The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tippaluk.ss, 2024-05-13 05:16:01

คู่มือนักเรียนนักศึกษาประจำปีการศึกษา 2567

เล่มคู่มือนักเรียน 2567

1


2 คำ�นำ� วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก ได้จัดทำ หนังสือคู่มือการเรียนของนักเรียน นักศึกษาฉบับนี้ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียน นักศึกษาใหม่จำ ปีการศึกษา 2567 ได้ทำความรู้จักวิทยาลัย เข้าใจถึงการดำ เนิน งานของวิทยาลัยในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน นักศึกษาเพื่อให้นักเรียน นักศึกษาได้ทราบรายละเอียดต่างๆ เกี่ยว กับหลักสูตรการเรียนการสอน และแผนการเรียนประเภทบริหารธุรกิจ คหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ และการ สื่อสาร อุตสาหกรรมท่องเที่ยว และศิลป กรรม ในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ และประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้น สูงตลอดจนระเบียบการจัดการศึกษา และระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน นักศึกษา ดังนั้น นักเรียนนักศึกษา ควรทำความเข้าใจศึกษาคู่มือฉบับนี้ให้ละเอียดถี่ถ้วน เพื่ออำ นวยประโยชน์แก่นักเรียน นักศึกษาในระหว่างที่ศึกษา อยู่ในวิทยาลัย ตลอดจนตั้งใจเล่าเรียนให้สำ เร็จการศึกษาตามที่มุ่งหมายไว้ นักเรียน นักศึกษาควรเก็บรักษาหนังสือ ฉบับนี้ไว้ให้ดี และยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองต่อไป อนึ่งระเบียบการปฏิบัติบาง ประการที่เป็นข้อปลีกย่อย อาจไม่ได้ตีพิมพ์ไว้ในหนังสือคู่มือเล่มนี้ หากมีข้อสงสัยใด ขอให้สอบถามจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องได้ งานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก


3 สารบัญ เรื่อง หน้า ประวัติวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก 1 งานอาคารและสถานที่ 5 ข้อมูลการศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษพิษณุโลก 7 การแบ่งสายงานบริหารสถานศึกษา 10 - แผนภูมิการบริหารสถานศึกษา 10 - คณะผู้บริหารวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก 11 งานครูที่ปรึกษา 17 - คำสั่งวิทยาลัยฯ เรื่อง แต่งตั้งครูที่ปรึกษาและครูปกครองประจำ ปีการศึกษา พ.ศ.2567 17 งานปกครอง 24 - หลักเกณฑ์และวิธีการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน นักศึกษา พ.ศ. 2567 24 - ระเบียบว่าด้วยเครื่องแบบและการแต่งกาย 28 - การแต่งกายนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 32 - การแต่งกายนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 36 - ระเบียบว่าด้วยการจอดรถภายในวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก 38 - ระเบียบว่าด้วยความปลอดภัยนักเรียน นักศึกษา พ.ศ. 2567 39 แนวทางการปฏิบัติตนเมื่ออยู่ในวิทยาลัย 41 งานการเงิน 49 - ประเภทและอัตราการจัดเก็บเงินบารุงการศึกษา และการระดมทรัพยากร ปี 2567 50 งานทะเบียนและวัดผลประเมินผล - ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียน (ปวช.) 53 - ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียน (ปวส.) 72 งานหลักสูตรการเรียนการสอน 90 เบอร์โทรศัพท์ 91 ภาคผนวก 94


