The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม 2-0 เนื้อหา+Qr code สื่อ หลักสูตรต้านทุจริต 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Namwan SPM PNB, 2022-11-03 09:51:05

เล่ม 2-0 เนื้อหา+Qr code สื่อ หลักสูตรต้านทุจริต 2565

เล่ม 2-0 เนื้อหา+Qr code สื่อ หลักสูตรต้านทุจริต 2565

พระราชบัญญัติท่ีราชพัสดุ พ.ศ. 2518 มาตรา 4 ได้นิยามความหมายของคาว่าท่ีราชพัสดุไว้ว่า
หมายถึง อสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินทุกชนิด เว้นแต่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ดังต่อไปน้ี
ท่ีดินรกร้างว่างเปล่าและท่ีดินซ่ึงมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้ง หรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดยประการอ่ืนตาม
กฎหมายที่ดนิ สาหรบั ทีร่ าชพสั ดนุ ัน้ ดแู ลรบั ผดิ ชอบโดยกรมธนารักษ์

๕) DSI Map
DSI Map เปน็ ระบบท่อี ยใู่ นความรับผิดชอบของกรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม เป็นระบบที่
สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มีขีดความสามารถในการนาค่าพิกัดตาแหน่งมาตรวจสอบ
แนวเขตทดี่ นิ ของรฐั โดยประมาณ ผูท้ ่สี นใจสามารถเขา้ ใช้งานได้ท่ี http://map.dsi.go.th/
5.1 การใช้เทคโนโลยีป้องกัน และตรวจสอบการบกุ รุกพนื ที่ป่า
การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการตรวจสอบและป้องกันรักษาป่า เป็นการบริหารจัดการทรัพยากร
ป่าไม้ทส่ี าคัญในปจั จบุ ัน ซง่ึ พืน้ ท่ีป่าไม้ของประเทศไทยลดลงเป็นจานวนมาก ทง้ั จากการบุกรกุ ทาลายทรัพยากร
ปา่ ไมแ้ ละจากภัยธรรมชาติ และการลาดตระเวนในปัจจุบันยังใช้วิธีการเดินเท้าหรือการลาดตระเวนด้วยรถยนต์
ทาให้ไม่สามารถตรวจพบพื้นท่ีป่าท่ีถูกบุกรุกซึ่งอยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกลหรือบนภูเขาสูงได้ในเวลาอันรวดเร็ว รวมถึง
ปัจจัยในด้านอัตรากาลังและงบประมาณมีอยู่อย่างจากัด หรือเมื่อตรวจพบจุดบุกรุกขึ้นระยะเวลาได้ผ่านไปทา
ให้เกิดความเสียหายกับพื้นที่ป่าไม้เป็นจานวนมาก ในการป้องกันรักษาพื้นท่ีป่าท่ียังมีสภาพสมบูรณ์อยู่มิให้มี
การบุกรุกใหม่หรือเพ่ิมเติมนั้น สิ่งหนึ่งที่จะต้องดาเนินการตรวจสอบให้พบพื้นที่ที่มีการบุกรุกให้เร็วที่สุด
เพื่อปอ้ งกนั การบุกรุกพื้นทม่ี ขี นาดใหญ่หรือวงกวา้ ง คือการนาเอาเทคโนโลยีเพือ่ ใชใ้ นการตรวจสอบและป้องกัน
รกั ษาป่ามาประยุกต์ใชเ้ พือ่ ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพและประสิทธิผลในการปฏบิ ตั งิ านของเจ้าหนา้ ท่ี
กรมปา่ ไม้
1. ระบบพิทักษ์ไพร กรมป่าไม้ (2560) มีการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้โดยการใช้ภาพถ่าย
ดาวเทยี มที่ ผ่านมากบั ปัจจุบันมาเปรียบเทยี บการเปล่ียนแปลงพ้นื ที่ท่ีถูกบุกรุกมาใช้ในการตรวจสอบพื้นที่ที่ถูก
บุกรุก กรมป่าไม้จึงได้ร่วมมือกับสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การ มหาชน) :
สทอภ. ได้นาเอาระบบปฏิบัติการค้นหาพ้ืนที่บุกรุกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (พิทักษ์ไพร) มาใช้ในการ
ปฏบิ ัติงานเพอ่ื ใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพมากขึน้

ภาพที่ 3.4 ระบบพทิ กั ษ์ไพร
ทีม่ า : ดัดแปลงจาก สานักงานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู ิสารสนเทศ (2560)

การพทิ ักษท์ รัพยากรปา่ ไม้

95

การรายงานตามระบบพิทักษ์ไพร มีดังนี้ ๑) สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
(องค์การมหาชน) : สทอภ. ตรวจสอบภาพถ่ายดาวเทียมเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงพื้นท่ีที่ถูกบุกรุก เมื่อพบ
จุดบุกรุกแล้วจะส่งข้อมูลไปยังเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีและผู้บริหารกรมป่าไม้ เจ้าหน้าท่ีในระดับพ้ืนท่ีจะ
ได้ทาการตรวจสอบยังพื้นที่จริง และ ๒) เมื่อเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ตรวจพบ ก็จะเร่ิมดาเนินคดีตาม
กฎหมาย หรือหากตรวจพบพ้ืนที่ที่มีการบุกรุกเก่า หรือหากการตรวจสอบของระบบเกิดการผิดพลาดก็จะ
รายงานกลับมายังสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) : สทอภ.
และผบู้ รหิ ารกรมปา่ ไม้ ซง่ึ มีรายละเอียด ข้นั ตอน ระยะเวลา (ภาพที่ 3.5)

ภาพที่ 3.5 ขน้ั ตอนการทางานระบบพทิ กั ษ์ไพร
ท่มี า : กรมปา่ ไม้ (2560)

ระบบพิทักษ์ไพรเกิดจากความร่วมมือของกรมป่าไม้และสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ
ภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (GISTDA) ในการปรับปรุงพัฒนาในการติดตามเฝ้าระวังแจ้งเตือนการ
เปล่ียนแปลงพื้นที่ป่า ท้ังรูปแบบของ Mobile Application และ Web Application โดยการใช้ข้อมูล
ภาพถ่ายดาวเทียมเป็นข้อมูลจาก Thaichote, Landsat ๘, Planet และ Sentinel - ๒AB ภาพถ่ายจาก
ดาวเทียมและภาพถ่ายทางอากาศ ได้แก่ ๑) ดาวเทยี ม Planet พ.ศ.๒๕๖๑ (เม.ย.–มิ.ย.) ๒) ดาวเทยี ม Planet
พ.ศ.๒๕๖๑ (ม.ค. – มี.ค.) ๓) ดาวเทยี มไทยโชต พ.ศ. ๒๕๕๗– ๒๕๖๐ ๔) LANDSAT – ๘ พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๕๙
๕) LANDSAT–๘ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖) WWS พ.ศ. ๒๔๙๕– ๒๔๙๙ ๗) VAP–๖๑ พ.ศ. ๒๕๐๙–๒๕๑๓ ๘) นส.๓
พ.ศ. ๒๕๑๕–๒๕๒๒ ๙) DOL พ.ศ. ๒๕๒๙–๒๕๔๔ ๑๐) NIMA พ.ศ. ๒๕๓๙–๒๕๔๓ ๑๑) MOAC พ.ศ.
๒๕๔๔–๒๕๕๖ ๑๒) DMC พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๖ และ๑๓) A๓ พ.ศ. ๒๕๕๗ นามาวิเคราะห์โดยชั้นข้อมูลภูมิ
สารสนเทศ

การพทิ ักษ์ทรพั ยากรปา่ ไม้

96

ข้ันตอนการปฏิบัติงานของผู้ดูแลระบบ GISTDA จะดาเนินการนาเข้าข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมล่าสุดที่
ปรับปรุงค่าแล้ว (Enchanced Image) นามาวิเคราะห์ค้นหาพ้ืนที่ป่าเปลี่ยนแปลง โดยโปรแกรมคานวณค่า
ตรวจหาพื้นท่ีที่มีการเปล่ียนแปลงและนาส่งเข้าระบบพิทักษ์ไพร ให้ระบบแจ้งเตือนให้กรมป่าไม้พิจารณาคัด
กรองจุดท่ีพบพื้นที่ป่าเปลี่ยนแปลง และเจ้าหน้าท่ีควบคุมคุณภาพ (QC) ดาเนินการตรวจสอบจุดท่ีส่งมาจาก
ระบบพิทักษ์ไพรโดย GISTDA และจุดที่แจ้ง/รายงานโดยประชาชน โดยพิจารณาคัดกรองจากขอบเขต
หน่วยงานชั้นข้อมูลต่างๆ สภาพแวดล้อมและเปรยี บเทียบข้อมูลชน้ั ปีอื่นๆ เม่ือแน่ใจว่าเป็นจุดบุกรุก เจ้าหน้าท่ี
ควบคุมคุณภาพหรือเจ้าหนา้ ท่ี QC ก็จะส่งขอ้ มลู ขึน้ ระบบ จากนนั้ ระบบจะแจ้งเตือนจุดเขา้ ใหม่และส่งข้อความ
(SMS) เข้าไปยังโทรศัพท์เคลื่อนท่ีของอธบิ ดีกรมป่าไม้ รองอธิบดีกรมป่าไม้ (ที่กากับดูแลสานกั ป้องกันรักษาป่า
และควบคุมไฟป่า) ผอู้ านวยการสานกั ป้องกนั รักษาป่าและควบคุมไฟปา่ ผอู้ านวยการสานักจดั การทรพั ยากรป่า
ไม้ในพื้นท่ีรับผิดชอบ ผู้อานวยการส่วนปอ้ งกันรักษาป่าและควบคุมไฟป่าในพ้ืนท่ีรับผดิ ชอบ และหัวหน้าหน่วย
ป้องกนั รกั ษาในพน้ื ท่ีรับผดิ ชอบ เพ่ือดาเนินการวางแผนเขา้ ตรวจสอบพ้นื ท่ีอยา่ งรวดเร็วภายใน ๑ วนั

ขั้นตอนการปฏิบัติงานของผู้ใชร้ ะบบ (เจ้าหน้าท่ีภาคสนาม) ผู้อานวยการสานกั จัดการทรัพยากรป่าไม้
ในพ้ืนที่รับผิดชอบ ผู้อานวยการส่วนป้องกันรักษาป่าและควบคุมไฟป่าในพื้นที่รับผิดชอบ และหัวหน้าหน่วย
ปอ้ งกนั รักษาในพ้นื ท่รี บั ผดิ ชอบ ได้รบั การแจง้ เตอื นจดุ ท่ีตรวจพบการเปล่ียนแปลงพน้ื ทปี่ า่ จะต้องรบี ดาเนินการ
วางแผนเข้าตรวจสอบพ้ืนท่ีอย่างรวดเร็วภายใน ๑ วัน หากเป็นพ้ืนที่บุกรุกและต้องประสานหน่วยงานอ่ืนเร่ง
ดาเนินการประสานตารวจ ทหาร ฝ่ายปกครอง เพื่อเข้าสนธิกาลังอย่างเร่งด่วนและรายงานผลการตรวจสอบ
พื้นที่ในระบบภายใน ๓ – ๕ วัน นับจากตรวจสอบพื้นที่แล้วเสร็จ ศูนย์ปฏิบัติการพิทักษ์ป่าตรวจสอบการการ
รายงานผลการดาเนนิ งานและสรปุ ให้ผู้บรหิ ารทราบ หากไมด่ าเนนิ การตามระยะเวลาระบบจะแจ้งเตือนไปยังผู้
ท่ีเก่ียวข้องทุก ๓ วัน สาหรับประชาชนท่ัวไปสามารถใชใ้ นการตรวจสอบแนวเขตท่ีดินได้เองในเบื้องต้นจากช้นั
ข้อมูลพ้ืนฐานและสามารถเห็นจุดที่กรมปา่ ไม้ดาเนินคดีไปแล้วได้อีกด้วย และยังสามารถแจ้งเบาะแสการบุกรุก
ทาลายปา่ ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีเข้าไปดาเนินการตรวจสอบพื้นท่ีได้อีกดว้ ย

ระบบพิทักษ์ไพรเป็นระบบปฏิบัติการที่สนับสนุนประสิทธิภาพการบริหารจัดการ วางแผน ตัดสินใจ
ดาเนินการพ้นื ทีป่ า่ ท่ถี ูกบกุ รุกไดท้ ันทว่ งที เปน็ ระบบปฏบิ ัติการในการคน้ หาพน้ื ทีบ่ ุกรุกใหม่

การพิทักษ์ทรัพยากรปา่ ไม้

97

ภาพที่ 3.6 ภาพแสดงข้ันตอนการปฏิบัติงานของระบบปฏิบัตกิ ารค้นหาพ้ืนที่บุกรุกด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
(ระบบพทิ กั ษไ์ พร)

ทมี่ า : กรมป่าไม้ (2560)

