามเช่ียวชาญติดตั้งงานระบบจัดหาเครื่องมือและอุปกรณ์ รวมทั้งบรหิ ารจัดการและ
บารุงรักษาท่าเรือสาธารณะเพื่อขนถ่ายสินค้าเหลวในลักษณะสัญญาร่วมลงทุน โดยเอกชนเป็นผู้รับผิดชอบ
ค่าบรหิ ารจัดการและค่าบารุงรักษา เป็นระยะเวลา 30 ปี มลู คา่ เงนิ ลงทุนทั้งสน้ิ 13,000 ล้านบาท

3) โครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ 3 มีพื้นที่ในโครงการรวม

ประมาณ 1,000 ไร่ และมีความยาวหน้าท่ารวมกัน ประมาณ 2,200 เมตร 
ประกอบด้วยท่าเรือขนถ่ายสินค้าเหลวจานวน 2 ท่า และท่าเทียบเรือก๊าซ

จานวน 3 ท่า ส่วนพื้นท่ีหลังท่า อีกประมาณ 450 ไร่ จะเป็นบ่อกักเก็บ

ตะกอนดินเลนในระหว่างการถมพ้ืนท่ี และจะได้รับการพัฒนาต่อไป เม่ือมี

ความต้องการใช้พื้นท่ี เพิ่มข้ึน โดยโครงการจะเช่ือมโยงกับโครงการท่าเรือ

อุตสาหกรรมมาบตาพุด เพ่ือช่วยลดความแออัดของปริมาณสินค้าบริเวณ

ท่าเรือ อุตสาหกรรมมาบตาพุดและพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ รวมถึงอานวยความสะดวกแก่

ผู้ประกอบการในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และเชื่อมโยงกับนโยบายระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค

ตะวันออก ร่วมทุนโดยให้เอกชนที่มีความเช่ียวชาญติดตั้งงานระบบจัดหาเคร่ืองมือและอุปกรณ์ รวมทั้งบริหาร

จัดการและบารุงรักษาท่าเรือ โดยเอกชนเป็นผรู้ ับผิดชอบคา่ บรหิ ารจัดการและค่าบารุงรักษา เป็นระยะเวลา 30 ปี

มูลค่าเงินลงทนุ ทัง้ ส้ิน 10,000 ลา้ นบาท

ประเด็น การดาเนินโครงการทั้ง 3 โครงการ เอกชนเข้ามาร่วมดาเนินงานเป็นมูลค่าเท่าใด

สาหรับมูลค่าการลงทุนท่ีรัฐต้องรับผิดชอบเป็นจานวนเท่าใด มีแหล่งเงินทุนจากแหล่งใดบ้าง ปัจจุบันทั้ง 3

โครงการมีความก้าวหน้าเป็นอยา่ งไร มีปัญหาอุปสรรคหรือไม่ อยา่ งไร

11.4 ควรเร่งรัดการดาเนินงานในปีงบประมาณ 2563 เนื่องจากปีงบประมาณ 2563 ต้องใช้
งบประมาณปี 2562 พลางก่อน ทาให้การดาเนินงาน โดยเฉพาะงบลงทุนสามารถเร่ิมดาเนินการได้ล่าช้ากว่า
ปกติ ประกอบกับ พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา 43 กาหนดให้การเบิกเงินจากคลังตามงบประมาณ
รายจ่ายประจาปีให้กระทาได้ภายในปีงบประมาณนั้น กรณีไม่สามารถเบิกเงินได้ภายในปีงบประมาณ ให้ขยายเวลา
เบิกเงินจากคลังได้เฉพาะกรณีท่ีหน่วยรับงบประมาณได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนส้ินปีงบประมาณ และได้กันเงินไว้ตาม
ระเบยี บเก่ียวกับการเบิกจา่ ยเงินจากคลงั แล้ว และขยายเวลาขอเบิกเงินได้ไม่เกิน 6 เดอื นของปีงบประมาณถัดไป

ดังนั้น หน่วยรับงบประมาณควรเตรียมความพร้อมในส่วนท่ีเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะรายการในลักษณะ
รายจ่ายลงทุน และเม่ือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ประกาศใช้แล้ว
ควรเร่งรดั ดาเนินการ หรอื ก่อหน้ีผูกพันให้แลว้ เสรจ็ ก่อนส้ินปงี บประมาณ เพื่อให้การดาเนินงานและการใช้จ่าย
งบประมาณเป็นไปตามแผนท่ีกาหนดภายในส้ินปีงบประมาณ

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 16 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

ส่วนท่ี 2 แผนงานบรู ณาการทหี่ น่วยงานภายใต้กระทรวงเปน็ เจ้าภาพหลัก

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน่วยงานภายใต้กระทรวงอุตสาหกรรมเป็นเจ้าภาพหลัก คือ
แผนงานบรู ณาการพัฒนาอตุ สาหกรรมและบริการแห่งอนาคต วงเงนิ ทีไ่ ด้รับจัดสรร จานวน 1,313.5399 ลา้ นบาท

แผนงานบรู ณาการพัฒนาอุตสาหกรรมและบรกิ ารแห่งอนาคต
(เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เลม่ ที่ 18 (2) หนา้ 603 - 644)

1. วัตถุประสงค์

(1) สง่ เสริมอุตสาหกรรมอาหารแหง่ อนาคตแบบครบวงจร และสรา้ งเศรษฐกิจฐานชีวภาพ (Bio – economy)

(2) ผลักดันการเปล่ียนผ่านอุตสาหกรรมยานยนต์ไปสู่ยานยนต์สมัยใหม่ และพัฒนาขีดความสามารถ

ในการแขง่ ขนั ของอุตสาหกรรมระบบราง และอากาศยาน

(3) ส่งเสริมการวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมเพ่ือยกระดับอุตสาหกรรมและบริการ ดิจิทัล ข้อมูล

ปัญญาประดษิ ฐ์ ห่นุ ยนต์ ระบบอัตโนมตั ิ และอิเลก็ ทรอนิกสอ์ ัจฉริยะให้มีศกั ยภาพ และขีดความสามารถในการแขง่ ขัน

(4) ส่งเสริมและพัฒนาอตุ สาหกรรมและบริการทางการแพทย์

(5) เพิ่มผลผลิตภาพภาคอุตสาหกรรมและบรกิ ารตลอดห่วงโซ่มูลค่า และพัฒนาการจัดการฐานข้อมูล

อตุ สาหกรรมและการคาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต

2. หน่วยงานรบั ผิดชอบ

สว่ นราชการ หนว่ ยงานในกากับ/องค์การมหาชน รัฐวสิ าหกจิ ในกากบั

1. กระทรวงอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และ 1. สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน 1. สถาบนั วิจยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละ

นวตั กรรม (4 หน่วยงาน) (องคก์ ารมหาชน) เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

2. กระทรวงดจิ ิทัลเพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม (1 หนว่ ยงาน) 2. สถาบนั คณุ วฒุ ิวิชาชีพ

3. กระทรวงพาณิชย์ (2 หน่วยงาน) (องคก์ ารมหาชน)

4. กระทรวงแรงงาน (1 หนว่ ยงาน)

5. กระทรวงศึกษาธิการ (1 หนว่ ยงาน)

6. กระทรวงสาธารณสุข (1 หน่วยงาน)

7. กระทรวงอตุ สาหกรรม (4 หนว่ ยงาน)

หนว่ ยงานเจ้าภาพหลัก 1.กระทรวงอตุ สาหกรรม (สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม)

2. กระทรวงแรงงาน (กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน)

3. ความเช่ือมโยงกบั ยุทธศาสตรช์ าติ เปา้ หมาย ตัวช้วี ัดแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนพฒั นา
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ นโยบายสาคัญ

แผนงานบูรณาการพัฒนาอตุ สาหกรรมและบริการแห่งอนาคตมคี วามเช่ือมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ แผน
แม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ และแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 ดังนี้

ยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี : ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั
แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ : ประเดน็ อตุ สาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
แผนพฒั นา ฯ ฉบับท่ี 12 : ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การสรา้ งความเขม้ แข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อยา่ งย่ังยืน

เปา้ หมายท่ี 4 เพิม่ ผลติ ภาพการผลิตของประเทศ
ตวั ช้ีวดั 4.1 ผลิตภาพการผลติ ของปจั จยั การผลติ ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ 2.5 ต่อปี
ตัวชว้ี ดั 4.2 ผลิตภาพการผลิตของปจั จัยแรงงาน ไม่ต่ากว่าร้อยละ 2.5 ตอ่ ปี

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 17 สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

4. ผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับจากการใช้จา่ ยงบประมาณ
ผลสัมฤทธ์ิ : การพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคตให้เติบโตอย่างเข้มแข็ง เป็นผู้นาของ

อตุ สาหกรรมและบรกิ ารในระดบั ภมู ภิ าคและระดับโลก
ตวั ช้วี ัดและคา่ เปา้ หมายในปี 2563 :
1. อัตราการขยายตวั ของผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขน้ึ รอ้ ยละ 4.2
2. ผลติ ภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมเพ่ิมขึ้น รอ้ ยละ 2.2

5. สรุปภาพรวมงบประมาณและผลการเบกิ จ่าย
5.1 งบประมาณจาแนกตามกระทรวง/หนว่ ยงาน
ปี 2563 งบประมาณแผนงานบูรณาการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต (เปลี่ยนช่ือ

จาก แผนงานบูรณาการอุตสาหกรรมศักยภาพ ในปี 2562) จานวน 1,313.54 ล้านบาท ลดลง จากปี 2562
จานวน 128.61 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.92 โดยมีหน่วยงานที่ดาเนินการท้ังส้ิน จานวน 17 หน่วยงาน
ภายใต้กระทรวงต่าง ๆ แสดงดังตาราง กระทรวงท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณสูงสุด คือ กระทรวงอุตสาหกรรม
834.34 ล้านบาท (สดั ส่วนร้อยละ 63.52) รองลงมา ได้แก่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม
225.84 ลา้ นบาท (สดั ส่วนรอ้ ยละ 17.19) และกระทรวงแรงงาน 82.20 ลา้ นบาท (สดั สว่ นร้อยละ 6.26)

หน่วย : ลำ้ นบำท

กระทรวง/หน่วยงาน งบประมาณ ปี 63 เพม่ิ /(ลด) จากปี 62
รวมทงั้ สน้ิ
ปี 2562 ปี 2563 จานวน ร้อยละ
1,442.15
เงิน สดั สว่ น

1,313.54 100.00 - 128.61 - 8.92

1. สานักนายกรัฐมนตรี 72.47 49.87 3.80 - 22.60 - 31.19
สถำบนั คณุ วฒุ ิวชิ ำชพี (องคก์ ำรมหำชน) 72.47 49.87 3.80 - 22.60 - 31.19

2. กระทรวงพาณชิ ย์ 32.26 34.65 2.64 2.39 7.41
1. กรมส่งเสริมกำรคำ้ ระหวำ่ งประเทศ - 1.50
2. สำนักงำนนโยบำยและยุทธศำสตร์กำรคำ้ 0.11 1.50 100.00
32.26 33.15
2.52 0.89 2.76

3. กระทรวงแรงงาน 201.33 82.20 w 6.26 - 119.13 - 59.17
กรมพฒั นำฝีมอื แรงงำน 201.33 82.20 6.26 - 119.13 - 59.17
288.76 225.84 v 17.19 - 62.92 - 21.79
4. กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม

กรมวทิ ยำศำสตร์บริกำร 10.02 9.67 0.74 - 0.34 - 3.40
สนง.พฒั นำวทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชำติ 121.48 122.70 9.34 1.22 1.01
สถำบนั มำตรวทิ ยำแหง่ ชำติ 53.03 46.77 3.56 - 6.26 - 11.81

สำนักงำนสภำนโยบำยกำรอดุ มศกึ ษำ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัย 42.74 43.40 3.30 0.66 1.55
และนวตั กรรมแหง่ ชำติ 56.50 3.30 0.25 - 53.20 - 94.16
สถำบันวจิ ัยแสงซนิ โครตรอน (องคก์ ำรมหำชน)

ศนู ยค์ วำมเปน็ เลิศดำ้ นชวี วทิ ยำศำสตร์ (องคก์ ำรมหำชน) 5.00 - -- 5.00 - 100.00
5. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 54.29 50.73 3.86 - 3.56 - 6.56
54.29 50.73 3.86 - 3.56 - 6.56
สนง.คณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ

6. กระทรวงสาธารณสขุ 34.50 19.66 1.50 - 14.84 - 43.02
กรมกำรแพทยแ์ ผนไทยและกำรแพทย์ทำงเลอื ก 4.77 - - - 4.77 - 100.00
กรมวทิ ยำศำสตร์กำรแพทย์ 8.08 - - - 8.08 - 100.00
สนง.คณะกรรมกำรอำหำรและยำ 21.65 1.50 - 1.99 -
693.84 19.66 63.52 140.50 9.20
7. กระทรวงอตุ สาหกรรม 834.34 u 20.25

สนง.ปลัดกระทรวงอตุ สำหกรรม 189.01 - - - 189.01 - 100.00
กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม 179.45 231.33
สนง.คณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำลทรำย 17.61 51.88 28.91
9.75 9.75
0.74 - -

สนง.มำตรฐำนผลิตภัณฑ์อตุ สำหกรรม 184.70 466.92 35.55 282.22 152.80
สนง.เศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม 130.94 126.34 9.62 - 4.59 - 3.51
8. กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม 15.26 1.16 15.26 100.00
-

สำนักงำนสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั - 15.26 1.16 15.26 100.00
9. รัฐวสิ าหกจิ 64.71 1.00 0.08 - 63.71 - 98.45
64.71 1.00 0.08 - 63.71 - 98.45
สถำบนั วจิ ัยวทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยีฯ

ทม่ี า: 1. ข้อมลู ปี 2562 เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ที่ 3 งบประมำณรำยจ่ำย ฉบบั ปรับปรุง ตำมพระรำชบัญญัตงิ บประมำณรำยจ่ำย
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 เล่มที่ 14 (1)

2. ข้อมลู ปี 2563 เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ท่ี 18(2) ตำมร่ำงพระรำชบัญญัตงิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 18 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

5.2 งบประมาณจาแนกตามเป้าหมาย/แนวทาง
งบประมาณแผนงานบูรณาการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต (เปลี่ยนชื่อจาก

แผนงานบูรณาการอุตสาหกรรมศักยภาพ ในปี 2562) จานวน 1,313.54 ลา้ นบาท ลดลง จากปี 2562 จานวน
128.61 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.92

ประกอบดว้ ย 5 เป้าหมาย 17 แนวทางการดาเนินงาน ดังนี้
เป้าหมายที่ 1 : ส่งเสริมอุตสาหกรรมอาหารแห่งอนาคตแบบครบวงจร และสร้างเศรษฐกิจ
ฐานชีวภาพ (Bio-economy) วงเงิน 179.28 ลานบาท (สัดส่วนร้อยละ 13.65) ประกอบด้วย 3 แนวทาง
การดาเนินงาน
เป้าหมายท่ี 2 : ผลักดันการเปล่ียนผ่านอุตสาหกรรมยานยนต์ไปสู่ยานยนต์สมัยใหม่ และ
พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมระบบราง และอากาศยาน วงเงิน 498.81 ล้านบาท
(สัดสว่ นรอ้ ยละ 37.97) ประกอบด้วย 4 แนวทางการดาเนนิ งาน
เป้าหมายท่ี 3: ส่งเสริมการวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมเพ่ือยกระดับอุตสาหกรรมและบริการ
ดิจิทัล ข้อมูล ปัญญาประดิษฐ์ หุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ให้มีศักยภาพและ
ขีดความสามารถในการแข่งขัน วงเงิน 345.86 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 26.33) ประกอบด้วย 4 แนวทาง
การดาเนินงาน
เป้าหมายท่ี 4 : ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการทางการแพทย์ วงเงิน 92.72 ล้านบาท
(สัดส่วนรอ้ ยละ 7.06) ประกอบด้วย 3 แนวทางการดาเนินงาน
เป้าหมายท่ี 5 : เพ่ิมผลิตภาพภาคอุตสาหกรรมและบรกิ ารตลอดห่วงโซ่มูลค่า และพัฒนาการจัดการ
ฐานข้อมูลอุตสาหกรรม และการคาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต วงเงิน 196.87 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 14.99)
ประกอบด้วย 3 แนวทางการดาเนนิ งาน
ปี 2563 ให้ความสาคัญกับอุตสาหกรรมยานยนต์ (เป้าหมายท่ี 2) และอุตสาหกรรมและ
บริการ ดิจิทัล ข้อมูล ปัญญาประดิษฐ์ หุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (เป้าหมายท่ี 3)
โดยจัดสรรงบประมาณเพอื่ พัฒนา ท้ัง 2 อตุ สาหกรรม สงู ถงึ 844.66 ล้านบาท รอ้ ยละ 64.30 ของแผนงาน
สาหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ งบประมาณ 498.81 ล้านบาท มีเป้าหมายที่จะผลักดัน
การเปลี่ยนผ่านอุตสาหกรรมยานยนต์ไปสู่ยานยนต์สมัยใหม่ และพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของอุตสาหกรรมระบบราง และอากาศยาน โดยให้ความสาคัญกับการจัดต้ังศูนย์ทดสอบยานยนต์และยางล้อ
แห่งชาติ วงเงิน 466.92 ล้านบาท เพื่อส่งเสริมการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศ ดาเนินการโดยสานักงาน
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม
อุตสาหกรรมและบริการ ดิจิทัล ข้อมูล ปัญญาประดิษฐ์ หุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติ และ
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ งบประมาณ 345.86 ล้านบาท มีเป้าหมายยกระดับด้วยการส่งเสริมการวิจัย พัฒนา
และสร้างนวัตกรรม โดยให้ความสาคัญกับส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ ท้ังผู้ผลิต
ผู้ให้บริการ และแรงงานให้สามารถทางานด้านดิจิทัล ข้อมูล ปัญญาประดิษฐ์ หุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติ และ
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะท่ีมีความซับซ้อนมากขึ้น หน่วยงานขับเคล่ือนการดาเนินงาน ได้แก่ สถาบันคุณวุฒิ
วิชาชีพ (องค์การมหาชน) สานักนายกรัฐมนตรี กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน และกรมส่งเสริม
อตุ สาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 19 สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