4


1 ประวัติวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2481 ณ บริเวณโรงเรียนจ่าการบุญ เดิมชื่อ “โรงเรียนช่างเย็บเสื้อผ้า” ต่อ มา ย้ายมาตั้ง ณ ที่อยู่ปัจจุบัน เลขที่ 60 ถนนวังจันทร์ ตำ บลในเมือง อำ เภอเมือง จังหวัดพิษณุโลกและเปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนเย็บเสื้อผ้าและการช่างสตรี” จังหวัดพิษณุโลก พ.ศ 2518 ได้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนอาชีวศึกษาพิษณุโลก พ.ศ 2519 กระทรวงศึกษาธิการ มีคำสั่งให้รวม โรงเรียนอาชีวศึกษาพิษณุโลกโรงเรียนการช่างพิษณุโลกและ วิทยาลัยเทคนิคพิษณุโลกให้เข้าด้วยกันและยกฐานะเป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลกมี 3 วิทยาเขตวิทยาลัยเทคนิค พิษณุโลก เป็น วิทยาเขต 1 โรงเรียนการช่างพิษณุโลก เป็น วิทยาเขต 2 โรงเรียนอาชีวศึกษาพิษณุโลก เป็น วิทยาเขต 3 พ.ศ 2520 เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชา พณิชยการ ได้รับงบประมาณ ก่อสร้างอาคารปฏิบัติการวิชาชีพคหกรรมทั่วไปเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น งบประมาณ 1,000,000 บาท พ.ศ 2521 กระทรวงศึกษาธิการ มีคำสั่งให้แยกวิทยาเขต 2 เป็นวิทยาลัยเทคนิคพิษณุโลก พ.ศ 2522 เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) มี 2 แผนกวิชา คือ แผนกวิชาผ้าและ เครื่องแต่งกาย แผนกวิชาอาหารและโภชนาการ


2 พ.ศ 2523 กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศแยก วิทยาเขต ในวิทยาลัยต่างๆ และจัดตั้งวิทยาลัยใหม่และ เปลี่ยนชื่อวิทยาลัยใหม่ คือ วิทยาเขต 1 จัดตั้งเป็นวิทยาลัยพิษณุโลกวิทยาเขต 3 จัดตั้งเป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษา พิษณุโลก พ.ศ 2524 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน เป็นอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก 3 ชั้นกว้าง 10 เมตร ยาว 63 เมตร 1 หลัง งบประมาณ 5,000,000 บาท พ.ศ 2525 เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 2 แผนกวิชาคือ แผนกวิชาบัญชี และ แผนกวิชาการเลขานุการ พ.ศ 2527 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนและปฏิบัติการ 3 ชั้น รูปตัวยูงบประมาณ 4,900,000 บาท พ.ศ 2528 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนและปฏิบัติการ 3 ชั้น กว้าง 9 เมตร ยาว 63 เมตร มีงบ ประมาณ 4,384,000 บาท พ.ศ 2531 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนและปฏิบัติการ 1 หลัง งบประมาณ 4,155,000 บาท พ.ศ 2534 เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แผนกวิชาการตลาด พ.ศ.2537เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ พ.ศ. 2538 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารผลิตผล พื้นที่ใช้สอย 576 ตารางเมตร งบประมาณ 3,456,000 บาท พ.ศ. 2539 ได้รับงบประมาณก่อสร้างโรงอาหาร หอประชุม งบประมาณ 17,080,000 บาท พ.ศ.2540 เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สำ หรับผู้จบการศึกษาชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 6 ( ม.6 ) หรือต่างสาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ พ.ศ 2542 เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาการเงินการธนาคาร พ.ศ. 2562 เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชา โลจิสติกส์ เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการ จัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน พ.ศ 2546 เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ 2549 เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก และ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (เน้นการเขียนโปรแกรม) พ.ศ 2553 เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก พ.ศ 2556 เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) วิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและ การโรงแรม สาขางานบริการอาหารและเครื่องดื่ม พ.ศ 2557 เปิดทำการสอนหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อเนื่อง) พ.ศ 2559 เปิดทำการสอนหลักสูตรทวิศึกษา พ.ศ. 2562 เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชา โลจิสติกส์ เปิดทำการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการ จัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


3 อัตลักษณ์ (Identity) เป็ นนักปฏิบัติมืออาชีพ (Be professional doer) เอกลักษณ์ (Uniqueness) บริการดี ฝี มือเด่น เน้นความประณีต (Good Service Excellent Skills Great Refinement) วัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture) ยิ้ ม Smile ไหว้ Salute ขอบคุณ Gratitude ทำ บุญตักบาตร Making merit