1.1 ขั้นตอนการปฏิบัติงานในการใช้ระบบปฏิบัติการค้นหาพื้นท่ีบุกรุกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
(พิทักษ์ไพร) มี ๒ ลักษณะ ไดแ้ ก่ สาหรบั ผู้ใชง้ านท่วั ไปและสาหรับเจ้าหนา้ ที่

การใชง้ านแอพพลเิ คช่ันผ่านเว็บไซต์ สาหรบั ผใู้ ช้งานท่ัวไป
หน้าจอหลักสาหรับผู้ใช้งานท่ัวไป แบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ประกอบด้วย ๑) ส่วนเข้าสู่ ระบบ ๒) เมนู
หลกั ประกอบด้วย “หนา้ หลัก” สาหรับดขู ้อมูลแผนท่ี ค้นหาจดุ บกุ รุก/สถานที่ และดูช้ันขอ้ มูล “คู่มือ” สาหรับ
ดวู ิธกี ารใช้ หรอื วิดโี อสาธิตต่างๆ ๓) สว่ นสาหรบั การค้นหาจดุ บกุ รุก (ดรู ายละเอียดท่ีหัวข้อ การค้นหาจดุ บุกรุก)
๔) สว่ นแสดงขอ้ มลู รายการจดุ บุกรกุ ทัง้ หมดในตอนเร่มิ ต้น ผูใ้ ช้สามารถเลือกใหร้ ะบบแสดงโชว์จดุ ท้งั หมด หรือ
แสดงแค่ผลลัพธ์ท่ีค้นหาหลังจากที่กรอกข้อมูลใน ส่วนท่ี ๓ เพื่อค้นหาจุดบุกรุกน้ันๆ (ดูรายละเอียดที่หัวข้อ ดู

การพทิ กั ษท์ รัพยากรปา่ ไม้

98

รายละเอียดจุดบุกรุก) และ๕) แผนที่ สาหรับแสดงตาแหน่งจุดบุกรุก โดยผู้ใช้สามารถลากเล่ือนแผนท่ีไปยัง
ตาแหน่งที่ต้องการ และมีปุ่มเคร่ืองมือต่างๆ ให้ใช้งาน เช่น แถบ zoom in/out แผนที่ปุ่มค้นหาตาแหน่ง
ปัจจุบัน แถบเครื่องมือวัดระยะพ้ืนท่ี ปุ่มเปลี่ยนพ้ืนหลังแผนท่ี เคร่ืองมือที่ใช้ลากไปยังจุดต้องการเพ่ือค้นหาจุด
ต่างๆ (ดูรายละเอยี ดทีห่ ัวขอ้ การใช้แถบเครอื่ งมือ) (ภาพท่ี 3.7)

ภาพท่ี 3.7 หนา้ จอหลักสาหรับผใู้ ช้งานทว่ั ไป
ท่ีมา : ดดั แปลงจาก สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (2560)

สาหรับเจ้าหนา้ ที่

หนา้ จอหลักสาหรบั เจ้าหนา้ ทแ่ี บ่งออกเป็นสว่ นตา่ งๆ ประกอบด้วย ๑) ส่วนแสดงชือ่ ผูใ้ ช้ และ

หน่วยงาน ๒) เมนูหลัก ประกอบด้วย “หน้าหลัก” สาหรับดูข้อมูลแผนที่ ค้นหาจุดบุกรุก ดูชั้นข้อมูล และ

การจัดการต่างๆ “สถิติ” สาหรับดูภาพรวมสถิติ (ดูรายละเอียดท่ีหัวข้อ การดูสถิติ) “รายงาน” สาหรับออก

รายงาน (ดูรายละเอียดที่หัวข้อ การออกรายงาน) “ตั้งค่า” สาหรับต้ังค่าระบบ แจ้งเตือน มีสิทธิ์เฉพาะผู้ดูแล

ระบบ (ดรู ายละเอยี ดทีห่ ัวขอ้ การ จดั การแจ้งเตือน) “คู่มอื ” สาหรบั ดู วธิ ีการใช้ หรือวิดีโอสาธิตต่างๆ ๓)

แสดงตัวเลือกช้ันข้อมูลบนแผนท่ีที่ต้องการ เช่น จุดบุกรุก ข้อมูล ภาพถ่าย ลักษณะป่าไม้ ฯลฯ (ดู

รายละเอียดที่หัวข้อ การดูชั้นข้อมูล) ๔) ส่วนสาหรับการค้นหาจุดบุก (ดูรายละเอียดที่หัวข้อ การค้นหาข้อมูล)

๕) แผนทสี่ าหรับแสดงตาแหนง่ จุดบุกรุก จุดรอตรวจสอบ และจดุ ทบี่ อกถึงประเภทการทางานตา่ งๆ นอกจากนี้

ยังสามารถลากเลื่อนแผนที่ไปยังตาแหน่งที่ต้องการ และมีปุ่มเคร่ืองมือต่างๆ ให้ใช้งาน เช่น แถบ zoom

in/out แผนท่ี ปุ่มค้นหาตาแหน่งปัจจุบัน แถบเครื่องมือวัดระยะพ้ืนที่ ปุ่มเปลี่ยนพื้นหลังแผนท่ี เครื่องมือที่ใช้

ลากไปยังจุดต้องการเพ่ือค้นหาจุดต่างๆ ๖) ส่วนแสดงข้อมูลรายการจุดบุกรุกและจุดต่างๆ ทั้งหมดในตอน

เริ่มต้น ผู้ใช้สามารถเลือกให้โชว์งานทั้งหมดได้หรือแค่จุดที่รอดาเนินการสามารถแสดงผลลัพธ์การค้นหา

หลังจากท่ีกรอกข้อมูลในส่วน ท่ี ๔ เพื่อค้นหาจุดบุกรุกนั้นๆ (ดูรายละเอียดที่หัวข้อ ดูรายละเอียดจุดบุกรุก)

และ ๗) ส่วนแสดงข้อมูลแผนที่และภาพถ่ายดาวเทียม เพ่ือใช้ในการเปรียบเทียบหรือตัดสินใจ ก่อน/ หลังการ

ถูกบุกรุก (สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ, 2560) (ดูรายละเอียดที่ หัวข้อ การดู

ขอ้ มูลและภาพถ่ายดาวเทียม) (ภาพที่ 3.8)

การพิทกั ษท์ รัพยากรป่าไม้

99

ภาพที่ 3.8 หนา้ จอหลกั สาหรับเจ้าหน้าท่ี
ท่มี า : ดัดแปลงจาก สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภมู ิสารสนเทศ (2560)

การเรมิ่ ใช้งานเข้าสู่ระบบ ผู้ใชส้ ามารถเข้าใช้ระบบได้ที่ https://change.forest.go.thผ่าน ทาง Web
Browser ต่างๆ เชน่ Firefox, Chrome, Internet Explorer หรือ Safari เมื่อกดปมุ่ เขา้ สู่ ระบบมุมขวาบนของ
Web แลว้ จะพบกบั หนา้ จอลงชื่อเข้าใชร้ ะบบ

ระบบ (Login) ผู้ใช้จะต้องกรอกชื่อผู้ใช้ (Username) และรหัสผ่าน (Password) และ กดปุ่ม “เข้าสู่
ระบบ” (ภาพที่ 3.9)

ภาพท่ี 3.9 หน้าตา่ งสาหรับกรอกข้อมูลผู้ใช้งานและรหัสผ่าน แบบฟอร์มลงชอื่ เข้าใช้
ท่ีมา : ดัดแปลงจาก สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภูมิสารสนเทศ (2560)

การพทิ กั ษท์ รัพยากรปา่ ไม้

100

การค้นหาจุดบกุ รกุ
ผู้ใช้สามารถคน้ หาจุดบุกรกุ ดว้ ยรหสั /ชอ่ื จุด/หนว่ ย/พิกดั ท่ตี ้องการตาม (ภาพท่ี 3.10)

ภาพท่ี 3.10 กล่องคน้ หาจดุ บุกรุก
ทมี่ า : ดดั แปลงจาก สานักงานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภูมิสารสนเทศ (2560)

อีกทั้งสามารถเลือกจังหวัด อาเภอ ตาบลได้แต่สานักและหน่วยงานระบบจะทา การกาหนดเองตาม
สิทธิ์ของผ้ใู ช้งาน (ภาพที่ 3.11)

ภาพท่ี 3.11 คน้ หาดว้ ยตวั กรอง
ทมี่ า : ดดั แปลงจาก สานกั งานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2560)

1.2 แอพพลิเคช่ันบนโทรศัพท์เคล่ือนท่ี ขั้นตอนการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าท่ีในการใช้
ระบบปฏิบัติการค้นหาพื้นท่ีบุกรุกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (พิทักษ์ไพร) ผ่านแอพพลิเคช่ั นบน
โทรศัพท์เคลื่อนท่ี สามารถดาวน์ โหลดได้มี ๒ ช่องทาง ได้แก่ ๑) สาหรับผู้ใช้งานในระบบ Android สามารถ
ดาวน์โหลดได้ท่ี Google Play Store และ ๒) สาหรับผู้ใช้งานในระบบ IOS สามารถดาวน์โหลดได้ที่ Apple
App Store การ Login แบบฟอร์มลงช่ือเข้าใช้ระบบ (Login) เจ้าหน้าที่จะต้องกรอกช่ือผู้ใช้ (Username)
และรหัสผ่าน(Password) และกดปุ่ม “เข้าสู่ระบบ” กรณีท่ีเจ้าหน้าที่เข้าสู่ระบบเป็นครง้ั แรก ระบบจะให้สรา้ ง

การพิทักษ์ทรัพยากรปา่ ไม้

101

รหัสผ่าน ๔ ตัว (๔-Digit PIN) เพื่อเพิ่มระดับการป้องกันในการเข้าสู่ระบบในครั้งถัดไป และเม่ือเจ้าหน้าที่ผ่าน
การสร้างรหัสผ่าน ๔ ตัวแล้ว ในการเข้าระบบครั้งต่อไปนั้นไม่จาเป็นต้องใส่ช่ือผู้ใช้และรหัสผ่านอีก เจ้าหน้าที่
สามารถเข้าใช้ระบบได้โดยการกรอกรหัสผา่ น ๔ ตวั (ภาพที่ 3.12)

ภาพที่ 3.12 หนา้ จอการเข้าส่รู ะบบ (Login)
ท่ีมา : ดัดแปลงจาก สานักงานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศและภูมสิ ารสนเทศ (2560)

การแสดงช่ือและตาแหน่งของเจ้าหน้าที่ เมื่อเจ้าหน้าท่ีทาการเข้าสู่ระบบจะมีช่ือ, ตาแหน่ง, หน่วย
หรือสังกัดแสดงในเมนูทางด้านซ้าย ซึ่งจะแสดงต่างกันตามตาแหน่งของแต่ละบุคคล ดังรูปตัวอย่าง (ภาพที่
3.๑3)

ภาพที่ 3.๑3 ตัวอย่างการแสดงชื่อและตาแหนง่ เมอื่ Login
ท่มี า : ดดั แปลงจาก สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (2560)

การพิทักษ์ทรัพยากรปา่ ไม้

102

การดูขอ้ มูล ในการดขู ้อมูลของจดุ รายงานสถานะตา่ งๆ นัน้ สามารถทาได้ ๒ แบบ ดังน้ี
- ในกรณที เ่ี ป็นหน้ารายการ หรอื List เจา้ หนา้ ท่สี ามารถกดท่ีแถวข้อมลู ของจุดนั้นๆ เพือ่ แสดงหน้าจอ
รายละเอียด (ภาพท่ี 3.๑4)

ภาพที่ 3.๑4 การดขู อ้ มลู จากหนา้ รายการ
ทม่ี า : ดดั แปลงจาก สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภมู สิ ารสนเทศ (2560)

- ในกรณีที่เป็นหน้าแผนท่ี เจ้าหน้าที่สามารถกดที่หมุดและปุ่มดูรายละเอียดเพ่ือแสดงหน้าจอ
รายละเอียด (ภาพท่ี 3.๑5)

ภาพท่ี 3.๑5 การดขู ้อมูลจากหนา้ แผนที่
ท่มี า : ดดั แปลงจาก สานกั งานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ (2560)

การพทิ กั ษ์ทรพั ยากรปา่ ไม้

103

การดูรายละเอียดเพิ่มเติม เจ้าหน้าที่สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้โดยการกดท่ีปุ่ม รายละเอียด
เพม่ิ เตมิ ดงั (ภาพท่ี 3.๑6)

ภาพที่ 3.๑6 การดรู ายละเอียดเพม่ิ เตมิ
ท่มี า : ดัดแปลงจาก สานกั งานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ (2560)