แผนงานบรู ณาการพัฒนาอตุ สาหกรร

ปี 2562 รวมงบประมาณทงั้ สิ้น 1

ปี 2563 รวมงบประมาณทง้ั สิ้น 1

ลดลง จากปี 2562

เปา้ หมายที่ 1 : ส่งเสริมอตุ สำหกรรมอำหำรแห่งอนำคตแบบครบ เปา้ หมายที่ 2 : ผลักดนั กำรเปล่ยี นผำ่ นอตุ สำหกรรมยำนยนตไ์ ปสู่ยำนยนตส์ มยั ใหม่ เปา้ หมายท่ี 3: ส่งเสริมกำรวจิ ัย พฒั นำ และสร้ำ
ปญั ญำประดษิ ฐ์ หนุ่ ยนต์ ระบบอตั โนมตั ิ และอเิ ล
วงจร และสร้ำงเศรษฐกจิ ฐำนชีวภำพ (Bio-economy) และพฒั นำขีดควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั ของอตุ สำหกรรมระบบรำง และอำกำศยำน ตวั ชี้วัด : 1. อตั รำกำรขยำยตวั ของอตุ สหกรรมแ
อเิ ล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ เพม่ิ ข้นึ ร้อยละ 5 ตอ่ ปี
ตวั ชี้วดั : 1.อตั รำกำรขยำยตวั ของอตุ สำหกรรมอำหำรแหง่ อนำคต ตวั ชว้ี ัด : 1.อตั รำกำรขยำยตวั ของอตุ สำหกรรมยำยยนตเ์ พมิ่ ข้นึ เฉลีย่ ร้อยละ 4 ตอ่ ปี
2. อตั รำกำรขยำยตวั ของมลู คำ่ ตลำดใ
เพมิ่ ข้ึนเฉล่ียร้อยละ 2 ตอ่ ปี 2.มสี ัดสว่ นกำรผลิตรถยนตท์ ข่ี บั เคลื่อนดว้ ยพลงั งำนไฟฟำ้ ร้อยละ 4 3. ควำมเขม้ ขน้ ของกำรใชห้ นุ่ ยนตใ์ นภ
10,000 คน
2.มลู คำ่ กำรลงทนุ ในอตุ สำหกรรมชีวภำพเพมิ่ ขนึ้ 3.ผู้ประกอบกำรผลติ ชนิ้ ส่วนอำกำศยำนเพม่ิ ขน้ึ 2 เท่ำ

20,000 ลำ้ นบำท

179.28 498.81
13.65% 37.97%

แนวทำง 1.1 แนวทำง 1.2 แนวทำง 1.3 แนวทำง 2.1 แนวทำง 2.2 แนวทำง 2.3 แนวทำง 2.4 แนวทำง 3.1 แนวทำง 3
พฒั นำ ตอ่ ยอด พฒั นำผลติ ภณั ฑ์ท่มี ี พฒั นำผู้ประกอบกำร พฒั นำโครงสรำ้ งพน้ื ฐำน สนับสนุนผปู้ ระกอ
เทคโนโลยี พฒั นำผูป้ ระกอบกำร พฒั นำ ตอ่ ยอด ผลกั ดนั ตงั้ ศนู ย์ พฒั นำผลติ ภณั ฑ์ทม่ี ี และมำตรฐำนท่ีสำคญั ใน พฒั นำและสรำ้ งผ
นวตั กรรมและ มูลคำ่ เพม่ิ จำก และแรงงำนใน กำรพฒั นำอตุ สำหกรรมและ บรกิ ำรในอตุ สำหก
มำตรฐำนท่ีสำคญั นวตั กรรมอำหำร และแรงงำน เทคโนโลยี ทดสอบยำนยนต์ มูลคำ่ เพมิ่ ใน อตุ สำหกรรมยำนยนต์ บริกำร ดจิ ทิ ลั ขอ้ มูล
ในอตุ สำหกรรม และกำรใชว้ ตั ถดุ บิ สมัยใหม่ ระบบรำง ปญั ญำประดษิ ฐ์ หนุ่ ยนต์ บรกิ ำร ดจิ ิทลั
อำหำรแหง่ อนำคต ภำคอตุ สำหกรรมอำหำร นวตั กรรมและ และยำงลอ้ แหง่ ชำติ อตุ สำหกรรมยำนยนต์ และอำกำศยำนใหใ้ ช้ ระบบอตั โนมัติ และ ปญั ญำประดษิ ฐ์ หนุ่
และชวี ภำพ ชวี ภำพ อเิ ลก็ ทรอนิกสอ์ จั ฉรยิ ะ อตั โนมัติ และอเิ ลก็
แหง่ อนำคตและชวี ภำพ มำตรฐำนท่ีสำคญั ใน สมัยใหม่ ระบบรำง เทคโนโลยแี ละ
13.96 98.55 นวตั กรรมใน 33.60 อจั ฉรยิ ะใหม้ ีมูลค
1.06% 7.50% ใหใ้ ชเ้ ทคโนโลยแี ละ อตุ สำหกรรมยำน และอำกำศยำน กระบ1ว2น.0ก9ำรผลติ 2.56%
42.66
นวตั กรรมใน ยนตส์ มัยใหม่ ระบบ 0.92% 3.25%

กระบวนกำรผลติ รำง และอำกำศยำน

66.77 9.17 466.92 10.63

5.08% 0.70% 35.55% 0.81%

ตวั ชว้ี ัด ตัวช้ีวดั ตวั ชว้ี ัด ตวั ชว้ี ัด ตวั ชวี้ ัด ตวั ชว้ี ัด ตวั ชว้ี ัด ตวั ชวี้ ัด ตวั ชว้ี ัด
โครงสร้ำงพ้ืนฐำนใน ผลติ ภัณฑห์ รอื เทคโนโลยี ผู้ประกอบกำรและแรงงำน โครงสร้ำงพ้นื ฐำนในกำร ศนู ยท์ ดสอบยำนยนต์ ผลติ ภัณฑ์ หรอื ช้ินส่วน หรอื ผู้ประกอบกำรและแรงงำน โครงสร้ำงพน้ื ฐำนในกำรพฒั นำ ผลิตภัณฑใ์ หมท่ ี่มมี ลู คำ่
กำรพฒั นำอตุ สำหกรรม ภำคอตุ สำหกรรมอำหำรแห่ง พฒั นำอตุ สำหกรรมยำน และยำงล้อแห่งชำติ 1 อตุ สำหกรรมและบรกิ ำร ดจิ ิทัล สำมำรถนำไปใชใ้ นภำค
แห่งอนำคตและชีวภำพ ใหมม่ มี ลู คำ่ เพมิ่ จำก อนำคตไดร้ บั กำรพฒั นำให้มี เทคโนโลยสี มยั ใหม่ มี ในอตุ สำหกรรมยำนยนต์ ข้อมลู ปัญญำประดษิ ฐ์ หุ่นยนต์
นวตั กรรมอำหำรและกำร ขีดควำมสำมำรถในกำร ยนตส์ มยั ใหม่ และ ศนู ย์ มลู คำ่ เพ่ิมขึ้นใน สมยั ใหม่ ระบบรำง และ ระบบอตั โนมตั ิ และอเิ ล็กทรอนิกส์ 100 ชุด/ 5 ตน้
32 รำยกำร ใชว้ ตั ถุดบิ ชวี ภำพ จำนวน แข่งขันเพมิ่ ข้ึน 10 รำย/ อำกำศยำน 4 รำยกำร อจั ฉริยะ 10 รำยกำร/20 รำย
อตุ สำหกรรมยำนยนต์ อำกำศยำนไดร้ ับกำรพฒั นำ
750 รำยกำร/15 1,000 คน สมยั ใหม่ และอำกำศยำน ให้มขี ดี ควำมสำมำรถในกำร
ผลติ ภัณฑ์
แขง่ ขนั เพม่ิ ข้ึน 115 รำย/
200 คน

13.9603 98.55 66.768 9.1680 466.9157 10.6300 12.0940 33.5997 42.6596
87.80 สำนกั นำยกฯ 13.70 ก.อุตสำหกรรม 8.78 ก.อุดมศึกษำฯ 21.92 ก.อุดมศึกษำฯ
ก.อุดมศึกษำฯ 13.96 ก.อุดมศึกษำฯ 9.75 ก.อุดมศึกษำฯ 53.07 9.17 ก.อุตสำหกรรม 466.92 ก.อุตสำหกรรม 10.63 สำนกั นำยกฯ 3.31 ก.ดิจิทลั ฯ 7.50 ก.ดิจิทลั ฯ

ก.อุตสำหกรรม 1.00 ก.อุดมศึกษำฯ ก.อุตสำหกรรม 4.18

รัฐวสิ ำหกิจ

(สถำบนั

วทิ ยำศำสตร์ฯ)

ทม่ี า: เอกสำรงบประมำณ ฉบับที่ 3 เลม่ ท่ี 18(2)
ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 20 สานกั งานเลขา

รมและบริการแหง่ อนาคต ปี 2563

1,442.15 ล้านบาท

1,313.54 ล้านบาท

-128.61 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ -8.92

ำงนวตั กรรมเพอ่ื ยกระดบั อตุ สำหกรรมและบริกำร ดจิ ิทลั ขอ้ มลู เปา้ หมายที่ 4 : ส่งเสริมและพฒั นำอตุ สำหกรรมและบริกำร เปา้ หมายท่ี 5 : เพมิ่ ผลิตภำพภำคอตุ สำหกรรมและบริกำรตลอด
ลก็ ทรอนิกส์อจั ฉริยะ ให้มศี กั ยภำพและขดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั ทำงกำรแพทย์ หว่ งโซม่ ลู คำ่ และพฒั นำกำรจัดกำรฐำนขอ้ มลู อตุ สำหกรรม และ
และบริกำร ข้อมลู ปญั ญำประดษิ ฐ์ หนุ่ ยนต์ ระบบอตั โนมตั ิ และ ตวั ช้ีวดั : 1.อตั รำกำรขยำยตวั ของอตุ สำหกรรมและบริกำร กำรคำดกำรณเ์ ทคโนโลยใี นอนำคต
ทำงกำรแพทย์ เพมิ่ ขนึ้ เฉลี่ยร้อยละ 5 ตอ่ ปี ตวั ชี้วดั : ผลติ ภำพกำรผลติ ของสถำนประกอบกำรทเี่ ข้ำร่วม
ในอตุ สำหกรรมดจิ ิทลั เพม่ิ ขนึ้ ร้อยละ 10 โครงกำร เพมิ่ ข้ึนร้อยละ 10
ภำพอตุ สำหกรรมกำรผลติ 70 ตวั ตอ่ แรงงำนอตุ สำหกรรมกำรผลติ 2.เกดิ เครือข่ำยอตุ สำหกรรม 1 กลุม่

345.86 92.72 196.87
26.33% 7.06% 14.99%

3.2 แนวทำง 3.3 แนวทำง 3.4 แนวทำง 4.1 แนวทำง 4.2 แนวทำง 4.3 แนวทำง 5.1 แนวทำง 5.2 แนวทำง 5.3
อบกำ วจิ ยั สง่ เสรมิ และพฒั นำบคุ ลำกรใน สนับสนุน สง่ เสริมใหเ้ กดิ พฒั นำโครงสร้ำง
ผลติ ภณั ฑ/์ ภำคอตุ สำหกรรมตำ่ งๆทั้งผู้ผลติ ผู้ พฒั นำ ตอ่ ยอด สง่ เสริมกำรวจิ ัย พฒั นำ พน้ื ฐำนของระบบ เพม่ิ ผลติ ภำพกำรผลติ พฒนำผู้ประกอบกำร
กรรมและ ใหบ้ รกิ ำร และแรงงำนใหส้ ำมำรถ กำรลงทนุ กำรนำ นิเวศอตุ สำหกรรม
ขอ้ มูล เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ไปใช้ เทคโนโลยี พฒั นำ เทคโนโลยี ผูป้ ระกอบกำรและ ของอตุ สำหกรรมและ และบคุ ลำกร
นยนต์ ระบบ ทำงำนดำ้ นดจิ ิทลั ขอ้ มูล 55.79
กทรอนิกส์ ปญั ญำประดษิ ฐ์ หุ่นยนต์ ระบบ 1.50 นวตั กรรมและ และนวตั กรรมใน แรงงำนใน 4.25% บริกำรตลอดหว่ งโซ่ ภำคอตุ สำหกรรมและ
คำ่ สงู ขึน้ อตั โนมัติ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 0.11%
อจั ฉรยิ ะท่มี ีควำมซบั ซอ้ นมำกข้ึน มำตรฐำนท่ีสำคญั อตุ สำหกรรมและ อตุ สำหกรรมและ คณุ คำ่ บรกิ ำร เพอ่ื เพม่ิ ผลติ

268.10 ในอตุ สำหกรรมและ บรกิ ำรทำงกำรแพทย์ บริกำรทำงกำรแพทย์ ภำพ
20.41%
บรกิ ำรทำงกำรแพทย์

30.53 48.50 13.70 80.00 61.08
2.32% 3.69% 1.04% 6.09% 4.65%

ำเพิ่มข้ึน และ ตวั ชว้ี ัด ตวั ชว้ี ัด ตวั ชว้ี ัด ตัวช้ีวดั ตวั ชว้ี ัด ตวั ชว้ี ัด ตัวชี้วดั ตวั ชว้ี ัด
คอตุ สำหกรรม 1. ผู้ประกอบไดร้ ับกำรพฒั นำ 15 รำย คู่คำ้ ในอตุ สำหกรรมดจิ ิทัล โครงสร้ำงพ้นื ฐำนใน ผลติ ภัณฑห์ รือกำร ผู้ประกอบกำรและ โครงสรำ้ งพนื้ ฐำนในกำร รอ้ ยละของสถำน รอ้ ยละ 80 ของแรงงำน
นแบบ 2. แรงงำนไดร้ บั กำรพฒั นำ 11,300 รำย ระหวำ่ งผู้ประกอบกำรไทย กำรพฒั นำอตุ สำหกรรม ให้บริกำรอตุ สำหกรรม แรงงำนในอตุ สำหกรรม เพิม่ ผลิตภำพกำรผลติ ประกอบกำรท่ีเขำ้ ร่วม โครงกำรมที ักษะเพ่ิมข้ึน
เคร่อื งมอื แพทย์ จำนวน และบริกำรทำง โครงกำรมผี ลติ ภำพเพิ่มข้ึน
กบั ตำ่ งชำติ 40 คู่ และบริกำรทำง กำรแพทย์ไดร้ บั กำร 8 รำยกำร 8,000 คน
กำรแพทย์ 200,104 25 ตน้ แบบ 480 โรง
พฒั นำให้มขี ดี
รำยกำร ควำมสำมำรถในกำร
แข่งขนั เพิม่ ข้ึน 1,000

คน/1 กลุ่ม

6 268.0965 1.5000 30.5274 48.5000 13.6960 55.7936 80.0029 61.0782

34.90 สำนกั นำยกฯ 13.70 ก.พำณชิ ย์ 1.50 ก.อุดมศึกษำฯ 10.87 ก.อุตสำหกรรม 48.50 สำนกั นำยกฯ 13.70 ก.พำณชิ ย์ 33.15 ก.อุตสำหกรรม 80.00 ก.ศึกษำ 50.73