4


5 ปั จจุบันตั้ งอยู่ เลขที่ 60 ถนน วังจันทน์ ตำ บลในเมือง อำ เภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 ทิศเหนือ ติดกับ ศาลจังหวัดพิษณุโลก ทิศใต้ ติดกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ทิศตะวันออก ติดกับ ถนนวังจันทน์ (แม่น้ำ น่าน) ทิศตะวันตก ติดกับ ถนนพระร่วง (คูเมือง) โทรศัพท์ 055 258570 , 055 252343 โทรสาร 055 251346 E-mail : [email protected] Website : www.plvc.ac.th งานอาคารและสถานท ี ่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิ ษณุโลก


6


7 ข้อมูลการศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิ ษณุโลก ปัจจุบันวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก จัดการเรียนการสอนเป็น 3 ระดับ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) - รับผู้จบการศึกษาในระดับชั้ นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่า ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) - รับผู้จบการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ ชั้ นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า ระดับปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต (ป.ตรี ทล.บ.) - รับผู้จบการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้ นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาที่ เปิดสอน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) - พาณิชยกรรม - วิชาศิลปกรรม - คหกรรมศาสตร์ - อุตสาหกรรมท่องเที่ยว - อุตสาหกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศ - อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ - อุตสาหกรรมแฟชั่ นและสิ่ งทอ ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) - ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ - ประเภทวิชาศิลปกรรม - ประเภทวิชาคหกรรม - ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว - ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต (ป.ตรี ทล.บ.) - ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร


8 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก คู่มือนักเรียน นักศึกษา ประจำ ปีการศึกษา 2567 วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาพณิชยกรรม สาขาวิชาบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาการจัดการ สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก ประเภทวิชาศิลปกรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ศิลปะและการออกแบบ สาขาวิชาดิจิทัลกราฟิก ประเภทวิชาคหกรรม การประดิษฐ์ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขาวิชาการโรงแรม ประเภทวิชาอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ สาขาโลจิสติกส์ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมอาหาร การประกอบและบริการอาหาร สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ การจัดการ สาขาวิชาการจัดการสำ นักงานดิจิทัล ประเภทวิชาอุตสาหกรรมแฟชั่นและสิ่ งทอ สาขาวิชา แฟชั่นและสิ่ งทอ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล


9 ระดับปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต (ป.ตรี ทล.บ.) วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก สาขาวิชาการจัดการการสำ นักงานดิจิทัล สาขาวิชาการตลาด ประเภทวิชาศิลปกรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สาขาวิชาดิจิทัลกราฟิก ประเภทวิชาคหกรรม การบริหารงานคหกรรมศาสตร์ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว สาขาวิชาการโรงแรม ประเภทวิชาอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ประเภทวิชาอุตสาหกรรมอาหาร สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ ประเภทอุตสาหกรรมแฟชั่นและสิ่ งทอ สาขาวิชาเทคโนโลยีแฟชั่นและเครื่องแต่งกาย ประเภทวิชาอุตสาหกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขางานซอฟท์แวร์ระบบสมองกลฝังตัวและไอโอที ประเภทวิชาศิลปกรรม สาขาวิชาดิจิทัลกราฟิก


10 แผนภูมิการบริหารสถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิ ษณุโลก


11 คณะผู้บริหาร นายอุเทน ปิ่นม่วง ผู้อำ นวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก นายสุชาญ นาคน้อย รองผู้อำ นวยการฝ่ายวิชาการ นายภูมิศักดิ์ วรไตรจริยา รองผู้อำ นวยการฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา นางธิดารัตน์ ดีชู รองผู้อำ นวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร นางพรวิวาห์ กึกก้อง รองผู้อำ นวยการฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ ทำ เนียบบุคลากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิ ษณุโลก


12 คณะครูประจำ สาขาวิชา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก สาขาวิชาบัญชี สาขาวิชาการตลาด/ธุรกิจค้าปลีก สาขาวิชาการโรงแรม