การดูความคิดเห็น (Comment) จะแสดงอยู่ด้านล่างรายละเอียดของแต่ละจุด ซ่ึงถ้ามีรูปภาพ ผู้ใช้
สามารถดูรูปภาพขนาดใหญ่ได้โดยการกดท่ีรูปภาพ และในกรณีที่มีหลายภาพจะสามารถเลื่อนภาพได้โดยการ
กดป่มุ ลกู ศรซ้ายหรอื ขวา (ภาพท่ี 3.๑7)

ภาพท่ี 3.๑7 ความคดิ เห็น
ท่มี า : ดัดแปลงจาก สานักงานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภูมสิ ารสนเทศ (2560)

การพิทักษ์ทรัพยากรปา่ ไม้

104

การรายงานจุดต้องสงสัย เจ้าหน้าที่ทดสอบคุณภาพ (QC) เป็นตาแหน่งพนักงานที่สามารถรายงาน

ตาแหน่งจุดต้องสงสัยบุกรุกไดส้ ามารถรายงานโดยการกดปมุ่ ในหน้าแผนท่ี โดยหน้าจอการรายงานตาแหน่งจดุ

บุกรุกจะแบง่ ออกไดเ้ ปน็ ๒ สว่ นใหญๆ่ คอื แถบคาสงั่ ซง่ึ ประกอบด้วยชือ่ , ปมุ่ ปดิ และปมุ่ บนั ทกึ และ

ส่วนข้อมูลตาแหน่งจุดบุกรุก ซ่ึงประกอบด้วย ภาพถ่าย ชื่อสถานที่ ที่อยู่ ละติจูด/ลองจิจูด ช่ือผู้ใช้งาน เบอร์

โทรศัพท์ อีเมล และสภาพพ้ืนท่ีปัจจุบัน โดยสามารถแนบรูปภาพได้ ๑ รูปและข้อมูลท่ีมีสัญลักษณ์* กากับน้ัน

คือ ข้อมูลท่ีจาเป็นต้องใส่ หากไม่ใส่จะไม่สามารถบันทึกได้และช่ือผู้ใช้งานจะถูกกาหนดเป็นของเจ้าหน้าท่ี QC

(ดงั ภาพท่ี 3.๑8)

ภาพท่ี 3.๑8 หน้าจอรายงานตาแหนง่ จุดบุกรุกของเจ้าหน้าที่ QC
ที่มา : ดัดแปลงจาก สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศและภมู สิ ารสนเทศ (2560)

การค้นหาข้อมูล ในการค้นหาข้อมูลน้ันเจ้าหน้าที่ในแต่ละตาแหน่งจะมีสิทธ์ิเห็นข้อมูลในสถานะท่ี
ต่างกันออกไป (ตามภาพท่ี 3.๑9)

ภาพท่ี 3.๑9 สทิ ธก์ิ ารเหน็ สถานะของเจ้าหน้าท่แี ต่ละตาแหน่ง
ทม่ี า : ดดั แปลงจาก สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภูมิสารสนเทศ (2560)

การพิทกั ษ์ทรพั ยากรปา่ ไม้

105

ดังน้ันเจ้าหน้าท่ีแต่ละคนจะสามารถค้นหาข้อมูลและเห็นข้อมูลต่างสถานะกันไป โดยการค้นหาน้ันจะ
สามารถแบ่งออกได้เปน็ ๓ แบบ ดงั นี้

๑) การคน้ หาดว้ ยคาคน้ หรือพกิ ัด ผใู้ ชส้ ามารถค้นหาจดุ บุกรุกในตาแหน่งตา่ งๆ โดยการพมิ พ์ข้อมูลลง
ในกล่องข้อความแล้วกดปุ่ม “ค้นหา” โดยสามารถพิมพ์ช่ือจุด หรือรหัสเพ่ือทาการค้นหาแล้วระบบจะแสดง
รายการทใ่ี กลเ้ คยี งให้ผู้ใช้เลอื กไดท้ นั ที (ภาพท่ี 3.20)

ภาพท่ี 3.20 ตัวอย่างการค้นหาด้วยคาค้น และการคน้ หาดว้ ยคาแนะนา (Suggestion)
ที่มา : ดดั แปลงจาก สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (2560)

แต่ในกรณีท่ีผ้ใู ชค้ น้ หาโดยการพมิ พพ์ ิกดั ของจุดลงไป ระบบจะแสดงจดุ บกุ รกุ ใกล้เคยี งพิกดั ท่ีคน้ หาโดย
จะเรียงลาดับจากใกล้ที่สุดจนถึงไกลที่สุดดังรูปต่อไปน้ีโดยระยะทางจะแสดงมุมขวาลา่ งในช่องข้อมูลของแต่ละ
จดุ ในหน้าแสดงรายการ (ภาพที่ 3.21)

ภาพที่ 3.21 ตัวอย่างการค้นหาด้วยพิกัด
ท่มี า : ดดั แปลงจาก สานักงานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภูมิสารสนเทศ (2560)

การพทิ กั ษท์ รพั ยากรปา่ ไม้

106

2) การค้นหาด้วยตาแหน่งปัจจุบัน จะสามารถใช้ได้ก็ต่อเม่ือผู้ใช้เปิด Location service บนอุปกรณ์
สามารถใชก้ ารคน้ หาสว่ นน้โี ดยการกดที่กลอ่ งข้อความคน้ หา แลว้ กดปมุ่ “ค้นหา โดยใชท้ ี่อยู่ปจั จบุ ัน” ระบบจะ
แสดงจุดบุกรุกข้างเคียงแล้วเรียงลาดับระยะทางห่างจากตาแหน่ง ปัจจุบันของผู้ใช้จากใกล้ท่ีสุดไปถึงไกลท่ีสุด
(ภาพที่ 3.22)

ภาพท่ี 3.22 ตาแหน่งปมุ่ คน้ หาโดยใช้ที่อย่ปู ัจจบุ ันและตัวอยา่ งการค้นหา
ท่มี า : ดัดแปลงจาก สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศและภมู สิ ารสนเทศ (2560)

3) การค้นหาด้วยตัวกรอง (Filter Search) ปุ่มตัวกรอง หรือ Filter Search จะอยู่บริเวณมุมขวาบน
ของหน้าจอหลกั ใช้ในกรณีที่ผใู้ ชต้ ้องการเพิ่มเง่ือนไขในการค้นหา เช่น ค้นหาตามจงั หวดั คน้ หาตามสานกั หรือ
ค้นหาตามช่วงเวลา และผู้ใช้สามารถล้างข้อมูลที่เลือกไว้โดยกดปุ่ม “ล้าง” ท่ีมุมขวาบน โดยในแต่ละตาแหน่ง
ของเจ้าหนา้ ที่จะเลอื กเงอื่ นไขได้แตกต่างกันตามสทิ ธใิ์ นการดูสถานะจดุ บกุ รุกและพื้นที่ทส่ี งั กัด (ภาพท่ี 3.๒3)

ภาพที่ 3.๒3 หน้าจอการตั้งค่าคน้ หาดว้ ยตวั กรอง
ที่มา : ดดั แปลงจาก สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2560)

การพทิ ักษท์ รัพยากรปา่ ไม้

107

การแจ้งความคืบหน้า (Add Comment) เจา้ หน้าท่ที ุกตาแหน่งสามารถเพิ่มหรือแสดงความคิดเห็นได้
ยกเว้นเจ้าหนา้ ที่ทดสอบคุณภาพ (QC) ทไี่ ม่สามารถแสดงความคดิ เห็นไดส้ าหรับการแสดงความคิดเห็นน้ันแบ่ง
ออกเป็นส่วนใหญ่ๆ ๒ ส่วน ดังน้ี การอัพโหลดรูปภาพ เจ้าหน้าท่ีสามารถแนบไฟล์รูปภาพเพ่ือประกอบการ
แสดงความคิดเห็นได้โดยไม่จากัดจานวนรูป และการกรอกความคิดเห็นเจ้าหน้าท่ีสามารถกรอกรายละเอียด
ความคดิ เห็นลงในกล่องข้อความแลว้ บนั ทกึ ได้ด้วยการกด ปมุ่ “ส่ง” (ตามภาพที่ 3.๒4)

ภาพที่ 3.๒4 การแสดงความคิดเหน็
ที่มา : ดดั แปลงจาก สานกั งานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (2560)

สาหรบั การแกไ้ ขขอ้ มูล ในการแกไ้ ขขอ้ มลู นั้นเจ้าหนา้ ท่ใี นแต่ละตาแหน่งจะมสี ิทธ์แิ ก้ไขข้อมูลในสถานะ
ท่ตี ่างกนั ออกไปตามภาพ (ดังภาพที่ 3.๒5)

ภาพที่ 3.๒5 สทิ ธิก์ ารแกไ้ ขสถานะของเจา้ หนา้ ทแ่ี ตล่ ะตาแหนง่
ทม่ี า : ดดั แปลงจาก สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2560)

การพทิ ักษท์ รัพยากรปา่ ไม้

108

เจ้าหน้าท่ีแต่ละตาแหน่งนั้นจะสามารถแก้ไขข้อมูลได้เมื่อกดปุ่ม “แก้ไข” ท่ีอยู่มุมขวา บนของหน้าจอ
และในการแก้ไขข้อมูลของจุดบุกรุกในสถานะต่างๆ น้ัน เจ้าหน้าท่ีจะสามารถแก้ไขข้อมูลได้แตกต่างกัน
บางส่วนข้นึ อยกู่ ับสถานะของจดุ บกุ รกุ รายละเอยี ดดงั ภาพตัวอย่าง (ภาพที่ 3.๒6)

ภาพที่ 3.๒6 ตัวอย่างหน้าจอการแก้ไขข้อมูลของจุดบุกรุกสถานะรอคัดกรอง
ทีม่ า : ดัดแปลงจาก สานักงานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู ิสารสนเทศ (2560)

จุดบุกรุกสถานะรอตรวจสอบและกาลังดาเนินการจะสามารถแก้ไขได้แค่ประเภทพื้นท่ีบุกรุกและเลข
คดียกเว้นเจ้าหน้าท่ีเป็นผู้ดูแลระบบ (Administrator) หรือผู้ดูแลระบบข้ันสูง (Webmaster) ที่สามารถแก้ไข
สถานะไดท้ ุกสถานะของจดุ บกุ รุก (ภาพท่ี 3.๒4) และหัวหนา้ หน่วย (Unit Lead) ทสี่ ามารถเปลยี่ นสถานะของ
จุดรอตรวจสอบเป็นกาลงั ดาเนินการ และกาลงั ดาเนินการเปน็ จดุ บกุ รกุ หรือไม่บุกรุกได้ (ภาพท่ี 3.๒7)

ภาพที่ 3.๒7 ตัวอย่างหน้าจอการแก้ไขขอ้ มลู ของผ้ดู ูแลระบบ (Administrator) และผดู้ ูระบบข้ันสูง
(Webmaster)

ท่ีมา : ดัดแปลงจาก สานกั งานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (2560)

การพทิ ักษท์ รัพยากรปา่ ไม้

109

ภาพท่ี 3.๒8 หน้าจอการแกไ้ ขของหัวหนา้ หน่วย (Unit Lead)
ทมี่ า : ดัดแปลงจาก สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศและภมู ิสารสนเทศ (2560)

สาหรบั การดูสถติ ิ ในสว่ นของข้อมูลสถติ นิ ั้นเจ้าหนา้ ทส่ี ามารถเข้าดขู ้อมูลในสว่ นน้ีได้ทุกตาแหนง่ ซ่ึงจะ
มีรายละเอียดแยกออกเป็นหลายส่วนประกอบด้วย 1) ภาพรวมของจุดบุกรุกสะสมท่ัวประเทศไทย 2) สถานะ
ซึ่งเป็นการแสดงขอ้ มูลสถานะต่างๆ ของจุดบุกรุกในรูปแบบแผนภูมิแท่งจานวนจุดและเนื้อที่ และ 3) สถิติของ
จานวนจดุ บุกรกุ ในแตล่ ะส่วนของประเทศ

(1) ภาพรวม ในสว่ นนีจ้ ะแสดงข้อมูลภาพรวมของจุดบุกรุกสะสมท่วั ประเทศไทย ซึ่งผู้ใช้สามารถเลือก
ดูข้อมูลได้ตามต้องการโดยการเปล่ียนการตั้งค่าเช่น จุดหรือเน้ือที่ หรือรูปแบบปี ข้อมูลจะถูกแสดงเป็น
แผนภาพวงกลมและแผนท่ปี ระเทศไทย (ภาพที่ 3.๒9)

ภาพที่ 3.๒9 หน้าจอแสดงภาพรวมสถติ ิของจุดบกุ รกุ
ท่มี า : ดดั แปลงจาก สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ (2560)

การพทิ ักษ์ทรพั ยากรป่าไม้

110

(2) สถานะ ในส่วนสถานะนั้นเป็นการแสดงข้อมูลสถานะต่างๆ ของจุดบุกรุกในรูปแบบแผนภูมิแท่ง
จานวนจุดและเนอื้ ท่ี ซึง่ ผใู้ ช้สามารถกาหนดรูปแบบปี, ปี หรอื เง่ือนไขพื้นท่ไี ด้ (ภาพท่ี 3.30)