7.76 ก.แรงงำน 82.20 ก.สำธำรณสุข 19.66 ก.อุตสำหกรรม 22.64 ก.อุตสำหกรรม 10.35

ก.อุตสำหกรรม 172.20

าธิการสภาผู้แทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

4.3 ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2 ปยี อ้ นหลงั (พ.ศ. 256
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณรวมแผนงานบูรณาการ ปี 2561-2562 ขอ

กระทรวงอุตสาหกรรม โดยเฉพาะ สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มีผลกา
ร้อยละ 35.81

งปม.หลงั โอนฯ ปี 2561 เบกิ จา่ ย ณ 30 ก.
ลงทนุ
กระทรวง - หน่วยงาน ประจา ลงทนุ รวม ประจา
รวมทงั้ สน้ิ จานวนเงิน รอ้ ยละ จานวนเงิน ร้อย
1,342.95 1,143.83 2,486.78 588.15 5
1. สำนักนำยกรัฐมนตรี 79.41 - 79.41 1,300.60 96.85 -
สถำบนั คณุ วฒุ ิวชิ ำชพี (องคก์ ำรมหำชน) 79.41 - 79.41 79.41 100.00 -
- - - 79.41 100.00 -
2. กระทรวงพำณชิ ย์ - - - -- -
สำนักงำนนโยบำยและยุทธศำสตร์กำรคำ้ 349.72 457.45 -- 105.32 9
349.72 107.73 457.45 330.86 94.61 105.32 9
3. กระทรวงแรงงำน 117.65 107.73 321.08 330.86 94.61 203.43 10
กรมพฒั นำฝีมอื แรงงำน 5.20 203.43 5.20 117.47 99.84 -
2.00 15.50 5.18 99.59 13.50 9
4. กระทรวงวทิ ยำศำสตร์ฯ 36.50 - 124.90 1.84 91.85 88.40 10
สนง.ปลดั กระทรวงวทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี 5.70 13.50 5.70 36.50 100.00 -
กรมวทิ ยำศำสตร์บริกำร 9.93 88.40 22.56 5.70 100.00 12.63 10
สนง.พฒั นำวทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชำติ 47.15 47.15 9.93 100.00 -
สำนักงำนพฒั นำเทคโนโลยีอวกำศและภูมสิ ำรสนเทศ 11.17 - 87.07 47.15 100.00 75.90 10
สถำบันมำตรวทิ ยำแหง่ ชำติ - 12.63 13.00 11.17 100.00 13.00 10
สำนักงำนคณะกรรมกำรนโยบำยวทิ ยำศำสตร์ฯ 57.68 82.68 -- 25.00 9
สถำบนั วจิ ัยแสงซนิ โครตรอน (องคก์ ำรมหำชน) 55.68 - 55.68 57.46 99.61 -
ศนู ย์ควำมเป็นเลศิ ดำ้ นชีววทิ ยำศำสตร์ (องคก์ ำรมหำชน) 2.00 75.90 27.00 55.46 99.60 25.00 9
78.41 13.00 98.40 2.00 100.00 19.99 10
5. กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร 4.77 25.00 4.77 71.23 90.85
สนง.คณะกรรมกำรกำรอำชวี ศกึ ษำ 51.64 71.63 4.29 90.00 19.99 10
สถำบนั เทคโนโลยฯี เจ้ำคณุ ทหำรลำดกระบงั 22.01 - 22.01 44.94 87.02
642.87 25.00 22.01 100.00 60.73 1
6. กระทรวงสำธำรณสุข 246.67 19.99 1,240.25 626.96 97.53 -
กรมกำรแพทยแ์ ผนไทยและกำรแพทยท์ ำงเลือก 261.98 246.67 241.99 98.10 - 1
กรมวทิ ยำศำสตร์กำรแพทย์ - - 261.98 255.01 97.34 - 9
สนง.คณะกรรมกำรอำหำรและยำ 4.20 19.99 - -- 9
130.01 600.69 2.10 49.92 60.73
7. กระทรวงอตุ สำหกรรม 17.21 - 130.90 127.86 98.35 -
สนง.ปลดั กระทรวงอตุ สำหกรรม 17.21 597.38 207.50 17.21 100.00
กรมส่งเสริมอตุ สำหกรรม 207.50 17.21 100.00 173.69
สนง.คณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำลทรำย - 173.69
สนง.มำตรฐำนผลติ ภณั ฑ์อตุ สำหกรรม -
สนง.เศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม -
596.49
8. รัฐวสิ ำหกจิ 0.89
สถำบันวจิ ัยวทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยฯี 190.29
190.29
ทม่ี า : ระบบ GFMIS ของกรมบญั ชกี ลำง
ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หน้า 21 สานกั งานเลขา

สานักงบประมาณของรัฐสภา

61 - 2562)
องกระทรวง/หน่วยงานส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดี ซ่ึงมีผลการเบิกจ่ายสูงกว่าร้อยละ 90 ยกเว้น
ารเบิกจ่ายต่ามาก ในปี 2561 เบิกจ่ายรวมเพียงร้อยละ 10.46 ในขณะปี 2562 เบิกจ่ายรวม

หน่วย : ลำ้ นบำท

ปี 2562 (ไตรมาสท่ี 3) ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2562

.ย.61 งปม.หลงั โอนฯ เบกิ จา่ ย

ยละ รวม ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทนุ รวม
51.42 จานวนเงิน จานวนเงิน
ร้อยละ จานวนเงิน รอ้ ยละ จานวนเงิน รอ้ ยละ รอ้ ยละ
- 1,888.75 75.95 1,274.11 88.35
- 79.41 100.00 914.06 528.09 1,442.15 882.68 96.57 391.43 74.12 72.47 100.00
- 79.41 100.00 72.47 - 72.47 100.00
- - - 72.47 - 72.47 72.47 100.00 - - 28.99 89.87
97.76 - - 32.26 - 28.99 89.87
97.76 436.18 95.35 32.26 - 72.47 72.47 100.00 - - 192.34 95.54
00.00 436.18 95.35 108.77 192.34 95.54
- 320.90 99.94 108.77 92.56 32.26 28.99 89.87 - - 288.72 99.99
99.99 5.18 99.59 100.96 92.56 - -
00.00 15.34 98.94 187.80 32.26 28.99 89.87 - - 9.97 99.59
- 124.90 100.00 - 121.48 100.00
00.00 5.70 100.00 3.02 - 201.33 100.97 92.83 91.37 98.72 - -
- 22.56 100.00 32.48 7.00 53.03 100.00
00.00 47.15 100.00 - 89.00 201.33 100.97 92.83 91.37 98.72 42.74 100.00
00.00 87.07 100.00 16.35 - 56.50 100.00
99.99 13.00 100.00 42.74 36.68 288.76 100.92 99.96 187.80 100.00 5.00 100.00
- 82.45 99.73 6.38 - 54.13 99.70
99.99 55.46 99.60 - 50.12 - - -- - 54.13 99.70
00.00 27.00 99.99 54.29 5.00 - -
- 91.22 92.71 54.29 - 10.02 2.97 98.64 7.00 99.99 34.02 98.62
00.00 4.29 90.00 - - 4.29 90.00
- 64.93 90.65 34.50 - 121.48 32.48 100.00 89.00 100.00 8.08 100.00
10.17 22.01 100.00 4.77 - 21.65 100.00
- 687.69 55.45 8.08 - - - -- - 541.64 78.06
- 241.99 98.10 21.65 - 174.98 92.58
- 255.01 97.34 495.12 - 53.03 16.35 100.00 36.68 100.00 167.01 93.07
10.18 - - 174.98 198.72 8.32 85.35
- 62.82 10.46 179.45 14.02 42.74 42.74 100.00 - - 66.15 35.81
91.28 127.86 97.67 9.75 - 125.17 95.60
91.28 190.90 92.00 - - 56.50 6.38 100.00 50.12 100.00 61.80 95.51
190.90 92.00 130.94 184.70 61.80 95.51
15.70 - 5.00 - - 5.00 100.00
15.70 49.01
49.01 54.29 54.13 99.70 - -

54.29 54.13 99.70 - -

- - -- -

34.50 34.02 98.62 - -

4.77 4.29 90.00 - -

8.08 8.08 100.00 - -

21.65 21.65 100.00 - -

693.84 475.49 96.04 66.15 33.28

189.01 174.98 100.00 - -

179.45 167.01 93.07 - -

9.75 8.32 85.35 - -

184.70 - - 66.15 35.81

130.94 125.17 95.60 - -

64.71 15.70 100.00 46.11 94.07

64.71 15.70 100.00 46.11 94.07

าธิการสภาผ้แู ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

5. ประเดน็ ข้อสังเกตของกรรมาธิการฯ ทส่ี าคญั ทผ่ี า่ นมา

สานั กงบ ป ระมาณ ของรัฐสภ าได้ศึกษ าได้ศึกษ า รวบ รวม และจัดห ม วดห มู่ข้อสังเกต

ของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ของงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ

3 ปีย้อนหลัง (ระหวา่ ง ปงี บประมาณพ.ศ. 2560 - 2562) พบว่า มีประเด็นสาคัญ ท่ีคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ

ใหค้ วามสาคญั ดงั นี้

สรุปประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั ฯ

ปี 2562 ควรประเมินจานวนแรงงานระดับอาชีวะศึกษาที่เข้าสู่อุตสาหกรรมและผลกระทบจากการขาดแคลนแรงงาน

ระดับอาชีวะต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม ควรพิจารณาเป้าหมาย ผลการดาเนินงานของการส่งเสริมยานยนต์

ประหยดั พลังงาน (Eco Car) ที่ผ่านมา เพ่ือกาหนดเป้าหมายการสง่ เสรมิ การขายยานยนต์ไฟฟา้ ควรมรี ะบบ

การรายงานผลของการบูรณาการกระบวนงานร่วมกันในเชิงปฏิบัติ (Action-oriented) ระหว่างสถาบัน

คณุ วุฒิวิชาชีพและกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ในระยะเวลา 3 เดือน เพ่ือให้ตอบตัวช้ีวัดและสามารถติดตามผลได้

นอกจากน้ีการทางานร่วมกับภาคเอกชน ควรเน้นกจิ การที่มกี ารยกระดบั ธรุ กิจดว้ ยเทคโนโลยแี ละสามารถขยาย

ตลาดได้ และภาคเอกชนตอ้ งร่วมรับความเสีย่ ง (Risk sharing) ดว้ ย โดยเฉพาะภาระค่าใชจ้ า่ ย

ปี 2561 ควรมกี ารวางเป้าหมายและทิศทางของอตุ สาหกรรม 4.0 ในระยะยาว 10 ปี หรอื 20 ปี การเตรียมโครงสร้าง

พ้ืนฐานทจี่ าเป็น รวมถงึ เน้นการพฒั นาศกั ยภาพของบุคลากรในภาคอุตสาหกรรม อาศยั ความรว่ มมือระหวา่ ง

รัฐบาล สถาบนั การศึกษา และภาคอตุ สาหกรรม โดยกาหนดให้การพัฒนาคนเป็นโครงสร้างพ้ืนฐานอย่างหน่ึงท่ี

จาเปน็ ในการพฒั นาอตุ สาหกรรมศกั ยภาพและอุตสาหกรรมเปา้ หมาย 10 อตุ สาหกรรม ควรกาหนดรายละเอียด

การดาเนนิ งานและหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องในแตล่ ะอุตสาหกรรมให้ชัดเจน ซึ่งทาใหง้ า่ ยตอ่ การตดิ ตามประเมนิ ผล

ปี 2560 ต้องกาหนดแผนงานในการจัดลาดับอุตสาหกรรมท่ีจะพัฒนาให้ชัดเจน และร่วมมือกับภาคเอกชนในการ

พัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ เพ่ือให้สามารถก้าวไปสู่อุตสาหกรรม 4. ได้ตามเป้าหมาย สาหรับอุตสาหกรรม

การแพทย์ควรส่งเสริมการพัฒนาอย่างครบวงจร โดยสร้างบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในการผลิตเคร่ืองมือ

แพทย์เพื่อการวิจัยและพัฒนาในการรองรับการเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และเป็นฐานการผลิตเครื่องมือ

แพทย์ในอนาคต รวมทั้งผลักดันให้เครือ่ งมอื แพทย์เป็นสินค้าท่เี ปน็ ทรัพยส์ ินทางปญั ญาในเชงิ พาณิชย์

6. ขอ้ สงั เกต/ความเห็นของ PBO
6.1 การดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรม และการกาหนดตัวช้วี ัดของหนว่ ยงานรว่ มดาเนินการ
การดาเนินโครงการ/กิจกรรม และการกาหนดตัวช้ีวัดของหน่วยงานร่วมดาเนินการภายใต้

แผนบูรณาการ อาจยังไม่สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานหรอื ไม่สง่ ผลไปถึงตัวช้ีวัดของเป้าหมายท่ีกาหนด
อย่างแท้จริง เชน่

6.1.1 เป้าหมายท่ี 1 ส่งเสริมอุตสาหกรรมอาหารแห่งอนาคตแบบครบวงจร และสร้าง
เศรษฐกิจฐานชีวภาพ (Bio-economy) ในแนวทางท่ี 1.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มี
มูลค่าเพิ่มจากนวัตกรรมอาหาร และการใช้วัตถุชีวภาพที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซ่ึงกาหนดตัวช้ีวัด คือ
“ผลิตภัณฑ์หรือเทคโนโลยีใหม่ซ่ึงมีมูลค่าเพิ่มจากนวัตกรรมอาหาร และการใช้วัตถุชีวภาพที่เป็นมิตรกับ
ส่ิงแวดล้อม 750/13 รายการ/ผลิตภัณฑ์” โดยกรณีกระทรวงการอุดมศึกษาฯ (สนง.พัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ) ดาเนินโครงการเมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) ในอุทยานวิทยาศาสตร์
แห่งประเทศไทย วงเงิน 87.80 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายในการสร้างความเข้มแข็งของศูนย์กลาง
บริการ 60.80 ล้านบาท (ค่าใช้สอย 4.80 ล้านบาท และค่าจัดหาครุภัณฑ์ 56.00 ล้านบาท) และค่าใช้จ่าย
ในการเร่งการเตบิ โต(เพ่ิมรายได้) ของผปู้ ระกอบการรายเดมิ และหรือรายใหม่ 15.00 ลา้ นบาท (คา่ ใชส้ อย)

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 22 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

6.1.2 เป้าหมายที่ 4 ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการทางการแพทย์ และสร้างเศรษฐกิจ
ฐ า น ชี ว ภ า พ (Bio-economy) ใน แ น ว ท างที่ 4 .1 พั ฒ น า โค ร งส ร้ า งพ้ื น ฐ าน เพ่ื อ ก าร ต่ อ ย อ ด
ด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม และมาตรฐานที่สาคัญในอุตสาหกรรมและบริการทางการแพทย์ ซ่ึงกาหนดตัวช้ีวัด
คือ “โครงการสร้างพ้ืนฐานในการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการทางการแพทย์ 200,104 รายการ” โดยกรณี
กระทรวงการสาธารณสุข (สนง.คณะกรรมการอาหารและยา) ดาเนินโครงการส่งเสริมผู้ประกอบการ
เพอื่ ยกระดบั มาตรฐานการประกอบและความสามารถในการแข่งขนั วงเงนิ 19.6552 ล้านบาท

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 23 สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

6.2 การพัฒนา 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย
งบประมาณแผนงานบูรณาการการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ ควรครอบคลุมสาหรับ

การพัฒนาอุตสาหกรรมท้ัง 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ โดยกาหนดเป้าหมายและแนวทาง
การดาเนินงานของแตล่ ะอตุ สาหกรรมใหช้ ดั เจน

10 อุตสาหกรรมเปา้ หมาย ประกอบดว้ ย

5 อุตสาหรรมเดมิ (First S-Curve): 5 อตุ สาหกรรมใหม่ (New S-Curve) :
ยกระดบั อุตสาหกรรมปัจจบุ ันเพือ่ ตอ่ พัฒนาอุตสาหกรรมอนาคตเพือ่ ยกระดบั

ยอดการเจรญิ เตบิ โต เศรษฐกจิ ไทยแบบก้าวกระโดด

1. อตุ สาหกรรมยานยนต์สมยั ใหม่ 1. อตุ สาหกรรมหุน่ ยนต์
(Next-Generation Automotive) (Robotics)

2. อตุ สาหกรรมอิเล็กทรอนกิ ส์ 2. อตุ สาหกรรมการบนิ
อัจฉรยิ ะ(Smart Electronics) (Aviation and Logistics)

3. อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ วระดบั 3. อตุ สาหกรรมเช้อื เพลงิ ชีวภาพและเคมี
คุณภาพ (Affluent, Medical and ชวี ภาพ (Biofuels and Biochemicals)

