The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

10/64 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวันนักเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaipbo.parliament, 2021-12-06 02:22:46

เงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวันนักเรียน

10/64 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวันนักเรียน

ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพือ่ การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยเป็นเงินอดุ หนนุ คา่ อาหารกลางวันนักเรียน

นอกจากนี้เมื่อต้นทุนคงที่จากวิธีการคานวณต้นทุนขององค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทยมี
ลกั ษณะของการประหยดั จากขนาด หรอื มีประสิทธิภาพเชิงต้นทุน จงึ ทาให้ตน้ ทนุ รวม (Total Cost : TC)16
ในการประกอบอาหารกลางวันนักเรียน ซึ่งรวมต้นทุนคงท่ีกับต้นทุนผันแปร โดยเม่ือต้นทุนคงท่ีมีลักษณะ
ของการประหยดั จากขนาดยอ่ มทาให้ตน้ ทุนรวมเฉลยี่ ตอ่ จานวนนกั เรยี นลดลงตามขนาดของโรงเรียนตามไป
อีกด้วย ดังน้ัน ข้อเสนอค่าต้นทุนรวม จึงมีมากกว่า 1 ค่า โดยจะแสดงเป็นค่าต้นทุนต่าสุด และค่าต้นทุน
สูงสดุ ตามค่าจ้างผูป้ ระกอบอาหารต่อนักเรียนที่แตกตา่ งกัน

(3) ตน้ ทนุ รวม (Total Cost)
จากการวิเคราะห์ผลการคานวณต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงท่ีของการประกอบอาหารกลางวันของ
องค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย (2563) ซึ่งในการคานวณต้นทุนดังกล่าวมีการเปรียบเทียบวิธีการ
คานวณและต้นทุนท่ีคานวณได้ขององค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทยกับต้นทุนอาหารกลางวันนักเรียนที่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงวิเคราะห์และนาเสนอเป็น
ข้อมูลเพื่อประกอบการพิจาณาของคณะรัฐมนตรีในคราวพิจารณา เร่ือง การปรับค่าอาหารกลางวันของ
นักเรียน โดยต้นทุนรวม (Total Cost : TC) ของการประกอบอาหารกลางวันนักเรียน จาแนกตามที่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศกึ ษาธิการ นาเสนอ ซึ่งมีคา่ TC ต่าสุดและ
สูงสุด จาแนกตามต้นทุนคงที่หรือค่าจ้างผู้ประกอบอาหารท่ีแตกต่างกันตามขนาดของโรงเรียนอยู่ระหว่าง
24 – 37 บำทต่อคนต่อวันโดยเพ่ิมข้ึนจากอัตราค่าอาหารกลางวัน 20 บาทต่อคนต่อวันซึ่งเป็นอัตราเดิมที่
ใช้ในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เท่ากับ 4 – 17 บาทต่อคนต่อวันหรือ
เพ่ิมข้ึนคิดเป็นร้อยละ 15.38 – 85.00 และเพ่ิมข้ึนจากอัตราค่าอาหารกลางวัน 21 บาทต่อคนต่อวันซึ่ง
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบเมื่อวันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2564 และให้นาไปใช้ในการจัดทางบประมาณรายจ่าย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เทา่ กับ 3 – 16 บาทตอ่ คนต่อวนั หรือเพิม่ ขึ้นคดิ เปน็ ร้อยละ 14.28 – 76.19
ขณะที่ต้นทุนรวม (TC) ตามผลการศึกษาขององค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย (2563) ซึ่งมีค่า
ต่าสุดและสูงสุด จาแนกตามระดับช้ันของนักเรียนออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่นักเรียนชั้นอนุบาล ชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 และช้ันมัธยมศึกษา 1 - 3 (โรงเรียนประถมศึกษาขยาย
โอกาส) โดยมีค่ำต่ำสดุ ของนักเรียนท้งั 4 ช้ัน เทา่ กับ 18.52 21.26 23.82 และ 27.68 บำทต่อคนต่อวัน
ตามลาดับ โดยเพิ่มข้ึน (ลดลง) จากอัตราคา่ อาหารกลางวัน 20 บาทต่อคนต่อวันซึง่ เป็นอัตราเดิมท่ใี ช้ในการจัดทา
งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เทา่ กับ -1.48 1.26 3.82 และ 7.68 บาทต่อคนต่อวัน
ตามลาดับ หรือเพิ่มข้ึน (ลดลง) คิดเป็นร้อยละ -7.4 6.3 19.1 และ 38.4 ตามลาดับ และเพิ่มข้ึน (ลดลง)
จากอัตราค่าอาหารกลางวัน 21 บาทต่อคนต่อวันซึ่งคณะรัฐมนตรีเห็นชอบเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564
และใหน้ าไปใช้เป็นเกณฑใ์ นการจัดสรรค่าอาหารกลางวนั นักเรียนในการจดั ทางบประมาณรายจ่ายประจาปี

16 ตน้ ทนุ รวม คือ ต้นทนุ ท้ังหมด (ตน้ ทุนคงที่+ตน้ ทนุ ผนั แปร) ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในการผลติ

สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 49 สานกั งบประมาณของรฐั สภา

ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพอ่ื การจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยเปน็ เงินอดุ หนุนค่าอาหารกลางวันนกั เรยี น

งบประมาณ พ.ศ. 2565 เท่ากับ -2.48 0.26 2.82 และ 6.68 บาทต่อคนต่อวันหรือเพิ่มข้ึน (ลดลง) คิดเป็น
ร้อยละ -11.81 1.24 13.43 และ 31.81 ตามลาดบั

ขณะที่ คำ่ TC สูงสดุ ของนักเรียนทั้ง 4 ชั้น เท่ากบั 21.32 24.06 26.62 และ 31.04 บาทต่อคนตอ่ วัน
ตามลาดับ โดยเพิ่มข้ึนจากอัตราค่าอาหารกลางวัน 20 บาทต่อคนต่อวัน ซึ่งเป็นอัตราเดิมที่ใช้ในการจัดทา
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เท่ากับ 1.32 4.06 6.62 และ 11.04 บาทต่อคนต่อ
วนั หรอื เพ่ิมขึ้นคิดเป็นร้อยละ 6.6 20.3 33.1 และ 55.2 ตามลาดบั และเพ่ิมข้ึนจากอตั ราค่าอาหารกลางวัน
21 บาทต่อคนต่อวันซึ่งคณะรัฐมนตรเี ห็นชอบเม่ือวันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2564 และให้นาไปใช้เปน็ เกณฑ์ในการจัดสรร
ค่าอาหารกลางวันนักเรียนในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เท่ากับ 0.32
3.06 5.62 และ 10.04 บาทต่อคนต่อวันตามลาดับ หรือเพ่ิมข้ึนคิดเป็นร้อยละ 1.52 14.57 26.76 และ
47.81 ตามลาดับ

อย่างไรก็ดี เน่ืองจากค่าต้นทุนรวม (TC) ตามผลการศึกษาขององค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย
มีการจาแนกตามระดับช้ันของนกั เรยี นเป็น 4 ระดับ และแสดงค่าต่าสุด – สูงสดุ อีกด้วย ทาใหค้ ่า TC ของ
การประกอบอาหารกลางวันนักเรยี นที่ไดม้ จี านวน 8 ค่า ดงั นนั้ หากต้องการคา่ TC ของการประกอบอาหาร
กลางวนั นักเรียนเพียงค่าเดยี ว (one price) สาหรับนาไปใชเ้ ปรียบเทียบเพ่ือประกอบการพิจารณาตัดสินใจ
ปรับอัตราค่าอาหารกลางวันนักเรียนและหรอื เพ่ือใช้ในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณรายจ่ายสาหรบั เป็น
เงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวันนักเรียนในภาพรวมเช่นเดียวกับที่ผ่านมา (อัตราค่าอาหารกลางวัน 20 บาท
ต่อคนต่อวันหรือ 21 บาทต่อคนต่อวันตามคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2564 ซึ่งให้นาไปใช้เป็น
เกณฑ์ในการจัดสรรค่าอาหารกลางวันนักเรียนในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565)
ผู้ศึกษาจึงได้หาค่าต้นทุนรวมเฉล่ีย (Average Total Cost : ATC) โดยค่าเฉล่ียจากค่าต้นทุนรวมของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2563) พบว่าได้เท่ากับ 30.5 บำทต่อคนต่อวัน
โดยเพิ่มขึ้นจากอัตราค่าอาหารกลางวัน 20 บาทต่อคนต่อวันเท่ากับ 10.5 บาทต่อคนต่อวันคิดเป็นร้อยละ
52.50 และเพิ่มขึ้นจากอัตราค่าอาหารกลางวัน 21 บาทต่อคนต่อวันซึ่งคณะรัฐมนตรีเห็นชอบเม่ือวันที่ 9
กมุ ภาพันธ์ 2564 และให้นาไปใช้ในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เท่ากับ
9.5 บาทต่อคนตอ่ วันหรอื เพ่ิมขน้ึ คิดเปน็ รอ้ ยละ 45.24 ตามลาดับ

ขณะท่ีหาค่าตน้ ทุนรวมเฉล่ีย (ATC) โดยหาคา่ เฉล่ียจากค่าต้นทุนรวมของนักเรียนทง้ั 4 ชัน้ ตามผล
การศึกษาขององค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย (2563) พบว่าได้ค่าเท่ากับ 19.92 22.66 25.22 และ
29.36 บาทต่อคนต่อวันตามลาดับ โดยเพ่ิมข้ึน (ลดลง) จากอัตราค่าอาหารกลางวัน 20 บาทต่อคนต่อวัน
เท่ากับ -0.08 2.66 5.22 และ 9.36 บาทต่อคนต่อวันหรือเพ่ิมขึ้น (ลดลง) คิดเป็นร้อยละ -0.40 13.30
26.10 และ 46.80 ตามลาดับ และเพิ่มขึ้นจากอัตราค่าอาหารกลางวัน 21 บาทต่อคนต่อวันซึ่ง
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบเม่ือวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 และให้นาไปใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดสรรค่าอาหาร

สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร 50 สานักงบประมาณของรฐั สภา

ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพือ่ การจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยเป็นเงนิ อดุ หนนุ คา่ อาหารกลางวันนกั เรยี น

กลางวันนักเรียนในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เท่ากับ -1.08 1.66 4.22 และ
8.36 บาทต่อคนตอ่ วัน หรอื เพิม่ ข้นึ (ลดลง) คิดเปน็ ร้อยละ -5.14 7.90 20.10 และ 39.81 ตามลาดบั

ทั้งนี้ ค่าต้นทุนรวม (Total Cost : TC) ในการประกอบอาหารกลางวันนักเรียนซ่ึงจาแนกเป็นค่า
ต้นทุนรวมตา่ สดุ และสูงสดุ จากการคานวณคา่ ต้นทุนรวมของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,
กระทรวงศึกษาธิการ (2563) และจากผลการศึกษาขององค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย (2563) ซ่ึงมี
การจาแนกตามระดับชั้นของนักเรียนออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ นักเรียนช้ันอนุบาล ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 และชั้นมัธยมศึกษา 1 – 3 (โรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาส) ตลอดจนค่าเฉลี่ยท่ี
ผศู้ กึ ษาคานวณได้จากต้นทนุ รวมของทั้งสองแหล่งดงั กล่าวข้างตน้ ปรากฏรายละเอียดตามตำรำงที่ 3.6

ตำรำงที่ 3.6 ตน้ ทุนรวมของการประกอบอาหารกลางวันนักเรยี น จาแนกตามระดับชนั้ นักเรยี น

ตน้ ทนุ รวม กระทรวงศึกษำธิกำร องคก์ ำรยูนิเซฟประจำประเทศไทย

(บาท/คน/วนั ) อนบุ ำล-ป.6 อนบุ ำล ป.1-ป.3 ป.4-ป.6 ม.1-ม.3

1.ต้นทนุ ค่าวัตถดุ บิ 18.90 15.87 18.36 20.68 24.70

2.ต้นทนุ คา่ โสหยุ้ การประกอบอาหาร 2.00 1.59 1.84 2.07 2.47

ตน้ ทนุ (ไมร่ วมค่ำจำ้ งผูป้ ระกอบ 20.90 17.45 20.19 22.75 27.17

อำหำร)

คา่ จ้างผ้ปู ระกอบอาหารต่อนกั เรยี น 3.1–15.1 1.07-3.87* 1.07-3.87* 1.07-3.87* 0.51-3.87