ภาพที่ 3.30 หนา้ จอแสดงสถิติสถานะของจดุ บกุ รกุ
ท่ีมา : ดดั แปลงจาก สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภูมสิ ารสนเทศ (2560)

(3) สถิติในแถบสถิติจะเป็นการแสดงสถิติของจานวนจุดบุกรุกในแต่ละส่วนของประเทศเช่น จังหวัดท่ี
มจี ดุ บกุ รุกมากท่สี ดุ , สานกั ท่ีมีจดุ บกุ รกุ นอ้ ยท่ีสดุ หรือคา่ เฉล่ียของจุดบกุ รุกสะสม เปน็ ต้น (ภาพท่ี 3.31)

ภาพท่ี 3.31 หนา้ จอแสดงสถิติของจดุ บกุ รกุ
ทม่ี า : ดัดแปลงจาก สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ (2560)

การพิทกั ษ์ทรพั ยากรปา่ ไม้

111

แถบบุกรุกข้างเคียง หากมีการบุกรุกข้างเคียงจะแสดงข้อมูลจุดบุกรุกข้างเคียงในแต่ละจังหวัดใน
รูปแบบสถิติและแผนที่ โดยจะเรียงลาดับจากจังหวัดที่มีจุดบุกรุกข้างเคียงมากที่สุดลงไป รวมถึงแสดงจานวน
ของจุดบุกรกุ ขา้ งเคยี งในแต่ละจงั หวดั หน้าจอแสดงสถิตจิ ดุ บกุ รกุ ข้างเคียง (ภาพท่ี 3.32)

ภาพที่ 3.32 หนา้ จอแสดงสถติ ิจดุ บกุ รุกขา้ งเคียง
ท่มี า : ดดั แปลงจาก สานักงานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ (2560)

สาหรับการออกจากระบบ (Logout) ของเจ้าหน้าที่น้ันสามารถทาได้๒ วิธีคือการกดปุ่ม “ออกจาก
ระบบ” บนแถบเมนูด้านซ้ายและการกดปุ่มรูปแม่กุญแจบนหน้าจอกรอกรหัส ๔ ตัว (PIN) ก่อนการเข้าใช้แอป
พลิเคชนั (ตามภาพท่ี 3.๓3)

ภาพท่ี 3.๓3 หนา้ จอแสดงปมุ่ ออกจากระบบ
ทม่ี า : ดดั แปลงจาก สานกั งานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศและภูมิสารสนเทศ (2560)

การพิทักษ์ทรพั ยากรป่าไม้

112

ส่วนการรายงานผลจากระบบการตรวจสอบระบบปฏิบัติการค้นหาพื้นที่บุกรุกด้วย โปรแกรม
คอมพวิ เตอร์ (ระบบพิทกั ษไ์ พร)

จดุ เขา้ ใหม่ในความรบั ผดิ ชอบของกรมปา่ ไม้ (ระบบพทิ กั ษไ์ พร) มจี ดุ เข้าใหมจ่ านวน 2 จุด รายละเอียด
(ดังภาพที่ 3.๓4)

ภาพท่ี 3.๓4 ภาพเปรยี บเทียบภาพถา่ ยดาวเทยี มใน ๒ ชว่ งเวลาในพน้ื ที่เดยี วกนั
ทมี่ า: กรมปา่ ไม้(2560)

2. การป้องกันรักษาป่าและการจับกุมผู้กระทาผิดกฎหมายว่าด้วยการป่าไม้โดยใช้ระบบเครือข่าย
ต่อต้านการกระทาผดิ ต่อทรพั ยากรปา่ ไม้ NCAPS (Network Centric Anti-Poaching System)

NCAPS คือ การนาเทคโนโลยี “ระบบกล้องเอ็นแคป” มาใช้โดยติดต้ังซุกซ่อนกล้องไว้ตามจุดเส่ียง
ต่างๆ ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติ พ้ืนท่ีป่าสงวนแห่งชาติ หรือพื้นท่ีป่าท่ีเสี่ยงต่อการถูกบุกรุกทาลาย ซึ่งแต่ละจุด
ท่ีตงั้ กล้องนน้ั อาศยั ฐานขอ้ มลู ภัยคุกคามจากการลาดตระเวนเชิงคุณภาพ (SMART PATROL) เมอื่ กลอ้ ง เอน็
แคปดักถ่ายภาพได้ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ป่าหรือคน ระบบจะส่งภาพแจ้งเตือนมายังระบบเครือข่ายศูนย์กลาง
เจ้าหน้าที่ก็จะทาการตรวจสอบหากพบว่าเป็นการกระทาผิดกฎหมายว่าด้วยการป่าไม้ ก็จะเข้าสู่กระบวนการ
จับกุมดาเนินคดี กล้องเอ็นแคปเป็นเทคโนโลยีใหม่สามารถตรวจเฝ้าระวังได้ แบบเรียลไทม์เสมือนเป็นผู้ช่วย
เจ้าหนา้ ท่ี ซึง่ หากเราใช้เจา้ หน้าท่อี าจจะไม่รูเ้ ลยว่าพวกตัดไมจ้ ะมาเวลาไหน แตส่ าหรับกล้องเอ็นแคป จะ
ทางานตลอดเวลา เมื่อเจ้าหน้าที่เห็นสัญญาณจากกล้องที่ส่งมาในโทรศัพท์เคล่ือนท่ีก็สามารถจัดกาลัง ชุด
เคล่ือนท่ีเร็วเข้าถึงจุดท่ีเจอและจับกุมได้ทันถ่วงทีและจากสถานการณ์การลักลอบตัดไม้มีค่าในพื้นท่ีป่า

การพิทักษ์ทรัพยากรป่าไม้

113

โดยเฉพาะไม้พะยูงมีความรุนแรงและเพิ่มขึ้น สาเหตุมาจากความต้องการของตลาดต่างประเทศที่นิยมใช้ไม้
ชนิดดังกลา่ ว ทาให้เจ้าหน้าทผี่ ูป้ ฏิบตั งิ านด้านป้องกนั และปราบปรามการกระทาความผดิ ต้องทางานอยา่ งหนัก
ในการดแู ลลาดตระเวนพืน้ ที่ปา่ ที่มีขนาดใหญ่ และมีอัตรากาลังอยู่อย่างจากัด ทาให้การลาดตระเวนพ้ืนที่ป่าได้
ไม่ทั่วถึง อีกทั้งในเวลากลางคืนต้องเสี่ยงอันตราย เม่ือมีการปะทะกันระหว่างผู้ทาไม้ ซึ่งบางครั้งเจ้าหน้าที่ต้อง
ได้รับบาดเจ็บหรือสูญเสียชีวิต ดังนั้นเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการป้องกันและปราบปรามการลักลอบทาลาย
ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นท่ีล่อแหลมหรือสุ่มเส่ียงในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี (มูลนิธิสืบ , 2561) ทาให้
กรมปา่ ไม้ และกรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธุ์พืช ได้ทดลองนาระบบเครือข่ายต่อต้านการกระทาผิดต่อ
ทรัพยากรป่าไม้ NCAP (Network Centric Anti-Poaching System) มาทดลองใช้ โดยการนากล้องดักถ่าย
อัตโนมัติ Camera Trap แบบเรียลไทม์ (ภาพท่ี 3.๓5) มาใช้ร่วมกับเครือข่ายโทรศัพท์ แล้วนาไปติดต้ังบน
ต้นไม้หรือตามเส้นทางในป่าท่ีคาดว่าผู้ลักลอบตัดไม้จะเดินผ่านเพื่อไปทาไม้ เมื่อผู้ลักลอบตัดไม้เคลื่อนท่ีผ่าน
กล้องดักถ่ายซึ่งมีระบบเซนเซอร์จะจับวัตถุที่เคล่ือนท่ีผ่านด้วยระบบอินฟาเรดแบบไม่มีแสงแฟลชขณะทางาน
แล้วจะส่งข้อมูลภาพผ่านระบบเครือข่ายสัญญาณโทรศัพท์ไปยังเซิฟเวอร์ออนไลน์ที่จัดเก็ บข้อมูลแล้วส่งต่อเข้า
โทรศัพท์เคล่ือนท่ีหรือเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา ทาให้เจ้าหน้าที่ทราบความเคล่ือนไหวการเข้าไปลักลอบ
ตดั ไม้ และวางแผนตดิ ตามจบั กมุ ผกู้ ระทาผดิ มาดาเนินคดตี ามกฎหมาย

ภาพท่ี 3.๓5 ลกั ษณะของกลอ้ ง NCAP
ภาพโดย : เฉลมิ เกียรติ (2562)

ข้ันตอนการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการติดต้ังกล้องดักถ่ายภาพในระบบ NCAPS ติดตาม
การกระทาผิดการลักลอบทาไม้ มีรายละเอียด ดังน้ีต้องมีการเตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่เริ่มตั้งแต่การ
เรยี นรู้การทางานของระบบ NCAPS ประสิทธิภาพและข้อจากดั ของกล้องดกั ถ่ายภาพในระบบ NCAPS รูปแบบ
และวิธีการติดตั้ง รวมถึงการคานวณระยะทางและเวลาในการเข้าปฏิบัติงานโดยการให้เจ้าหน้าท่ีสารวจและ
ประเมินพ้ืนที่ซึ่งอาจเป็นจุดล่อแหลมของกลุ่มลักลอบตัดไม้ท่ีจะเข้ามากระทาผิดในพ้ืนท่ีป่า รวมถึงเส้นทางใน
การลาลยี งหรอื ชกั ลากไม้ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ จุดที่มีเครือขา่ ยสัญญาณโทรศัพท์เพื่อกาหนดตาแหนง่ ตดิ ตัง้ กล้อง
ดักถ่ายภาพ พร้อมมอบหมายให้ชุดปฏิบัติการเป็นผู้เข้าดาเนนิ การติดต้ัง เพ่ือให้คุ้นเคยเส้นทางและเข้าถึงพ้นื ที่
ไดโ้ ดยเร็วเม่อื มีการแจ้งเตือนจากระบบ NCAPS

การพิทักษ์ทรพั ยากรป่าไม้

114

ข้อควรปฏบิ ตั ิสาหรบั การติดต้งั กลอ้ งดกั ถ่ายภาพในระบบ NCAPS
1) เลือกตาแหน่งที่ติดตั้งมุมกล้องให้เหมาะสม และควรติดไว้บนที่สูงมีการพรางอุปกรณ์ตาม
สภาพแวดลอ้ ม
2) หลีกเลี่ยงจุดที่จะมีการเปล่ียนแปลงของแสงและเงา ก่ิงไม้ ต้นไม้ หากเม่ือมีลมพัดจะทาให้เงาของ
ต้นไม้โยกหรือขยับเพราะเซนเซอร์กล้องดักถ่ายภาพจะทางานและจะส่งข้อมูลภาพตลอดเวลาท่ีมีการโยกหรือ
ขยับของเงา
3) คานวณเวลาจากท่ตี ้ังถงึ จดุ หมายไว้ลว่ งหน้า และหาเสน้ ทางสารอง บางกรณีอาจมกี ารต้องเฝา้ ระวัง
ใกล้จุดติดตัง้ กล้อง
4) ควรหาตาแหน่งท่ตี ดิ ตง้ั กล้องสารองไวเ้ พราะต้องมีการย้ายตาแหน่งอยเู่ สมอ
5) ควรกาหนดช่วงเวลาการบารงุ รักษาอุปกรณ์ตามรอบ เช่น ในทุก 15 วันต้องมีการเปลี่ยนถ่านและ
ใสส่ ารดดู ความชืน้ หากเกิดอาการผดิ ปกตใิ หน้ าอปุ กรณ์ออกมาแกไ้ ขทันที

