กองอำนกวรยะกทารรวรงกั ..ษ...า..ค..ว..า..ม...ม..ั่น..ค...ง..ภ..า..ย..ใ..น..ร..า..ช. อาณาจกั ร
ศูนยอ์ ำนวยการรักษาผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล
แบบสำรวจความพงึ พอใจ
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565: สำนักนายกรฐั มนตรี (กอรมน. และ ศรชล)
ภาพรวมขอ้ สังเกต และความเหน็ ที่มีต่อ กอรมน. และ ศรชล
1. งบประมาณสว่ นใหญ่ของทงั้ กอรมน. และ ศรชล ไดร้ บั จัดสรรในหมวดรายจา่ ยอ่นื เปน็ สัดส่วน
ที่สูงเม่ือเทียบกบั หมวดอื่นๆ ได้แก่ กอรมน.รายจา่ ยอ่ืนเท่ากับร้อยละ 93 และ ศรชล ร้อยละ 28 ซึ่งหาก
สามารถระบุรายการได้ชัดเจน ควรจัดสรรให้รายการถูกต้องตามจำแนกประเภท เพื่อสะดวกต่อการ
ติดตาม และประเมินผล
2. ตัวชี้วัดของทั้งสองหน่วยไม่ชัดเจน การติดตาม และประเมินผลจำดำเนินการผิดพลาด หาก
กำหนดตัวชว้ี ดั ในข้อคำถามไม่ครอบคลมุ
3. การที่จะให้งานตามภารกิจของทั้งสองหน่วยบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ จำเป็นจะต้องมี
การวางแผน การประสานงานกบั หน่วยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งอนื่ ดงั นั้น หากมีการดำเนินการในลกั ษณะใกล้เคียง
กัน หรอื พ้นื ที่เดยี วกนั ควรดำเนนิ การพรอ้ มกันเพอ่ื ลดความซ้ำซ้อน และจะชว่ ยประหยัดงบประมาณลงได้
สำนักงบประมาณของรัฐสภา
หน้า 1
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565: สำนกั นายกรัฐมนตรี (กอรมน. และ ศรชล)
1. กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง
ฉบับที่ 3 เล่มท่ี 1 หนา้ 357-404)
1. สรุปภาพรวมงบประมาณ
1.1 งบประมาณตามแผนงาน
งบประมาณปี 2565 กองอำนวยการรักษาความม่ันคงภายในราชอาณาจักร ได้รบั จดั สรรทงั้ ส้ิน
จำนวน 7881.6520 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 30.52 ของวงเงินสว่ นราชการสำนกั นายกรฐั มนตรี ลดลงจาก
ปงี บประมาณ 2564 จำนวน 973.0559 ล้านบาท เทา่ กับร้อยละ 10.99 โดยงบประมาณจำแนกตาม
แผนงานตา่ งๆ ดงั น้ี
หน่วย : ล้านบาท
แผนงานบรู ณาการ งบประมาณรายจา่ ยบุคคลากร,
ขับเคล่อื นการแก้ไข 790.5731, 10%
ปัญหาจงั หวดั
ชายแดนภาคใต้, แผนงานบูรณาการปอ้ งกัน แผนงานยทุ ธศาสตร์
1,424.04, 18% รักษาความสงบ
ปราบปราม และ ภายในประเทศ,
แผนงานยทุ ธศาสตร์ บาบดั รักษาผ้ตู ิดยาเสพติด, 47.5896, 1%
พฒั นากลไกการ
บริหารจัดการความ 136.27, 2% แผนงานพืน้ ฐานด้าน
มน่ั คงแบบองค์รวม , ความมั่นคง,
260.4161, 3% 267.2567, 3%
แผนงานยทุ ธศาสตรป์ ้องกันและ
แกไ้ ขปัญหาท่มี ีผลกระทบต่อ
ความมน่ั คง, 4,955.50, 63%
สำนักงบประมาณของรฐั สภา
หนา้ 2
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565: สำนกั นายกรัฐมนตรี (กอรมน. และ ศรชล)
1.2 งบประมาณตามเป้าหมายการใหบ้ ริการ หน่วย : ล้านบาท
6000 5,512.84
5000 4,955.50