ตน้ ทนุ รวมต่ำสุด 24 18.52 21.26 23.82 27.68

ต้นทุนรวมสงู สุด 37 21.32 24.06 26.62 31.04

ค่ำเฉล่ยี ** 30.5 19.92 22.66 25.22 29.36

ที่มำข้อมลู : รายงานผลการศึกษาขององค์การยูนเิ ซฟประจาประเทศไทย (2563, บทสรปุ ผู้บริหาร)

หมำยเหตุ * = สมมตใิ ห้โรงเรยี นในระดบั อนบุ าลและประถมศึกษามีแต่ขนาดเล็กและขนาดกลาง

** = ค่าเฉล่ีย (Mean) เป็นค่ากลางที่ผู้ศึกษาคานวณจากผลรวมของค่าต้นทุนรวมต่าสุดและ

สูงสุดของข้อเสนอสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ

(2563) และผลการศึกษาขององค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย (2563) ซึ่งจาแนกตามระดับช้ัน

ของนักเรียน จานวน 4 ระดับ โดยผู้ศกึ ษานาผลรวมที่ได้มาหารด้วยจานวนข้อมูล เพื่อเป็นค่ากลาง

ในกรณีทจ่ี าเปน็ ต้องใชต้ ้นทนุ รวมของอาหารกลางวนั เป็นค่าเดยี ว

อย่างไรก็ดี การใช้นโยบายกาหนดค่าอาหารกลางวันนักเรียนอัตราเดียว (one price policy) ที่มี
รูปแบบของการปรับเพิ่มงบประมาณจากอัตราเดิมขึ้นเล็ก ๆ น้อย ๆ (incremental budgeting) และนาไปใช้
เป็นเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณเป็นการทั่วไปท้ังประเทศ เหมือนดังท่ีผ่านมา ๆ เช่น อัตราค่าอาหารกลางวัน
นกั เรียนตามมติคณะรัฐมนตรีวันท่ี 22 ตุลาคม 2556 ซ่ึงใช้ตั้งแต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 – 2564 จานวน

สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร 51 สานกั งบประมาณของรฐั สภา

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพอื่ การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเปน็ เงนิ อุดหนุนคา่ อาหารกลางวนั นักเรียน

20 บาทต่อคนต่อวันและค่าอาหารกลางวันนักเรยี นอตั ราใหม่ตามมติคณะรฐั มนตรวี ันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564
ซึง่ เห็นชอบให้ใช้เป็นเกณฑใ์ นการจัดสรรคา่ อาหารกลางวันนกั เรียนตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป จานวน
21 บาทต่อคนต่อวันมีข้อจากัด กล่าวคือ เป็นค่าประมาณการท่ีไม่สะท้อนต้นทุนรวมของการประกอบอาหาร
กลางวันนักเรียนซึ่งมีต้นทุนผันแปรท่ีแตกต่างกันของสภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการ
เปลี่ยนแปลงของดัชนีค่าครองชีพในพ้ืนที่ต่าง ๆ ของประเทศ รวมทั้งไม่สอดคล้องต่อความแตกต่างกันของ
ปริมาณความต้องการพลังงานและสารอาหารของนักเรียนตามช่วงอายุ (องค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย,
2563, บทสรุปผู้บริหาร) ตลอดจนไม่สัมพันธ์กับต้นทุนคงท่ี โดยเฉพาะจานวนผู้ประกอบอาหารในการ
ประกอบอาหารของโรงเรียนท่ีมีขนาดแตกต่างกันตามจานวนนักเรียน จึงทาให้การจัดสรรงบประมาณ
รายจ่ายสาหรับเป็นเงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวันนักเรียนท่ัวประเทศตามนโยบายค่าอาหารกลางวัน
นักเรียนอัตราเดยี วไมส่ ง่ เสริมและสนับสนุนการบริหารคา่ ใชจ้ า่ ยของโครงการเพอื่ การบรรลุวัตถุประสงคข์ อง
โครงการอาหารกลางวันนักเรียนที่มีคุณภาพอย่างแท้จริง โดยเฉพาะในการดาเนินโครงการอาหารกลางของ
โรงเรียนหรอื สถานศึกษาท่ีต้งั อยู่ในเมอื งใหญ่หรือพืน้ ทีท่ ่ีมีดัชนรี าคาผู้บริโภคสูง และหรือโรงเรียนท่ีมจี านวน
นักเรียนในช่วงช้ันหรือช่วงอายุท่ีต้องการปริมาณอาหารให้พลังงานและสารอาหารมาก (เด็กโตใน
ชั้นประถมศึกษาหรอื มัธยมศึกษาตอนต้น) และหรือมีขนาดของโรงเรียนเล็กและกลาง ซง่ึ มีต้นทนุ คงท่ีค่าจา้ ง
ผู้ประกอบอาหารเฉลี่ยต่อนักเรียนสูงกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่และใหญ่พิเศษซึ่งโรงเรียนขนาดดังกล่าวมี
ตน้ ทนุ คงท่ดี ังกล่าวลดลงหรือมีลกั ษณะของความประหยัดตอ่ ขนาดนั่นเอง

ดังน้ัน จากข้อจากัดดังกล่าวข้างต้น จึงควรทบทวนนโยบายค่าอาหารกลางวันนักเรียนอัตราเดียว
และปรับเปลี่ยนนโยบายให้มีความยืดหยุ่นเพิ่มขึ้นโดยเป็นแบบเฉพาะเจาะจง (Tailor-made Policy) เพ่ิมขึ้น
กลา่ วคือออกแบบมาใชอ้ ัตราค่าอาหารกลางวนั นักเรียนหลายค่าตามต้นทุนรวมของการประกอบอาหารกลาง
วันที่แตกต่างกัน เพ่ือทาให้การจัดสรรงบประมาณที่ภาครัฐมีอยู่อย่างจากัดเกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งนี้
แม้อาจจะทาให้กระบวนการจัดทางบประมาณต้องใช้การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ที่เพิ่มมากข้ึน (big data
analytics) แต่ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะด้านการสื่อสารและข้อมูลสารสนเทศ ใน
ปัจจุบัน ซึ่งสามารถรองรับความจาเป็นและต้องการใช้ข้อมูลดังกล่าวได้ หากมีทักษะในเลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสม ท้ังน้ี การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายสาหรับเป็นเงินอุดหนุนให้แก่กลุ่มเป้าหมายขนาดใหญ่และมีอัตรา
เกณฑ์ท่ีใช้จัดสรรแตกต่างกันเพอ่ื สะท้อนความแตกต่างกันของสภาพแวดล้อมมแี ล้วในหลายกรณี เชน่ การจดั สรร
งบประมาณรายจา่ ยสาหรบั อดุ หนนุ จา่ ยเป็นเบย้ี ยงั ชพี ผู้สูงอายุ17 เปน็ ตน้

17 กรณีการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายสาหรับอุดหนุนจ่ายเป็นเบี้ยยังชีพผ้สู ูงอายุ มติคณะรัฐมนตรี
เม่ือวันที่ 18 ตุลาคม 2554 กาหนดอัตราเบ้ียยังชีพผรู้ ายเดือนแบบขนั้ บันไดสาหรับผู้สูงอายุ ได้แก่ ช่วงอายุ
60-69 ปี จะได้รับ 600 บาท ช่วงอายุ 70-79 ปี จะได้รับ 700 บาท ช่วงอายุ 80-89 ปี จะได้รับ 800 บาท
และช่วงอายุ 90 ปขี ้นึ ไป จะได้รบั 1,000 บาท

สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร 52 สานักงบประมาณของรัฐสภา

ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพ่อื การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายเปน็ เงินอดุ หนนุ คา่ อาหารกลางวันนักเรยี น

บทที่ 4
บทสรุปและข้อเสนอแนะ

การศึกษา เร่ือง ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพ่ือการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุน
ค่าอาหารกลางวันนักเรียน มีบทสรุปของการศึกษา และข้อเสนอแนะ ตามวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับที่กาหนดไว้ กล่าวคือ สมาชิกรัฐสภา บุคลากรในวงงานรัฐสภา และผู้เก่ียวข้องมี
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสาหรับนามาใชเ้ ป็นทางเลือกประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญตั ิงบประมาณ
รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และกฎหมายอันเก่ียวด้วยทางการเงินอ่ืน ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับ
การจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยเป็นเงินอุดหนนุ คา่ อาหารกลางวนั นักเรยี นบรรลผุ ลเปน็ รปู ธรรม
4.1 บทสรปุ

การศึกษามีวัตถุประสงค์ 2 ประการ ได้แก่ ประกำรที่หน่ึง เพ่ือศึกษา และวิเคราะห์ผลจากการคานวณ
ต้นทุนค่าอาหารกลางวันนักเรียนของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐและเอกชนท่ีเกี่ยวข้อง โดยให้ครอบคลุมถึงเด็กและนักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย
ของส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนต่าง ๆ และคานึงถึงดัชนีราคา
ผูบ้ ริโภค ปริมาณความต้องการพลงั งานและสารอาหารท่ีแตกต่างกนั ในแต่ละชว่ งอายุของนักเรยี น ขนาดของ
โรงเรียน หลักความประหยัดต่อขนาด และปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง ประกำรที่สอง เพ่ือจัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
สาหรับเป็นสารสนเทศให้แก่สมาชิกรัฐสภาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสาหรับนามาใช้เป็นทางเลือกประกอบการ
พจิ ารณาจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอดุ หนุนค่าอาหารกลางวนั นักเรียน

จากการศึกษาและวิเคราะห์วธิ ีการและผลจากการคานวณต้นทุนค่าอาหารกลางวันนักเรียนในระดับช้ัน
อนุบาลถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 สาหรับนาไปใช้พิจารณาทบทวนอัตราค่าอาหารกลางวันสาหรับการจัดสรร
งบประมาณให้แก่นักเรียนกลุ่มดังกล่าวซึ่งมีจานวนท้ังสิ้น 5,894,420 คน และกระจายอยู่ในโรงเรียนหรือ
สถานศึกษาท่ัวประเทศรวมจานวน 49,861 แห่ง (อนุชา บูรพชัยศรี, 2564) โดยอยู่ในสังกัดของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ
เชน่ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน สานักงานตารวจแห่งชาติ เปน็ ต้น และเอกชนทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ทง้ั นี้ ผู้ศึกษา
ได้ศึกษาและวิเคราะห์วิธีการคานวณและค่าต้นทุนการประกอบอาหารกลางวันจากผลการศึกษาขององค์การยูนิ
เซฟประจาประเทศไทย (2563) ซ่ึงมีการวิเคราะห์ต้นทุนการประกอบอาหารกลางวันและศึกษาวิเคราะห์
เปรียบเทียบและต่อยอดจากข้อเสนอเก่ียวกับต้นทุนค่าอาหารกลางวันนักเรียนของสานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2563) มีผลการวเิ คราะหส์ รปุ ได้ ดงั น้ี

4.1.1 หลกั และแนวทำงกำรวเิ ครำะหต์ ้นทุนและอตั รำค่ำอำหำรกลำงวนั นกั เรยี น

สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร 53 สานักงบประมาณของรัฐสภา

ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพื่อการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเปน็ เงินอุดหนนุ ค่าอาหารกลางวันนกั เรียน

การวิเคราะห์ต้นทุนค่าอาหารกลางวันซง่ึ คานวณตามหลักและแนวทาง 3 ประการ ได้แก่ (1) ต้อง
สอดคล้องกับปริมาณความต้องการพลังงานและสารอาหารของนักเรียนซ่ึงแตกต่างกันตามช่วงอายุ โดย
จาแนกเป็น 4 ระดับช้ันนักเรียน ได้แก่ นักเรียนช้ันอนุบาล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี
4 - 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 (ซ่ึงเป็นการรองรับตามข้อเสนอของ สพฐ. ท่ีต้องการให้อุดหนุน
ค่าอาหารกลางวันสาหรับนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 ในโรงเรียนขยายโอกาสท่ีมีจัดการเรยี นการสอน
ตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึงมัธยมศึกษาปีท่ี 3) (2) ปรับราคาค่าวัตถุดิบที่ใช้ประกอบอาหารกลางวันให้มี
ความสะท้อนถึงระดับราคาท่ีแท้จริง (ระดับราคาเฉลี่ยตลอดท้ังปี) และราคาวัตถุดิบตามราคาตลาดที่
กระทรวงพาณิชย์อ้างอิง และ (3) ปรับต้นทนุ คา่ จา้ งผู้ประกอบอาหารให้สอดคลอ้ งตามจานวนนักเรยี น โดย
การจาแนกต้นทุนค่าจ้างผู้ประกอบอาหารตามขนาดโรงเรียน ทั้งนี้ หลักและแนวทางดังกล่าวมีความ
สอดคลอ้ งกบั ข้อสังเกตตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วนั ท่ี 29 กนั ยายน 2563 อีกดว้ ย