13 สาขาวิชาคอมพิวเตอรกราฟิ ก/ดิจิทัลกราฟิ ก สาขาวิชาแฟชันและสิ่ ่ งทอ สาขาวิชาการจัดการสำ นักงาน คณะครูประจำ สาขาวิชา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


14 คณะครูประจำ สาขาวิชา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาคหกรรมและสาขาวิชาการจัดการดูแลผู้สูงอายุ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ/เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล


15 สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์


16 บุคลากรทางการศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก


17 งานครูทีปรึกษา ่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิ ษณุโลก


18


19


20


21


22


23


24 งานปกครอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิ ษณุโลก ระเบียบวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการตัดคะแนน ความประพฤตินักเรียน


25


26


27


28 ระเบียบวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก ว่าด้วยเครื่องแบบและการแต่งกาย ของนักเรียน นักศึกษา


29


30


31


32


33


34


35


36


37


38 ข้อบังคับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3 ว่าด้วย เครื่องแบบและเครื่องแต่งกายนักศึกษา ระดับปริญญาตรี


39


40


41


42 ระเบียบวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก ว่าด้วยความปลอดภัยนักเรียนนักศึกษา พ.ศ. 2567


43


44 แนวทางการปฏิบัติตนเมื่ออยู่ในวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก 1. ผู้ปกครองกับวิทยาลัย 1.1 นักเรียน นักศึกษาทุกคนจะต้องมีผู้ปกครองตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ 1.2 ผู้ปกครองต้องมอบตัวนักเรียน นักศึกษาตามวัน เวลาที่วิทยาลัยฯ กำ หนด 1.3 ผู้ปกครองควบคุมนักเรียน นักศึกษา ในเรื่องความประพฤติการศึกษา การแต่งกายและระเบียบวินัย 1.4 ผู้ปกครองควรติดต่อกับวิทยาลัย อย่างสม่ำ เสมอ เพื่อร่วมมือกันแก้ปัญหาเกี่ยวกับนักเรียน นักศึกษาที่ อยู่ในความปกครอง 1.5 ผู้ปกครองต้องแจ้งให้วิทยาลัย รับทราบ ในกรณีที่เปลี่ยนที่อยู่ หรือความเป็นผู้ปกครองสิ้นสุด 1.6 วิทยาลัย จะมีหนังสือแจ้งผู้ปกครองทราบทุกครั้งที่นักเรียน นักศึกษาต้องร่วมกิจกรรมอย่าง ใดอย่าง หนึ่งเป็นกรณีพิเศษ 2. บัตรประจำ ตัวนักเรียน เพื่อให้เป็นหลักฐานที่สำคัญที่เป็นเครื่องหมายแสดงว่าเป็นนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัย จะต้องทำ บัตร ประจำตัวนักเรียน นักศึกษากับวิทยาลัย โดยนักเรียน นักศึกษาไปติดต่อขอทำ บัตรประจำตัวนักเรียน นักศึกษาได้ที่ งานทะเบียนตามที่งานทะเบียนกำ หนดช่วงเวลาการทำ บัตร และใช้บัตรนักเรียนนักศึกษาในการผ่านเข้าออกบริเวณ ประตูวิทยาลัย 3. ระเบียบการแต่งกาย วิทยาลัย ถือว่าระเบียบการแต่งกายเป็นแบบฝึกหัดอย่างหนึ่งที่นักเรียน นักศึกษาต้องปฏิบัติเป็นนิสัยเพื่อ จะได้เป็นผู้แต่งกายเรียบร้อยถูกต้อง เพื่อแสดงออกถึงความเป็นผู้รักษาระเบียบวินัย เป็นการเชิดชูสถาบันโดยทาง อ้อม วิทยาลัย ห้ามใช้รองเท้าแตะทุกชนิดโดยเด็ดขาด และห้ามนักเรียน นักศึกษาปล่อยชายเสื้อออกนอกกางเกง หรือ กระโปรง ฉะนั้น นักเรียน นักศึกษาต้องปฏิบัติตนตามสัญญาที่ปกครอง และตัวนักเรียน นักศึกษาได้ทำสัญญาไว้กับ ทาง วิทยาลัย ด้วยการแต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบว่าด้วยการแต่งกายของวิทยาลัย โดยเคร่งครัด 4. การลงโทษนักเรียน นักศึกษา เพื่อผลิตนักเรียน นักศึกษาให้มีคุณภาพที่ดีในอนาคต จึงต้องมีคุณสมบัติพร้อมทั้งด้านความรู้ และความ ประพฤติดังนั้น เมืิ่อผู้ปกครองและนักเรียน นักศึกษา ได้ทำสัญญาไว้กับวิทยาลัยฯ แล้วย่อมถือวำ เป็นข้อมูลผูกพัน ได้รับทราบกฎ ระเบียบ กฎเกณฑ์ต่างๆ ของวิทยาลัย และต้องยอมรับปฏิบัติตามโดยเคร่งครัด 5. ของหาย เก็บของได้ หากของหายภายในวิทยาลัย ให้แจ้งหัวหน้างานประชาสัมพันธ์เพื่อลงบันทึกไว้ถ้าเก็บของได้ให้นำ ไปมอบ ที่งาน ประชาสัมพันธ์เพื่อประกาศหาเจ้าของ