4000
3000813.8371 285.2087 90.3062 กลไกการบริหาร ัจดการความ 261.7107 1,709.11 181.6988
2000790.5731 267.2567 47.5896 ม่ันคง ีมประสิท ิธภาพสูงข้ึน 260.4161 1,424.04 136.2741
1000
0
่คาใช้ ่จายในการดาเ ินนการ การขับเค ืลอนการป้องกันและ ประชาชน ีม ่สวนร่วมและใ ้ห ปัญหาความ ัม่นคง ่ีท ีมอ ู่ยใน เหตุรุนแรงลดลง เด็กและเยาวชน ูผ้ใช้แรงงาน
ภาครัฐ แก้ไขปัญหาความ ่ัมนคงอ ่ยาง การสนับส ุนนในการแก้ไข ปัจ ุจบันได้รับการแก้ไข ประชาชนได้รับการสร้าง
ต่อเนื่องและมีประ ิสท ิธภาพ ูภ ิม ุ้คมกันด้านยาเสพติด
ปัญหาของรัฐ
2564 2565
เด็กและเยาวชน ผู้ใชแ้ รงงาน ประชาชนได้รับการ ค่าใชจ้ ่ายในการดาเนนิ การ ประชาชนมสี ว่ นรว่ ม
สร้างภูมิคุ้มกนั ด้านยาเสพติด, 136.2741, 2% ภาครฐั , 790.5731, 10% และใหก้ ารสนบั สนุนใน
การแก้ไข ปญั หาของ
เหตรุ ุนแรงลดลง, รฐั , 47.5896, 1%
1,424.04, 18%
การขบั เคลือนการ
กลไกการบริหารจดั การ ปอ้ งกนั และแก้ไข
ความมนั่ คงมี ปัญหาความมน่ั คงอย่าง
ประสิทธิภาพสูงข้ึน , ตอ่ เน่อื งและมี
260.4161, 3% ประสิทธิภาพ,
267.2567, 3%
ปญั หาความม่นั คงที่มี
อยใู่ นปจั จบุ ันไดร้ ับการ
แก้ไข, 4,955.50, 63%
สำนกั งบประมาณของรัฐสภา
หน้า 3
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565: สำนกั นายกรัฐมนตรี (กอรมน. และ ศรชล)
1.3 งบประมาณตามงบรายจา่ ย
หนว่ ย : ลา้ นบาท
งบบุคลากร, งบเงินอุดหนุน,
76.1819 , 1% 8.6870 , 0%
งบลงทุน,
124.1031 , 1%
งบรายจ่ายอื่น,ล้านบาท
7,390.4255 ,
94%
ทม่ี า : ขอ้ 1.1-1.3 จากเอกสารคาดแดง หนา้ 356-358
2. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปีงบประมาณ 5 ปียอ้ นหลงั (พ.ศ. 2559 - 2563)
หนว่ ย : ลา้ นบาท
กองอานวยการรกั ษาความมั่นคงภายในราชอาณาจกั ร
12,000
10,000
8,000
6,000
4,000
2,000
0
2560 2561 2562 2563 2564
งบประมาณ 10,407.75 10,049.51 10,234.67 9,465.94 8,854.71
เบกิ จ่าย 9,184.56 8,771.72 8,953.30 8,147.81 4,964.90
ปงี บประมาณ พ.ศ.
หมายเหตุ : งบประมาณหลังโอนเปลีย่ นแปลง และผลการเบกิ จา่ ยปี 2564 ถงึ วนั ที่ 30 เมษายน 2564
ที่มา : กรมบัญชกี ลาง
สำนกั งบประมาณของรฐั สภา
หนา้ 4
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565: สำนกั นายกรัฐมนตรี (กอรมน. และ ศรชล)
4. รายการน่าสนใจ
4.1 งบประมาณส่วนใหญไ่ ด้รบั จัดสรรในหมวดรายจ่ายอ่ืน ดังน้นั หากสามารถระบุการเบกิ จ่าย
ตามจำแนกประเภทรายจ่ายทีก่ ำหนดควรขอรับการจัดสรรให้ตรงกบั ความเปน็ จริง
4.2 การจัดหายุทโธปกรณพ์ เิ ศษในการรกั ษาความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ย์สนิ หนา้ 383 เป็น
รายการใหม่ วงเงิน 339 ลา้ นบาท
4.3 การสร้างเขอ่ื นป้องกนั ตล่งิ ริมแมน่ ำ้ โก-ลก และร้ัวตาข่ายเหลกชายแดนไทย-มาเลเซีย อ.