4.1.2 ผลกำรวเิ ครำะหต์ ้นทุนและอัตรำคำ่ อำหำรกลำงวันนกั เรียน
จากการวิเคราะห์ต้นทุนค่าอาหารกลางวันตามหลักและแนวทางดังกล่าวข้างต้น มีผลการวิเคราะห์
จาแนกเปน็ ต้นทนุ ผันแปร ต้นทนุ คงท่ี และต้นทุนรวมของการประกอบอาหารกลางวนั นักเรียน สรปุ ไดด้ งั น้ี

(1) ตน้ ทนุ ผนั แปร (Variable Cost)
จากการวิเคราะห์ผลการคานวณต้นทุนผันแปรของการประกอบอาหารกลางวันนักเรียน

ซง่ึ ประกอบด้วยต้นทุนค่าวัตถุดิบ และต้นทุนค่าโสหุ้ย ของ สพฐ. ซึ่งไม่ได้จาแนกตามระดับชั้นเรียน โดยผล
การคานวณพบว่าต้นทุนผันแปรของการประกอบอาหารกลางวันมีค่า 20.90 บำทต่อคนต่อวัน ขณะท่ี
องค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย (2563) วิเคราะห์ต้นทุนผันแปร โดยการจาแนกตามระดับชั้นเรียน 4 กลุ่ม
ได้แก่ นักเรียนช้ันอนุบาล ป.1-ป.3 ป.4-ป.6 และ ม.1-ม.3 ทาให้ได้ค่าต้นทุนผันแปรที่มีความละเอียดเพิ่มข้ึน
และสอดคล้องตามความแตกต่างของนักเรียนในแต่ละช่วงวัยตามระดับชั้นเรียน (เด็กเล็กและเด็กโต) ที่ทา
ให้ปริมาณความต้องการพลังงานและสารอาหารมีความแตกต่างกันไปด้วย โดยค่าต้นทุนผันแปรของการ
ประกอบอาหารกลางวันของนักเรียน 4 กลุ่ม ได้แก่ ช้ันอนุบาล ป.1-ป.3 ป.4-ป.6 และ ม.1-ม.3 มีค่ำเท่ำกับ
17.45 20.19 22.75 และ 27.17 บำทตอ่ คนต่อวันตำมลำดับ

เนื่องจากต้นทุนผันแปรขององค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทยมีจานวน 4 ค่า ตาม
ระดับช้ันของนักเรียนดังกล่าวข้างต้น ดังนั้น เพื่อเป็นข้อเสนอทางเลือกในกรณีต้องการวิเคราะห์
เปรียบเทียบค่าต้นทุนผันแปรของการประกอบอาหารกลางวันนักเรียนระหว่างองค์การยูนิเซฟประจา
ประเทศไทย และ สพฐ. ได้ ผู้ศึกษาจึงหาค่าเฉล่ีย (Mean)18 ของต้นทุนผันแปร 4 ค่าขององค์การยูนิเซฟ
ประจาประเทศไทย พบว่ามีค่าเฉลี่ยของต้นทุนผันแปรเท่ำกับ 21.90 บำทต่อคนต่อวันเม่ือนามาวิเคราะห์

18 คา่ เฉลย่ี (Mean) คานวณจากผลรวมของค่าท้ังหมดหารด้วยจานวนขอ้ มลู

สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร 54 สานกั งบประมาณของรัฐสภา

ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่ือการจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยเป็นเงนิ อดุ หนุนคา่ อาหารกลางวันนกั เรยี น

เปรียบเทียบกับต้นทุนผันแปรของ สพฐ. (20.90 บาท/คน/วัน) พบว่าสูงกว่ำเท่ำกับ 1 บำท (21.90 -
20.90 = 1 บำท/คน/วัน) หรือสงู กวำ่ คิดเปน็ ร้อยละ 4.78

(2) ตน้ ทุนคงท่ี (Fixed Cost)
จากการวิเคราะห์ผลการคานวณต้นทุนคงที่ของการประกอบอาหารกลางวันนักเรียน ซึ่ง
ประกอบด้วยค่าแรงของผู้ประกอบอาหารท่ีจาแนกตามขนาดของโรงเรียน 4 กลุ่ม ได้แก่ โรงเรียนขนาดเล็ก
ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และขนาดใหญ่พิเศษ โดยผลการศึกษาขององค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย
(2563, น. 28 - 29) กาหนดจานวนผู้ประกอบอาหารตามขนาดของโรงเรียน19 โดยโรงเรียนขนำดเล็ก มีผู้
ประกอบอำหำรอย่ำงน้อย 1 คน โรงเรียนขนำดกลำง มีผู้ประกอบอำหำรอย่ำงน้อย 2 คน โรงเรียน
ขนำดใหญ่ มีผู้ประกอบอำหำรอย่ำงน้อย 3 คน และโรงเรียนขนำดใหญ่พิเศษ มีผู้ประกอบอำหำรอย่ำง
น้อย 4 คน ท้ังนี้ จากการกาหนดดังกล่าวทาให้ต้นทุนคงท่ีจะมีลักษณะของการประหยัดจากขนาด
(economies of scale)20 โดยต้นทุนคงท่ีเฉลี่ยต่อจานวนนักเรียนจะลดลงในโรงเรียนที่มีขนาดใหญ่
(มีจานวนนักเรียนมาก) โดยจากการคานวณค่าจา้ งผปู้ ระกอบอาหารตอ่ นักเรียน พบว่าโรงเรยี นขนำดเล็ก มี
ผู้ประกอบอำหำรอย่ำงน้อย 1 คน มีค่ำจ้ำงผู้ประกอบอำหำรต่อนักเรียน เท่ำกับ 3.87 บำท/วัน/คน
ขณะที่ โรงเรียนขนำดใหญ่พิเศษ มีผู้ประกอบอำหำรอย่ำงน้อย 4 คน มีค่ำจ้ำงผู้ประกอบอำหำรต่อนักเรียน
เท่ำกับ 0.51 บำท/วัน/คน หรือเกิดกำรประหยัดจำกขนำด โดยมีต้นทุนต่อหน่วยท่ีลดลงคิดเป็นร้อยละ 80.82
ของโรงเรียนขนาดเล็ก นอกจากนี้ เมื่อต้นทุนคงท่ีมีลักษณะของการประหยัดจากขนาดย่อมทาให้ต้นทุนรวม
เฉลี่ยต่อจานวนนักเรียนลดลงตามขนาดโรงเรียนไปด้วยหรอื มลี กั ษณะการประหยดั จากขนาดเชน่ เดยี วกนั
(3) ตน้ ทนุ รวม (Total Cost)
จากการวเิ คราะห์ผลการคานวณต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงท่ีของการประกอบอาหารกลางวนั ของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ (2563) และองค์การยูนิเซฟ
ประจาประเทศไทย (2563) ทาให้ได้ค่าต้นทุนรวม (Total Cost : TC) ของการประกอบอาหารอาหาร
กลางวันนักเรียน โดยต้นทุนรวมตามท่ี สพฐ. นาเสนอ ซึ่งมีค่า TC ต่าสุดและสูงสุดอยู่ระหว่าง 24 – 37
บาทต่อคนต่อวัน ตามต้นทุนคงท่ีหรอื ค่าจา้ งผู้ประกอบอาหารกลางวนั ซงึ่ แตกต่างกันตามขนาดของโรงเรียน
โดยเพิ่มข้ึนจากอัตราค่าอาหารกลางวัน 20 บาทต่อคนต่อวันซ่ึงเป็นอัตราเดิมท่ีใช้ในการจัดทางบประมาณ
รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระหว่าง 4 – 17 บาทตอ่ คนต่อวันหรือเพมิ่ ข้ึนคิดเปน็ ระหวา่ งร้อย
ละ 15.38 – 85.00 และเพิ่มขน้ึ จากอัตราค่าอาหารกลางวัน 21 บาทต่อคนต่อวันซึ่งคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ
เมอื่ วนั ท่ี 9 กมุ ภาพันธ์ 2564 และให้นาไปใช้เปน็ เกณฑใ์ นการจัดสรรคา่ อาหารกลางวันนักเรยี นในการจัดทา

19 ขณะท่ีข้อเสนอของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ (2563)

ใช้ข้อมลู จากการสารวจและเก็บขอ้ มลู จากโรงเรยี นขนาดต่าง ๆ เพ่ือกาหนดจานวนแม่ครวั ท่เี หมาะสมต่อโรงเรยี น
20 การประหยัดจากขนาดหรือการผลิตสินค้าและบริการในจานวนท่ีมากจะช่วยลดต้นทุนของการผลิตให้

นอ้ ยลง

สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร 55 สานักงบประมาณของรัฐสภา

ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่อื การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายเปน็ เงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวนั นักเรยี น

งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหว่ำง 3 – 16 บำทต่อคนต่อวันหรือเพิ่มข้ึนคิดเป็น
ระหว่ำงร้อยละ 14.28 – 76.19

ขณะท่ีต้นทุนรวม (TC) ตามผลการศึกษาขององค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย (2563) ซึ่งมีค่า
ต่าสุดและสูงสุด จาแนกตามระดับช้ันของนักเรียนออกเป็น 4 ช่วงชั้น ได้แก่ นักเรียนชั้นอนุบาล
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 และชั้นมัธยมศึกษา 1 - 3 (โรงเรียนประถมศึกษา
ขยายโอกาส) โดยมีค่ำ TC ต่ำสุดของนักเรียน 4 ช่วงชั้น เท่ำกับ 18.52 21.26 23.82 และ 27.68
บำทต่อคนต่อวันตำมลำดับ โดยเพ่ิมขึ้น (ลดลง) จากอัตราค่าอาหารกลางวัน 20 บาทต่อคนต่อวันซ่ึงเป็น
อัตราเดิมท่ีใช้ในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เท่ากับ -1.48 1.26 3.82
และ 7.68 บาทต่อคนต่อวันหรือเพิ่มข้ึน (ลดลง) คิดเป็นร้อยละ -7.4 6.3 19.1 และ 38.4 ตามลาดับ และ
เพิ่มข้ึน (ลดลง) จากอัตราค่าอาหารกลางวัน 21 บาทต่อคนต่อวันซึ่งคณะรัฐมนตรีเห็นชอบเมื่อวันท่ี 9
กุมภาพันธ์ 2564 และให้นาไปใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดสรรค่าอาหารกลางวันนักเรียน ในการจัดทา
งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เท่ากับ -2.48 0.26 2.82 และ 6.68 บาทต่อคนตอ่ วัน
หรอื เพ่มิ ขึ้น (ลดลง) คิดเป็นรอ้ ยละ -11.81 1.24 13.43 และ 31.81 ตามลาดบั

ขณะที่ ค่ำ TC สูงสุดของนักเรียน 4 ช่วงชั้น เท่ำกับ 21.32 24.06 26.62 และ 31.04 บำทต่อคน
ต่อวนั ตามลาดับ โดยเพ่ิมข้ึน (ลดลง) จากอตั ราค่าอาหารกลางวัน 20 บาทต่อคนต่อวันซึ่งเป็นอัตราเดิมท่ใี ช้
ในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เท่ากับ 1.32 4.06 6.62 และ 11.04
บาทต่อคนต่อวันตามลาดับ หรือเพ่ิมขึ้นคิดเป็นร้อยละ 6.6 20.3 33.1 และ 55.2 ตามลาดับ และเพิ่มข้ึน
จากอัตราค่าอาหารกลางวัน 21 บาทต่อคนต่อวันซึ่งคณะรัฐมนตรีเห็นชอบเม่ือวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564
และใหน้ าไปใช้เปน็ เกณฑ์ในการจัดสรรคา่ อาหารกลางวนั นักเรียนในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 เท่ากับ 0.32 3.06 5.62 และ 10.04 บาทต่อคนต่อวันตามลาดับ หรือเพิ่มข้ึน
คดิ เป็นร้อยละ 1.52 14.57 26.76 และ 47.81 ตามลาดับ