Wellness Tourism)

4. อตุ สาหกรรมการเกษตรและ 4. อุตสาหกรรมดจิ ิทัล
เทคโนโลยีชีวภาพ (Agriculture and (Digital)

Biotechnology)

5. อตุ สาหกรรมการแปรรูปอาหารที่ 5. อตุ สาหกรรมการแพทย์ครบวงจร
มีมลู ค่าเพม่ิ สูง (Food for the (Medical Hub)
Future)

เม่ือพิจารณา งบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ

ปี 2563 พบว่า ได้กาหนดวัตถุประสงค์และเปา้ หมายของแผนงาน โดยแบง่ กล่มุ อตุ สาหกรรม ดงั นี้

- อุตสาหกรรมอาหารแห่งอนาคตแห่งอนาคตและชวี ภาพ 179.28 ลา้ นบาท

- อตุ สาหกรรมยานยนต์ไปสู่ยานยนตส์ มยั ใหม่ 498.81 ล้านบาท

- อุตสาหกรรมและบริการ ดิจิทัล ข้อมูล ปัญญาประดิษฐ์ หุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติ และ

อิเลก็ ทรอนิกส์อจั ฉรยิ ะ 345.86 ล้านบาท

- อุตสาหกรรมและบริการทางการแพทย์ 92.72 ล้านบาท

ท้ังน้ี การแบ่งกลุ่มข้างต้น เป็นการรวมอุตสาหกรรมเป้าหมายหลาย ๆ อุตสาหกรรมไว้

ด้วยกัน ทาให้ไม่สามารถแบ่งแยกงบประมาณรายอุตสาหกรรมเป้าหมายได้ชัดเจน เช่น กลุ่มอุตสาหกรรม

และบรกิ าร ดิจทิ ลั ข้อมูล ปญั ญาประดษิ ฐ์ ห่นุ ยนต์ ระบบอัตโนมตั ิ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์อจั ฉริยะ

6.3 การพฒั นาทนุ มนุษย์เพื่อรองรบั 10 อุตสาหกรรมเปา้ หมาย
ทรัพยากรมนุษย์ถือเป็นปัจจัยการผลิตที่สาคัญและมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ

หากประเทศมีการส่งเสริมการพัฒนาทุนมนุษย์ในภาคการผลิตต่าง ๆ ให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะและ
ศักยภาพสูงจะส่งผลทาให้ผลิตภาพ (Productivity) สูงขึ้น และส่งผลดีต่อการพัฒนาและการเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกจิ ของประเทศในภาพรวมต่อไป

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 24 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

ดังนั้น การบูรณาการการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ ควรครอบคลุมถึงการบูรณาการ
ในด้านการพัฒนาทุนมนุษย์ (Human Capital) ด้วย โดยบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และ
ภาคเอกชนที่เก่ียวข้องในอุตสาหกรรมเป้าหมายได้มีส่วนร่วมในการพิจารณากาหนดสาขาวิชาให้ตรงกับ
ความต้องการอย่างแทจ้ ริง เพื่อใหม้ กี าลงั แรงงานทส่ี อดคลอ้ งและเหมาะสมกบั กลุ่มอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย

แต่อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาหน่วยงานร่วมดาเนินการภายใต้แผนงานบูรณาการ พบว่า
มีเพียงสานักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษาเท่านั้น ไม่มีสถาบันอุดมศึกษาร่วมดาเนินการเลย ทั้งท่ี
สถาบันอุดมเป็นหน่วยสาคัญในการแหล่งผลิตแรงงานป้อนภาคการผลิตของประเทศ โดยจากข้อมูล
สานักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า จานวนผู้มีงานทา สาเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ทั่วประเทศ
ในปี 2561 มีจานวน 8,114.7 คน นอกจากนี้ข้อมูลจานวนผู้สาเร็จตามสาขาวิชาจากสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา พบว่า มีผู้สาเร็จการศึกษาในช่วงปีการศึกษา 2557-2559 จากสาขาวิชา
ทีส่ ามารถสนับสนนุ 10 อตุ สาหกรรมเป้าหมายได้ ปีละมากกว่า 1 แสนคน

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 25 สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

สว่ นที่ 3 การวิเคราะหร์ ายหนว่ ยงาน
(ส่วนราชการ องค์การมหาชน รฐั วิสาหกจิ กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน)

1.สานกั งานปลดั กระทรวงอุตสาหกรรม (เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 เล่มท่ี 12 หนา้ 9-52)

1. วสิ ัยทศั น์

ภาคอุตสาหกรรมมผี ลติ ภาพปัจจัยการผลิตรวมเพม่ิ ขึ้นรอ้ ยละ 2.5 ภายในปี 2565

2. พันธกิจ

1.1 ขบั เคลื่อนและบรู ณาการนโยบายและยุทธศาสตรเ์ พื่อยกระดบั อตุ สาหกรรมไทยสู่อุตสาหกรรม

4.0 (Industry 4.0)

1.2 กากับ ดแู ล ส่งเสริมและพฒั นาศกั ยภาพทางการแข่งขนั ของภาคอุตสาหกรรมไทย

1.3 เพม่ิ ผลผลติ ภาพปจั จยั การผลิตรวมของอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย

1.4 ยกระดบั ศักยภาพธรุ กจิ อุตสาหกรรมให้สามารถแขง่ ขนั และอยู่รว่ มกับสงั คมและชมุ ชนได้

3. สรุปภาพรวมงบประมาณ

งบประมาณปี 2563 สานักงานปลดั กระทรวงอุตสาหกรรม ไดร้ ับจัดสรรทั้งส้นิ จานวน 1,155.98 ล้านบาท

หรือร้อยละ 21.55 ของกระทรวงอุตสาหกรรม เพ่ิมข้ึน/ลดลง จากปีงบประมาณ 2562 จานวน 1,268.95 ล้านบาท

เป็นจานวน 112.97 ลา้ นบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 8.90 โดยงบประมาณจาแนกตามแผนงานต่าง ๆ ดังน้ี

หน่วย: ลำ้ นบำท

แผนงาน งบประมาณ ร้อยละ

รวมทงั้ สน้ิ 1,155.98 100.00

1. แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ 524.42 45.37

2. แผนงานพนื้ ฐาน 297.10 25.70

แผนงำนพน้ื ฐำนดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั 297.10 25.70

3. แผนงานยทุ ธศาสตร์ 261.03 22.58

แผนงำนยทุ ธศำสตร์เพอ่ื สนับสนุนดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขัน 261.03 22.58

4. แผนงานบรู ณาการ 73.44 6.35

4.1 แผนงำนบูรณำกำรพฒั นำพน้ื ทเี่ ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 5.49 0.48

4.2 แผนงำนบูรณำกำรพฒั นำพนื้ ทรี่ ะดบั ภำค 67.94 5.88

ทมี่ า: เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ท่ี 3 เล่มท่ี 12 ตำมร่ำงพระรำชบัญญตั งิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2563

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

4. ประเดน็ ขอ้ สังเกตของกรรมาธิการฯ ท่ีสาคญั ในปีทผ่ี า่ นมา

ปี 2562 ควรส่งเสรมิ การผลิตสินค้าและอุปกรณ์เทคโนโลยีอานวยความสะดวกสาหรับผู้สูงอายุ เพ่ือรองรับสงั คมผู้สูงอายุของ
ประเทศไทย เพ่อื รองรบั การยา้ ยฐานการผลิตสนิ คา้ เพื่อผ้สู ูงอายมุ าในประเทศไทย

ปี 2560 ควรเน้นการวิจัยและพัฒนา โดยร่วมกับสถาบันการศึกษาเพ่ือนาผลงานวิจัยต่าง ๆ มาใช้ในการพัฒนา
อตุ สาหกรรม ควบค่ไู ปกบั การส่งเสริมให้ภาคอตุ สาหกรรมใช้เทคโนโลยีเคร่อื งจกั รกลมากขนึ้ เพ่อื ป้องกนั ปญั หา
การขาดแคลนแรงงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต รวมท้ังสนับสนุนโครงการสหกิจศึกษาที่เป็นความร่วมมือระหว่าง
สถานประกอบการกับสถาบันการศึกษา เพื่อเป็นการสร้างบุคลากรด้านอุตสาหกรรม ตลอดจนการพัฒนา
ศักยภาพแรงงานใหเ้ ปน็ แรงงานฝมี อื สามารถควบคุมการใช้เครื่องจักรกลหรือใชเ้ ทคโนโลยขี น้ั สูงได้

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 26 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

5. ข้อสังเกต/ความเห็นของ PBO
5.1 ผลสัมฤทธ์ิและประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับจากการใช้จ่ายงบประมาณ
การกาหนดผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ และตัวช้ีวัด เป็นเพียง

การแสดงผลการดาเนนิ งานของหน่วยงาน ยังไม่สะทอ้ นถงึ ผลสัมฤทธิ์จากการดาเนินงานตามพันธกจิ และความ
เชอ่ื มโยงไปสกู่ ารบรรลุตามวสิ ยั ทศั น์ของหน่วยงานที่ชัดเจน และเปน็ รูปธรรม

5.2 ตวั ชีว้ ัด ระดบั ผลผลติ /โครงการ
ผลผลิต/โครงการมีการกาหนดตัวชี้วัดเพียงมิติเดียว เช่น บางโครงการมีเพียงตัวช้ีวัด

เชิงปริมาณ หรือ บางโครงการมีเพียงตัวช้ีวัดเชิงคุณภาพ ซึ่งการกาหนดตัวชี้วัดท่ีดี ควรมีทั้งเชิงปริมาณและ
เชิงคุณภาพ เชน่

1) ผลผลติ สง่ เสริมและพฒั นาอุตสาหกรรมอยา่ งย่งั ยืน

2) โครงการยกระดบั การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการกระทรวงอุตสาหกรรม

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 27 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

3) โครงการภายใตแ้ ผนงานบูรณาการพัฒนาพ้นื ที่ระดบั ภาค ท้ัง 12 โครงการ กาหนดเพียง
ตวั ช้วี ดั เชิงปรมิ าณ และเป้าหมายเท่ากันทกุ ปี เช่น

3.1) โครงการสง่ เสรมิ เกษตรอินทรีย์

3.2) โครงการสง่ เสริมอตุ สาหกรรมการคา้ การลงทุน

3.3) โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตด้านการเกษตร

5.3. คา่ เช่ารถ (เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 3 เล่มท่ี 12 หน้า 18- 20)
ปี 2563 สานักงานปลัดฯ มีการเชา่ รถสูงถึง จานวน 163 คนั เป็นเงนิ 40.90 ล้านบาท แบ่งเป็น
- รถยนตป์ ระจาตาแหนง่ จานวน 3 คัน เปน็ เงิน 2.26 ลา้ นบาท
- รถโดยสาร ขนาด 12 ทนี่ ่งั (รถต้)ู จานวน 74 คัน เปน็ เงนิ 26.27 ลา้ นบาท
- รถบรรทกุ ขนาด 1 ตัน จานวน 86 คนั เป็นเงนิ 12.38 ล้านบาท
 การเช่ ารถจ านวนมาก โดยเฉพาะการเช่ ารถบรรทุ ก ซ่ึ งมี การเช่ าจานวนมาก

เป็นการดาเนินการเพ่ือรองรับภารกิจใดของหน่วยงาน มีความจาเป็นอย่างไร และหน่วยงานมีแผนการเช่ารถ
ในภาพรวมอย่างไร

 อัตราค่าเช่าบางรายการไม่เท่ากัน เช่น ค่าเช่ารถยนต์ประจาตาแหน่ง และรถโดยสาร
ขนาด 12 ท่ีน่งั รายการดงั กลา่ วมรี ายละเอยี ดแตกต่างกันอย่างไร

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 28 สานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

รายการ คา่ เช่า/คนั /ปี จานวน ตง้ั งบ ปี 2563
(ลา้ นบาท) (คนั ) (ลา้ นบาท)

รวมคา่ เช่ารถทง้ั สนิ้ 163 40.9043
2.2594
1.รถยนตป์ ระจาตาแหนง่ 3 0.9180
1.3414
สัญญำ 1 จำนวน 1 คนั เชำ่ 5 ปี (2561-2565) วงเงนิ รวม 4.2075 ลำ้ นบำท 0.9180 1 26.2665
11.9700
สญั ญำ 2 จำนวน 2 คนั พร้อมคนขบั เช่ำ 5 ปี (2562-2566) วงเงนิ รวม 6.7070 ล้ำนบำท 0.6707 2 0.1995 รำยกำรใหม่
12.9090
2.รถโดยสาร ขนาด 12 ทนี่ งั่ 74 1.1880
12.3784
สัญญำ 1 จำนวน 30 คนั พร้อมคนขับ เชำ่ 5 ปี (2562-2566) วงเงนิ รวม 59.8500 ล้ำนบำท 0.3990 30 0.5799
2.5370 รำยกำรใหม่
สัญญำ 2 จำนวน 1 คนั พร้อมคนขับ เชำ่ 6 ปี (2563-2568) วงเงนิ รวม 1.9950 ล้ำนบำท 0.3990 1 6.9581 รำยกำรใหม่
0.2900
สัญญำ 3 จำนวน 39 คนั เช่ำ 5 ปี (2561-2565) วงเงนิ รวม 64.5450 ลำ้ นบำท 0.3310 39 0.5638
1.4496
สญั ญำ 4 จำนวน 4 คนั เชำ่ 5 ปี (2561-2565) วงเงนิ รวม 5.9400 ลำ้ นบำท 0.2970 4

3.รถบรรทกุ ขนาด 1 ตนั 86

สัญญำ 1 จำนวน 2 คนั พร้อมคนขบั เชำ่ 5 ปี (2562-2566) วงเงนิ รวม 2.8995 ลำ้ นบำท 0.2900 2

สญั ญำ 2 จำนวน 27 คนั เชำ่ 6 ปี (2563-2568) วงเงนิ รวม 25.3696 ล้ำนบำท 0.1879 27

สญั ญำ 3 จำนวน 48 คนั พร้อมคนขบั เช่ำ 6 ปี (2563-2568) วงเงนิ รวม 69.5810 ลำ้ นบำท 0.2900 48

สัญญำ 4 จำนวน 1 คนั พร้อมคนขบั เช่ำ 5 ปี (2560-2564) วงเงนิ รวม 1.3050 ลำ้ นบำท 0.2900 1

สัญญำ 5 จำนวน 3 คนั เชำ่ 5 ปี (2561-2565) วงเงนิ รวม 2.8190 ล้ำนบำท 0.1879 3

สญั ญำ 6 จำนวน 5 คนั พร้อมคนขบั เช่ำ 5 ปี (2561-2565) วงเงนิ รวม 7.2480 ลำ้ นบำท 0.2900 5

ทม่ี า: เอกสำรงบประมำณ ฉบับที่ 3 เล่มที่ 12 ตำมร่ำงพระรำชบญั ญัตงิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2563

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

5.4 เงินอดุ หนนุ คา่ ธรรมเนียมสมาชิกและคา่ ใช้จา่ ยดาเนนิ งานตามขอ้ ตกลง (เอกสารงบประมาณ

ฉบบั ที่ 3 เลม่ ท่ี 12 หนา้ 23)

สานักงานปลัดฯ เป็นสมาชิกองค์การเพ่ิมผลผลิตแห่งเอเชีย โดยต้ังงบประมาณสาหรับ

เป็นค่าธรรมเนียมสมาชิกและค่าใช้จ่ายดาเนินงานต่อเนื่องทุกปี ภายใต้โครงการยกระดับการพัฒนาระบบบริหาร

จัดการกระทรวงอุตสาหกรรม โดยใน ปี 2562-2563 มงี บประมาณ ดังน้ี

รายการ ปี 2562 ปี 2563

รวม 16.97 ลา้ นบาท 16.78 ล้านบาท

คา่ ธรรมเนียม 11.97 ลา้ นบาท 11.78 ลา้ นบาท

คา่ ใช้จา่ ยดาเนนิ งาน 5.00 ล้านบาท 5.00 ล้านบาท

การเป็นสมาชิกองค์การดังกล่าว มีรายละเอียดและการดาเนินงานอย่างไร ประเทศไทยได้รับ

ผลประโยชน์อย่างไร ท่ีผ่านมามีผลการดาเนนิ งานเชงิ รปู ธรรมอยา่ งไร

ทั้งนี้ การพิจารณาตัดสินในเป็นสมาชิกองค์การใด ๆ หน่วยงานควรคานึงถึงผลประโยชน์

และความคุ้มค่าท่ีประเทศได้รับเป็นสาคัญ กรณีท่ีเคยเป็นสมาชิกอยู่แล้ว ควรพิจารณาทบทวนบทบาท

ประโยชน์ที่ประเทศได้รับจากผลการดาเนินงานที่ผ่านมา เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจสมัครสมาชิกใน

โอกาสตอ่ ๆ ไปด้วย

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 29 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

5.5 ค่าใช้จ่ายรางวัลแห่งชาติ จานวน 17.50 ล้านบาท (เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เล่มท่ี 12
หน้า 23) ซ่ึงเป็นค่าใช้จ่ายที่มีการตั้งงบประมาณอย่างต่อเน่ือง (ปี 2562 จานวน 17.98 ล้านบาท) ซ่ึงถือเป็น
งบประมาณค่อนข้างสูง รายการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์และรายละเอียดการดาเนินการอย่างไร มีการติดตาม
ประเมินผลการดาเนินงานท่ีผ่านมาหรือไม่ อย่างไร มีค่าใช้จ่ายในการสมัครหรือไม่ ที่ผ่านมาผู้ได้รบั รางวัลส่วน
ใหญ่เป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ หน่วยงานมีแนวทางในการส่งเสริม SMEs ให้มีผลการดาเนินงานเป็นไปตาม
หลักเกณฑ์ของรางวลั หรือไม่ อยา่ งไร

5.6 งบรายจา่ ยอ่ืน รายการค่าใช้จา่ ยในการจัดทาตวั ชี้วัดผลิตภัณฑ์มวลรวมสเี ขยี ว (Green GDP)
ภาคอุตสาหกรรม เงิน 3.8585 ล้านบาท ภายใต้โครงการยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมในส่วนภูมิภาค
(เอกสารขาวคาดแดง ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 12 หน้า 25) ซ่ึงเป็นรายการดาเนินการต่อเน่ือง (ปี 2562 จานวน
2.5858 ล้านบาท) มีวัตถุประสงค์ รายละเอียดและแผนการดาเนินงานอย่างไร สิ้นสุดเมื่อใด และจากการ
ดาเนินงานในปีที่แล้วมีความกา้ วหนา้ อยา่ งไรบ้าง

5.7 งบรายจ่ายอ่ืน รายการค่าใช้จ่ายในการจัดทาฐานข้อมูลภาคอุตสาหกรรมเพื่อการเตือนภัย
เศรษฐกจิ อตุ สาหกรรมระดับจังหวัด เพ่ือรองรับการบริการจัดการข้อมลู (Big Data) สาหรับการบรู ณาการ
ข้อมูลอุตสาหกรรม เงิน 9.9760 ล้านบาท ภายใต้โครงการยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมในส่วนภูมิภาค
(เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เล่มที่ 12 หน้า 25) มีรายละเอียดการดาเนินงาน และมีการบูรณาการกับ
หน่วยงานที่เก่ียวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนหรือไม่อย่างไร ท้ังน้ี การจัดทาฐานข้อมูล Big Data
จะต้องมีการร่วมมือจากหลายฝ่าย เพ่ือให้เกิดการบริหารจัดการข้อมูลมีความสมบูรณ์ ครอบคลุมทุกมิติ
และความเช่ือมโยงท้ังระบบ เพ่ือให้สามารถใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลได้อย่างแท้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การเชอ่ื มโยงขอ้ มูลระหว่างหน่วยงานภายในกระทรวง เพื่อลดความซา้ ซ้อนของงบประมาณ

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 30 สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

5.8 ค่าจา้ งเหมาบรกิ ารและคา่ จ้างเหมาบคุ คลช่วยปฏบิ ัตงิ าน

หน่วย : ลำ้ นบำท

หนว่ ยงาน ปี 2562 ปี 2563

คา่ จา้ ง คา่ จา้ ง รวม คา่ จา้ ง คา่ จา้ ง รวม

เหมาบริการ เหมาบคุ ลากร เหมาบรกิ าร เหมาบคุ ลากร

รวมทง้ั สน้ิ 135.39 45.45 180.84 148.29 46.32 194.61

1. สำนักงำนปลดั กระทรวงอตุ สำหกรรม 26.79 11.74 38.53 36.49 11.74 48.22

2. กรมโรงงำนอตุ สำหกรรม 18.22 18.95 37.18 19.94 18.95 38.90

3. กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม 20.05 - 20.05 23.86 - 23.86

4. กรมอตุ สำหกรรมพน้ื ฐำนและกำรเหมอื งแร่ 5.95 1.41 7.36 5.95 2.12 8.08

5. สำนักงำนคณะกรรมกำรออ้ ยและน้ำตำล 7.00 2.90 9.91 7.51 3.06 10.57

6. สำนักงำนมำตรฐำนผลิตภณั ฑ์อตุ สำหกรรม 15.45 7.55 23.00 16.42 7.55 23.97

7. สำนักงำนเศรษฐกจิ อตุ สำหกรรม 41.92 2.90 44.82 38.12 2.90 41.02

ทมี่ า: เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ที่ 12 ตำมร่ำงพระรำชบญั ญตั งิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2563

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

ในปีชว่ งปี 2562- 2563 สานกั งานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม มีงบประมาณสาหรับการจา้ ง

เหมาบริการ และค่าจ้างเหมาบุคคลชว่ ยปฏบิ ัติงานสูง (สูงทีส่ ุดในกระทรวง) งบประมาณดงั กล่าวรองรับภารกิจ

ใดของหน่วยงาน

5.9 ค่าใช้จ่ายในการติดตามประเมินผลตามนโยบายและยุทธศาสตร์ วงเงิน 25.40 ล้านบาท

(เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 12 หน้า 25) ซง่ึ เป็นงบรายอน่ื ภายใต้โครงการยกระดบั การพฒั นาระบบ

บริหารจัดการกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นการดาเนินงานต่อเนื่องต้ังแต่ปีงบประมาณ 2560 รวมงบประมาณ

4 ปี จานวน มผี ลการติดตามประเมนิ ผลอย่างไร ระบบการติดตามดงั กล่าว ควรมีความเช่อื มโยง สอดคล้องกับ

ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (ระบบ eMENSCR) ของสานักงานสภาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แห่งชาติ เพ่ือให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการติดตามการดาเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณของภาครัฐ อีก

ทั้ง เพ่ือเป็นประโยชน์ในการนาข้อมูลไปใช้ในการวิเคราะห์ ประมวล เพื่อจัดทาข้อเสนอแนะในการดาเนิน

นโยบายของภาครัฐตอ่ ไป

โครงการยกระดบั การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การกระทรวงอตุ สาหกรรม

รายการ 2560 2561 2562 2563 รวม

งบรำยจ่ำยอน่ื คำ่ ใชจ้ ่ำยในกำรตดิ ตำมประเมนิ ผลตำมนโยบำยและยทุ ธศำสตร์ 30.00 27.00 25.91 25.40 108.31

ทมี่ า: เอกสำรงบประมำณ ฉบับที่ 3 ประจำปงี บประมำณ 2560-2563 กระทรวงอตุ สำหกรรม

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

5.10 เงนิ นอกงบประมาณ และการใช้เงนิ นอกงบประมาณสมทบกบั งบประมาณรายจ่าย
ปีงบประมาณ 2563 สานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ไม่มีเงินนอกงบประมาณที่นามาสมทบ
กบั งบประมาณรายจา่ ย
เมื่อพิจารณาข้อมูลจากรายงานของผู้สอบบัญชี สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) จากระบบ
รายงานการเงินรวมภาครัฐ (ระบบ CFS) ของกรมบัญชีกลาง พบว่า ปี 2560 และ 2561 สานักงาน
ปลัดกระทรวงอตุ สาหกรรม มีรายได้นอกงบประมาณ จานวน 20.9 ล้านบาท และ 22.9 ลา้ นบาท ตามลาดบั

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 31 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

ปี รายได้ รายไดน้ อก รวมรายได้ ท้ังนี้ เมื่อพิจารณาสภาพคล่องของหน่วยงาน พบว่า

งบประมาณ งบประมาณ สานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม มีสภาพคล่องต่า โดยมี

(1) (2) (3)=(1)+(2) ยอดคงเหลือของสินทรัพย์หมุนเวียนคงเหลือ ณ วันท่ี 30
2560 21,898.57 20.86 21,919.43 กันยายน 2561 ใกล้เคียงกับหนี้สินหมุนเวียน หรือสินทรัพย์
2561 1,733.30 22.92 1,756.22 หมุนเวียนไม่เพียงพอต่อจานวนหนี้สินหมุนเวียน โดย ปี 2561

ปี สนิ ทรัพย์ หนสี้ นิ สภาพคลอ่ ง อัตราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี้สินหมุนเวียน 1.43 เท่า
หมุนเวียน หมุนเวียน
2560 (1) (2) (3) =(1)/(2) เทา่ สะท้อนถึงความสามารถชาระหนี้สินระยะส้ันต่า จาเป็นต้อง
1.46 ขอรับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี
1,471.16 1,005.23

2561 1,202.54 838.30 1.43

5.11 ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณประจาปีงบประมาณ 3 ปีย้อนหลัง (พ.ศ. 2560 - 2562)
ในช่วงปีงบประมาณ 2560-2562 สานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม มีผลการเบิกจ่าย

ตา่ กว่าเป้าหมายที่กาหนด โดยเฉพาะรายจ่ายลงทุน ซ่ึงปี 2561-2562 เบิกจ่ายได้นอ้ ยมาก เพียงรอ้ ยละ 26.37

และร้อยละ 52.81 ตามลาดับ โดยปี 2562 การจัดซ้ือค่าครุภัณฑ์ รายการ ระบบรับรองคุณสมบัติ
ของผู้รวบรวม (System Integrator : SI) ท่ีต้องการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีและจัดต้ังศูนย์ความเป็นเลิศ
ด้านหุ่นยนตร์และระบบอัตโนมัติ 4 ระบบ วงเงิน 14.0236 ล้านบาท รายการดังกล่าวยังไม่มีการเบิกจ่ายเลย

และไม่ได้กันเงินไว้เบิกเหล่ือมปีไว้ หน่วยงานติดปัญหาในการดาเนินการอย่างไร และมีแนวทางดาเนินการ
อย่างไร ผลการดาเนินงานที่ไม่เป็นไปตามแผนฯ ส่งผลกระทบต่อภารกิจและเป้าหมายโดยรวมของหน่วยงาน
หรอื ไม่ อย่างไร

ปงี บประมาณ งปม.หลงั โอนฯ รายจา่ ยประจา รายจา่ ยลงทนุ รวมเบกิ จา่ ย

งปม.หลงั เบกิ จา่ ย % งปม.หลงั เบกิ จา่ ย % จานวน %

โอนฯ โอนฯ

2560 1,474.90 1,377.03 1,310.46 95.17 97.87 90.08 92.04 1,400.55 94.96

(เป้ำหมำยเบิกจ่ำย 96%)

2561 1,420.43 1,355.09 1,248.58 92.14 65.34 17.23 26.37 1,265.82 89.11

(เปำ้ หมำยเบิกจ่ำย 96%)

2562 1,279.40 1,196.48 1,137.20 95.05 82.92 43.79 52.81 1,181.00 92.31

(เป้ำหมำยเบกิ จ่ำย 100%)

ทั้งน้ี ปีงบประมาณ 2563 มีการใช้งบประมาณปี 2562 พลางก่อน ทาให้การดาเนินงาน
โดยเฉพาะรายจ่ายลงทุนสามารถเร่ิมดาเนินการได้ล่าช้ากว่าปกติ อีกท้ัง ตามพ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561
มาตรา 43 กาหนดให้การเบิกเงินจากคลังตามงบประมาณรายจ่ายประจาปีให้กระทาได้ภายในปีงบประมาณนั้น
กรณีไม่สามารถเบิกเงินไดภ้ ายในปีงบประมาณ ให้ขยายเวลาเบิกเงินจากคลังได้เฉพาะกรณีที่หน่วยรับงบประมาณได้
ก่อหน้ีผูกพันไว้ก่อนส้ินปีงบประมาณ และได้กันเงินไว้ตามระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินจากคลังแล้ว และขยาย
เวลาขอเบิกเงินได้ไมเ่ กนิ 6 เดือนของปีงบประมาณถดั ไป สานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ควรเตรียมความ
พร้อมในส่วนที่เก่ียวข้องไว้ล่วงหน้า โดยเฉพาะรายการในลักษณะรายจ่ายลงทุน ซึ่งปี 2563 มีหลายรายการ
วงเงิน 118.84 ล้านบาท มกี ารเตรยี มความพรอ้ มอย่างไร เพ่ือไม่ใหเ้ กิดปัญหาเช่นเดยี วกบั ปีทีผ่ ่านมา

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 32 สานักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

2. กรมโรงงานอตุ สาหกรรม (เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 เล่มท่ี 12 หนา้ 53-72)

1. วสิ ัยทัศน์
ยกระดับอตุ สาหกรรมไทยก้าวไกลดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมท่ีเปน็ มิตรตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม พร้อมความ

ปลอดภยั ส่อู ุตสาหกรรม 4.0 ภายในปี 2564

2. พันธกจิ
2.1 บรหิ ารจัดการ การกากบั ดูแลธุรกจิ อตุ สาหกรรมรวมถงึ วัตถุอันตราย ดา้ นการผลิต สิง่ แวดลอ้ ม

ความปลอดภยั ตามกรอบของกฎหมายและข้อตกลงระหวา่ งประเทศ
2.2 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ขอ้ มลู และองค์ความรดู้ า้ นเคร่ืองจักร การผลิต สงิ่ แวดลอ้ ม ความปลอดภัย

วัตถอุ นั ตราย พลังงานและความรบั ผิดชอบต่อสงั คม เพือ่ ประโยชนใ์ นการพฒั นาธรุ กจิ อุตสาหกรรม

3. สรปุ ภาพรวมงบประมาณ

งบประมาณปี 2563 กรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้รับจัดสรรทั้งสิ้น จานวน 567.21 ล้านบาท หรือ

ร้อยละ 10.57 ของกระทรวงอุตสาหกรรม ลดลง จากปีงบประมาณ 2562 (586.90 ล้านบาท) จานวน 19.70

ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.36 โดยงบประมาณจาแนกตามแผนงานต่างๆ ดังนี้

หน่วย: ลำ้ นบำท

แผนงาน งบประมาณ ร้อยละ

รวมทงั้ สนิ้ 567.21 100.00

1. แผนงานบคุ ลากรภาครฐั 244.59 43.12

2. แผนงานพน้ื ฐาน 122.95 21.68

แผนงำนพน้ื ฐำนดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั 122.95 21.68

3. แผนงานยทุ ธศาสตร์ 176.08 31.04

3.1 แผนงำนยุทธศำสตร์เพอื่ สนับสนุนดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขัน 108.98 19.21

3.2 แผนงำนยทุ ธศำสตร์เพอื่ สนับสนุนดำ้ นกำรสร้ำงกำรเตบิ โตบนคณุ ภำพชวี ติ 67.10 0.12

4. แผนงานบรู ณาการ 23.59 4.16

4.1 แผนงำนบรู ณำกำรพฒั นำกำรประกอบกำร และวสิ ำหกจิ ขนำดกลำงและขนำดย่อมสสู่ ำกล 11.51 2.03

4.2 แผนงำนบรู ณำกำรจัดกำรมลพษิ และสงิ่ แวดลอ้ ม 12.08 2.13

ทม่ี า: เอกสำรงบประมำณ ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 12 ตำมร่ำงพระรำชบญั ญัตงิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

4. ประเดน็ ขอ้ สังเกตของกรรมาธิการฯ ท่สี าคญั ในปีทีผ่ า่ นมา

ปี 2561 1. ควรพัฒนาระบบย่ืนคาขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานแบบดิจิทัล โดยเน้นการฝึกอบรมเจ้าหน้าท่ีเกี่ยวกับ
การปฏบิ ัติงานใหม้ ากขึ้น และเพิ่มบคุ ลากรให้เพียงพอ รวมท้งั แก้ไขกฎหมาย ซง่ึ เปน็ อปุ สรรคตอ่ ผ้ปู ระกอบการเพ่ือ
ลดข้ันตอนการขอใบอนุญาตและเร่งรัดการจดทะเบียนเครื่องจักร เน่ืองจากสามารถนามาใช้เป็นหลักทรัพย์ค้า
ประกันในการขออนุมตั ิสนิ เชื่อ เพ่ือผ้ปู ระกอบการจะได้เข้าถงึ แหล่งเงินทนุ ได้มากขึน้ รวมทั้งมกี ารจดั ทาฐานขอ้ มูล
และบูรณาการกับกรมพฒั นาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ และมมี าตรการกากบั ดูแลเจ้าหน้าทีไ่ มใ่ หม้ กี ารทจุ ริต
ในการออกใบอนญุ าต
2. ควรกาหนดเป็นข้อบังคับให้ทุกโรงงานต้องปฏบิ ัติและตอ้ งมีบทลงโทษผู้ประกอบการทไ่ี มเ่ ข้าร่วม โครงการเพ่ิม
ประสิทธิภาพโรงงานคดั แยกและรไี ซเคลิ กากผลิตภณั ฑ์ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ควรเป็นเพียงการเชญิ ชวนหรอื
ชกั จงู ใหเ้ ขา้ รว่ มโครงการเทา่ น้นั
3. ควรตรวจโรงงานขนาดเล็กท่ีต้ังอย่รู ิมคลอง ซง่ึ เป็นโรงงานท่ีตัง้ มาก่อนที่จะมีมติคณะรฐั มนตรี เพือ่ ไม่ให้ปล่อยของเสีย
ลงแม่น้าและหาแนวทางที่จะย้ายท่ีต้ังโรงงาน โดยร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง จัดหาพ้ืนที่ตั้งโรงงานที่มีความ
เหมาะสม และเปน็ พื้นทท่ี ม่ี ีศกั ยภาพในการพัฒนาการลงทุนภาคอุตสาหกรรมต่อไป