3. การประยกุ ตใ์ ช้ GPS Tracking ติดตามการกระทาผิดการลกั ลอบทาไม้
GPS tracking คือ การระบุตาแหน่งของวัตถุผา่ นระบบระบุตาแหน่งบนพ้ืนโลก (Global Positioning
System: GPS) ซ่ึงใช้เพื่อติดตามและระบุตาแหน่งของวัตถุน้ัน ๆ จากระยะไกล โดยเทคโนโลยี GPS tracking
นี้สามารระบุได้ครอบคลุมถึงพิกัดภูมิศาสตร์ ละติจูด, ลองจิจูด, ความเร็ว บนภาคพ้ืน ทิศทางและเส้นทาง
การเคล่ือนท่ีของวัตถุนั้น ๆ ที่เราติดตาม เจพีเอสเป็นเทคโนโลยีทางด้านดาวเทียมท่ีได้รับการพัฒนาข้ึนมาเพ่อื
ตอบสนองการใช้งานในรปู แบบต่าง ๆ ซง่ึ ในปัจจบุ นั เทคโนโลยที างด้านนไี้ ด้เข้ามามีบทบาทต่อสงั คมเพ่ิมมากขึ้น
โดยสังเกตได้จากการออกผลิตภัณฑ์การใช้งานหลากหลายรูปแบบ ท้ังการใช้งานในลักษณะกลางแจ้ง
(Outdoor) เพื่อการสารวจผจญภัย (Adventure) หรือการใช้งานเพ่ือกาหนดเสน้ ทางคมนาคมในเมือง เป็นตน้
ในทางป่าไม้น้ัน กรมป่าไม้เป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่นาเอาเทคโนโลยีด้านนี้มาประยุกต์ใช้งานในการป้องกัน
อนุรักษ์ทรัพยากรป่า ไม้ของชาติ เน่ืองจากต้องปฏิบัติงานในหลายลักษณะเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรป่า อาทิการ
ตรวจลาดตระเวน การจัดเก็บตาแหน่งข้อมูลทางป่าไม้ การปฏิบัติงานดับไฟป่า และการตรวจติดตามไม้ของ
กลางเพ่ือตดิ ตามขยายผลของกลุ่มทนุ หรือกลมุ่ ขบวนการค้าไม้ข้ามชาติ เช่น เมื่อเจา้ หน้าที่จับตวั ผกู้ ระทาผิดได้
แล้วมักจะสืบสวนสอบสวนขยายผลไม่ถึงผู้บงการอยู่เบ้ืองหลังตลอดจนโกดังรวบรวมไม้ หรือโรงงานแปรรูปไม้
เพ่ือเตรียมในการลกั ลอบไปขายยงั ต่างประเทศ (Prosoft GPS, 2562) ดังนน้ั เพอื่ ใหก้ ารทางานของเจา้ หน้าท่ีมี
ประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้นในการติดตามและหยุดย้ังการ ลักลอบทาไม้ของกลุ่มขบวนการค้าไม้ข้ามชาติ จึงได้นา
เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้โดยนาเอา GPS Tracking มาใช้ในการติดตามและหยดุ ยั้งการตดั ไม้ทาลายป่า ซ่ึงเป็น
อุปกรณ์ท่ีใช้ติดตามการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยใช้สัญญาณดาวเทียม GPS ผ่านแอพพลิเคชั่น ซ่ึงสามารถแสตน
บายไดน้ านสูงสดุ 60 วัน สามารถแจ้งเตือนเม่ือมีการขยับหรือเคล่ือนท่ี สามารถบันทกึ เสน้ ทางความเร็วในการ
เคลื่อนที่ด้วย GPS Tracking ที่มีขนาดเล็กและสามารถดัดแปลงบางส่วนไปติดซุกซ่อนไว้ในเน้ือไม้ท่ีถูกลักลอบ
ตัด เพื่อติดตามตาแหน่งของไม้เมื่อผู้ลักลอบนาเคลื่อนย้ายไม้ไปยังจุดหมาย และในระหว่างทางการเคลื่อนที่
ของไม้เจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบจากพิกัดของ GPS Tracking จนถึงท่ีหมายซึ่งอาจเป็นโกดังรวบรวมไม้หรือ
โรงงานแปรรูปไม้ (ภาพที่ 3.๓6)

การพิทกั ษท์ รพั ยากรปา่ ไม้

115

ภาพท่ี 3.๓6 หลักการทางานระบบ GPS tracking ในการติดตามวัตถุ
ภาพโดย : เฉลิมเกียรติ (2562)

ข้ันตอนการปฏิบัตงิ านของพนกั งานเจ้าหน้าทใ่ี นการใช้ GPS Tracking ติดตามการกระทาผิด การ
ลกั ลอบทาไมม้ รี ายละเอียด ดังนี้

1) เม่ือเจ้าหน้าท่ีลาดตระเวนตรวจพบการกระทาความผิดลักลอบตัดไม้หรือแปรรูปไม้ในป่าซ่ึงเป็น
พืน้ ที่รบั ผิดชอบโดยไม่พบตวั ผู้กระทาผิด และคาดวา่ ผกู้ ระทาผิดจะกลบั มาลักลอบขนยา้ ยไม้

2) ใหเ้ จา้ หน้าท่ที าการติดต้งั GPS Tracking ในเนอ้ื ไม้ โดยการเจาะหรือสบั ฝังลงไปในเนือ้ ไม้ โดย
อาพรางไม่ใหผ้ ลู้ ักลอบตดั ไม้ตรวจพบ

3) ให้เจ้าหน้าที่ทาการเฝ้าระวังและติดตามการลักลอบขนไม้ท่ีติดตั้ง GPS Tracking ทั้งในพื้นท่ี
และจากแอพพลเิ คช่ันทตี่ ดิ ต้งั ในโทรศัพทเ์ คลือ่ นทห่ี รอื เครือ่ งคอมพวิ เตอร์แบบพกพา

4) เม่ือผู้กระทาผิดมีการขนย้ายไม้เคล่ือนท่ีไม้ออกจากที่เกิดเหตุสัญญาณ GPS Tracking จะส่ง
สญั ญาณมายังโทรศัพท์เคล่อื นที่ของเจ้าหน้าท่ี พรอ้ มท้ังให้เจา้ หนา้ ทตี่ ิดตามการเคล่อื นท่ขี อง GPS Tracking

5) เม่ือผู้กระทาผิดขนย้ายไม้มาถึงปลายทางสญั ญาณ GPS Tracking จะหยุดการเคล่ือนที่ทาให้ทราบ
พกิ ัดตาแหนง่ ของจุดหมายทีร่ วมไม้

6) ให้เจา้ หน้าทท่ี าการวางแผน รวบรวมพยานหลกั ฐาน ประสานพนักงานสอบสวน และสนธิกาลงั ฝ่าย
ความมั่นคงเข้าตรวจค้นดาเนินคดีตามกฎหมาย

ภาพท่ี 3.๓7 ขนั้ ตอนการใช้ GPS Tracking ติดตามการกระทาผดิ การลักลอบทาไม้
ภาพโดย : เฉลมิ เกียรติ (2562)

การพิทักษ์ทรัพยากรป่าไม้

116

ภาพท่ี 3.๓8 ภาพแสดงขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงานในการใช้ GPS Tracking ตดิ ตามการกระทาผิดการลักลอบทาไม้
ภาพโดย : เฉลิมเกียรติ (2562)

4. ระบบสารวจทรัพยากรป่าไม้ (โดรน)

ระบบสารวจพืน้ ท่ปี า่ ไม้ ทนั สมยั ในแบบเทคโนโลยีในการบินสารวจภาพถา่ ยทางอากาศ (UAV:
Unmanned Aerial Vehicle) หรืออากาศยานไร้คนขับ (Drone) ได้ถูกคิดคันขึ้นมาสาหรับให้บินสารวจพ้ืนท่ี
หรือปฏิบัติการในพื้นท่ีเสี่ยงอันตราย ท้ังยังสามารถเข้าถึงพ้ืนที่ดังกล่าวได้อย่างรวดเร็วกว่าใช้คนจริง และเก็บ
ภาพสถานการณจ์ รงิ พรอ้ มพกิ ัดตาแหนง่ ของพื้นที่ได้ นามาประกอบรายงานรว่ มกบั งานลาดตระเวนได้

5. Forest4Thai

การพิทกั ษ์ทรพั ยากรปา่ ไม้

117

เป็นแอปพลิเคชั่นในการตรวจสอบแนวเขตพื้นที่และข้อมูลป่าสงวนแห่งชาติ แจ้งเบาะแส/เรื่อง
ร้องเรียน และค้นหาท่ีต้ังของหน่วยงานกรมป่าไม้พร้อมเบอร์โทรท่ีสามารถติดต่อได้ ทาให้ผู้ใช้สามารถ
ตรวจสอบพ้ืนที่เบ้ืองต้นได้ว่าตาแหน่งที่ระบุนี้อยู่ในเขตพ้ืนท่ีป่าสงวนหรือไม่ รวมถึงเมื่อพบเหตุการณ์การ
กระทาความผิดเก่ียวกับป่าไม้ ไม่ว่าจะเป็นในเร่ืองของการบุกรุกพ้ืนท่ีป่า การลักลอบตัดไม้ การขนไม้ผิด
กฎหมาย การเกดิ ไฟป่า ผใู้ ช้กส็ ามารถแจ้งเหตุ/ร้องเรียนผา่ นแอพพลิเคชั่นได้โดยตรง พร้อมแนบภาพถ่ายขณะ
เกิดเหตุ รวมถึงพิกัดตาแหนง่ ได้อกี ด้วย

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่าและพนั ธ์ุพืช
1. Smart Patrol

การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ (Smart Patrol) คือ ระบบการลาดตระเวนในพื้นท่ีป่าอนุรักษ์อย่างเป็น
ระบบ เพ่ิมศักยภาพในการป้องกัน ปราบปราบ และจัดการพ้ืนท่ี โดยการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์ (GIS) เพอ่ื วางแผนลาดตระเวน การเก็บข้อมลู วเิ คราะห์ ประมวลผลในมาตรฐานเดยี วกันทุกที่

2. คู่มือการประยกุ ตใ์ ช้งานโปรแกรม Quantum GIS (QGIS)

การพิทกั ษ์ทรัพยากรปา่ ไม้

118

QGIS เป็นโปรแกรมสาเร็จรูปมืออาชีพท่ีสร้างข้ึนจากหลักการของซอฟต์แวร์ฟรีและเปิดเผยรหัส
การพฒั นา (Open Source Software) QGIS เป็นโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ท่ีเป็นมิตรต่อผู้ใช้มีการ
จดทะเบียนภายใตส้ ญั ญาอนุญาตสาธารณะทว่ั ไป (General Public License) GNU

QGIS เปน็ โครงการอย่างเป็นทางการของ Open Source Geospatial Foundation (OSGeo) ซง่ึ
ออกแบบมาให้สามารถใช้งานได้บนระบบปฏิบัติการ Linux Unix Mac OSX Windows และ Android
สามารถสนบั สนนุ การทางานกบั ข้อมลู หลากหลายรูปแบบ ไมว่ า่ จะเป็นข้อมูล Vector ข้อมูล Raster และขอ้ มูล
ในรูปแบบของฐานข้อมูล (Database) สามารถนามาประยุกต์ใช้สาหรับการทางานด้านการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติได้

สานกั งานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศและภูมสิ ารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) : สทอภ.
1. Gistda

5.2 การใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการตรวจสอบการทจุ ริตเกี่ยวกับการออกเอกสารสทิ ธิท่ีดนิ
สานกั งาน ป.ป.ช. ได้ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มาช่วยสนบั สนนุ ภารกิจของเจ้าหนา้ ทใี่ นการ

ทางานด้านปราบปราม เพ่อื พิสูจนข์ อ้ เท็จจริงใหช้ ัดเจนโดยเฉพาะในการตรวจสอบติดตามสภาพปัญหาด้านการ
บุกรุกเข้าทาประโยชน์และครอบครองท่ีดินของรัฐโดยมิชอบ โดยนาข้อมูลแผนท่ีภาพถ่ายทางอากาศหรือ
ข้อมูลภาพจากดาวเทียมรายละเอียดสูง ในหลายช่วงปี พ.ศ. ซ่ึงมีความคมชัดสามารถมองเห็นรายละเอียดของ
วัตถุท่ีปรากฎบนภาพได้อย่างชัดเจน มาทาการศึกษาการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ด้วยการอ่าน แปล ตีความ และ
วิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศด้วยสายตา และนาข้อมูลเข้าสู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ดาเนินการวิเคราะห์
ข้อมูลด้วยการซ้อนทับกับข้อมูลขอบเขตการถือครองท่ีดินในพ้ืนท่ีเป้าหมาย โดยแสดงให้เห็นถึงความแตกต่าง
ของรปู แผนท่แี ละพื้นที่ท่เี กิดกรณีพิพาทขึน้ เพื่อใชใ้ นการตดิ ตามสภาพปัญหาดา้ นการบกุ รุกครอบครอง สา
ธารณสมบัติของแผ่นดินโดยมิชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งดาเนินการตรวจสอบผลการอ่าน แปล
ตีความ ประกอบการออกสารวจภาคสนามด้วยการรังวัดตรวจสอบพิกัดตาแหน่งของแปลงท่ีดินด้วยเคร่ืองมือ
GPS ที่มีความละเอียดถูกต้องแม่นยาสูง เพอ่ื พสิ จู น์ถึงความถูกต้องและนา่ เชื่อถือของข้อมูลแผนที่และรูปแปลง

การพทิ ักษ์ทรพั ยากรปา่ ไม้

119

ท่ีดนิ มาว่าอยู่ในระดบั ใด อกี ทั้งยงั เป็นหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ทีส่ ามารถนาไปพิสจู นต์ ามขั้นตอนของกฎหมาย
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