อย่างไรก็ดี เนื่องจากค่าต้นทุนรวม (TC) ตามผลการศึกษาขององค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทยดังกล่าว
ข้างต้นมีการจาแนกตามระดับช้ันของนักเรียนเป็น 4 ช่วงช้ัน และแสดงค่าต่าสุด – สูงสุด (ตามขนาดของโรงเรียน)
อีกด้วย ทาให้ค่า TC ของการประกอบอาหารกลางวันนักเรียนท่ีคานวณได้มีจานวน 8 ค่า ดังนั้น หากต้องการค่า
TC ของการประกอบอาหารกลางวันนักเรียนเพียงอัตราเดียว (one price) ในแต่ละช่วงชั้น (เฉล่ียต้นทุนคงท่ีที่
แตกต่างกันตามขนาดของโรงเรียน) โดยลดจาก 8 ค่า เหลือ 4 ค่า ตามนักเรียน 4 ช่วงชั้น สาหรับนาไปพิจารณา
ตัดสินใจปรับอัตราค่าอาหารกลางวันนักเรียน และหรือเพื่อใช้ในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณรายจ่ายสาหรับ
เป็นเงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวันนักเรียนในภาพรวม ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงได้หาค่าต้นทุนรวมเฉลี่ย (Average Total
Cost : ATC) โดยค่าเฉลี่ยจากค่าต้นทุนของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ
(2563) พบว่าเท่ากับ 30.5 บำทต่อคนต่อวันโดยเพิ่มข้ึนจากอัตราค่าอาหารกลางวัน 20 บาทต่อคนต่อวันเท่ากับ
10.5 บาทต่อคนตอ่ วันหรือเพม่ิ ขึ้นคิดเป็นรอ้ ยละ 52.50 และเพิ่มข้ึนจากอัตราค่าอาหารกลางวัน 21 บาทต่อคนต่อ

สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร 56 สานกั งบประมาณของรฐั สภา

ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพอื่ การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยเปน็ เงินอดุ หนนุ คา่ อาหารกลางวันนกั เรยี น

วั น
ซ่ึงคณะรฐั มนตรีเหน็ ชอบเมื่อวันท่ี 9 กมุ ภาพันธ์ 2564 และใหน้ าไปใช้เปน็ เกณฑ์ในการจัดสรรค่าอาหารกลางวัน
นักเรยี นในการจดั ทางบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เท่ากับ 9.5 บาทต่อคนต่อวนั หรอื เพมิ่ ขึ้น
คิดเปน็ รอ้ ยละ 45.24 ตามลาดับ ตามตำรำงท่ี 4.1

ตำรำงที่ 4.1 เปรียบเทยี บค่าต้นทนุ รวมของการประกอบอาหารกลางวันนกั เรยี นของ สพฐ. องค์การยูนิเซฟ

ประจาประเทศไทย และคา่ เฉลี่ยจากการศกึ ษา

ท่มี ำของคำ่ ต้นทนุ รวม/อัตรำคำ่ อำหำร คำ่ ต้นทุนรวม /อัตรำคำ่ อำหำรกลำงวนั (บำท/คน/วนั )

กลำงวันนกั เรียน อนบุ ำล ป.1-ป.3 ป.4-ป.6 ม.1-ม.3

มตคิ ณะรฐั มนตรวี ันท่ี 22 ตุลาคม 2556 20.00

(ใช้ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 – 2564)

มติคณ ะรัฐมนตรีวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 21.00

2564 (ใช้ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็น

ต้นไป)

ขอ้ เสนอสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา

ขัน้ พ้ืนฐาน, กระทรวงศกึ ษาธิการ*

- คา่ ตา่ สุด 24.00

- คา่ สงู สุด 37.00

ผลการศึกษาขององค์การยูนิเซฟประจา

ประเทศไทย*

- คา่ ตา่ สุด 18.52 21.26 23.82 27.68

- ค่าสูงสดุ 21.32 24.06 26.62 31.04

คา่ เฉล่ียตามข้อเสนอของผศู้ ึกษา (ค่า ATC) 19.92 22.66 25.22 29.36

ทีม่ ำข้อมลู : ปรบั ปรุงมาจากรายงานผลการศึกษาขององค์การยนู ิเซฟประจาประเทศไทย (2563)

หมำยเหตุ * = ค่าต้นทุนรวมของ สพฐ. และองค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทยมีมากกว่า 1 ค่า โดยจะ

แสดงเป็นค่าต้นทุนต่าสุดและค่าต้นทุนสูงสุดตามต้นทุนคงท่ี (ค่าจ้างผู้ประกอบอาหารต่อ

นักเรยี น) ที่แตกต่างกนั

ขณะที่หาค่าต้นทุนรวมเฉลี่ย (ATC) โดยหาค่าเฉล่ียจากค่าต้นทุนรวมของนักเรียน 4 ช่วงชั้น ตามผล

การศึกษาขององค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย (2563) พบว่ามีค่ำเท่ำกับ 19.92 22.66 25.22 และ 29.36

บำทต่อคนต่อวันโดยเพิ่มข้ึน (ลดลง) จากอัตราค่าอาหารกลางวัน 20 บาทต่อคนต่อวันเท่ากับ -0.08 2.66 5.22

และ 9.36 บาทต่อคนต่อวันหรือเพ่ิมขึ้น (ลดลง) คิดเป็นร้อยละ -0.40 13.30 26.10 และ 46.80 ตามลาดับ และ

สานกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร 57 สานักงบประมาณของรฐั สภา

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการจดั สรรงบประมาณรายจ่ายเปน็ เงินอุดหนนุ ค่าอาหารกลางวนั นักเรยี น

เพ่ิมข้ึนจากอัตราค่าอาหารกลางวัน 21 บาทต่อคนต่อวันซ่ึงคณะรัฐมนตรีเห็นชอบเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564
และให้นาไปใช้ในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เท่ากับ -1.08 1.66 4.22
และ 8.36 บาทต่อคนต่อวันตามลาดับ หรือเพ่ิมขึ้น (ลดลง) คิดเป็นร้อยละ -5.14 7.90 20.10 และ 39.81
ตามลาดบั ตามตารางท่ี 4.1 ขา้ งตน้

4.1.3 ขอ้ เสนอกำรนำต้นทุนไปใช้กำหนดอตั รำค่ำอำหำรกลำงวันนกั เรยี น
การใช้นโยบายกาหนดค่าอาหารกลางวันนักเรียนอัตราเดียว (one price policy) ท่ีปรับเพ่ิม
งบประมาณจากอัตราเดิมเล็กๆ น้อยๆ (incremental budgeting) และนาไปใชเ้ ป็นเกณฑก์ ารจัดสรรงบประมาณ
เปน็ การทัว่ ไป เหมือนที่ผ่านมา ๆ เช่น อัตราค่าอาหารกลางวันนกั เรยี นอัตราใหม่ตามมติคณะรฐั มนตรีวันท่ี 9
กุมภาพันธ์ 2564 ซ่ึงเห็นชอบให้ใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นค่าอาหารกลางวัน
นกั เรียนตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป จานวน 21 บาทต่อคนต่อวันมีข้อจากัด เป็นต้น ซึ่งเป็น
ค่าประมาณการท่ีไม่สะท้อนต้นทุนรวมของการประกอบอาหารกลางวันนักเรียนซ่ึงมีต้นทุนผันแปรที่
แตกต่างกันของสภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเปล่ียนแปลงของดัชนีค่าครองชีพในพ้ืนท่ี
ต่าง ๆ ของประเทศ รวมทั้งไม่สอดคล้องต่อความแตกต่างกันของปริมาณความต้องการพลังงานและ
สารอาหารของนักเรียนตามช่วงอายุ (องค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย, 2563, บทสรปุ ผู้บริหาร) ตลอดจนไม่
สัมพันธ์กับต้นทุนคงที่ โดยเฉพาะจานวนผู้ประกอบอาหารในการประกอบอาหารของโรงเรียนที่มีขนาด
แตกต่างกันตามจานวนนักเรียน จึงทาให้การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายสาหรับเป็นเงินอุดหนุนค่าอาหาร
กลางวันนักเรียนทั่วประเทศตามนโยบายค่าอาหารกลางวันนักเรียนอัตราเดียวไม่ส่งเสริมและสนับสนุน
การบรหิ ารโครงการเพอ่ื การบรรลุวตั ถุประสงคข์ องโครงการอาหารกลางวนั นักเรยี นอยา่ งแทจ้ ริง
ดังน้ัน จากขอ้ จากดั ต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น จงึ ควรทบทวนนโยบายคา่ อาหารกลางวันนกั เรียนอัตรา
เดียว และปรับเปล่ียนนโยบายให้มีความยืดหยุ่นเป็นแบบเฉพาะเจาะจง (Tailor-made Policy) เพ่ิมข้ึน
โดยการออกแบบมาใช้อัตราค่าอาหารกลางวันนักเรียนหลายค่าตามต้นทุนรวมของการประกอบอาหาร
กลางวันที่แตกต่างกัน เพ่ือทาให้การจัดสรรงบประมาณท่ีภาครัฐมีอยู่อย่างจากัดเกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งนี้
แม้อาจจะทาให้กระบวนการจัดทางบประมาณต้องใช้การวิเคราะห์ข้อมลู ขนาดใหญ่ทเ่ี พ่ิมมากขึน้ (big data
analytics) แต่ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะด้านการสื่อสารและข้อมูล
สารสนเทศ ในปัจจุบัน ซ่ึงสามารถรองรับความจาเป็นและต้องการใช้ข้อมูลดังกล่าวได้ หากมีทักษะใน
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ท้ังน้ี การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายสาหรับเป็นเงินอุดหนุนให้แก่
กลุ่มเป้าหมายขนาดใหญ่และมีอัตราเกณฑ์ท่ีใช้จัดสรรแตกต่างกันเพื่อสะท้อนความแตกต่างกันของ

สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร 58 สานักงบประมาณของรฐั สภา

ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่ือการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอดุ หนนุ คา่ อาหารกลางวนั นกั เรยี น

สภาพแวดล้อมมีแล้วในหลายกรณี เช่น การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายสาหรับอุดหนุนจ่ายเป็นเบี้ยยังชีพ
ผ้สู ูงอายุ21 เปน็ ตน้

4.2 ข้อเสนอแนะ
จากผลการคานวณต้นทุนเพื่อนาไปกาหนดอัตราค่าอาหารกลางวันนักเรียน ซ่ึงควรปรับเปลี่ยน

หลักการของการดาเนินนโยบายจากการกาหนดค่าอาหารกลางวันนักเรียนอัตราเดียว (one price policy)
เหมือนที่ผ่านมา ๆ ให้มีลักษณะท่ียืดหยุ่นเป็นแบบเฉพาะเจาะจง (Tailor-made Policy) ตามข้อมูลที่
แตกต่างกันเพิ่มขึ้น โดยออกแบบมาใช้อัตราค่าอาหารกลางวันนักเรียนหลายค่าตามต้นทุนรวมของ
การประกอบอาหารกลางวันที่แตกต่างกัน เพ่ือทาให้การจัดสรรงบประมาณที่ภาครัฐมีอยู่อย่างจากัด
สามารถประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนอย่างมีคุณภาพและเกิดประโยชน์สูงสดุ ซ่ึงเป็นข้อเสนอแนะ
เชิงนโยบายเพื่อการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนนุ ค่าอาหารกลางวันนกั เรียนตามผลการศกึ ษา
นอกจากน้ีแล้ว เพื่อให้การพิจาณาจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวันนักเรียน
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และเกิดประสิทธิผล ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ อภิปรายและสังเคราะห์ข้อมูล
สารสนเทศและวรรณกรรมทเี่ ก่ยี วขอ้ งแล้ว มีขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี

4.2.1 ข้อเสนอแนะเก่ียวกับรูปแบบและวิธีกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุน
ค่ำอำหำรกลำงวนั นักเรียน

จากการที่ปัจจุบัน การสนับสนุนการดาเนินงานตามโครงการอาหารกลางวันของโรงเรยี นและสถานศึกษา
ต่าง ๆ รัฐบาลสนับสนุนด้านงบประมาณโดยการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวัน
นกั เรียน โดยมีการปรับเพมิ่ คา่ อาหารกลางวนั นกั เรยี นจากอตั ราเดิมตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 22 ตลุ าคม 2556 ซ่ึง
ใช้ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 – 2564 อัตรา 20 บาทต่อคนต่อวันเป็นอัตราใหม่ 21 บาทต่อคนต่อวัน
ตามมตคิ ณะรฐั มนตรวี ันท่ี 9 กมุ ภาพันธ์ 2564 ซึง่ เห็นชอบให้ใช้เปน็ เกณฑ์ในการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
เป็นค่าอาหารกลางวันนักเรียนตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป และให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องซ่ึง
ได้รับจัดสรรงบประมาณเป็นค่าอาหารกลางวันปรับมาใช้ในอัตราใหม่ดังกล่าวด้วยเพ่ือให้เป็นมาตรฐาน
เดียวกัน ท้ังน้ี คณะรัฐมนตรีเห็นว่าค่าอาหารกลางวันเด็กนักเรียนอัตราดังกล่าวมีค่าบริหารจัดการในการ
ประกอบอาหารในสัดส่วนท่ีเพียงพอท่ีหน่วยงานจะสามารถบริหารจัดการโครงการอาหารกลางวันเด็ก
นกั เรยี นให้มีคุณภาพ มีความคุ้มคา่ และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยแต่ละหน่วยงานสามารถบริหารจัดการ