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 33 สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

4. ควรตรวจโรงงานขนาดเล็กท่ีตั้งอยู่ริมคลอง ซึ่งเป็นโรงงานที่ต้ังมาก่อนท่ีจะมีมติคณะรัฐมนตรี เพื่อไม่ให้ปล่อย
ของเสียลงแมน่ ้าและหาแนวทางทีจ่ ะย้ายที่ต้ังโรงงานโดยร่วมกับกรมโยธาธิการและผงั เมืองจัดหาพื้นท่ีตั้งโรงงานที่
มีความเหมาะสม และเปน็ พน้ื ทที่ ม่ี ีศกั ยภาพในการพัฒนาการลงทุนภาคอุตสาหกรรมตอ่ ไป
ปี 2560 1. ต้องเร่งรัดการออกใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน การตรวจโรงงาน ให้รวดเร็วขึ้น เนื่องจากส่งผลกระทบต่อ
กระบวนการผลิตและตอ่ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ โดยนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน
และมกี ารบรู ณาการฐานขอ้ มลู ร่วมกนั กับหนว่ ยงานภายในกระทรวง รวมทง้ั เรง่ การพฒั นาบุคลากร เพื่อรองรับการ
ดาเนินงานตามกฎหมายที่ปรบั ปรงุ ใหม่
2. ต้องให้ความสาคัญกับภารกิจกาจดั ขยะและกากอุตสาหกรรมท่ีมีอันตราย ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดลอ้ มและ
ชุมชน โดยเฉพาะพื้นท่ีที่ประกาศเป็นเขตควบคมุ มลพษิ ตอ้ งตรวจสอบดแู ลอย่างเขม้ งวด และจริงจงั โดยรว่ มมือกบั
กรมควบคมุ มลพิษ รวมทงั้ กาหนดมาตรการรองรับขยะและกากอุตสาหกรรมทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต อนั เน่อื งมาจาก
การเพิ่มปรมิ าณของรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งจะกอ่ ใหเ้ กิดขยะอตุ สาหกรรมอีกเป็นจานวนมาก

5. ขอ้ สงั เกต/ความเห็นของ PBO
5.1 ตวั ชี้วัด ระดับผลผลิต/โครงการ
5.1.1 บางโครงการกาหนดตัวช้ีวัดเพียงมิติเดียว เช่น บางโครงการมีเพียงตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

หรอื บางโครงการมีเพยี งตัวช้ีวัดเชงิ คณุ ภาพ ซ่งึ การกาหนดตัวช้วี ัดท่ีดี ควรมที งั้ เชิงปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ เช่น
- โครงการยกระดับสถานประกอบธุรกจิ อตุ สาหกรรมใหม้ ศี ักยภาพในการแข่งขัน

5.1.2 บางโครงการกาหนดชีว้ ดั ยังไมส่ อดคล้องเชือ่ มโยงกับวตั ถุประสงค์ของโครงการ เช่น
- โครงการพัฒนาและยกระดับเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม

ที่ย่ังยืน มีวัตถุประสงค์ เพื่อดาเนินการพัฒนาและยกระดับพื้นท่ีสู่การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 15 จังหวัด
18 พ้ืนที่ แต่กาหนดตัวชี้วัดเป็น “จานวนพ้ืนที่ที่ได้รับการพัฒนาและยกระดับสู่การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิง
นิเวศ” ซึ่งการกาหนดจานวนพ้ืนท่ีที่ดาเนินการ เป็นเพียงบ่งบอกถึงภารกิจงานเท่าน้ันยังไม่สะท้อนให้เห็นว่า
การยกระดับพ้ืนที่แล้วมีความเป็นเมืองอุตสาหกรรมอย่างไร ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจ และสังคมของพ้ืนท่ีนั้น ๆ
อย่างไร

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 34 สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

5.2 คา่ ธรรมเนียมสมาชกิ
กรมโรงงานอตุ สาหกรรม มงี บประมาณ งบเงินอุดหนุนทั่วไป รายการ ค่าบารุงสมาชิกอนุสัญญา

เวียนนาและพิธีสารมอนทรีออล จานวน 0.7002 ล้านบาท และรายการ ค่าบารุงสมาชิกอนุสัญญาห้ามอาวุธเคมี
จานวน 8.3137 ล้านบาท (เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เล่มท่ี 12 หน้า 62) ซึ่งเป็นรายจ่ายท่ีมีต่อเนื่อง ท่ีผ่านมา
ประเทศไทยได้รับประโยชนจ์ ากการเปน็ สมาชกิ อยา่ งไร

5.3 การปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติโรงงาน ได้แก่ พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562
และพระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เม่ือวันท่ี 30 เมษายน 2562
ซึ่งเป็นการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพการปัจจุบัน
เพ่ือลดปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ในการประกอบกิจการโรงงาน และเพื่อถ่ายโอนบางส่วนสู่องค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถ่ิน (ทม่ี า.: สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ https://asa.or.th/laws/news20190507/)

 พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 เป็นการปรับปรุงหลักเกณฑ์การควบคุม
การประกอบกิจการโรงงานใหม่ เพื่อให้การควบคุมการประกอบกิจการโรงงานเป็นไปเพียงเท่าที่จาเป็น
เกิดความรวดเร็ว ประหยดั และลดภาระแกผ่ ปู้ ระกอบการโรงงานโดยเฉพาะผู้ประกอบกิจการโรงงานขนาดเล็ก
โดยปรับปรุงข้ันตอนและระยะเวลาการพิจารณาของผู้อนุญ าตและพนั กงานเจ้าหน้าท่ีตามกฎหมายให้มี
ความชดั เจน ลดการใช้ดุลพินิจ ยกเลิกการกาหนดให้มีการตอ่ อายุใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน และแก่ไข
เพิ่มเติมบทกาหนดโทษ รวมทั้งปรับปรุงค่าอัตราค่าธรรมเนียม เพื่อให้เหมาะสมยิ่งข้ึนและสอดคล้องกับสภาพ
เศรษฐกิจและสังคม  กรมโรงงานอุตสาหกรรม ควรมีแนวทางหรือมีการเตรียมความพร้อมในการ
ควบคุมกากับดูแลโรงงานอุตสาหกรรมให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์อย่างต่อเน่ือง เพ่ือลดปัญหาที่จะเกิดกับ
สิง่ แวดล้อม และประชาชนในพ้นื ทใี่ กลเ้ คยี ง

 พระราชบญั ญัติโรงงาน (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562 เปน็ การถา่ ยโอนภารกจิ ในการเปน็ พนกั งาน
เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับโรงงานจาพวกท่ี 1 และจาพวกท่ี 2 ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยกาหนดว่า เม่ือรัฐมนตรีแต่งต้ังผู้บริหารท้องถ่ินหรือข้าราชการท้องถ่ินใดเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่
ตามพระราชบัญญัติโรงงาน ก็ให้มีอานาจหน้าท่ีและความรับผิดตามที่กาหนดไว้สาหรับพนักงานเจ้าหน้าที่
เฉพาะในส่วนท่ีเก่ียวกับโรงงานจาพวกที่ 1 และจาพวกท่ี 2 ท่ีตั้งอยู่ในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้ัน และ
ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ สาหรับโรงงานจาพวกที่ 2 ให้ตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน นั้น
(ที่มา.: สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ https://asa.or.th/laws/news20190507/)  จากการถ่าย
โอนภารกิจดังกล่าว กรมโรงงานอุตสาหกรรม มีแนวทางควบคุมกากับดูแลโรงงานอุตสาหกรรมให้ปฏิบัติตาม
หลักเกณฑใ์ นเชิงบรู ณาการร่วมกับองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างไร

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 35 สานกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

5.4 ค่าจ้างท่ปี รกึ ษา
5.4.1 โครงการยกระดับสถานประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมให้มีศักยภาพในการแข่งขัน

วงเงิน 108.9832 ล้านบาท มีงบรายจ่ายอื่น จานวน 3 รายการ วงเงิน 72.9703 ล้านบาท (เอกสาร
งบประมาณ ฉบับท่ี 3 เลม่ ที่ 12 หนา้ 64)

5.4.2 ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการจัดการของเสียอันตราย วงเงิน
12.0789 ล้านบาท ของโครงการบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม ซึ่งอยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการจัดการ
มลพิษและส่ิงแวดลอ้ ม (เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 เลม่ ที่ 12 หนา้ 72)

เม่ื อ พิ จ าร ณ าร า ย ล ะ เอี ย ด ค่ า ใช้ จ่ า ย ต า ม เอ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ชี้ แ จ งข อ งก ร ม โ ร ง งา น
อุตสาหกรรม (หน้า 56-91) พบว่า เป็นค่าจ้างที่ปรึกษาเกินกว่าร้อยละ 50 ของงบประมาณท่ีได้รับ โดยเฉพาะ
รายการ ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการจัดการของเสียอันตราย ซึ่งอยู่ภายใต้แผนงาน
บูรณาการจัดการมลพิษและสิ่งแวดล้อม เป็นค่าจ้างที่ปรึกษาสูงถึง ร้อยละ 70.61 ของงบประมาณที่ได้รับ
หนว่ ยงานมคี วามจาเปน็ อยา่ งไรในการจ้างท่ปี รึกษาดาเนินงานแทน

5.5 เงนิ นอกงบประมาณ และการใชเ้ งนิ นอกงบประมาณสมทบกบั งบประมาณรายจ่าย

ปี รายได้ รายไดน้ อก รวมรายได้ ปีงบประมาณ 2563 กรมโรงงานอุตสาหกรรม

งบประมาณ งบประมาณ ไม่ มี เงิ น น อ ก งบ ป ร ะ ม า ณ ท่ี น า ม า ส ม ท บ กั บ งบ ป ร ะ ม า ณ

(1) (2) (3)=(1)+(2) รายจา่ ย

2560 749.78 17.64 767.42 เม่ือพิจารณาข้อมูลจากรายงานของผู้สอบบัญชี

2561 699.26 23.54 722.79 สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) จากระบบรายงาน

ปี สนิ ทรพั ย์ หนส้ี นิ สภาพคลอ่ ง การเงินรวมภาครัฐ (ระบบ CFS) ของกรมบัญชีกลาง พบว่า
ปี 2560 และ 2561 กรมโรงงานอุตสาหกรรม มีรายได้นอก
หมุนเวยี น หมุนเวียน

(1) (2) (3) =(1)/(2) เทา่ งบประมาณ จานวน 17.64 ล้านบาท และ 23.54 ล้านบาท
2560 15.61 29.23 0.53 ตามลาดบั
2561 19.14 53.32 0.36 ทั้งน้ี เม่ือพิจารณาสภาพคล่องของหน่วยงาน

พบว่า กรมโรงงานอุตสาหกรรม มีสภาพคล่องต่า โดยมียอดคงเหลือของสินทรัพย์หมุนเวียนคงเหลือ ณ วันท่ี

30 กันยายน 2561 ใกล้เคียงกับหนี้สินหมุนเวียน หรือสินทรัพย์หมุนเวียนไม่เพียงพอต่อจานวนหน้ีสิน

หมนุ เวียน โดย ปี 2561 อัตราส่วนสินทรัพย์หมนุ เวียนต่อหน้ีสินหมุนเวียน 0.36 เท่า สะท้อนถึงความสามารถ

ชาระหน้ีสนิ ระยะส้นั ตา่ จาเป็นต้องขอรับจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปี

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 36 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

3. กรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม (เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เล่มที่ 12 หน้า 73-140)

1.วิสัยทศั น์
เป็นองค์กรนาวิสาหกิจไทยสูอ่ ุตสาหกรรม 4.0

2. พันธกิจ
2.1 ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาอุตสาหกรรม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน

ผูป้ ระกอบการ และผ้ใู หบ้ ริการธุรกจิ อุตสาหกรรมใหม้ ีขีดความสามารถทสี่ ูงขนึ้
2.2 สรา้ งเสริมความเข้มแข็งของหน่วยงานใหบ้ รกิ ารธุรกิจอตุ สาหกรรมให้มีประสทิ ธิภาพ
2.3 พัฒนาองค์การและศกั ยภาพบุคลากรสู่องค์การท่ีมสี มรรถนะสงู
2.4 สรา้ งเครือข่ายความรว่ มมอื การส่งเสรมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมทุกระดับ

3. สรุปภาพรวมงบประมาณ
งบประมาณปี 2563 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้รับจัดสรรทั้งส้ิน จานวน 1,353.03 ล้านบาท หรือ

ร้อยละ 25.23 ของกระทรวงอุตสาหกรรม เพ่ิมขึ้น จากปีงบประมาณ 2562 (1,287.19 ล้านบาท) จานวน
65.85 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 5.12 โดยงบประมาณจาแนกตามแผนงานต่างๆ ดงั น้ี

หน่วย: ลำ้ นบำท

แผนงาน งบประมาณ ร้อยละ

รวมทงั้ สนิ้ 1,353.03 100.00

1. แผนงานบคุ ลากรภาครฐั 359.18 26.55

2. แผนงานพนื้ ฐาน 115.46 8.53

แผนงำนพน้ื ฐำนดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขัน 115.46 8.53

3. แผนงานยทุ ธศาสตร์ 15.53 1.15

แผนงำนยทุ ธศำสตร์เพอื่ สนับสนุนดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขัน 15.53 1.15

4. แผนงานบรู ณาการ 862.87 63.77

4.1 แผนงำนบรู ณำกำรพฒั นำอตุ สำหกรรมและบริกำรแห่งอนำคต 231.33 17.10

4.2 แผนงำนบูรณำกำรพฒั นำพน้ื ทร่ี ะดบั ภำค 92.72 6.85

4.3 แผนงำนบรู ณำกำรพฒั นำดำ้ นคมนำคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 29.25 2.16

4.4 แผนงำนบูรณำกำรพฒั นำผ้ปู ระกอบกำรและวสิ ำหกจิ ขนำดกลำงและขนำดยอ่ มสู่สำกล 467.40 34.54

4.5 แผนงำนบูรณำกำรพฒั นำและสง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐำนรำก 42.17 3.12

ทมี่ า: เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ที่ 12 ตำมร่ำงพระรำชบญั ญัตงิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

4. ประเด็นขอ้ สงั เกตของกรรมาธกิ ารฯ ท่ีสาคัญในปที ผ่ี ่านมา

ปี 2562 ควรกากับ ติดตาม การดาเนินโครงการและวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นจากการส่งเสริมอุตสาหกรรมอนาคต (New S-
Curve) วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs) ผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน (OTOP) และจดั ถา่ ยทอดความรู้จากผู้ประกอบการทีป่ ระสบ
ความสาเร็จให้แก่ผปู้ ระกอบการรายใหม่ รวมท้ังใหเ้ ขม็ งวดในอตุ สาหกรรมทก่ี ่อมลพิษทุกประเภทมากขึ้น

ปี 2561 1. ควรส่งเสริมอุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) โดยเริ่มจากการส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามาดาเนินการให้เป็นไป
ตามเป้าหมายของรัฐบาล รวมทั้งมีบทบาทในการช่วยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และ
ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ที่มีปัญหาด้านเงินทุน โดยแนะนาแนวทางในการเพ่ิมศักยภาพ เพ่ิมมูลค่า
ผลิตภัณฑ์ เชน่ การบรรจภุ ณั ฑ์ การแปรรปู
2. ควรจัดทาข้อมูลอุตสาหกรรมแต่ละประเภทท่ีต้องส่งเสริมโดยร่วมกับสถาบันการศึกษาและภาคเอกชน เพ่ือให้ทราบ
ความต้องการและความจาเป็นในการใช้แรงงานแต่ละประเภทเพื่อให้มีการผลิตเพื่อสอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาดแรงงาน และเป็นการส่งสัญญาณว่าจะนาแรงงานสว่ นไหนเข้ามาสกู่ ระบวนการผลติ เพื่อแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าว
เดินทางกลับประเทศจานวนมาก