ตากใบ จ.นราธวิ าส วงเงินท้งั โครงการ 640 ล้านบาท ปี 2565 เท่ากับ 128 ลา้ นบาท
4.3 หมวดรายจ่ายอ่ืน หนา้ 373 การกำลังพลและการดำเนนิ งาน 3,763 ล้านบาท
5. ข้อสงั เกต/ความเหน็ ของ PBO
5.1 งบประมาณสว่ นใหญ่ของ กอ.รมน. ได้รบั จดั สรรอย่ใู นงบรายจ่ายอนื่ (ร้อยละ 95) โดย
ประกอบด้วยรายการย่อยภายใต้งบรายจ่ายอื่นเป็นจำนวนมาก ซึ่งยังไม่ระบุกิจกรรมที่ชัดเจน ซึ่งหาก
เปน็ งบประมาณท่เี ป็นรายการพ้ืนฐานทใี่ ชจ้ ่ายภายในหนว่ ยงาน ควรกำหนดตามจำแนกประเภทรายจ่าย
ใหถ้ กู ต้อง เช่น งบดำเนนิ งาน หรืองบลงทุน นอกจากนี้ รายการในงบรายจ่ายอ่ืนหลายโครงการมีความ
ตอ่ เน่อื งและวงเงนิ สงู ควรกำหนดขึน้ มาเปน็ ระดับโครงการ เช่น โครงการกำกับตดิ ตาม และประเมินผล
ต่างๆ เพื่อให้สามารถกำหนดวตั ถปุ ระสงค์และกิจกรรมได้อยา่ งชดั เจนมากข้ึน อย่างไรกต็ าม รายการท่ี
ปรากฏในงบรายจ่ายอื่น แม้ว่าจะสามารถถัวจ่ายได้ภายใต้รายการเดียวกัน แต่หน่วยงานควรมีการ
ตดิ ตามหรอื ควบคุมให้เป็นไปตามวัตถปุ ระสงคข์ องรายการ/งาน/โครงการทขี่ อรบั จัดสรรงบประมาณ
5.2 ผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ กำหนดไว้ค่อนข้างกว้าง ซึ่งผลประโยชน์ที่
เกิดขึ้นอาจเกิดจากการดำเนินงาน/โครงการของส่วนราชการอื่น และตัวชี้วัดวัดผลได้ยาก ดังนั้น ควร
กำหนดแผนหรือแนวทางการดำเนินงานให้ชัดเจน หรือหากงาน/โครงการใช้ระยะเวลาดำเนินการ
มากกว่า 1 ปีงบประมาณควรกำหนดแผนการดำเนินการระยะต่างๆไว้ใหช้ ัดเจน เพ่ือให้สะดวกต่อการ
ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และปรับปรงุ ใหส้ อดคลอ้ งกับสถานการณ์
5.3 กอรมน. ควรมกี ารศกึ ษา วิเคราะห์ ปัญหาทเี่ ป็นภัยคกุ คามภายในราชอาณาจักร สำหรับ
การจัดทำแผนการปอ้ งกนั หรือดำเนนิ การระดับนโยบาย ระยะส้ัน กลาง ยาว ซง่ึ จะเป็นแนวทางการ
สำนกั งบประมาณของรฐั สภา
หน้า 5
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565: สำนักนายกรฐั มนตรี (กอรมน. และ ศรชล)
ดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่อาจต้องบูรณาการร่วมกับหน่วยงานด้านความมั่นคง หรือหน่วยงานอื่นท่ี
เกี่ยวข้องให้แก้ไขปัญหาได้ตรงกับสาเหตุ ทันเวลา และตรงตามพื้นที่ที่เกิดความไม่สงบ ทั้งนี้ ควร
วางแผนใหม้ ีการตดิ ตามประเมนิ ผล และปรบั แผนงานให้ทันต่อสถานการณท์ เ่ี ปลีย่ นแปลงด้วย
5.4 งบประมาณท่ไี ด้รับจดั สรรในปี 2565 หากรายการใดท่ียังไมม่ ีความเรง่ ดว่ น ควรชะลอดและ
ปรับแผนการใชจ้ ่ายมาเพ่ือแก้ไขปัญหาและผลกระทบจากโรคโคโรน่าไวรัส เนื่องจาก โรคระบาดถือเป็น
ภัยต่อความมน่ั คงภายในเชน่ กัน
5.5 การกำหนดตัวชี้วัดของเป้าหมายการให้บริการปัจจุบันส่วนใหญ่กำหนด “ร้อยละ” ของ
ความสำเร็จในการดำเนนิ แผนงานซึ่งยังไม่ชดั เจนในเร่ืองของกิจกรรมที่ดำเนนิ การ (กำหนดมาต้ังแต่
ปี 2563 ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง) การกำหนดตัวชี้วัดในโอกาสต่อไปควรกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติมให้