21 กรณีการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายสาหรับอุดหนุนจ่ายเป็นเบย้ี ยังชีพผูส้ ูงอายุ มตคิ ณะรฐั มนตรี
เม่ือวันท่ี 18 ตุลาคม 2554 กาหนดอัตราเบี้ยยังชีพผู้รายเดือนแบบขั้นบันไดสาหรับผู้สูงอายุ ได้แก่ ช่วงอายุ
60-69 ปี จะได้รับ 600 บาท ช่วงอายุ 70-79 ปี จะได้รับ 700 บาท ช่วงอายุ 80-89 ปี จะได้รับ 800 บาท
และชว่ งอายุ 90 ปีขึ้นไป จะไดร้ บั 1,000 บาท

สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร 59 สานกั งบประมาณของรฐั สภา

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพื่อการจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยเปน็ เงนิ อดุ หนนุ ค่าอาหารกลางวนั นกั เรียน

ได้ตามความเหมาะสมสอดคล้องกับขนาดโรงเรียนและจานวนนักเรียนในข้ันตอนการบริหารงบประมาณ
(สานักเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี, 2564)

อย่างไรก็ดี จากผลการคานวณต้นทุนการประกอบอาหารกลางวันขององค์การยูนิเซฟประจา
ประเทศไทยซึ่งมีการนาเสนอค่าต้นทุนรวมและข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนที่แตกต่างจากอัตราค่าอาหารกลางวัน
นักเรียนที่คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติไว้และนามาใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายนั้น ท้ังน้ี
เพื่อให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องสามารถบริหารจัดการเงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวันนักเรียนตามอัตราใหม่ซ่ึงได้รับ
เพ่ิมข้ึนจานวน 1 บาทต่อคนต่อวนั จากอัตราเดมิ (20 บาท/คน/วนั ) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และเกิด
ประสิทธิผล โดยเฉพาะต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการอาหารกลางวัน และคานึงถึงข้อจากัดของ
กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่าย ดังนั้น รูปแบบและแนวทางในการสนับสนุนด้านงบประมาณรายจ่าย
สาหรบั เป็นเงนิ อุดหนนุ คา่ อาหารกลางวันให้แกต่ ้นทุนผนั แปร ซง่ึ ได้แก่ ต้นทุนคา่ วัตถุดบิ และต้นทุนคา่ โสหุ้ย
ในการประกอบอาหาร ควรได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนผ่านหน่วยรับงบประมาณ
ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกระทรวงศึกษาธิการเช่นปัจจุบัน เพ่ือจัดสรรต่อไปยังโรงเรียนและ
สถานศึกษาท่ีรับผิดชอบดาเนินโครงการอาหารกลางวันนักเรียนท้ังของรัฐและเอกชน แต่สาหรับต้นทุนคงที่ คือ
ค่าแรงของผู้ประกอบอาหารสาหรับประกอบอาหารกลางวันของโรงเรียน ควรมีข้อเสนอทางเลือก (องค์การยูนิเซฟ
ประจาประเทศไทย, 2563, น. 34-35) ดังนี้

ข้อเสนอรูปแบบท่ี 1 ให้เป็นหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดสรรงบประมาณ
รายจ่ายและสนับสนุนการดาเนินการ โดยจัดตั้งคณะกรรมการกากับในระดับท้องถ่ินท่ีมีตัวแทนจาก
หลากหลายภาคสว่ น อาทิ ผูป้ กครอง ครู ประชาชนในชุมชน และฝา่ ยบริหารและสภาทอ้ งถนิ่ เข้ามากากับ
ดูแล โดยมีหน้าที่และบทบาทในการคดั เลือกผูป้ ระกอบอาหาร (เป็นคนในท้องถิ่น) ดูแลคุณภาพวัตถุดบิ และ
กระบวนการผลิต ซง่ึ ส่วนหนึ่งอาจกาหนดให้มาจากเกษตรกรหรือองค์กรในชุมชน เช่น กลุ่มหรอื สหกรณ์ใน
พ้ืนท่ี เป็นต้น และการออกคาแนะนาเกี่ยวกับสารอาหารทีเ่ ด็กนกั เรียนควรได้รับจากอาหารในโรงเรียน ซึง่ มี
ข้อดี กล่าวคือ เป็นการลดภาระงบประมาณใหแ้ ก่รัฐบาล ส่งเสริมการทางานเชิงบรู ณาการในระดับพ้นื ที่โดย
มีนักเรียนเป็นเป้าหมาย เป็นการสร้างความโปร่งใส และเพ่ิมบทบาทการมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการ
จัดทาบริการสาธารณะให้แก่นักเรียนในท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ในพื้นท่ี แต่ข้อเสีย
กล่าวคือ รายได้และฐานะทางการคลังของ อปท. มีแตกต่างกัน ดังนั้น แม้ค่าแรงของผู้ประกอบอาหาร
อาจจะไมม่ าก แตก่ ็อาจเปน็ ภาระใหแ้ ก่ อปท. ท่มี ขี ้อจากัดด้านรายได้และฐานะทางการคลังได้

ข้อเสนอรูปแบบท่ี 2 รัฐบาลยังเป็นผู้รับผิดชอบจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนด้าน
ค่าแรงของผู้ประกอบอาหารแบบเดิม โดยคิดเปน็ ส่วนของตน้ ทนุ ค่าบริหารจัดการต่อหัวนักเรียนและคิดเป็น
อัตราเฉล่ียต่อวันต่อคนตามขนาดของโรงเรียน และจัดสรรงบประมาณรายจ่ายผ่านหน่วยรับงบประมาณ
ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือจัดสรรต่อไปยังโรงเรียนและสถานศึกษา
ซึ่งมีข้อดี กล่าวคือ ไม่เป็นการลดภาระงบประมาณให้แก่ อปท. แต่มีข้อเสีย กล่าวคือ จากข้อจากัดด้าน

สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 60 สานกั งบประมาณของรัฐสภา

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่อื การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงนิ อุดหนนุ คา่ อาหารกลางวนั นกั เรยี น

กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลทาให้ไม่สามารถจัดสรรงบประมาณในส่วนนี้ได้ตามต้นทุนคงท่ี
ตามข้อเท็จจริง และไม่สนับสนุนการเพิ่มบทบาทการมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการจัดทาบริการสาธารณะ
ให้แกน่ กั เรยี นในท้องถิน่ ของ อปท.

4.2.2 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำของกองทุนเพื่ออำหำรกลำงวันใน
โรงเรียนตอ่ กำรสนับสนุนโครงกำรอำหำรกลำงวนั นกั เรยี น

จากผลการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการกองทุนเพ่ืออาหารกลางวันในโรงเรยี นประถมศึกษาที่มี
ประสิทธิภาพเพ่ือลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน22 ซ่ึงมีข้อค้นพบท่ีเก่ียวกับสภาพปัญหาและ
แนวทางการบริหารจัดการกองทุนฯ กล่าวคือ การจัดสรรงบประมาณมีความล่าช้า (วิลาวัณย์ เพ็งพานิช
,2539: สานักงานกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวัน,2561) และมขี อ้ เสนอแนะใหม้ ีการจดั สรรงบประมาณ
ให้กับสถานศึกษาโดยตรง (สานักงานกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวัน,2561) และจากการติดตามผล
การดาเนนิ งานของกองทนุ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 พบว่ากองทุนจัดสรรเงินดอกผลให้แก่โรงเรียนเพ่ือเพ่ิม
ประสิทธิภาพการดาเนินโครงการอาหารกลางวันรวม 174,651,450 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 12.66 ของ
จานวนเงินท่ีโรงเรียนต่าง ๆ ยื่นขอจานวน 1,379,961,543 บาท ซึ่งเป็นอัตราท่ีค่อนข้างน้อยมากเม่ือ
เปรียบเทียบกับความต้องการของโรงเรียน ท้ังน้ี เนื่องจากกองทุนฯ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุน
เพื่อโครงการอาหารกลางวันในโรงเรยี นประถมศึกษา พ.ศ. 2535 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนและ
ใช้จ่ายสาหรับการสนับสนุนและช่วยเหลือภาวะโภชนาการของนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาเป็นสาคัญ
แต่เน่ืองจากบริบทปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปไปปีที่จัดต้ังกองทุนฯ ดังน้ัน จึงสมควรพิจารณาปรับปรุง
กฎหมายเพื่อให้วัตถุประสงค์ของกองทุนฯ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของบริบทในปัจจุบัน และเพ่ือให้
การบริหารจัดการเงินทุนหมุนเวียนให้มีความคล่องตัว คุ้มค่า มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมท้ังให้
กองทุนสนับสนุนทางการเงินเพ่ือจูงใจให้มีหรือเพิ่มศักยภาพของกองทุนอาหารกลางวันระดับโรงเรียนให้
เข้มแข็งสาหรับโรงเรยี นนาเงินจากกองทุนมาหมุนเวียนใช้ดาเนินโครงการอาหารกลางวันอยา่ งต่อเนื่องและ
เกิดความยั่งยืนอย่างแท้จริง มากกว่าการจัดสรรเฉพาะเงินจากดอกผลกองทุนซ่ึงมีจานวนน้อยในลักษณะ
จ่ายขาดเช่นปัจจุบัน และทาให้กองทุนสามารถสนับสนุนและช่วยเหลือโรงเรียนในการดาเนินโครงการ
อาหารกลางวันไดน้ อ้ ยลงตามไปดว้ ย

โดยท่ีกองทุนต้องเปรียบเสมือน “น้ามันหล่อล่ืน” สาหรับการขับเคล่ือนและเพิ่มประสิทธิภาพให้
การดาเนินโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนและสถานศึกษาตา่ ง ๆ ซ่ึงได้รบั การจัดสรรคา่ ใช้จ่ายหลักใน
การประกอบอาหารกลางวันตามเงินอุดหนุนท่ีได้รับจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายเป็นค่าอาหารกลางวัน
นกั เรียนตามอัตราที่กาหนด ให้สามารถดาเนินการเป็นไปไดอ้ ย่างต่อเนื่อง ไม่ติดขัด (กรณีท่ีได้รับจัดสรรเงิน

22 ทุพโภชนาการของนักเรียน หมายถึง นักเรียนที่มีน้าหนัก ส่วนสูง ไม่เป็นตามเกณฑ์ของกรม
อนามัย กระทรวงสาธารณสุขปกี ารศกึ ษา 2560

สานกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร 61 สานักงบประมาณของรฐั สภา

ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่ือการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเปน็ เงนิ อดุ หนุนคา่ อาหารกลางวันนักเรียน

อุดหนุนล่าช้าและหรือกรณีอื่น) มีเงินทุนหมุนเวียนสาหรับสนับสนุนการพัฒนาเพ่ิมประสิทธิภาพและแก้ไข
ปญั หาต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ข้ึนอยา่ งทันท่วงที ทั้งนี้ การพัฒนารปู แบบและวิธีการบริหารจดั การเงนิ กองทุนควรน้อม
หลักหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกตใ์ ชเ้ พ่อื ใหเ้ กิดความย่งั ยืนท่เี ป็นรูปธรรม

4.2.3 ข้อเสนอแนะเก่ียวกับกำรพัฒนำเพิ่มประสิทธิภำพของกำรดำเนินโครงกำรและบริหำร
งบประมำณรำยจำ่ ยทไ่ี ด้รบั จัดสรรเปน็ เงินอดุ หนุนค่ำอำหำรกลำงวนั นกั เรยี น