ภาพที่ 3.39 แผนผังขนั้ ตอนวิธกี ารดาเนนิ งานดา้ นภมู ิสารสนเทศ

การพิทกั ษ์ทรัพยากรป่าไม้

120

ภาพท่ี 3.40 แผนผังขั้นตอนวธิ ีการดาเนนิ งานดา้ นภมู ิสารสนเทศของคณะทางานอ่าน แปล ตคี วาม วเิ คราะห์
ข้อมูลภมู สิ ารสนเทศ และสารวจสภาพพืน้ ที่

การดาเนนิ การ
1. การสรา้ งระวางแผนทภ่ี าพถา่ ยทางอากาศ
ความเปน็ มา
กรมท่ีดินได้ผลิตระวางแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศระบบ ยู ที เอ็ม ใช้สาหรับการเดินสารวจออกโฉนด
ที่ดินให้แก่ประชาชนในโครงการพัฒนากรมท่ีดิน และเร่งรัดการออกโฉนดท่ีดินท่ัวประเทศ และใช้ในกิจกรรม
ต่างๆ ของหน่วยงานภายนอก เช่น สานักแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ (สบร.) สานัก ปลัด
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม กรมธนารกั ษ์ สานักงาน ป.ป.ช. เป็นต้น
ความสาคัญของระวางแผนท่ภี าพถ่ายทางอากาศ
ระวางแผนท่ีภาพถ่ายทางอากาศเป็นห น่ึงในเคร่ืองมือชิ้นสาคัญท่ีใช้ในกระ บว นการออกโ ฉ นด
เนื่องจากเป็นภาพแสดงพื้นท่ีที่ทาการรังวัดออกโฉนด เพ่ือใช้แสดงขอบเขตรูปแปลงที่ดิน และตาแหน่งหมุด
รังวัดรูปแปลงที่ดิน ดังนั้นระวางแผนท่ีภาพถ่ายทางอากาศ จึงต้องมีความละเอียดถูกต้องสูง เพ่ือให้เกิดความ
คลาดเคลื่อนน้อยท่สี ดุ ในการระบุตาแหนง่ และกาหนดขอบเขตแปลงที่ดินของประชาชนแต่ละราย

การพทิ กั ษท์ รพั ยากรป่าไม้

121

ชนิดของระวางแผนทภ่ี าพถา่ ยทางอากาศ
ระวางแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศทใี่ ช้ในราชการกรมท่ีดนิ แบง่ เป็น 2 ชนดิ คอื
1) ระวางแผนทีภ่ าพถา่ ยทางอากาศ มาตราสว่ น 1 : 4,000 ครอบคลุมพ้ืนท่ใี นเขตชนบท
2) ระวางแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน 1 : 1,000 ครอบคลุมพน้ื ท่ีในเขตชุมชน มุ่งเน้น
บริเวณพน้ื ที่ท่มี กี ารทาประโยชน์ ซ่ึงเปน็ ทร่ี าบอย่นู อกเขตพืน้ ที่
กระบวนการสร้างระวางแผนทภ่ี าพถ่ายทางอากาศ
1) การบินถ่ายภาพถา่ ยทางอากาศ
ในอดีตมีการบินถ่ายภาพถ่ายทางอากาศเพื่อให้ได้ฟิล์มต้นฉบับสาหรับนามาอัดเป็น DIAPOSITIVE
FILM ขนาด 9x9 นวิ้ เพ่ือนามาใช้จดั สร้างระวางแผนท่ีภาพถา่ ยทางอากาศต่อไป
ปัจจบุ นั ในการบินถ่ายภาพทางอากาศจะได้ภาพถา่ ยทางอากาศในรปู แบบของไฟลด์ ิจิตอล เพ่ือ
นามาใชจ้ ดั สร้างระวางแผนท่ภี าพถ่ายทางอากาศต่อไป
2) การทาโครงขา่ ยสามเหลี่ยมทางอากาศเป็นกระบวนการขยายจดุ บังคับภาพบนภาพถ่ายทางอากาศ
ซงึ่ โยงยึดจากจุดบงั คบั ภาคพ้นื ดิน เพ่ือใหภ้ าพถ่ายทางอากาศมีค่าพิกดั ตามค่าพิกัดบนภมู ปิ ระเทศจริง
3) การสร้างระวางแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศเป็นกระบวนการปรับแก้ความเอียงและมาตราส่วนของ
ภาพถ่ายทางอากาศจากจุดบังคับภาพ และตัดภาพออกเป็นระวางตามค่าพิกัดในระบบ ยู ที เอ็ม ให้มีขนาด
ตามทก่ี รมทีด่ นิ กาหนดไว้ (50x50 ชม.) ครอบคลุมพ้นื ท่ีตามมาตราสว่ นที่ต้องการ

การพิทกั ษ์ทรัพยากรปา่ ไม้

122

ภาพท่ี 3.41 ตัวอย่างระวางแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ มาตราสว่ น 1 : 4,000
2. การอา่ น แปล ตคี วาม และวเิ คราะห์ภาพถ่ายทางอากาศ
การอ่าน แปล ตีความ และวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายจากดาวเทียม มีบทบาทสาคัญใน

การตรวจสอบการทาประโยชน์ที่ดินควบคู่กับข้อกาหนดของกฎหมายท่ีมีการบังคับใช้อย่างหลากหลาย โดยใช้
เปน็ ขอ้ มลู ในการพิสจู นส์ ทิ ธิในทด่ี นิ เนอื่ งจากเปน็ หลกั ฐานทางวิทยาศาสตรท์ ่ีแนน่ อนและพสิ ูจน์ได้ มปี ระโยชน์

การพทิ ักษท์ รพั ยากรปา่ ไม้

123

เป็นอย่างมากต่อการแสวงหาข้อเท็จจริงและการไต่สวนเรอื่ งท่ีดิน เพราะทาให้ข้อเท็จจริงชัดเจนข้ึนว่าพื้นที่น้นั
ในอดตี มสี ภาพอย่างไร เคยมีการทาประโยชน์อะไรในที่ดินหรือมีการเปลย่ี นแปลงในการใช้ประโยชน์ท่ีดินอย่าง
ต่อเนอื่ งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั หรือไม่ อยา่ งไร ท้งั นี้ประเดน็ ของการทาประโยชน์ในทีด่ ินเป็นเรื่องสาคัญอย่าง
ยิ่งโดยเฉพาะในเร่ืองของการออกโฉนดในกรณีเฉพาะราย (โดยใช้หลักฐาน ส.ค. 1 หรือใบเหยียบย่า) หรือการ
ออกโฉนดเฉพาะราย โดยไม่แจ้งการครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 59 ทวิ ซ่ึงเงื่อนไขสาคัญ
จะต้องมีการครอบครองทาประโยชน์มาก่อนประมวลกฎหมายท่ีดินมีผลบังคับใช้เม่ือวันที่ 1 ธันวาคม
พ.ศ. 2497 ดังน้ัน ในการแสวงหาข้อเท็จจริงและการไต่สวน จึงจาเป็นที่จะต้องตรวจสอบข้อเท็จจริงต่างๆ
จากภาพถา่ ยทางอากาศ โดยใช้หลักการมองภาพทรวดทรง หรอื การมองภาพสามมิตดิ ้วยภาพคู่ซอ้ น ทมี่ ีบริเวณ
ส่วนซอ้ น ประมาณ 60 เปอรเ์ ซน็ ต์ดว้ ยกลอ้ งมองภาพสามมติ ิ เพอ่ื ใหส้ ามารถมองเห็นทรวดทรงของภูมิประเทศ
และวัตถุที่ปรากฏบนภาพถ่ายทางอากาศแล้วจึงดาเนินการวิเคราะห์โดยอาศัยหลักของการอ่านแปล ตีความ
และวเิ คราะห์ภาพถา่ ยทางอากาศ

ภาพท่ี 3.42 การอา่ น แปล ตีความ และวิเคราะหภ์ าพถ่ายทางอากาศดว้ ยกล้องมองภาพสามมติ ิ
2.1 หลักการอ่าน แปล ตีความ และวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศ ประกอบดว้ ย
1) สีและระดับความเข้มของสี (Color, tone and brightness) หมายถึง ความแตกต่างของสี และ

ระดบั ความเขม้ ของสี ถ้าเป็นภาพขาวดา ซึง่ เป็นภาพช่วงคลื่นเดยี วมีความแตกต่างของระดับสจี ากสขี าวถึงดา
2) รูปร่าง (Shape) หมายถึง รูปร่างที่ปรากฎเม่ือมองจากด้านบน (Top View) ของวัตถุน้ันๆ สิ่งปก

คลุมพ้นื ผวิ โลกหลายๆ อยา่ งมรี ูปร่างเฉพาะตวั ที่ทาให้สามารถจาแนกออกจากพ้นื ที่อื่นๆ ไดโ้ ดยง่าย เชน่ สนาม
กีฬามักมีรูปร่างกลมรี (รูปใข่) ถังน้ามันมีรูปร่างกลม สิ่งปลูกสร้างต่างๆ มักเป็นรูปเหล่ียม สนามบินมีรูปร่าง
เฉพาะตัว ประกอบด้วยลานบนิ เหน็ ไดช้ ัดเจนแตกต่างจากพื้นท่ีอ่ืนๆ นอกจากนี้รูปร่างยังเป็นองค์ประกอบทีท่ า
ให้ผู้แปลระบุได้ว่าวัตถุหรือส่ิงปกคลุมพื้นผิวน้ันเกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือเป็นส่ิงท่ีมนุษย์สร้างข้ึน เช่น คลอง
ธรรมชาตมิ กั มีรูปร่างลกั ษณะยาวคดเค้ยี ว แต่คลองขดุ มกั มีรูปรา่ งเป็นเสน้ ตรง

การพทิ กั ษท์ รพั ยากรป่าไม้

124

3) ขนาด (Size) หมายถงึ ความกว้าง ความยาวและเน้ือท่ีของวัตถุน้ันๆ ขนาดจะมสี ดั ส่วนท่สี ัมพันธ์กับ
มาตราส่วนและการให้รายละเอียด วัตถุต่างชนิดกันอาจมีรูปร่างท่ีคล้ายคลึงกันแต่มีขนาดที่แตกต่างกัน เช่น
บอ่ น้าธรรมดากบั อ่างเก็บนา้ ซึง่ มคี ุณสมบตั ิดา้ นสีและรปู รา่ งคลา้ ยคลงึ กนั แต่ต่างกันท่ขี นาด

4) รูปแบบ (Pattern) หมายถึง ลักษณะการจัดตัวหรือการเรียงตัวของพื้นผิวประเภทต่างๆ อันเป็น
ลักษณะเฉพาะตัว ทาใหเ้ หน็ เดน่ ชัดแตกตา่ งจากพืน้ ท่อี ื่นๆ เชน่ พ้ืนท่ีดินตะกอนรปู พัด (Alluvial Fan) โครงข่าย
คลองชลประทาน พ้นื ทส่ี นามกอลฟ์ พื้นท่ีนา ทีเ่ ป็นตารางสเี่ หล่ียมติดต่อกนั เป็นตน้

5) ความหยาบละเอียดของเนื้อภาพ (Texture) หมายถึง สภาพพ้ืนผิวที่มีความเรียบหรือขรุขระ
แตกต่างกัน ทั้งน้ขี นึ้ กับลกั ษณะภมู ิประเทศและสง่ิ ปกคลมุ บนพ้ืนผวิ ไม่เหมือนกนั เชน่ พน้ื ท่ีภเู ขามีความขรุขระ
มากกว่าพ้ืนท่ีราบเน่ืองจากความสูงต่าของพ้ืนท่ีและความไม่สม่าเสมอของเรือนยอดไม้ที่ปกคลุม บริเวณพ้ืนท่ี
นาซ่ึงเปน็ ทรี่ าบปกคลุมดว้ ยตน้ ขา้ วทม่ี ีเรอื นยอดและความสูงสม่าเสมอกัน ทาให้เนอ้ื ภาพละเอียดกว่าพื้นทภี่ เู ขา

6) ความสัมพันธ์กับตาแหน่งและส่ิงแวดล้อม (Location and Association) หมายถึง ความสัมพันธ์
ระหว่างวัตถุหรือพืชพรรณบนพื้นผิวโลกกับตาแหน่งที่อยู่และส่ิงแวดล้อมอ่ืน ๆ เนื่องจากวัตถุบางอย่างจะ
ปรากฎอย่เู ฉพาะบางทเ่ี ทา่ นน้ั พชื พรรณบางชนดิ เจรญิ เตบิ โตไดใ้ นส่งิ แวดลอ้ มเฉพาะ เชน่ ป่าชายเลนพบเฉพาะ
ในพื้นท่ีหาดเลนและชายทะเลท่ีน้าทะเลท่วมถึงเท่านั้น ความแตกต่างของป่าชนิดต่างๆ ขึ้นกับระดับความสูง
ของพื้นที่และอุณหภูมิ ความสัมพันธ์ระหว่างสายแร่กับโครงสร้างทางธรณีวิทยา เป็นต้น ซึ่งความสัมพันธ์กับ
ตาแหน่งและสงิ่ แวดลอ้ มน้ี จะชว่ ยใหผ้ แู้ ปลสามารถวนิ จิ ฉัยได้ถกู ต้องย่งิ ข้ึน