สามารถวัดผลท่ีเกิดข้นึ จากการกิจกรรมทีใ่ ช้จ่ายงบประมาณ หรือผลลพั ธ์ที่สามารถวัดความสำเร็จ หรือ
ความคมุ้ ค่าในเชงิ คุณภาพด้วย
5.6 กอรมน. ในฐานะเปน็ หนว่ ยงานสำคัญในการแกป้ ัญหาชายแดนภาคใต้ ควรมกี ารข้อมูลและ
แนวทางการดำเนินงานจากส่วนราชการอืน่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง งานข่าวกรองและบรู ณาการฐานขอ้ มูล
5.7 ควรมีการติดตามประเมินผลโครงการต่างๆที่ผ่านมา เพื่อปรับแผนให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์ปจั จบุ ัน
สำนกั งบประมาณของรัฐสภา
หนา้ 6
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565: สำนกั นายกรัฐมนตรี (กอรมน. และ ศรชล)
2. ศูนยอ์ ำนวยการรกั ษาผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล (ศร.ชล)
(เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 1 หน้า 405-419)
1. สรปุ ภาพรวมงบประมาณ
1.1 งบประมาณตามแผนงาน
งบประมาณปี 2565 ศนู ย์อำนวยการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ได้รบั จัดสรรทัง้ ส้ิน
จำนวน 1,384.4831 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 5.36 ของวงเงนิ สว่ นราชการสงั กัดสำนกั นายกรัฐมนตรี
เพม่ิ ขึน้ จากปีงบประมาณ 2564 จำนวน 203.4060 ลา้ นบาท เท่ากับร้อยละ 17.22 โดยงบประมาณ
จำแนกตามแผนงานตา่ งๆ ดงั นี้
หน่วย : ล้านบาท
งบประมาณรายจา่ ยบุคลากร, แผนงานพน้ื ฐานดา้ น
34.7817, 2%
ความม่นั คง, 81.3086,
6%
แผนงานยทุ ธศาสตร์
ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาที่
กระทบตอ่ ความมัน่ คง,
1,268.39, 92%
สำนักงบประมาณของรัฐสภา
หนา้ 7
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565: สำนกั นายกรัฐมนตรี (กอรมน. และ ศรชล)
1.2 งบประมาณตามเปา้ หมายการใหบ้ รกิ าร หน่วย : ลา้ นบาท
1,400 1,084.84
1,200 1,268.39
1,000
ล้านบาท งบประมาณราย ่จาย 9.7012 34.7817 แผนงานพ้ืนฐาน ้ดาน 86.5356 81.3086
800
600
400
200
0
ุบคลากร ความ ั่มนคง แผนงาน ุยทธศาสต ์ร
ป้อง ักนและแ ้กไข
ปัญหาที่กระทบ ่ตอ
ความ ่ัมนคง
2563 2564 การบรหิ ารจดั การ
และสนบั สนุนการ
ค่าใช้จา่ ยในการดาเนินการภาครฐั ปฏิบัตงิ านของ ศร
34.7817 ชล.เป็นไปอย่างมี
2% ประสทิ ธภิ าพ
81.3086
พืน้ ทใ่ี นความรบั ผดิ ชอบ 6%
ศรชล.มีความมัน่ คง
1,268.39
92%
สำนกั งบประมาณของรัฐสภา
หน้า 8
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565: สำนกั นายกรัฐมนตรี (กอรมน. และ ศรชล)
1.3 งบประมาณตามงบรายจา่ ย
หนว่ ย : ลา้ นบาท
งบบคุ ลากร; งบดาเนนิ งาน;
34.1416 ; 2% 81.9487 ; 6%
งบรายจา่ ยอนื่ ;
394.2535 ;
29%
งบลงทุน;
874.1393 ; 63%
ที่มา : ขอ้ 1.1-1.3 จากเอกสารคาดแดง หนา้ 407-409 หน่วย : ล้านบาท
2. ผลการเบิกจา่ ย
ศนู ยอ์ ำนวยกำรรกั ษำผลประโยชน์ของชำติทำงทะเล
ล้านบาท 1,200
1,000
2563 2564
800 773.53 1,181.08
600 316.72
400 402.66
200 ปีงบประมาณ พ.ศ.