จากการประเมินโครงการอาหารกลางวันโรงเรียนซ่ึงพบปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์กับผลการดาเนิน
โครงการและบริหารงบประมาณรายจ่ายที่โรงเรียนได้รับจัดสรรเป็นเงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวัน อย่างมี
นัยสาคญั ไดแ้ ก่ ขนาดโรงเรียน ระดับการศึกษาของผู้บริหาร ประสบการณ์ในตาแหน่งของผบู้ รหิ ารโรงเรยี น
(นิรมล ละโรงสูงเนินและจักรกฤษณ์ โพดาพล, 2548) ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพของการดาเนิน
โครงการและบริหารงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับจัดสรรเป็นเงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวันนักเรียน ซึ่งจากัด
ให้เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่า และประสิทธิผล ควรมีการพัฒนาผู้บริหารและเจ้าหน้าที่อยู่รับผิดชอบดาเนิน
โครงการอาหารกลางวันนักเรียนอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้เกิดการจัดการความรู้ ( Knowledge
management - KM) โดยมีการรวบรวม จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ระหว่างโรงเรียน
เก่ียวกับการบริหารจัดการ พัฒนา และแก้ไขปัญหาของการดาเนินโครงการและการบริหารงบประมาณใน
การจัดการอาหารกลางวันโรงเรียน เพื่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายความรู้ การพัฒนายกระดับ ข้อมูลไปสู่
สารสนเทศในระดับโรงเรียน ไปสู่กลุ่มโรงเรยี นในพื้นท่ีเดียวกัน และระหว่างกลมุ่ โรงเรียน เพื่อให้เกิดความรู้
และปัญญาในการเพ่ิมประสิทธิภาพของการดาเนินโครงการและบริหารงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับจัดสรร
เป็นเงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวันนักเรียน นอกจากน้ี การศึกษาแนวทางเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหาร
โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนท่ีเป็นกรณีศึกษา (จินดาหรา พวงมาลา และ สุรศักด์ิ เก้าเอี้ยน,2560)
พบว่าในการดาเนินโครงการอาหารกลางวันมีปริมาณเศษอาหารเหลอื ทิ้งโดยเปลา่ ประโยชน์ซึ่งเปน็ ต้นทุนท่ี
โรงเรียนจ่ายไปเฉล่ียร้อยละ 20 ของทั้งหมด ดังน้ัน จึงควรเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเพื่อลด
ปริมาณอาหารกลางวันเหลือทิ้ง เช่น การจัดสรรอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนตามปริมาณการบริโภคของ
นกั เรียนท่ีแตกต่างกันอย่างจริงจัง (ตักอาหารให้พอดีกับการบริโภค) การควบคุมต้นทุนการประกอบอาหาร
กลางวนั ให้มีประสิทธิภาพและความโปร่งใสโดยให้ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น ตัวแทนนักเรียนและผู้ปกครอง
นักเรยี น เป็นตน้ เข้ามามีสว่ นรว่ มในการบรหิ ารโครงการอาหารกลางวนั เป็นต้น

4.2.4 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกำรพัฒนำโครงกำรอำหำรกลำงวันนักเรียนเพ่ือส่งเสริมและ
สนบั สนุนให้เด็กนกั เรยี นไดร้ บั พลงั งำนและสำรอำหำรทีม่ ีปริมำณและคณุ คำ่ ทำงโภชนำกำรท่ีเพยี งพอ

เนอื่ งจากโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนมีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ แก้ไขปัญหาการขาดสารอาหารและ
ภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2563) ดังนั้น เพื่อให้นักเรียนซึ่งเป็น
กลุ่มเป้าหมายของโครงการได้รับการพ้นจากสภาพปัญหาดังกล่าว และได้รับพลังงานและสารอาหารท่ีมี
ปริมาณและคุณค่าทางโภชนาการที่เพียงพอตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนด จึงมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร 62 สานกั งบประมาณของรฐั สภา

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่อื การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายเปน็ เงนิ อุดหนนุ ค่าอาหารกลางวนั นักเรียน

(องค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย, 2563 : บารุง เจริญพจน์, 9 พฤศจิกายน 2563 : พรชัย เทพปัญญา,
24 มกราคม 2564) ดงั น้ี

(1) กำรจัดทำโครงกำรอำหำรเช้ำและหรืออำหำรเสริมนักเรียนเพื่อขยำยผลกำรแก้ไขปัญหำ
จำกโครงกำรอำหำรกลำงวัน เนื่องจากการวิถีการดาเนินชีวิตของผู้คน โดยเฉพาะในพ้ืนที่สังคมเมือง มี
ความเร่งรีบสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงเวลาเช้าที่เด็กนักเรียนและผู้ปกครองต้องเร่งรีบออกเดินทางเพ่ือไป
โรงเรียนและทางานต้ังแต่เช้าตรู่ ดังนั้น ผู้ปกครองของเด็กนักเรียนส่วนหน่ึงจึงไม่สามารถประกอบอาหาร
เช้าให้นักเรียนซึ่งเป็นบุตรหลานในปกครองได้บริโภคอาหารเช้าได้ ทาให้เด็กนักเรียนจานวนหนึ่งไม่ได้
บริโภคอาหารเช้าหรือบริโภคอาหารเช้าที่ไม่มีปริมาณและคุณภาพ ท้ังน้ี จากการสารวจสุขภาพประชาชน
ไทยโดยการตรวจร่างกายคร้ังที่ 5 พ.ศ.2557 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พบว่า เด็กไทยในช่วงอายุ 6 -
10 ปี และ 10 - 15 ปี ไม่ได้บริโภคอาหารเช้าในอัตราสูง คิดเปน็ ร้อยละ 52.4 และร้อยละ 52.8 ตามลาดับ
(วิชัย เอกพลากร และคณะ, 2557) นอกจากนี้ ผลการศึกษายังพบว่าเด็กวัยเรียนมีความต้องการพลังงาน
และสารอาหารจากการรับประทานอาหาร แค่มื้อหลัก 3 ม้ือ ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย จึง
ควรมีอาหารว่างเป็นตัวเสริมพลังงานและสารอาหาร (จินดาหรา พวงมาลา และสุรศักดิ์ เก้าเอี้ยน, 2560)
โดยข้อมูลดังกล่าวมีความสอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่
ตระหนักในปัญหาท่ีเด็กนักเรียนไม่ได้รับประทานอาหารเช้า และสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จัดสรรงบประมาณจากเงินรายได้ของ อปท. เพ่ือจัดทาโครงการอาหารเช้านักเรียน และอาหารเสริมหรือ
อาหารว่าง ควบคู่กับอาหารเสริมนม23 ซึ่งเด็กนักเรียนได้รับอยู่แล้วด้วย เพื่อขยายผลการแก้ไขปัญหา
ทุพโภชนาการของนักเรียนจากโครงการอาหารกลางวนั

ท้ังน้ี การได้บริโภคอาหารเช้าท่ีมีคุณภาพของเด็กนักเรียนมีความสาคัญ และมีส่วนส่งเสริม
สนับสนุนพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของเด็กวัยเรียนอย่างมีนัยสาคัญ ตลอดจนมีส่วนในการทาให้ร่างกายมี
ความแข็งแรงและสร้างภูมิคุ้มกันโรค รวมท้ังยังมีส่วนช่วยลดความเส่ียงในการเกิดโรคอ้วนในเด็กจากการ
บริโภคอาหารเช้าด้อยคุณภาพซ่ึงเป็นปัญหาท่ีพบมากในประเทศไทย ดังนั้น การท่ีเด็กนักเรียนของไทยมี
การบรโิ ภคอาหารท่ีมีคุณภาพผ่านโครงการดังกล่าวย่อมทาให้สามารถเติบโต แข็งแรง มีสุขภาพดี และเป็น
การสรา้ งประชากรไทยทมี่ ีสุขภาพดีในอนาคตได้อีกด้วย

(2) กำรสนับสนุนให้ทุกภำคส่วนท่ีเก่ียวข้องมีควำมรู้ทำงโภชนำกำรและให้มีกำรสร้ำงนัก
โภชนำกำรเพื่อสนับสนุนโครงกำรอำหำรกลำงวันนักเรียน เน่ืองจากความรู้ทางโภชนาการมีความสาคัญ
และจาเป็นต่อการวางแผน กาหนดรายการอาหาร ตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ และประกอบอาหาร รวมท้ัง

23 โครงการอาหารเสรมิ (นม) โรงเรียนเริม่ ดาเนินการต้ังแต่ปี พ.ศ. 2535 และปจั จุบันเดก็ นักเรียน
กลุ่มเป้าหมายไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเปน็ เงนิ อุดหนนุ สาหรับค่าอาหารเสริม (นม) อัตราคนละ
7.73 บาทต่อวนั จานวน 200 วนั ตอ่ ปีการศกึ ษา

สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร 63 สานกั งบประมาณของรัฐสภา

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการจดั สรรงบประมาณรายจ่ายเปน็ เงนิ อดุ หนนุ ค่าอาหารกลางวันนกั เรยี น

ควบคุมคุณภาพของอาหารกลางวันให้มีปริมาณและคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อให้นักเรียนได้รับ
พลังงานและสารอาหารท่ีเพียงพอต่อสุขภาวะการเจริญเติบโตในแต่ละช่วงวัย ดังน้ัน ควรให้การสนับสนุน
อย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้ทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง เช่น ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหาร
ท้องถิ่น ผู้ปกครองและนักเรียน ผู้ประกอบอาหารกลางวัน เป็นต้น มีความรู้ความเข้าใจทางโภชนาการด้วย
กิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การเสริมความรู้ทางโภชนาการให้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการศึกษาของนักเรียน
กิจกรรมการเผยแพร่องค์ความรู้ผ่านส่ือต่าง ๆ ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อนาไปใช้ในการดาเนินโครงการ
อาหารกลางวันนักเรียน ขณะเดียวกันควรสนับสนุนการสร้างนักโภชนาการเพ่ือสนับสนุนโครงการอาหาร
กลางวันนักเรียน โดยในประเด็นดังกล่าวหน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้อง เช่น สานักโภชนาการ กรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นและกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย สถาบันโภชนาการของ
สถาบันการศึกษาต่าง ๆ รวมทั้งสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ได้ร่วมกันผลักดันจนมี
ตาแหน่ง “นักโภชนาการ” เพื่อแกไ้ ขปัญหาภาวะโภชนาการของเด็ก เยาวชน และประชาชนในท้องถ่ิน โดย
ทาหน้าท่ีดูแลคุณค่าด้านโภชนาการของเด็ก เยาวชน และประชาชน ตลอดจนบุคคลที่ต้องได้รับการดูแล
ด้านโภชนาการเป็นพิเศษ เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน รวมทั้งทาหน้าที่เผยแพร่ความรู้ทางโภชนาการให้แก่
ชุมชนในท้องถิ่น (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น,2561) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
แห่งชาติได้พัฒนาระบบแนะนาสารับอาหารกลางวันสาหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ (Thai School Lunch)
เพื่อสนับสนุนการจัดเตรียมอาหารกลางวันของโรงเรียนให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ และสนับสนุนการ
ทางานของนักโภชนาการ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ได้ร่วมกัน
ดาเนินโครงการเด็กไทยแก้มใส (Healthy Kids, Healthy Food) เพ่ือน้อมนาแนวพระราชดาริมาพัฒนา
ดา้ นอาหารโภชนาการ และสร้างกระบวนการมสี ว่ นร่วมเพือ่ พัฒนาสขุ ภาพในเดก็ และเยาวชน ซง่ึ ดาเนินการ
มาแล้วต้ังแต่ปี 2557 มีโรงเรียนนาร่องในทุกสังกัดท่ัวประเทศกว่า 544 แห่ง กระจายอยู่ใน 5 ภูมิภาค 4
สังกดั (สานกั งานกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2559)

ท้งั นี้ การสร้างนักโภชนาการเพอ่ื สนับสนนุ โครงการอาหารกลางวนั นักเรียน และการสร้างสขุ ภาวะ
ในท้องถ่ิน โดยเฉพาะการมี “นักโภชนาการ” ในท้องถ่ิน ยังมีจานวนน้อย เนื่องจากบทบัญญัติมาตรา 35
แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ควบคุมเพดานงบบุคลากรไว้
กล่าวคือ การจ่ายเงินเดือน ประโยชน์ตอบแทนอื่น และเงินค่าจา้ งของข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถ่ิน
และลูกจ้าง ที่นามาจากเงินรายได้ที่ไม่รวมเงินอุดหนุนและเงนิ กู้หรือเงนิ อื่นใด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แต่ละแหง่ จะกาหนดสงู กว่ารอ้ ยละ 40 ของเงินงบประมาณรายจ่ายประจาปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
นั้นไม่ได้ ประกอบกับจานวนบัณฑิตมีคุณวุฒิและความรู้ด้านโภชนาการและการกาหนดอาหาร (Nutrition
and Dietetics) มีไม่เพียงพอกับความต้องการแรงงานในตลาดและส่วนใหญ่นิยมเลือกท่ีทางานทางด้าน

สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร 64 สานักงบประมาณของรฐั สภา

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพือ่ การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยเปน็ เงนิ อุดหนนุ คา่ อาหารกลางวนั นักเรียน