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 37 สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

5. ข้อสงั เกต/ความเหน็ ของ PBO
5.1 การกาหนดวสิ ัยทศั น์ไม่ชัดเจน
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กาหนดวิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรนาวิสาหกิจไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0”

ไม่ได้ระบุขอบเขตระยะเวลาดาเนินการที่ชัดเจน โดยท่ัวไป วิสัยทัศน์จะเป็นการกาหนดแนวทางการพัฒนา
ที่หน่วยงานต้องการจะมุ่งเน้นในอนาคตตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ วิสัยทัศน์จะระบุไว้เป็นข้อความท่ีสะท้อนถึง
ความมุ่งม่ันเกี่ยวกับทิศทางและจุดยืนที่ต้องการผลักดันให้เกิดข้ึน และเป็นจุดหมายปลายทางร่วมกันของสมาชิก
ในหนว่ ยงาน และเป็นการตอบคาถามว่า หนว่ ยงานต้องการเป็นอะไรในอนาคต

5.2 กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมมีงบประมาณตามแผนงานบูรณาการสูงสดุ ในกระทรวงอตุ สาหกรรม

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม มีงบประมาณตามแผนงานบูรณาการ วงเงิน 862.87 ล้านบาท

คดิ เป็นร้อยละ 63.77 ของงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร โดยแผนงานบูรณาการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณจานวน

มาก ได้แก่ แผนงานบูรณาการพัฒนาผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสู่สากล วงเงิน

467.40 ล้านบาท และแผนงานบูรณาการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต วงเงิน 231.33 ล้านบาท

ซง่ึ ทงั้ 2 แผนงาน มีการดาเนนิ โครงการ ดงั น้ี

หน่วย: ล้ำนบำท

แผนงาน-โครงการ ระยะเวลาดาเนินการ วงเงินทงั้ โครงการ วงเงิน ปี 2563

รวม ฝกึ อบรม/สมั มนา จดั จา้ งทป่ี รึกษา อน่ื ๆ

รวมทง้ั สนิ้ 5,723.80 862.87 216.74 441.12 205.00
3,094.93
แผนงานบรู ณาการพัฒนาผปู้ ระกอบการและวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มสสู่ ากล 467.40 93.10 286.55 87.75
438.02
1. โครงกำรสร้ำงและพฒั นำวสิ ำหกจิ ในระยะเร่ิมตน้ 8 ปี (2557-2564) 268.45 52.20 27.00 25.20 -
86.54
2. โครงกำรพฒั นำวสิ ำหกจิ ส่คู วำมเป็นมอื อำชพี 8 ปี (2557-2564) 169.73 33.00 12.82 6.17 14.01
81.75
3. โครงกำรพฒั นำคณุ ภำพมำตรฐำนสินคำ้ และบริกำร 5 ปี (2560-2564) 692.03 14.00 - 13.32 0.68
961.62
4. โครงกำรขยำยโอกำสทำงกำรตลำด 3 ปี (2562-2564) 53.36 60.00 - 56.60 3.40
265.15
5. โครงกำรพฒั นำวสิ ำหกจิ สูธ่ รุ กจิ สมยั ใหม่ 4 ปี (2561-2564) 78.29 15.00 15.00 --
1,242.32
6. โครงกำรยกระดบั คณุ ภำพมำตรฐำนสินคำ้ และบริกำร 8 ปี (2557-2564) 395.88 64.01 16.70 15.00 32.30
752.62
7. โครงกำรเพม่ิ ประสทิ ธภิ ำพ/ผลติ ภำพ 8 ปี (2557-2564) 93.81 143.00 3.83 123.03 16.14
393.92
8. โครงกำรยกระดบั วสิ ำหกจิ สู่องคก์ รระดบั สำกล 4 ปี (2561-2564) 49.65 10.00 0.63 9.21 0.16
107.03
9. โครงกำรพฒั นำศนู ย์กำรและควำมช่วยเหลอื แก่ SME 4 ปี (2561-2564) 23.17 68.69 13.87 38.01 16.81
43.03
10. โครงกำรพฒั นำระบบกำรสง่ เสริม SME 8 ปี (2557-2564) 14.90 7.50 3.25 - 4.25
43.17
แผนงานบรู ณาการพัฒนาอตุ สาหกรรมและบรกิ ารแหง่ อนาคต 21.18 231.33 86.64 83.53 61.16
28.47
1. โครงกำรพฒั นำศกั ยภำพและเชือ่ มโยงอตุ สำหกรรมกำรแพทยค์ รบวงจร 6 ปี (2560-2565) 63.32 48.50 - 48.50 -
186.01
2. โครงกำรพฒั นำศกั ยภำพและเช่ือมโยงอตุ สำหกรรมดว้ ยเทคโนโลยีอจั ฉริยะ 6 ปี (2560-2565) 186.01 172.20 86.64 24.40 61.16
806.62
3. โครงกำรพฒั นำศกั ยภำพอตุ สำหกรรมยำนยนต์ 5 ปี (2561-2565) 54.00 10.63 - 10.63 -

แผนงานบรู ณาการพฒั นาพนื้ ทร่ี ะดบั ภาค 752.62 92.72 18.77 48.98 24.97

1. โครงกำรพฒั นำอตุ สำหกรรมเกษตรแปรรูปทสี่ ร้ำงมลู คำ่ เพม่ิ สงู 3 ปี (2563-2565) 15.00 3.25 4.92 6.84

2. โครงกำรสง่ เสริมและพฒั นำกำรท่องเทย่ี วเชงิ ประเพณวี ฒั นธรรม 4 ปี (2562-2565) 20.00 3.86 10.49 5.66

3. โครงกำรส่งเสริมอตุ สำหกรรมกำรคำ้ กำรลงทุน 3 ปี (2563-2565) 7.00 1.10 5.50 0.40

4. โครงกำรพฒั นำกำรผลติ สินคำ้ เกษตรภำคตะวนั ออก 3 ปี (2563-2565) 13.00 2.96 7.50 2.54

5. โครงกำรพฒั นำพนื้ ทรี่ ะเบียงเศรษฐกจิ พเิ ศษภำคตะวนั ออก 3 ปี (2563-2565) 4.50 0.20 - 4.30

6. โครงกำรพฒั นำอตุ สำหกรรมกำรผลติ ยำงพำรำและปำล์มน้ำมนั อยำ่ งครบวงจร 4 ปี (2562-2565) 9.20 1.95 6.54 0.71

7. โครงกำรพฒั นำและส่งเสริมกำรผลิตสนิ คำ้ เกษตร 3 ปี (2563-2565) 6.40 1.84 4.33 0.24

8. โครงกำรยกระดบั มำตรฐำนบริกำรและส่งเสริมธรุ กจิ ตอ่ เน่ืองในแหลง่ ท่องเทย่ี วทมี่ ชี อื่ เสียงของภำค 3 ปี (2563-2565) 8.60 2.99 4.54 1.07

9. โครงกำรพฒั นำเศรษฐกจิ และเสริมสร้ำงควำมเขม้ แข็งให้กบั ชมุ ชน 5 ปี (2561-2565) 9.02 0.63 5.16 3.23

แผนงานบรู ณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์ 29.25 1.75 - 27.50

1. โครงกำรเพมิ่ ขดี ควำมสำมำรถในกำรบริหำรจัดกำรโลจิสตกิ สแ์ ละโซ่อปุ ทำนภำคอตุ สำหกรรม 5 ปี (2562-2566) 29.25 1.75 - 27.50

แผนงานบรู ณาการพฒั นาและสง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานราก 42.17 16.48 22.07 3.61

1. โครงกำรสง่ เสริมกำรพฒั นำผปู้ ระกอบกำร/วสิ ำหกจิ ชมุ ชนในกำรผลิตสินคำ้ เกษตรและผลติ ภณั ฑ์ 4 ปี (2563-2566) 13.50 6.50 5.97 1.03

หน่ึงตำบลหน่งึ ผลิตภัณฑ์

2. โครงกำรส่งเสริมกำรแปรรูปสินคำ้ เกษตรในระดบั ชุมชน 4 ปี (2563-2566) 28.67 9.98 16.10 2.59

ทม่ี า: 1. เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 12 ตำมร่ำงพระรำชบัญญัตงิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563

2. เอกสำรประกอบกำรชแ้ี จง งบประมำณ พ.ศ. 2563 กรมสง่ เสริมอตุ สำหกรรม

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 38 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้ดาเนินโครงการต่าง ๆ ภายใต้แผนงานบูรณาการทั้ง 2 แผนงาน
มาระยะหน่ึงแล้ว ซ่ึงบางโครงการดาเนินการมาแล้ว 6 ปี ดังน้ัน จึงควรกากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนิน
โครงการและวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคที่เกิดข้ึนจากการส่งเสริมอุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) วิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs)

 เม่ือพิจารณาเอกสารประกอบการชี้แจงของกรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม พบว่า งบประมาณ
จาแนกตามลักษณะการใชง้ บประมาณตามแผนงานบูรณาการ จานวน 862.87 ล้านบาท ส่วนใหญเ่ ป็นคา่ จ้างที่
ปรกึ ษา (สว่ นใหญ่เปน็ การให้คาปรึกษาแนะนาในการพฒั นาการผลิต) จานวน 441.12 ล้านบาท คิดเป็นรอ้ ยละ
51.รองลงเป็นค่าใช้จ่ายฝึกอบรมสัมมนา จานวน 216.74 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 25.11 และค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ
จานวน 205.00 ลา้ นบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 23.76 หนว่ ยงานมคี วามจาเปน็ อยา่ งไรในการจา้ งทป่ี รกึ ษาดาเนนิ งาน
นอกจากน้ี ยังมีคา่ ใชจ้ ่ายอื่นๆ ส่วนใหญ่เป็นค่าใชจ้ ่ายในเรือ่ งใด

 เน่ืองจาก กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม มีงบประมาณแผนงานบูรณาการหลายแผนงาน
โดยเฉพาะแผนงานบูรณาการพัฒนาผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสู่สากล แผนงาน
บูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาค และแผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ซึ่งท้ัง 3
แผนงาน หนว่ ยงานมีแนวทางอยา่ งไรในการเข้ารว่ มดาเนนิ การในแตล่ ะแผนงานบูรณาการ

 ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
สูส่ ากล บางโครงการมีการดาเนินงานในลกั ษณะที่คล้ายคลึง เช่น โครงการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าและ
บรกิ าร (โครงการท่ี 3) และโครงการยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานสินค้นและบรกิ าร (โครงการท่ี 6)

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 39 สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอตุ สาหกรรม

5.3 ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาศักยภาพและยกระดับผู้ผลิตผลิตภัณฑ์หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์

วงเงิน 14.20 ล้านบาท กาหนดตัวช้ีวัดเชิงปริมาณ “ผู้ประกอบการได้รับการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อเพ่ิมมูลค่า

100 ราย” (เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 เล่มท่ี 12 หน้า 84-85) จานวนเป้าหมายดงั กล่าว มีหลักการกาหนด

หรือมีแนวทางการจัดลาดับผู้ประกอบการในพัฒนาอย่างไร ซ่ึงที่ผ่านมาได้พัฒนาผู้ประกอบการแล้ว จานวน

865 ราย ท้ังประเทศมีผู้ประกอบการท่ีต้องพัฒนาท้ังหมดกี่ราย มีแผนงานการดาเนินงานเพื่อให้ครอบคลุมทั้ง

ประเทศอย่างไร ต้องใชร้ ะยะเวลาดาเนนิ การกี่ปี

5.4 ค่าใชจ้ ่ายในการจดั ทาแผนยุทธศาสตร์และการประเมินผล เพอื่ สง่ เสริมผูป้ ระกอบการวิสาหกิจ

ขนาดกลางและขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน วงเงิน 9.00 ล้านบาท (เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เล่มท่ี

12 หน้า 86 - 87) ซึ่งรายละเอียดค่าใช้จ่ายจากเอกสารประกอบคาช้ีแจงของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หน้า

34ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการติดตามประเมินผล จานวน 3.00 ล้านบาท การติดตามประเมินผลดังกล่าว

เปน็ การประเมินผลภาพรวมท้ังโครงการ หรือ ประเมนิ เฉพาะแผนยุทธศาสตร์ มีแนวทางการดาเนินงานอยา่ งไร

5.5 ค่าเชา่ รถยนต์

ปี 2563 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ต้ังงบประมาณเป็นค่าเช่ารถยนต์ จานวน 29 คัน

ระยะเวลา 6 ปี (2563-2568) วงเงินค่าเช่าท้ังส้ิน 38.1566 ล้านบาท ตั้งปี 2563 จานวน 3.8157 ล้านบาท

(เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 12 หน้า 82) การเช่ารถยนต์ดังกล่าว ใช้รองรับภารกิจใด และมีความ

จาเปน็ อยา่ งไร

5.6 เงินนอกงบประมาณ และการใชเ้ งินนอกงบประมาณสมทบกบั งบประมาณรายจา่ ย

ปงี บประมาณ 2563 กรมสง่ เสริมอุตสาหกรรม ไม่มเี งินนอกงบประมาณที่นามาสมทบกบั งบประมาณรายจา่ ย

ปี รายได้ รายไดน้ อก รวมรายได้ เม่ือพิจารณาข้อมูลจากรายงานของผู้สอบบัญชี

งบประมาณ งบประมาณ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) จากระบบรายงาน

(1) (2) (3)=(1)+(2) การเงินรวมภาครฐั (ระบบ CFS) ของกรมบัญชีกลาง พบว่า

2560 1,796.00 352.74 2,148.74 ปี 2560 และ 2561 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม มีรายได้

2561 1,775.78 109.00 1,884.79 นอก งบประมาณ จานวน 352.74 ล้านบาท และ 109.00

ปี สนิ ทรพั ย์ หนสี้ นิ สภาพคลอ่ ง ล้านบาท ตามลาดับ โดยในปี 2561 รายได้นอกงบประมาณ
ลดลงจากปี 2560 จานวนมากเกิดจากสาเหตุใด นอกจากนี้
หมุนเวียน หมุนเวียน

(1) (2) (3) =(1)/(2) เทา่ ในปี 2560 – 2561 ได้รับจัดสรรงบกลาง มากกว่า 200

2560 426.70 372.16 1.15 ล้านบาท เพอื่ ดาเนินการในเร่ืองใด มคี วามจาเป็นเรง่ ด่วนใน

2561 474.77 616.76 0.77 การขอใช้งบกลางอย่างไร

ทั้งน้ี เมื่อพิจารณาสภาพคล่องของหน่วยงาน พบว่า

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม มีสภาพคล่องต่า โดยมียอด

คงเหลือของสินทรัพย์หมุนเวียนคงเหลือ ณ วันท่ี 30

กันยายน 2561 ใกล้เคียงกับหนี้สินหมุนเวียน หรือสินทรัพย์

หมุนเวียนไม่เพียงพอต่อจานวนหนี้สินหมุนเวียน โดย ปี

2561 อตั ราสว่ นสนิ ทรัพย์หมนุ เวยี นตอ่ หนสี้ นิ หมุนเวียน 0.77

เท่า สะท้อนถึงความสามารถชาระหน้ีสินระยะสั้นต่า

จาเป็นตอ้ งขอรับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 40 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

4. กรมอุตสาหกรรมพนื้ ฐานและการเหมืองแร่ (เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 3 เลม่ ที่ 12 หน้า 141-158)

1.วสิ ัยทศั น์

มุ่งสู่การจัดการอุตสาหกรรมแร่และอุตสาหกรรมพื้นฐานให้มีมาตรฐานในระดับสูง เป็นมิตรกับชุมชน

และส่งิ แวดล้อม เช่อื มโยงกบั ความตอ้ งการใช้วตั ถดุ บิ ของภาคอุตสาหกรรม

2. พนั ธกจิ

2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการประกอบการ และการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิต

วัตถุดิบแร่โลหะและสารประกอบจากแร่และโลหะให้มีศักยภาพตอบสนองต่อความต้องการใช้วัตถุดิบของ

ภาคอตุ สาหกรรม

2.2 ยกระดับและเพ่ิมประสทิ ธิภาพระบบการอนุญาตและกากับดูแลการประกอบการอุตสาหกรรมแร่

และอุตสาหกรรมพ้ืนฐาน ให้มีการปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายมีมาตรฐานด้วยกระบวนการและเทคโนโลยีที่

ทนั สมัย โปร่งใส และรวดเร็ว

3. สรุปภาพรวมงบประมาณ

งบประมาณปี 2563 กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร่ ไดร้ ับจัดสรรทงั้ สิน้ จานวน 596.60 ล้านบาท

หรือร้อยละ 11.12 ของกระทรวงอุตสาหกรรม เพ่ิมขึ้น จากปีงบประมาณ 2562 (438.7896 ล้านบาท) จานวน