0
งบประมาณ
เบกิ จา่ ย
หมายเหตุ : งบประมาณหลังโอนเปลีย่ นแปลง และผลการเบิกจา่ ยปี 2564 ถึงวนั ท่ี 30 เมษายน 2564
ที่มา : กรมบัญชกี ลาง
สำนกั งบประมาณของรฐั สภา
หน้า 9
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565: สำนกั นายกรัฐมนตรี (กอรมน. และ ศรชล)
3. รายการน่าสนใจ รายการผกู พันใหม่ 2 รายการ ประกอบดว้ ย
3.1 การจัดหาเรอื ปฏิบัติการความเร็วสงู บริเวณชายฝัง่ หน้า 416 เป็นรายการผกู พนั ปี
2565-2567 จำนวน 375 ลา้ นบาท
3.2 ค่ากอ่ สร้างอาคารพกั อาศัย จำนวน 3 อาคาร วงเงินปี 2565 – 2566 เท่ากับ
287 ลา้ นบาท
3.3 หมวดรายจา่ ยอ่ืน ค่าใช้จา่ ยในการปฏิบัตกิ ารรักษาผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล
มีสดั ส่วนร้อยละ 28 ของงบประมาณรวมทง้ั หนว่ ยงาน
4. ขอ้ สังเกต/ความเห็นของ PBO
วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย และตวั ชี้วัดของหนว่ ยงาน
(1) หน่วยงานกำหนดตัวชี้วัดเชิงคุณภาพของทุกเป้าหมาย โดยกำหนด “ร้อยละ... ตามกำลัง
และขีดความสามารถ” อาจทำให้การดำเนนิ การไม่สามารถแก้ไขปัญหาตา่ งๆใหล้ ุล่วงได้ ดังนั้น หากการ
ดำเนินการเกินขีดความสามารถของ “ศรชล.” ควรประสานงานหน่วยงานอน่ื เช่น กองทัพเรอื เพื่อร่วม
ดำเนินการใหส้ ามารถปอ้ งกันหรอื แก้ไขปัญหาซง่ึ เป็นไปตามอำนาจหนา้ ที่ทกี่ ำหนดไว้ นอกจากนี้ ตวั ช้ีวัด
เป้าหมายการให้บริการทั้งหมดตั้งแต่ปี 2563-2565 ของ ศรชล. ส่วนใหญ่กำหนดว่า “ตามขีด
ความสามารถ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ...” ซึ่งค่อนข้างเป็นนามธรรม ทำให้ไม่สามารถวัดผลสำเรจ็ จากการ
ดำเนินการได้อยา่ งชัดเจน ทั้งนี้ หน่วยงานนี้เป็นหนว่ ยงานท่ตี ้องประสานงานกับหน่วยงานอืน่ ที่เกย่ี วข้อง
ทางทะเล จงึ ควรกำหนดเปา้ หมาย ตัวชว้ี ดั และแนวทางการดำเนินการที่ชัดเจน
อยา่ งไรก็ตาม หาก ศรชล. จะกำหนตวั ช้วี ัดตามกำลงั และขีดความสามารถเฉพาะหนว่ ยงานของ
ตนก็ไม่ควรต่ำกว่า รอ้ ยละ 100 เพื่อแสดงการดำเนินการตามศักยภาพทีม่ ี
(2) ศรชล.ควรจัดทำแผนงานระยะต่างๆ เพื่อบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่
เกีย่ วขอ้ งใหช้ ดั เจน เชน่ กองทัพเรือ กรมเจา้ ทา่ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่ ตำรวจนำ้ เพ่ือให้แต่
ละหน่วยงานสามารถกำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด และแนวทางการดำเนินงานในการรักษาทรัพยากรทาง
ทะเลและชายฝงั่ ใหเ้ ปน็ เกดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ
สำนักงบประมาณของรฐั สภา
หนา้ 10
PBO วเิ คราะหง์ บประมาณอยา่ งมอื อาชพี เป็นกลาง และสรา้ งสรรค์