อาหารหรือโภชนาการในโรงพยาบาลหรือสายงานด้านสุขภาพทั้งในภาครัฐและเอกชน ดังน้ัน เพ่ือให้เกิด
การสรา้ งนักโภชนาการ รัฐบาลและหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องต้องให้การสนับสนุนอย่างครบวงจน ตั้งแต่
ระดับต้นน้าด้วยการจูงใจและสร้างความร่วมมือกับสถานศึกษาในการเร่งผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้และความ
เชี่ยวชาญในด้านโภชนาการและการกาหนดอาหาร การให้ทุนการศึกษาและผกู พันให้ผู้รบั ทนุ กลับมาทางาน
เป็นนักโภชนาการในระดับท้องถิ่น การพัฒนาบุคลากรของ อปท. ในพื้นที่ให้ยกระดับความรู้เพ่ือเป็นนัก
โภชนาการหรืออาสาสมคั รดา้ นโภชนาการ เพอื่ ดูแลภาวะโภชนาการของเดก็ เยาวชน และประชาชนทั่วไป

4.2.5 ขอ้ เสนอแนะสำหรับกำรศกึ ษำครง้ั ตอ่ ไป
เพื่อให้การศึกษาวิจัยเก่ียวกับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวัน
นักเรียนมีความเหมาะสมและเกิดประโยชน์เพิ่มข้ึน ควรศึกษาต้นทุนอาหารกลางวันตามสารับ (menu)
อาหารไทยท่ีหลากหลายตามภูมิสังคม มีความสอดคล้องตามดัชนีราคาผู้บริโภคท่ีแตกต่างกันในแต่ละพื้นท่ี
ของจังหวัดและภาคต่างๆ และเป็นสารับที่มีคุณค่าทางโภชนาการท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพที่เหมาะสมต่อ
การสร้างเสริมสุขภาพและตรงกับความต้องการของนักเรียนในช่วงวัยต่าง ๆ เพ่ือให้ได้ค่าต้นทุนมีความ
ถูกต้องตามข้อเท็จจริงสาหรับนาไปใช้พิจารณากาหนดเป็นเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงิน
อุดหนุนค่าอาหารกลางวันนกั เรียนในข้นั การจัดทางบประมาณและสาหรับใช้ควบคุมต้นทนุ ในการจัดประกอบ
อาหารกลางวันนักเรียนในขั้นการบริหารโครงการอาหารกลางวัน สาหรับการนาผลการศึกษาดังกล่าวมาใช้
ประโยชน์ในการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวันนักเรียน ให้มีประสิทธิภาพ
คุม้ คา่ และเกดิ ประสทิ ธผิ ลสูงสดุ ต่อไป

สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร 65 สานกั งบประมาณของรัฐสภา

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่อื การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงนิ อดุ หนนุ ค่าอาหารกลางวันนักเรยี น

บรรณำนกุ รม

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน. (2564). ประวัติความเป็นมา (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://www.dla.go.th/
servlet/DLAServlet?visit=history. [14 กมุ ภาพนั ธ์ 2564].

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน. (2561). ที่ มท. 0816.2/ว 2747. หนังสือราชการ เรื่อง แนวทางการ
กาหนดให้มีตาแหน่ง “นักโภชนาการ” เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของเด็ก เยาวชน และ
ประชาชนในทอ้ งถิ่น. 4 กันยายน 2561.

กระทรวงมหาดไทย. (2563). หนังสือ ด่วนท่ีสุด ท่ี มท 0816.2/ว 4110 เร่ือง ซักซ้อมแนวทางการจัดทา
งบประมาณ รายจ่ายรองรับเงินอุดหนุนทั่วไปด้านการศึกษาขององค์กรปกครองส่ว นท้องถ่ิน
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (เฉพาะเทศบาลตาบลและองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล). ลงวันท่ี 14
กรกฎาคม 2563.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). หนังสือ ด่วนท่ีสุด ที่ ศธ 04188/4016 เร่ือง ขอปรับค่าอาหารกลางวันของ
นักเรยี น. ลงวนั ท่ี 15 ธนั วาคม 2563.

คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ. (2562). ความมุ่งหมายและคาอธิบายประกอบรายมาตราของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (ปรับปรุงข้อมูล ณ วันที่ 17 ตุลาคม 2562). กรุงเทพฯ :
สานักการพมิ พ์ สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

จินดาหรา พวงมาลาและสุรศักดิ์ เก้าเอี้ยน. (2560). “แนวทางเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารโครงการอาหาร
กลางวันของโรงเรียนบ้านบางแก้ว,” วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(OJED). 12 : 4. น. 824 – 837.

เฉลิม บญุ ธรรมเจรญิ . (2527). “บรรยายพเิ ศษเก่ยี วกบั โครงการอาหารกลางวนั ,” วารสารประชากรศึกษา. 34 : 23.

ชาย โพธิสิตา. (2554). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พร้ินติ้ง
แอนด์พบั ลชิ ชงิ่ จากดั .

นธิ ยิ า รตั นาปนนท์. ความต้องการสารอาหารของเด็กก่อนวัยเรียน (ออนไลน)์ . เข้าถึงไดจ้ าก :
https://bit.ly/3nWHr0p. [17 เมษายน 2564].

นิรมล ละโรงสูงเนิน และจกั รกฤษณ์ โพดาพล. (2548). “การประเมนิ โครงการอาหารกลางวนั โรงเรยี นกุล่มพฒั นา
คุภาพการศึกษาโคกขม้นิ สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย 2 จังหวัดเลย.” บทคัดยอ่ .
เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www3.ru.ac.th/mpa-abstract/files/2562_1582279417
_6114830029.pdf. [20 กมุ ภาพนั ธ์ 2564].

ประกายมาศ บรรจงรักษา และคณะ. (2561). “กรณีศึกษา: การดาเนินงานด้านโภชนาการของโรงเรียน
ประถมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม” วารสารสภาการพยาบาล (Thai Journal of Nursing
Council). 33 : 3.

สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 66 สานักงบประมาณของรัฐสภา

ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพอื่ การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายเปน็ เงนิ อุดหนนุ ค่าอาหารกลางวันนกั เรยี น

ประทีป เมืองงาม, ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหุบกระพง อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี. (2550). เอกสาร
ประกอบการสอนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง การวิเคราะห์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กับชวี ติ ประจาวนั ของนักเรยี น. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.

พระราชบัญญัติกองทุนเพ่ือโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา พ.ศ. 2535. (8 เมษายน
2535). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ที่ 109, ตอนที่ 42 ก : น. 50 - 58.

รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยพทุ ธศักราช 2540. (11 ตุลาคม 2540). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่มที่ 114, ตอนท่ี 55
ก : น. 1 – 99.

รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560. (6 เมษายน 2560). ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ท่ี 134, ตอนท่ี 40
ก : น. 1 – 90.

วิชัย เอกพลากร และคณะ. (2557). การสารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายคร้ังที่ 5 พ.ศ.
2557. กรงุ เทพฯ : สถาบนั วจิ ัยระบบสาธารณสขุ .

วิลาวัณย์ เพ็งพานิช. (2539). สภาพและปัญหาการจัดดาเนินงานโครงการอาหารกลางวัน ในโรงเรียน
ประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต) . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั .

ศตรัฐ พลมณี. (2541). การประยุกต์ทฤษฎีอรรถประโยชน์พหุลักษณ์ในการจัดลาดับความสาคัญของรูปแบบ
โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต) . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.

ศิลักษณ์ ป้ันน่วม. (2561). การศึกษาเร่ืองการเตรียมความพร้อมของการดาเนินงานในกระบวนการงบประมาณ
รายจ่ายประจาปีเพ่ือรองรับตามร่างพระราชบัญญตั ิวิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. เอกสารผลการทางวิชาการ
เพื่อประเมินผลบุคคล เล่มที่ 1 เพื่อเสนอประกอบการพิจารณาประเมินบุคคลเพ่ือแต่งต้ังให้ดารง
ตาแหนง่ ทป่ี รกึ ษาสานกั งบประมาณ(นกั วิเคราะหง์ บประมาณทรงคณุ วุฒิ). สานกั งบประมาณ.

สานักงบประมาณ. (2564). หลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ แก้ไขปรับปรุงตามหนังสือสานัก
งบประมาณ ท่ี นร 0704/ว 33 และหนังสือสานักงบประมาณ ด่วนท่ีสุด ท่ี นร 0704/ว 68 (ออนไลน์).
เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://www.bb.go.th/topic-detail.php?id=1251&mid=268&catID=0
. (2563). เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 3 ฉบับปรับปรุงตามพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ย ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 เล่มที่ 10 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
. (2562). เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 ฉบับปรบั ปรุงตามพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจา่ ย ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มที่ 10 (1) กระทรวงศึกษาธิการ. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
. (2561). งบประมาณโดยสังเขป ฉบับปรับปรุงตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.
2562. กรุงเทพฯ: หจก.อรุณการพิมพ์.

สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร 67 สานักงบประมาณของรัฐสภา

ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพอ่ื การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายเปน็ เงินอดุ หนนุ ค่าอาหารกลางวนั นักเรียน

สานักงบประมาณ. (2561). เอกสารงบประมาณ ฉบบั ท่ี 3 ฉบบั ปรบั ปรุงตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เล่มท่ี 10 กระทรวงศึกษาธกิ าร. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
. (2553). หนังสือสานักงบประมาณ ท่ี นร 0704/ว 33. ลงวันที่ 18 มกราคม 2553, เรื่อง การปรับปรุง
หลกั การจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ.
. (2562ก). เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 งบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มที่ 11
กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั ราไทยเพรส จากดั .
. (2562ข). เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มท่ี 8.
กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ราไทยเพรส จากดั .
. (2562ค). เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มท่ี
16. กรุงเทพฯ: บริษัท ราไทยเพรส จากัด.
. (ธันวาคม 2562). คู่มือปฏิบัติการจัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2564. กรงุ เทพฯ: สานักงบประมาณ.

สานักงานกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวัน. (2564). ความเป็นมาของกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวัน
(ออนไลน์). เข้าถึงไดจ้ าก: http://www.obecschoollunch.com/history/. [6 กุมภาพนั ธ์ 2564].
. (2564). รายงานสถานะเงินกองทุนเพ่ือโครงการอาหารกลางวัน (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
http://www.obecschoollunch.com/history/. [6 กุมภาพันธ์ 2564].

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. (2558). ท่ี ศธ. 04188/ว 742. หนังสือราชการ เรื่อง โครงการพัฒนา
ระบบสุขาภบิ าลอาหารที่ดแี ละน้าดืม่ สะอาดในโรงเรียน ปี 2559. 9 ธนั วาคม 2558.

สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2563).รายงานการพิจารณาศึกษาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาร่างพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 วุฒิสภา. กรุงเทพฯ : สานักการพิมพ์, สานักงาน
เลขาธกิ ารวุฒสิ ภา.

สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2563).รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เล่มที่ 1 . กรุงเทพฯ : สานักการ
พิมพ,์ สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2562). ด่วนท่ีสุด ท่ี นร. 0505/ว 439. หนังสือราชการ เรื่อง แนวทางการจัดทา
งบประมาณและปฏิทนิ งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. 25 ตุลาคม 2562.
. (2563). ด่วนท่ีสุด ท่ี นร. 0505/ว 487. หนังสือราชการ เร่ือง แนวทางการจัดทางบประมาณและปฏิทิน
งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565. 13 ตุลาคม 2563.

สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร 68 สานักงบประมาณของรัฐสภา

ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพ่อื การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงนิ อดุ หนนุ ค่าอาหารกลางวนั นกั เรยี น

สานกั โภชนาการ กรมอนามยั , กระทรวงสาธารณสุข.(2558).แนวทางการจัดอาหารกลางวนั เดก็ วัยเรยี น.
เข้าถึงได้จาก : http://nutrition.anamai.moph.go.th/

สานักโภชนาการ กรมอนามัย, กองทนุ เพอ่ื โครงการอาหารกลางวนั ในโรงเรียนประถมศกึ ษา, และสานกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). คู่มือการจัดการอาหารกลางวันนักเรียนตาม
มาตรฐานโภชนาการ สุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัยสาหรับโรงเรียนประถมศึกษา .
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค.

สานกั เลขาธกิ ารนายกรัฐมนตร.ี (2564). เอกสารสรุปข่าวการประชุมคณะรัฐมนตรี วันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2564.
(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/38991

สานกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี. (2564). สรุปข่าวการประชมุ ครม. 9 กุมภาพันธ์ 2564 เร่อื ง ขอปรบั
ค่าอาหารกลางวันของนกั เรียน (ออนไลน)์ . เขา้ ถึงได้จาก : https://www.thaigov.go.th/
news/contents/details/38991. [16 กุมภาพันธ์ 2564].