45 6. การใช้ห้องพยาบาล ระเบียบปฏิบัติการใช้บริการห้องพยาบาล วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลกมีดังนี้ 1. ติดต่ออาจารย์ประจำ ห้องพยาบาล พร้อมแจ้งอาการเจ็บป่วย หรือบาดเจ็บ ก่อนที่จะรับบริการ 2. ห้ามหยิบเวชภัณฑ์ใดๆ มาใช้เอง โดยไม่ได้รับอนุญาต 3. เมื่อรับบริการใดๆ แล้ว ให้ลงชื่อในสมุดผู้รับบริการห้องพยาบาล 4. หากมีความประสงค์จะนอนพักในห้องพยาบาล จะต้องได้รับการพิจารณาอนุญาตจากครูประจำ ห้อง พยาบาล ก่อนทุกครั้ง 7. ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันอุบัติเหตุ วิทยาลัย ได้จัดให้นักเรียน นักศึกษาได้ทำ ประกันอุบัติเหตุ ทั้งนี้เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระคำ ใช้จ่ายในการ รักษาพยาบาลอันเกิดจากอุบัติเหตุโดยมีข้อปฏิบัติดังนี้ 1. นักเรียน นักศึกษาที่ทำ ประกันอุบัติเหตุแล้วให้มารับบัตรประจำตัวผู้เอาประกันอุบัติเหตุสํวนบุคคล ที่ครูหรือ เจ้าหน้าที่งานสวัสดิการฯ 2. เมื่อได้รับอุบัติเหตุวงเงินคำ รักษา 10,000 บาท/ครั้ง ในกรณีเสียชีวิต 100,000 บาทโรงพยาบาลเอกชน ที่เข้า รักษาได้คือ โรงพยาบาลกรุงเทพฯ โรงพยาบาลพิษณุเวช โรงพยาบาลรวมแพทย์โรงพยาบาลพิษณเวช การโดย นักเรียน นักศึกษายื่นบัตรประจำตัวผู้เอาประกันอุบัติเหตุพร้อมบัตรประชาชน และไม่ต้องสำ รองจ่ายเงินก่อน หาก ไม่มีบัตรประกันอุบัติเหตุต้องสำ รองจ่ายก่อน แต่ถ้าหากเป็นหน่วยงานของรัฐต้องสำ รองจ่ายเงินก่อน 3. สำ หรับคลินิกอื่นๆนอกเหนือจากโรงพยาบาลที่กำ หนดดังกล่าวแล้ว นักเรียนนักศึกษาต้องสำ รองจ่ายก่อน 4. กรณีสำ รองจ่ายให้นำ ใบเสร็จรับเงินของโรงพยาบาลหรือคลินิก พร้อมใบรับรองแพทย์มาติดต่อรับเงิน ประกัน อุบัติเหตุได้ที่งานสวัสดิการฯ 8. ขอรับทุนการศึกษาและการขอผู้กู้ยืมเงินจากกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา ในแต่ละปีการศึกษา วิทยาลัย ได้รับทุนการศึกษาจากบุคคลและหน่วยงานต่างๆ มอบให้จำ นวนหลายทุน นักเรียน นักศึกษาที่มีคุณสมบัติของผู้รับทุนแต่ละทุน และการกู้ยืมเงินกองทุนเงินกู้เพื่อการศึกษา ต้องยื่นความจำ นง ขอรับทุนที่งานแนะแนวอาชีพและการจัดหางานตามกำ หนด