157.81 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ35.97 โดยงบประมาณจาแนกตามแผนงานตา่ ง ๆ ดังนี้

หน่วย: ลำ้ นบำท

แผนงาน งบประมาณ รอ้ ยละ

รวมทงั้ สนิ้ 596.60 100.00

1. แผนงานบคุ ลากรภาครฐั 221.77 37.17

2. แผนงานพน้ื ฐาน 249.88 41.88

แผนงำนพนื้ ฐำนดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั 249.88 41.88

3. แผนงานยทุ ธศาสตร์ 110.96 18.60

แผนงำนยทุ ธศำสตร์เพอื่ สนับสนุนดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน 110.96 18.60

4. แผนงานบรู ณาการ 14.00 2.35

แผนงำนบรู ณำกำรจัดกำรมลพษิ และสง่ิ แวดล้อม 14.00 2.35

ทมี่ า: เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ที่ 3 เล่มท่ี 12 ตำมร่ำงพระรำชบญั ญัตงิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

4. ประเดน็ ข้อสังเกตของกรรมาธิการฯ ท่ีสาคัญในปีท่ีผ่านมา

ปี 2562 ควร กาหนดหลักเกณฑ์การดูแลสภาพแวดล้อมและชุมชนบริเวณใกล้เคียงเหมืองแร่ และการออกใบอนุญาตทา
เหมืองแร่ ควรกาหนดระบบการทาเหมืองแร่ให้ชัดเจน รวมถึงเร่งรัดการออกใบอนุญาตสัมปทานเหมืองแร่หินที่มี

ความลา่ ช้า

ปี 2561 ควรทบทวนค่าภาคหลวงให้มีความเหมาะสม โดยศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศตา่ ง ๆ รวมท้ังระบุให้ได้ว่ามีแร่ธาตุ

อะไรอยู่ในพืน้ ที่ใดบ้าง และกาหนดเงอ่ื นไขในการขอตั้งโรงงานให้ชัดเจน เชน่ มาตรฐานในการบาบัดน้าเสยี เปน็ ต้น

เพม่ิ ประสิทธิภาพในการกากับดูแลโรงงานให้ชดั เจน เชน่ มาตรฐานในการบาบัดน้าเสีย เป็นต้น เพิ่มประสิทธิในการ

กากับดูแลโรงงานขนาดกลางและขนาดย่อมให้มากข้ึน โดยเฉพาะการอนุญาตให้เปิดเหมืองแร่โปรแตส ควรทา

แผนการดาเนินการอย่างรอบคอบ โดยอาจขอความร่วมมือจากต่างประเทศที่มีความเชี่ยวชาญในเรอ่ื งนี้ เพ่ือป้องกัน

การแพรก่ ระจายเกลอื ลงส่นู า้ และพ้นื ดิน ส่งผลให้ทาการเพาะปลกู ไม่ได้

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 41 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

5. ข้อสังเกต/ความเห็นของ PBO
5.1 การกาหนดวิสัยทัศนไ์ มช่ ดั เจน
กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร่ กาหนดวิสยั ทัศน์ “มุ่งสู่การจัดการอุตสาหกรรมแร่

และอุตสาหกรรมพ้ืนฐานใหม้ ีมาตรฐานในระดับสูง เป็นมิตรกับชุมชนและสิง่ แวดล้อม เชื่อมโยงกับความตอ้ งการ
ใช้วัตถุดิบของภาคอุตสาหกรรม” ไม่ได้ระบุขอบเขตระยะเวลาดาเนินการท่ีชัดเจน โดยทั่วไป วิสัยทัศน์จะเป็นการ
กาหนดแนวทางการพัฒนาท่ีหน่วยงานตอ้ งการจะมงุ่ เน้นในอนาคตตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ วสิ ัยทศั น์จะระบไุ วเ้ ป็น
ข้อความที่สะท้อนถึงความมุ่งม่ันเกี่ยวกับทิศทางและจุดยืนท่ีต้องการผลักดันให้เกิดขึ้น และเป็นจุดหมายปลายทาง
ร่วมกันของสมาชิกในหนว่ ยงาน และเป็นการตอบคาถามวา่ หนว่ ยงานต้องการเป็นอะไรในอนาคต

5.2 ตัวช้ีวัดโครงการ ไม่สะท้อนถึงผลสัมฤทธ์ิหรือผลลัพธ์ของการใช้จ่ายงบประมาณ เช่น ตัวชี้วัด
ของโครงการส่งเสริมอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมพื้นฐานเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน ท่ีกาหนด
ตัวช้ีวัดเชิงประมาณเป็นจานวนผู้ประกอบการและบุคคลากรอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมพื้นฐาน
ได้รับการส่งเสริม และตัวช้ีวัด เชิงคุณภาพ กาหนด “ผู้ประกอบการและบุคลากรอุตสาหกรรมที่ได้รับ
การถ่ายทอดความรู้และนาไปใช้ประโยชน์หรือประยุกต์ใช้ ” ซ่ึงทั้ง 2 ตัวช้ีวัด ไม่ได้แสดงให้เห็นว่า
ผลจากการดาเนินโครงการแล้ว ผู้ประกอบการมีผลการดาเนินงานเป็นอย่างไร อีกทั้ง การติดตามประเมินผล
ตวั ชี้วดั เชิงคุณภาพทก่ี าหนด ทาไดย้ าก เนอื่ งจากมผี ูเ้ ข้ารว่ มจานวนมาก

5.3 การดาเนินการระงับขอ้ พิพาทระหว่างอาชาอาณาจักรไทย กบั บริษัท คงิ ส์เกต คอนโซลิเดเต็ด
ลิมิเต็ด ในปี 2563 กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร่ ได้มีงบประมาณสาหรับดาเนนิ การเรอ่ื งนี้ รวม
จานวน 217.7881 ล้านบาท (เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เลม่ ที่ 12 หน้า 150)

ซึ่งปี 2562 ได้รับจัดสรรแล้ว จานวน 60.00 ล้านบาท รวมงบประมาณ จานวน 277.7881 ล้านบาท
ค่าใช้จ่ายดังกล่าวมีรายละเอียดการดาเนินการอย่างไร และการดาเนินการระงับข้อพิพาทมีแนวโน้มจะส้ินสุด
เมื่อใด จากกรณีข้อพิพาทดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อประเทศโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจและความเช่ือม่ันในการ
ลงทนุ อยา่ งไร ทั้งกรณีทีอ่ ยูร่ ะหวา่ งขอ้ พพิ าทและหลงั ขอ้ พิพาทสิ้นสดุ

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 42 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

5.4 งบประมาณโครงการส่งเสริมอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมพื้นฐานเพ่ือการพัฒนา
อย่างยั่งยืน 110.96 ล้านบาท (เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เล่มท่ี 12 หน้า 153-155) ส่วนใหญ่เป็น
งบลงทุน 69.96 ล้านบาท เพ่ือจัดหาครุภัณฑข์ องหน่วยงาน และเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการประชุมด้านแร่ธาตุ
20.00 ล้านบาท ในขณะท่ีงบประมาณที่เป็นค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรม
พื้นฐานเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน มีเพียง 14.50 ล้านบาท งบประมาณดังกล่าวจะสามารถขับเคล่ือนการ
พัฒนาอตุ สาหกรรมเหมอื งแรแ่ ละอุตสาหกรรมพื้นฐานให้บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการได้หรอื ไม่

5.5 เงินนอกงบประมาณ และการใช้เงินนอกงบประมาณสมทบกบั งบประมาณรายจ่าย

ปีงบประมาณ 2563 กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ไม่มีเงินนอกงบประมาณ

ทนี่ ามาสมทบกบั งบประมาณรายจา่ ย

ปี รายได้ รายไดน้ อก รวมรายได้ เม่ือพิจารณ าข้อมูลจากรายงานของผู้สอบบัญ ชี

งบประมาณ งบประมาณ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) จากระบบรายงาน

(1) (2) (3)=(1)+(2) การเงินรวมภาครัฐ (ระบบ CFS) ของกรมบัญชีกลาง พบว่า ปี
2560 618.97 73.68 692.66 2560 และ 2561 กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร่ มี
2561 570.72 23.73 594.45 รายได้นอกงบประมาณ จานวน 73.68 ล้านบาท และ 23.73 ล้าน

ปี สนิ ทรัพย์ หนส้ี นิ สภาพคลอ่ ง บาท ตามลาดับ ซึ่งรายได้นอกงบประมาณปี 2561 ลดลงจากปี
หมุนเวยี น หมุนเวียน 2560 เกินร้อยละ 50 เนื่องจากสาเหตุใด หน่วยงานมีแผนการใช้

(1) (2) (3) =(1)/(2) เทา่ จ่ายเงินนอกงบประมาณดังกล่าวอย่างไร มีการนาส่งคลังหรือไม่
1.57 อย่างไร นอกจากนี้ ในปี 2560 และ 2561 ไดร้ ับจัดสรรงบกลาง
2560 141.77 90.07

2561 185.26 129.40 1.43

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 43 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

ด้วย ปีละมากกว่า 120 ล้านบาท อีกทั้งมีการกันเงินไว้เบิกเหล่ือมปีงบกลางด้วย การใช้งบกลางดังกล่าว เพ่ือ
ดาเนินการในเรอื่ งใดบ้าง

ทั้งน้ี เม่ือพิจารณาสภาพคล่องของหน่วยงาน พบว่า กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร่
มีสภาพคล่องต่า โดยมียอดคงเหลือของสินทรัพย์หมุนเวียนคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ใกล้เคียงกับ
หน้ีสินหมุนเวียน หรือสินทรัพย์หมุนเวียนไม่เพียงพอต่อจานวนหน้ีสินหมุนเวียน โดย ปี 2561 อัตราส่วน
สนิ ทรัพย์หมุนเวียนต่อหน้ีสินหมุนเวียน 1.43 เท่า สะท้อนถึงความสามารถชาระหนส้ี ินระยะสั้นตา่ จาเป็นต้อง
ขอรบั จดั สรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปี

5.5 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปงี บประมาณ 3 ปียอ้ นหลงั (พ.ศ. 2560 - 2562)

ในช่วงปีงบประมาณ 2560-2562 กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร่ มีผลการเบิกจ่าย

ต่ากว่าเป้าหมายที่กาหนด โดยเฉพาะรายจ่ายลงทุน ปี 2562 เบิกจ่ายได้น้อยมาก เพียงร้อยละ 38.09

โดยเฉพาะรายการค่าก่อสร้างอาคารศูนย์วิจัยและพัฒนาสานักงานอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่

จ.อดุ รธานี ซ่งึ เป็นรายการผกู พันเดมิ วงเงินปี 2562 จานวน 24.3156 ลา้ นบาท (ปี 2563 ไม่ได้ตง้ั งบประมาณ)

แต่ไม่มีการเบิกจ่าย ผลการดาเนินงานล่าช้า เน่ืองจากสาเหตุใด หน่วยงานมีแนวทางแก้ไขอย่างไร ปัจจุบัน

มีความก้าวหนา้ เป็นอยา่ งไร

ปงี บประมาณ งปม.หลงั โอนฯ รายจา่ ยประจา รายจา่ ยลงทนุ รวมเบกิ จา่ ย

งปม.หลงั เบกิ จา่ ย % งปม.หลงั เบกิ จา่ ย % จานวน %

โอนฯ โอนฯ

2560 497.40 384.21 370.00 96.30 113.20 70.24 62.05 440.25 88.51

(เป้ำหมำยเบิกจ่ำย 96%)

2561 405.73 361.85 349.42 96.56 43.88 41.50 94.58 390.92 96.35

(เป้ำหมำยเบกิ จ่ำย 96%)

2562 440.72 365.91 362.69 99.12 74.81 28.49 38.09 391.18 88.76

(เปำ้ หมำยเบกิ จ่ำย 100%)

ทั้งนี้ ปีงบประมาณ 2563 มีการใช้งบประมาณปี 2562 พลางก่อน ซ่ึงทาให้การดาเนินงาน
โดยเฉพาะรายจ่ายลงทุนสามารถเริ่มดาเนินการได้ล่าช้ากว่าปกติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและ
การเหมืองแร่ ควรเตรียมความพร้อมในส่วนที่เก่ียวข้องไว้ล่วงหน้า โดยเฉพาะรายการในลักษณะรายจ่ายลงทุน
และอาจ พิจารณาทบทวนปัญหาอุปสรรคในปที ่ผี ่านมา เพ่ือปรบั ปรงุ แก้ไขให้สามารถดาเนนิ การได้รวดเร็วยงิ่ ข้ึน

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 44 สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

5. สานักงานคณะกรรมการอ้อยและนา้ ตาลทราย (เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เลม่ ที่ 12 หนา้ 159-178)
1.วสิ ัยทัศน์

ผลกั ดันอุตสาหกรรมออ้ ยและนา้ ตาลทรายดว้ ยนวตั กรรมสูผ่ ลติ ภัณฑ์มูลคา่ สงู ภายในปี 2564
2. พันธกจิ

2.1 การเพ่ิมผลิตภาพอ้อยและน้าตาลทรายของประเทศ เพื่อลดต้นทุน เพิ่มรายได้ให้แก่ชาวไร่อ้อย
โรงงานน้าตาลควบคู่ไปกบั การรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม

2.2 กาหนดมาตรฐานการผลิตน้าตาลทรายและต้นทุนอ้อยและน้าตาลทรายเพื่อสร้างเสถยี รภาพและ
ความเปน็ ธรรมใหอ้ ตุ สาหกรรมอ้อยและน้าตาลทราย

2.3 การปรบั ปรุงพระราชบัญญตั ิออ้ ยและน้าตาลทราย รวมทั้งกฎหมายและระเบียบต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง
ให้ครอบคลุมและเอื้อต่อการเพ่ิมมูลค่าให้แก่อุตสาหกรรม รวมท้ังสอดคล้องกับพันธกรณี ข้อตกลงทางการค้า
ระหวา่ งประเทศ

2.4 การพัฒนาศักยภาพศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมอ้อยและน้าตาลทรายด้านการวิจัยเพื่อสร้างความ
เขม้ แข็งและม่ันคงใหแ้ กอ่ ตุ สาหกรรมอ้อยและน้าตาลทราย

2.5 พัฒนาระบบบริหารและศกั ยภาพบคุ ลากรด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่สูอ่ งค์กรสมรรถนะสูง

3. สรุปภาพรวมงบประมาณ

งบประมาณปี 2562 สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย ได้รับจัดสรรทั้งส้ิน จานวน

601.5620 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.22 ของกระทรวงอุตสาหกรรม ลดลง จากปีงบประมาณ 2562

(719.6642 ล้านบาท) เป็นจานวน 118.10 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 16.41 โดยงบประมาณจาแนก

ตามแผนงานต่าง ๆ ดังน้ี

หน่วย: ล้ำนบำท

แผนงาน งบประมาณ รอ้ ยละ

รวมทง้ั สนิ้ 601.56 100.00

1. แผนงานบคุ ลากรภาครฐั 61.76 10.27

2. แผนงานพน้ื ฐาน 358.56 59.60

แผนงำนพนื้ ฐำนดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน 358.56 59.60

3. แผนงานยทุ ธศาสตร์ 171.49 28.51

แผนงำนยุทธศำสตร์เพอื่ สนับสนุนดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขัน 171.49 28.51

4. แผนงานบรู ณาการ 9.75 1.62

แผนงำนบูรณำกำรพฒั นำอตุ สำหกรรมและบริกำรแห่งอนำคต 9.75 1.62

ทม่ี า: เอกสำรงบประมำณ ฉบับท่ี 3 เลม่ ที่ 12 ตำมร่ำงพระรำชบัญญตั งิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563

ประมวลโดย: สำนักงบประมำณของรัฐสภำ

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 45 สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงอุตสาหกรรม

4. ขอ้ สงั เกต/ความเหน็ ของ PBO
4.1 ตัวช้ีวัดผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณทีกาหนดอาจ

ตดิ ตามประเมนิ ผลไดย้ าก
สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย กาหนดตัวช้ีวัดผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่าจะได้รับ

จากการใช้จ่ายงบประมาณ “นโยบายและมาตรการด้านต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องได้รับการยอมรับไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80” อาจดาเนินการติดตามประเมินผลที่เป็นรูปธรรมได้ยาก หน่วยงานมีแนวทางในการติดตาม
ประเมินผลตัวชี้วดั อยา่ งไร ค่าเปา้ หมายที่กาหนดไว้ รอ้ ยละ 80 วัดจากอะไร ได้รบั การยอมรบั จากใคร

เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 12 หนา้ 160

รอ้ ยละ 80 วัดจากอะไร ได้รับการยอมรับจากใคร เกบ็ ขอ้ มลู อยา่ งไร

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 46 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร


Click to View FlipBook Version