สานักงานกองทุนสนบั สนนุ การเสริมสร้างสขุ ภาพ. (2562). เรื่องเลา่ ภาคี “อาหารกลางวนั 20 บาท กับ
Thai School Lunch” (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จาก : https://shorturl.asia/kqunD. [15
กมุ ภาพนั ธ์ 2564].

สานักงานกองทุนเพ่ือโครงการอาหารกลางวัน. (2561). รายงานผลการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ
กองทุนเพ่ืออาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพเพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของ
นักเรียน. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
(เอกสารอัดสาเนา)

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน, กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2563). รายงานการขอปรับค่าอาหาร
กลางวันของนักเรียน. เอกสารประกอบการเสนอ เรื่อง การขอปรับค่าอาหารกลางวนั ของนักเรียน
ตอ่ สานักงานเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตร,ี วนั ท่ี 30 มถิ ุนายน 2563.

สานกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ. (2559). "เดก็ ไทยแกม้ ใส" ตามรอยพระบาทเจา้ ฟ้านกั
โภชนาการ. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://www.thaihealth.or.th/Content/33149.html. [24
กมุ ภาพนั ธ์ 2564].

องค์การยูนิเซฟประจาประเทศไทย. (2563). รายงานฉบับสมบูรณ์งบประมาณโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน.
(รองศาสตราจารย์ ดร.ศาสตรา สุดสวาท และคณะ คณะพฒั นาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร
ศาสตร์ ผ้รู บั ทุนวจิ ยั ). ม.ป.ท. : ม.ป.พ.

อนุชา บูรพชยั ศรี, โฆษกประจาสานักนายกรฐั มนตรี. (2564). “เพ่ิม 1 บาท! ค่าอาหารกลางวันนักเรยี นจาก 20
เป็น 21 บาท” ประชาชาติธกุ ิจ (ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ ได้จาก: https://www.prachachat.net/politics/news-
610830. [10 กุมภาพันธ์ 2564].

สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร 69 สานกั งบประมาณของรัฐสภา

ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่อื การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายเปน็ เงินอดุ หนนุ คา่ อาหารกลางวนั นักเรยี น

กำรสัมภำษณ์
เกรียงไกร จงเจริญ, ผอู้ านวยการสานักการศกึ ษา, กรุงเทพมหานคร. (24 มกราคม 2564). สัมภาษณ.์
จุรีรัตน์ หวังนิรัติศัย, รองผู้อานวยการโรงเรียนสวัสดีวิทยา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร. (12 ตุลาคม 2563).

สัมภาษณ์.
นฤมล พลดงนอก, ครูพี่เล้ียงเด็กช้ันเด็กเล็ก 3 ขวบ ห้อง 2 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเคหะประชาสามัคคี, สานักการศึกษา

เทศบาลนครนครราชสมี า. (9 พฤศจกิ ายน 2563). สัมภาษณ์.
บารุง เจริญพจน์, รองนายกเทศมนตรีเทศบาลนครนครราชสีมา (ฝ่ายการศึกษา). (9 พฤศจิกายน 2563).

สัมภาษณ์.
พรชยั เทพปัญญา, สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร และประธานคณะอนุกรรมการศึกษาและวัฒนธรรม คณะ

ท่ี 4 ในคณะกรรมการศึกษาและวัฒนธรรม สภากรงุ เทพมหานคร. (24 มกราคม 2564).สัมภาษณ์.
ภรณ์พศิกา เจริญกิตติพันธ์, หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเคหะประชาสามัคคี, สานักการศึกษา เทศบาลนคร

นครราชสมี า. (9 พฤศจกิ ายน 2563). สัมภาษณ์.
สวรรคส์ วาท แนน่ หนา, ศึกษานิเทศกเ์ ขตวฒั นา สานกั การศึกษา กรุงเทพมหานคร. (12 ตุลาคม 2563). สมั ภาษณ์.

กำรสงั เกตกำรณ์
การจัดอาหารกลางวันนกั เรียน. ณ โรงเรียนสวัสดวี ิทยา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร. (12 ตุลาคม 2563) .

สังเกตการณ์.
การจัดอาหารกลางวันนักเรียน. ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเคหะประชาสามัคคี เทศบาลนครนครราชสีมา

อาเภอเมือง จงั หวดั นครราชสมี า. (9 พฤศจกิ ายน 2563). สงั เกตการณ์.
การประชุมคณะอนุกรรมการศึกษาและวัฒนธรรม ชุดท่ี 4 ในคณะกรรมการศึกษาและวัฒนธรรม ประจา

สภากรงุ เทพมหานคร ในวาระเพ่ือพิจารณารายงานการศกึ ษาและขอ้ เสนอโครงการอาหารกลางวัน
นกั เรียนของโรงเรียนในสังกดั กรุงเทพมหานคร. ณ ห้องประชุม 2 สภากรุงเทพมหานคร เสาชิงช้า.
(24 มกราคม 2564). สงั เกตการณ์.

สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร 70 สานักงบประมาณของรัฐสภา

ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพอ่ื การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงนิ อดุ หนนุ คา่ อาหารกลางวนั นกั เรยี น

ภำคผนวก

ภำคผนวก 1 : หนังสือองคก์ ำรทุนเพื่อเดก็ แหง่ สหประชำชำติ (UNICEF)
ภำคผนวก 2 : คำส่งั คณะกรรมกำรศกึ ษำและวัฒนธรรม สภำกรงุ เทพมหำนคร
ภำคผนวก 3 : ภำพกำรสมั ภำษณผ์ ู้ใหข้ ้อมูลและกำรสงั เกตกำรณ์กำรจัดอำหำรกลำงวันโรงเรียน

สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร 71 สานกั งบประมาณของรฐั สภา

ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่ือการจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยเป็นเงนิ อุดหนนุ ค่าอาหารกลางวันนกั เรียน
ภำคผนวก 1 : หนังสอื องค์กำรทนุ เพ่ือเดก็ แห่งสหประชำชำติ (UNICEF)

สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร 72 สานกั งบประมาณของรฐั สภา

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพื่อการจดั สรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงนิ อุดหนุนคา่ อาหารกลางวนั นกั เรียน

สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร 73 สานกั งบประมาณของรฐั สภา

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่อื การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยเป็นเงินอุดหนนุ ค่าอาหารกลางวนั นักเรยี น
ภำคผนวก 2 : คำส่งั คณะกรรมกำรศกึ ษำและวัฒนธรรม สภำกรุงเทพมหำนคร

สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร 74 สานักงบประมาณของรัฐสภา

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพือ่ การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยเปน็ เงินอดุ หนุนคา่ อาหารกลางวนั นกั เรียน
ภำคผนวก 3 : ภำพกำรสมั ภำษณผ์ ู้ใหข้ อ้ มูลและกำรสงั เกตกำรณก์ ำรประชมุ

ภาพการลงพ้ืนท่ศี ึกษาดูงานและสมั ภาษณ์ ภาพการประชุมคณะอนกุ รรมการศึกษาและ

อาจารย์ สวรรคส์ วาท แน่นหนา ศึกษานเิ ทศก์ วัฒนธรรมชุดที่ 4 ในคณะกรรมการศึกษาและ

สานกั การศึกษา และ อาจารย์จรุ รี ัตน์ หวังนริ ตั ศิ ยั วฒั นธรรม ประจาสภากรุงเทพมหานคร

รองผอู้ านวยการโรงเรยี นสวัสดวี ิทยา (รองศาสตราจารย์ พรชัย เทพปัญญา เป็นประธาน)

กรุงเทพมหานคร เมื่อวนั ที่ 12 ตุลาคม 2563 เพือ่ พิจารณารายงานการศึกษาและข้อเสนอ

ณ โรงเรยี นสวัสดวี ิทยา เขตวฒั นา กรุงเทพมหานคร โครงการอาหารกลางวนั นกั เรียนของโรงเรียนใน

สังกัดกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2564

ณ หอ้ งประชุม 2 สภากรงุ เทพมหานคร เสาชิงช้า

สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร 75 สานักงบประมาณของรัฐสภา

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพื่อการจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยเปน็ เงินอุดหนนุ คา่ อาหารกลางวันนกั เรยี น
ภำคผนวก 3 : ภำพกำรสัมภำษณผ์ ูใ้ ห้ข้อมูลและกำรสงั เกตกำรณ์กำรจัดอำหำรกลำงวันของโรงเรียน

สัมภาษณ์ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สมั ภาษณ์ นางภรณ์พศกิ า เจริญกิตตพิ ันธ์,
(นายบารุง เจริญพจน์ รองนายกเทศมนตรี นฤมล พลดงนอก, หัวหน้าศนู ยแ์ ละครูพีเ่ ลย้ี งประจา
เทศบาลนครนครราชสมี า ฝา่ ยการศกึ ษา) ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ เคหะประชาสามคั คี เทศบาลนคร
เกยี่ วกับนโยบายของท้องถิ่นในการสนบั สนุน นครราชสมี า เกยี่ วกับการดาเนินโครงการอาหาร
กลางวนั นักเรยี น เมื่อวนั ท่ี 9 พฤศจิกายน 2563
ด้านงบประมาณให้แก่โครงการอาหารกลางวัน
เมือ่ วันท่ี 9 พฤศจิกายน 2563 ณ ศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ เคหะประชาสามคั คี
อาเภอเมือง จงั หวัดนครราชสีมา
ณ ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กเคหะประชาสามคั คี
อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร 76 สานกั งบประมาณของรฐั สภา

ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพอื่ การจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยเป็นเงนิ อุดหนนุ ค่าอาหารกลางวนั นกั เรยี น
ภำคผนวก 3 : ภำพกำรสมั ภำษณ์ผใู้ ห้ขอ้ มูลและกำรสังเกตกำรณ์กำรจดั อำหำรกลำงวันโรงเรยี น

ภาพสังเกตการณ์ในการศึกษาดูงานกิจกรรมการพฒั นาเดก็ เล็ก การให้ความรู้ทางโภชนาการ และ
กิจกรรมการจดั อาหารกลางวันนักเรียน เม่อื วนั ท่ี 9 พฤศจิกายน 2563

ณ ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กเคหะประชาสามคั คี อาเภอเมือง จงั หวัดนครราชสมี า

สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร 77 สานกั งบประมาณของรฐั สภา

ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการจดั สรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงนิ อุดหนุนค่าอาหารกลางวันนกั เรยี น

ประวตั ผิ ู้วจิ ยั

ดร.เจรญิ พงษ์ ศุภธีระธาดา ประวตั ิกำรศกึ ษำ
-รัฐศาสตรบณั ฑติ เกียรตนิ ยิ มอันดบั สอง (บริหารรัฐกจิ )
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
-นติ ิศาสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
-รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
-ประกาศนยี บัตรการสาเรจ็ การศึกษาหลักสูตรการจัดการ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐ
โอกลาโฮมา สหรฐั อเมรกิ า
-ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต (การจัดการ) มหาวิทยาลยั ศิลปากร (ทนุ สานกั งบประมาณ)
-ประกาศนียบตั รการสาเร็จการฝึกอบรม Green Growth Policy Tools for
Low Carbon (ทนุ ESCAP)
-ประกาศนยี บัตรการสาเรจ็ การฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหลักสูตรเทคนคิ
การนาเสนอแผนงานอย่างมปี ระสทิ ธิผล (ทนุ WHO)
ประวตั ิกำรทำงำน
- นักวิชาการโครงการพฒั นาสอ่ื สรา้ งสรรค์ มลู นธิ สิ อื่ สรา้ งสรรค์
- เจ้าหนา้ ทบ่ี ุคคล บริษทั ในเครือซเิ มนตไ์ ทย
- นกั วจิ ัย ฝ่ายการวิจัยทรพั ยากรมนษุ ยแ์ ละพฒั นาสงั คม สถาบนั วจิ ัยเพอ่ื
การพฒั นาประเทศไทย (TDRI)
- ข้าราชการพลเรือนสามัญ สานักงบประมาณ สานกั นายกรฐั มนตรี
กำรทำงำนในปจั จบุ นั
- ข้าราชการรฐั สภาสามญั สานกั งบประมาณของรฐั สภา
สานกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร
- กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผูท้ รงคณุ วุฒิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล
รัตนโกสนิ ทร์
- ท่ีปรกึ ษาวิจัย องคก์ ารทนุ เพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF)
- อนกุ รรมการการศกึ ษาและวฒั นธรรม สภากรงุ เทพมหานคร
สถำนทตี่ ิดต่อ
สานักงบประมาณของรัฐสภา สานกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร
1111 ถ.สามเสน แขวงถนนนครไชยศรเี ขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
มอื ถือ 08 1566 3625 e-Mail :[email protected]

สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร 78 สานกั งบประมาณของรัฐสภา


Click to View FlipBook Version