46 9. การรับจดหมาย ธนาณัติ โทรเลข และพัสดุไปรษณีย 9.1 จดหมายธรรมดา วิทยาลัย จะจัดไว้ที่บอร์ดรับจดหมายหน้าห้องงานสารบรรณ นักเรียน นักศึกษา สามารถ หยิบได้เอง 9.2 จดหมายลงทะเบียน ธนาณัติโทรเลข และพัสดุไปรษณีย์วิทยาลัย จะประกาศรายชื่อผู้รับ ให้ผู้รับไป ขอรับ ได้ที่งานบริหารทั่วไป 10. การเยี่ยมหรือขอพบนักเรียน นักศึกษา ผู้ที่มาขอพบนักเรียน นักศึกษาต้องยื่นบัตรประจำตัวชาชนหรือแจ้งชื่อที่อยู่ที่สามารถที่ติดต่อได้ให้กับเจ้า หน้าที่ ประชาสัมพันธ์เพื่อเจ้าหน้าที่จะดำ เนินการตามนักเรียน นักศึกษามาพบไป หากผู้มาติดต่อและต้องการที่จะ ให้ประกาศ เสียงตามสาย ให้ผู้มาติดต่อกรอกแบบฟอร์มประกาศเสียงตามสาย เพื่อให้เจ้าหน้าที่ฯประกาศให้ตาม ข้อความที่บันทึกไว้ในแบบฟอร์ม 11. การใช้โทรศัพท์ วิทยาลัยฯ มีหมายเลขโทรศัพท์เมื่อนักเรียน นักศึกษาต้องการติดต่อกับวิทยาลัยในวันและเวลาราชการ โทร. 055-258-570 12. การใช้ห้องนำ ้ห้องสุขา 12.1. ให้ช่วยกันรักษาความสะอาดไม่ขีดเขียนหรือทำ ให้ชำ รุด หากพบว่าไม่สะอาดหรือชำ รุดให้รีบแจ้งงาน อาคาร สถานที่ หรือผู้เกี่ยวข้องดำ เนินการแก้ไข 12.2. ห้ามนักเรียน นักศึกษาใช้ห้องน้ำครูเว้นแต่จะได้รับอนุญาต 13. การลา 13.1.หากมาเรียนไม่ได้ให้เขียนใบลาเรียบร้อยส่งที่ครูที่ปรึกษาครูที่ปรึกษาจะนำ ไปแจ้งให้ครูผู้สอนแต่ละ รายวิชาทราบและเก็บไว้เป็นหลักฐานเมื่อผู้ลามาเรียนได้แล้วควรติดต่อว่าครูผู้สอนได้รับจดหมายการลาเป็นที่ เรียบร้อย แล้ว 13.2.สำ หรับกรณีส่งใบลาภายหลัง จะต้องนำส่งวันแรกที่มาเรียน โดยแจ้งครูที่ปรึกษาและครูผู้สอนทราบ 14. การใช้บริการคำ ปรึกษาและแนะแนวทาง เพื่อให้บริการนักเรียน นักศึกษาที่มีปัญหาต่างๆ เช่น การปรับตัวการคบเพื่อน การดำ เนินชีวิต ปัญหาส่วนตัว ปัญหาการเรียน ที่พักอาศัยการ การหางาน โดยขอรับคำแนะนำ ได้ที่งานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน


Click to View FlipBook Version