7) การเกิดเงา (Shadow) เป็นปรากฎการณ์ท่ีสัมพันธ์ระหว่างลักษณะภูมิประเทศกับดวงอาทิตย์
ทาให้พ้ืนผิวส่วนต่างๆ ของโลกได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากัน ความแตกต่างของลักษณะภูมิประเทศ เช่น
แนวภูเขาก่อให้เกิดเงาหรือส่วนมืดด้านหนึ่ง เน้นให้เห็นความสูงต่าของภูมิประเทศ ซ่ึงมีประโยชน์ต่อการแปล
และตคี วามภาพแล้ว ยังทาใหเ้ กิดปญั หาในการตคี วามคอื การเกิดเงาทาใหบ้ ดบงั

2.2 การจาแนกการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ
สามารถจาแนกได้เป็น 3 ระดับโดยอ้างอิงจากการจาแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินกรมพัฒนาท่ีดิน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้
ตารางที่ 3.1 ตัวอยา่ งตารางการจาแนกการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ

การพทิ ักษท์ รัพยากรป่าไม้

125

3. การสารวจตรวจสอบข้อมูลภาคสนาม
การสารวจตรวจสอบข้อมลู ภาคสนามมคี วามจาเปน็ ดงั นี้
3.1 ตรวจสอบข้อมูลที่ได้ทาการวิเคราะห์และข้อมูลในพื้นท่ีจริงว่ามีความถูกต้องและสัมพันธ์กัน
หรอื ไม่

การพทิ กั ษท์ รพั ยากรป่าไม้

126

3.2 ตรวจสอบสภาพในปัจจบุ นั ของพน้ื ที่ทดี่ าเนนิ การ พรอ้ มทั้งหาขอ้ มูลเพิม่ เตมิ จากราษฎรในท้องที่

3.3 ตรวจสอบว่าแปลงท่ีดินท่ีดาเนินการอ่าน แปล ตีความ และวิเคราะห์ข้อมูล ถูกต้องตรงกับ
แปลงทด่ี นิ ในพ้ืนทจ่ี รงิ หรือไม่ พรอ้ มทง้ั จดั ทาบนั ทึกการตรวจสอบสภาพพ้ืนที่

การพทิ กั ษท์ รพั ยากรป่าไม้

127

4. การนาเขา้ ขอ้ มลู สู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ดาเนินการนาข้อมูลการอ่าน แปล ตีความ และวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายจาก
ดาวเทยี ม พรอ้ มทัง้ ข้อมลู จากการสารวจตรวจสอบภาคสนามเขา้ ส่รู ะบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

5. การวิเคราะห์ประมวลผล จดั พิมพ์แผนท่แี ละรายงาน
ดาเนินการนาข้อมูลต่างๆ ท่ีได้รับมาปรับปรุง แก้ไข และวิเคราะห์ประมวลผลเพื่อจัดทาเป็นรายงาน
โดยสรุปผลการอ่าน แปล ตคี วาม และวเิ คราะหข์ อ้ มูลภาพถ่ายทางอากาศในแตล่ ะชว่ งปี พ.ศ. ต่างๆ ต้งั แต่อดีต
จนถงึ ปัจจุบนั ตามผลการจาแนกการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ

ภาพที่ 3.43 แสดงการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน ปี พ.ศ. 2497 บริเวณตาบลชะอา อาเภอชะอา จงั หวดั เพชรบรุ ี

การพทิ กั ษท์ รัพยากรป่าไม้

128

ภาพที่ 3.44 แสดงการใชป้ ระโยชนท์ ่ดี ิน ปี พ.ศ. 2545 บรเิ วณตาบลชะอา อาเภอชะอา จงั หวัดเพชรบรุ ี

การพทิ ักษท์ รพั ยากรปา่ ไม้

129

ภาพที่ 3.45 ตัวอยา่ งรายงานการศกึ ษาสภาพพ้นื ท่ี

การทาประโยชน์ในที่ดิน
เงื่อนไขสาคัญในการออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์หรือโฉนดน้ัน เร่ืองของการทาประโยชน์ใน
ท่ีดินเป็นเร่ืองสาคัญ โดยเฉพาะในเร่ืองของการออกในกรณีเฉพาะราย (โดยให้ ส.ค. 1 หรือใบเหยียบย่า หรือ
ออกเฉพาะราย โดยไม่แจ้งการครอบครอง ซึ่งเงื่อนไขสาคัญจะต้องมีการครอบครองทาประโยชน์มาก่อนใช้
ประมวลกฎหมายท่ีดิน ดังน้ัน ในการสืบสวนสอบสวนจึงเป็นเร่ืองจาเป็นที่จะต้องตรวจสอบข้อเท็จจริงต่างๆ
จากภาพถ่ายทางอากาศ ซึ่งกรมแผนที่ทหารได้จัดทาไว้ในปีต่างๆ และหากกรมแผนท่ีทหารมีภาพถ่ายทาง
อากาศที่มีการถ่ายไว้ก่อนทางราชการประกาศใช้ประมวลกฎหมายท่ีดินแล้ว ก็ย่อมจะสามารถให้ผู้ชานาญการ
ด้านภาพถ่ายทางอากาศแปลวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศได้ว่าในปี พ.ศ. ที่จัดทาภาพถ่ายทางอากาศ ที่ดิน
บริเวณน้ันมีสภาพอย่างไรมีการทาประโยชน์ในที่ดินหรือไม่อย่างไร นอกจากการวิเคราะห์ข้อเท็จจริงจาก
ภาพถ่ายทางอากาศแล้ว ข้อเท็จจริงของพ้ืนท่ีต่างๆ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2515 ยังสามารถทาการตรวจสอบด้วย
ภาพถ่ายดาวเทียมได้ว่าสภาพท่ีดินมีข้อเท็จจริงอย่างไร ซ่ึงในเรื่องของภาพถ่ายดาวเทียมดังกล่าว สามารถ
สืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริงเก่ียวกับสภาพที่ดินได้จากสานักงานเทคโนโลยีและอวกาศ คณะกรรมการวิจัย
แห่งชาติ ในเร่ืองของการทาประโยชน์ในที่ดินน้ันข้อเท็จจริงในวิธปี ฏบิ ัติวา่ ด้วยการสืบสวนสอบสวนยังสามารถ
หาข้อเท็จจริงได้จากเจ้าของท่ีดินข้างเคียงว่าที่ดินท่ีถูกกล่าวหาว่าออกไม่ชอบมีสภาพอย่างไร มีบุคคลใด
ครอบครองทาประโยชนห์ รอื ไม่ หากมกี ารทาประโยชน์ในท่ีดินทาประโยชน์ในท่ีดนิ อยา่ งไร
สรุปในประเด็นนี้ จะเห็นว่าสภาพที่ดินที่ออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์หรือโฉนด เป็นเง่ือนไข
หน่ึงของการออกเอกสารสิทธิ ฉะนั้นการวิเคราะห์แปลความภาพถ่ายทางอากาศ และการใช้ภาพถ่ายจาก
ดาวเทียมเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงต่างๆ จึงมีประโยชน์อย่างมากต่อการสืบสวนสอบสวนในเร่ืองท่ีดินทาให้
ข้อเท็จจริงชัดเจนวา่ พ้ืนทีน่ ัน้ ในอดีตมีสภาพอยา่ งไร ทาประโยชนอ์ ะไรในทด่ี นิ หรือไม่

การพิทกั ษ์ทรัพยากรปา่ ไม้

130

สาหรับการดาเนินการออกเอกสารสิทธิเฉพาะรายโดยไม่แจ้งการครอบครองตามประมวลกฎหมาย
ท่ีดินมาตรา 59 วิ การสืบสวนสอบสวนเพื่อให้ได้ความจริงน้ันก็อาศัยหลักเกณฑ์ดังท่ีกล่าวมาแล้ว ยกเว้นใน
เรือ่ งของการพิสจู น์ ส.ค. 1 หรอื ใบเหยียบย่า ใบจอง ฯลฯ เป็นต้น

**************************************************

การพทิ ักษท์ รัพยากรปา่ ไม้

131

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4
การอยรู่ ่วมกันของคนกบั ป่าและการอนรุ กั ษ์ป่าไม้

1. การแยกแยะประโยชน์ส่วนบคุ คลกับประโยชน์ส่วนรวม

1.1 ความหมายของการขดั กันระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม
การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม มีความหมาย ตรงกับคาในภาษาอังกฤษ

คือ Conflict of Interests : COI ซึ่งการบัญญัติคาในภาษาไทยท่ีมีความหมายในลักษณะเช่นเดียวกัน คือ คาว่า
“ผลประโยชน์ขดั กัน” “ผลประโยชน์ขดั แย้ง” “ผลประโยชนท์ ับซ้อน” และ “ความขัดแยง้ กันระหวา่ งผลประโยชน์
ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม” ในเบื้องต้นจึงได้แยกอธบิ ายความหมายของคาแต่ละคา ดงั น้ี

ความขัดแย้ง (Conflict) หมายถงึ การแสดงพฤตกิ รรมของบคุ คลซ่งึ เป็นผลมาจากการรบั รู้ในเปา้ หมาย
และสิ่งจูงใจท่ีมีต่อเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หน่ึง ในลักษณะของความไม่ลงรอยกันทางความคิด ความเชื่อ และ
ค่านิยม สง่ ผลให้บุคคลไมส่ ามารถตัดสินใจกระทาการส่ิงใดสิ่งหนง่ึ ได้ ซ่ึงความขดั แย้งทเ่ี กิดข้ึนมีทั้งความขัดแย้ง
ในเชิงบวกและความขัดแย้งในเชิงลบ โดยความขัดแย้งในเชิงบวกเป็นความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ ก่อให้เกิด
ผลดีต่อ ตนเอง องค์กร สังคม และประเทศชาติ การหาทางออกหรือวิธีการแก้ไขความขัดแย้งในเชิงบวก จะ
เกิดข้ึนในลักษณะของความสมานฉันท์ ความสามัคคี เกดิ เป็นแนวทางหรือองค์ความรู้ใหม่ ส่วนความขัดแย้งใน
เชงิ ลบเป็นความขดั แยง้ ที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อตนเองและสว่ นรวม ซึง่ การแสดงออกของการแก้ไขความขัดแย้งใน
เชิงลบมักสะท้อนออกมาในรปู แบบของการใชค้ วามรุนแรง การทะเลาะเบาะแวง้ และการแตกความสามัคคี

ผลประโยชนส์ ่วนตน (Private Interest) หมายถึง ส่ิงใดๆ ท่ีเป็นผลตอบแทนที่บุคคลไดร้ ับ โดยเห็นว่า
มีคุณค่าเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตนเอง บุคคล หรือ กลุ่มบุคคลที่ตนเองมีปฏิสัมพันธ์ด้วย เช่น สามี
ภรรยา บุตร ญาตพิ ี่นอ้ ง เพ่อื น ผรู้ ว่ มลงทุน เปน็ ต้น ซึ่งผลประโยชนส์ ่วนตน มี 2 ประเภท คอื 1) ผลประโยชน์
ส่วนตนที่เกี่ยวกับเงิน (pecuniary) เป็นรูปแบบของการได้มาซ่ึงเงิน ทอง และการเพิ่มพูนหรือรักษาปกป้องส่งิ
ท่ีมีอยู่แล้วไม่ให้เกิดการสูญเสยี โดยหมายความรวมถึงสิ่งท่ีไม่ไดอ้ ยู่ในรูปของตัวเงิน แต่มีมูลค่าตีเป็นราคา หรือ
สามารถแปรเปล่ยี นเปน็ ตวั เงนิ ได้ เชน่ หุ้น ท่ีดนิ ของขวญั ของกานัล เป็นตน้ และ 2) ผลประโยชน์สว่ นตนที่ไม่
เก่ียวกับเงิน (non-pecuniary) เป็นลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล วัฒนธรรม การมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมทางสังคม ซึ่งอยู่ในรูปแบบของความเช่ือ ความคิด ค่านิยม ที่มักมีอคติ ความลาเอียง เข้ามาเก่ียวข้อง
โดยปราศจากความยั้งคิดถึงความถกู ตอ้ งเปน็ ธรรมตามหลกั ธรรมาภบิ าล

ผลประโยชน์สาธารณะหรือผลประโยชน์สว่ นรวม (Public Interests) หมายถึง ส่ิงใดๆ ท่ีก่อให้เกิดผล
ท่ีมคี ณุ คา่ ต่อสมาชกิ หรือประชาชนในสงั คมโดยสว่ นรวม

การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict Of Interests) หมายถึง
สถานการณ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจกระทาการสิ่งใดสิ่งหน่ึงของบุคคล ในฐานะพนักงานหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ด้วย
การใช้ตาแหน่งหน้าท่ีแสวงหาผลประโยชน์ เพ่ือตอบสนองความต้องการของตนเองและพวกพ้อง ทาให้ไม่สามารถ
ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างตรงไปตรงมา เกิดการตัดสินใจกระทาในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง ละเมิดต่อหลักกฎหมายและ
หลกั ธรรมาภิบาล

การพทิ กั ษท์ รพั ยากรป่าไม้

132

1.2 รปู แบบการขดั กันระหว่างประโยชนส์ ่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม
รูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม มีได้หลายรูปแบบไม่จากัด

อยู่เฉพาะในรูปแบบของตัวเงินทรัพย์สินเท่าน้ัน แต่รวมถึงผลประโยชน์อื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่ในรูปของตัวเงินหรือ
ทรัพย์สนิ ด้วย ท้ังน้ี John Langford และ Kenneth Kernaghan ได้จาแนกรูปแบบของการขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์
ส่วนบคุ คลและประโยชนส์ ว่ นรวม ออกเป็น ๗ รูปแบบ คือ

1. การรับผลประโยชน์ (Accepting benefits) คอื การรับของขวญั การรบั สินบน หรอื ผลประโยชน์
ในรปู แบบตา่ ง ๆ ที่ไม่เหมาะสมและสง่ ผลต่อการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีของเจ้าพนักงานของรัฐ ทง้ั ที่เปน็ เงินและไมใ่ ช่เงิน
ในหลากหลายรูปแบบ เชน่ การแบ่งหนุ้ การให้ คปู อง การจัดเลี้ยงอย่างฟุ่มเฟือย รวมถึงการให้ความบนั เทิงใน
รูปแบบต่างๆ ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ของรัฐให้เกิดความลาเอียงและไม่เป็นธรรม หรือเป็นไป
ในทาง ท่ีเอือ้ ประโยชนต์ อ่ ผูใ้ ห้ของขวญั

2. การหาผลประโยชน์ให้ตนเอง (Self-Dealing) คือ การใช้ตาแหนง่ หนา้ ที่การงานเพื่อหาประโยชน์
ใหก้ บั ตนเอง ครอบครัว หรอื พวกพ้อง

3. การทางานหลังเกษียณ (Post-Employment) คือ การที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐ เม่ือออกจากหน่วยงาน
ของรัฐ หรือภายหลังเกษียณได้ไปทางานโดยใช้อิทธิพลจากท่ีเคยดารงตาแหน่งเดิมมารับงานหาผลประโยชน์
ใหต้ นเองและพวกพอ้ ง

4. การทางานพิเศษ (Outside Employment or Moonlighting) คือ การใช้ สถานภาพตาแหน่ง
หน้าทก่ี ารงานเข้าไปเป็นท่ีปรึกษา กรรมการ หุ้นส่วน หรอื เป็นเจา้ ของกิจการภาคเอกชน เพื่อสร้างความน่าเช่ือถือ
ว่าจะไม่มีปัญหาติดขัดในการพิจารณางานจากหน่วยงานรัฐที่ตนสังกัดอยู่ นอกจากนี้ยังรวมถึงการใช้เวลา
เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ของรัฐ ในการทางานพเิ ศษภายนอกท่ีไม่ใชง่ านท่ีได้รับมอบหมายจากหนว่ ยงานของรัฐ

5. การรับรู้ข้อมูลภายใน (Inside Information) คือ สถานการณ์ที่เจ้าหน้าที่ของรัฐรับรู้รับทราบ
ขอ้ มูลภายในหนว่ ยงานแลว้ นาข้อมูลดังกล่าวไปแสวงหาผลประโยชนใ์ ห้ตนเองและพวกพ้อง

6. การนาทรัพย์สินของหน่วยงานไปใช้ช่ัวคราวในกิจการท่ีเป็นส่วนของตน (Using your employer’s
property for private advantage) คือ การนาทรัพย์สินต่าง ๆ ของหน่วยงานรัฐไปใช้เพ่ือประโยชน์ส่วนตัว
ทาให้หนว่ ยงานของรฐั เสียหายหรอื เสียประโยชน์ เชน่ การนาเคร่ืองใชส้ านกั งานกลบั ไปใชท้ บี่ า้ น การนารถยนต์
ราชการไปใชท้ าธรุ ะสว่ นตวั

7. การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตั้งเพื่อประโยชน์ทางการเมือง (Pork Barreling) คือ
การใช้อิทธิพลทางการเมืองเพ่ืออนุมัตโิ ครงการหรือผลตอบแทนในพื้นทีท่ ่ีตนรับผิดชอบ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เครื่องมือใน
การหาเสยี งเลอื กตัง้

ทั้งน้ี เมอื่ พิจารณา "รา่ งพระราชบัญญัติว่าดว้ ยความผิดเกีย่ วกบั การขัดกนั ระหว่างประโยชน์ส่วนบคุ คล
กับประโยชนส์ ่วนรวม พ.ศ. ….” ทาให้มีรูปแบบเพิ่มเติมจากที่กลา่ วมาแล้วข้างตน้ อีก ๆ กรณี คือ

8. การใช้ตาแหน่งหน้าท่ีแสวงหาประโยชน์แก่เครือญาติหรือพวกพ้อง (Nepotism) หรืออาจจะ
เรียกว่าระบบอุปถัมภ์พิเศษเป็นการท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ใช้อิทธิพลหรือใช้อานาจหน้าท่ีทาให้หน่วยงานของตน
เข้าทาสัญญากับบรษิ ัทของพ่นี ้องของตน

9. การใช้อิทธิพลเข้าไปมีผลต่อการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่รัฐ หรือหน่วยงานของรัฐอื่น (infuence)
เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ก่ตนเองหรือพวกพ้อง โดยเจา้ หนา้ ท่ีของรฐั ใช้ตาแหน่งหนา้ ที่ข่มขู่ผู้ใต้บังคับบัญชาให้หยุด
ทาการตรวจสอบบรษิ ทั ของเครอื ญาตขิ องตน

10. การขัดกันแห่งผลประโยชนส์ ว่ นบุคคลกบั ประโยชน์ส่วนรวมประเภทอ่ืนๆ

การพิทักษท์ รัพยากรปา่ ไม้

133

1.3 การขัดกนั ระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชน์สว่ นรวมตามกฎหมาย ป.ป.ช.

พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2561
หมวดที่ 6 การขัดกันระหวา่ ง ผลประโยชนส์ ่วนบคุ คลกบั ประโยชน์ส่วนรวม
มาตรา 126 นอกจากเจ้าพนักงานของรัฐท่ีรัฐธรรมนูญกาหนดไว้เป็นการเฉพาะแล้ว ห้ามมิให้
กรรมการ ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ และเจ้าพนักงานของรัฐท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกาหนด
ดาเนินกิจการดงั ต่อไปน้ี

(1) เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาท่ีทากับหน่วยงานของรัฐ ที่เจ้าพนักงานของรัฐผู้
นั้นปฏิบัติหน้าที่ในฐานะที่เป็นเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งมีอานาจไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในการกากับ ดูแล
ควบคมุ ตรวจสอบหรือดาเนนิ คดี

(2) เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่เข้าเป็นคู่สัญญา กับหน่วยงานของรัฐที่
เจ้าพนักงานของรัฐผู้นั้นปฏิบัติหน้าที่ในฐานะท่ีเปน็ เจา้ พนักงานของรฐั ซ่ึงมีอานาจไม่ว่าโดยตรงหรอื โดยอ้อมใน
การกากับ ดูแล ควบคมุ ตรวจสอบหรอื ดาเนินคดี เว้นแตจ่ ะเปน็ ผู้ถือหนุ้ ในบริษทั จากัดหรือบริษัทมหาชนจากัด
ไม่เกินจานวนที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด

(3) รับสมั ปทานหรือคงถือไวซ้ ึ่งสัมปทานจากรัฐ หน่วยงานราชการ หน่วยงานของ รัฐ รัฐวิสาหกิจ
หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐ หน่วยงานราชการ หน่วยงาน ของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ
ราชการส่วนท้องถ่ิน อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือ เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือ
บริษทั ท่ีรบั สัมปทานหรือเข้าเปน็ ค่สู ัญญาในลักษณะดังกลา่ ว ในฐานะทเ่ี ปน็ เจา้ พนักงานของรฐั ซ่ึงมีอานาจไม่ว่า
โดยตรงหรือโดยอ้อมในการกากับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดาเนินคดี เว้นแต่จะเป็นผูถ้ ือหุ้นในบริษัทจากัด
หรือบริษทั มหาชนจากัด ไม่เกนิ จานวนท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด

(4) เขา้ ไปมีสว่ นได้เสียในฐานะเป็นกรรมการ ท่ีปรึกษา ตัวแทน พนกั งานหรอื ลกู จ้าง ในธรุ กิจ
ของเอกชนซ่ึงอยู่ภายใต้กากับ ดูแล ควบคุม หรือตรวจสอบของหน่วยงานของรัฐที่เจ้าพนักงานของรัฐผู้น้ัน
สังกัดอยู่หรือปฏิบัติหน้าที่ในฐานะเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ซ่ึงโดยสภาพของผลประโยชน์ของธุรกิจของเอกชน
นั้นอาจขัดหรือแย้งต่อประโยชน์ส่วนรวมหรือประโยชน์ทางราชการ หรือกระทบต่อความมีอิสระในการปฏิบัติ
หนา้ ท่ีของเจ้าพนักงานของรฐั ผ้นู ้ัน

การพิทกั ษ์ทรพั ยากรปา่ ไม้

134

ให้นาความในวรรคหน่ึง มาใช้บังคับกับคู่สมรสของเจ้าพนักงานของรัฐตามวรรคหน่ึงด้วย โดยให้ถือว่า
การดาเนินกิจการของคู่สมรสเป็นการดาเนินกิจการของเจ้าพนักงานของรัฐ เว้นแต่เป็นกรณีท่ีคู่สมรสนั้น
ดาเนนิ การอยู่กอ่ นท่ีเจา้ พนักงานของรฐั จะเขา้ ดารงตาแหน่ง

คู่สมรสตามวรรคสองให้หมายความรวมถึงผู้ซ่ึงอยู่กินกันฉันสามีภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรสด้วย
ทง้ั น้ี ตามหลกั เกณฑท์ ี่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด

เจ้าพนักงานของรัฐที่มีลักษณะตาม (2) หรือ (3) ต้องดาเนินการไม่ให้มีลักษณะ ดังกล่าวภายใน
สามสิบวนั นบั แตว่ ันท่เี ข้าดารงตาแหนง่

มาตรา 127 ห้ามมิให้กรรมการ ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ ผู้ดารงตาแหน่ง ระดับสูงและผู้ดารง
ตาแหน่งทางการเมืองท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด ดาเนินการใดตามมาตรา 126 (4) ภายในสองปีนับแต่
วันทพ่ี น้ จากตาแหน่ง

มาตรา 128 หา้ มมิใหเ้ จ้าพนักงานของรัฐผู้ใดรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใด อนั อาจคานวณเป็นเงิน
ได้จากผู้ใด นอกเหนือจากทรัพย์สินหรือประโยชน์อันควรได้ตามกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับท่ีออกโดยอาศัย
อานาจตามบทบญั ญัตแิ ห่งกฎหมาย เว้นแต่การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาตามหลักเกณฑ์
และจานวนทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด

ความตามวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดของผู้ซ่ึงพ้นจากการเป็น
เจ้าพนกั งานของรฐั มาแล้วยงั ไมถ่ ึงสองปีดว้ ยอนุโลม

2. การจัดการอย่างมีสวนร่วม

จิตอาสาหรอื จิตสาธารณะ (public consciousness หรือ Public mind)
จิตอาสา หรือ จิตสาธารณะ (public consciousness หรือ Public mind) หมายถึง จิตสานึกเพื่อ

ส่วนรวม เพราะคาว่า “สาธารณะ” คือ สิ่งท่ีมิได้เป็นของผู้หนึ่งผู้ใด จิตสาธารณะจึงเป็นความรู้สึกถึงการเป็น
เจ้าของในสงิ่ ทีเ่ ป็นสาธารณะ ในสิทธิและหนา้ ทีท่ จ่ี ะดูแล และ บารุงรักษาร่วมกนั

จิตอาสา หรอื มีจติ สาธารณะ” ยงั หมายรวมถึง จิตของคนท่ีรจู้ ักความเสียสละ ความรว่ มมือ ร่วมใจ
ในการทาประโยชน์เพื่อส่วนรวม จะช่วยลดปัญหาที่เกิดข้ึนในสังคม ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิต เพ่ือเป็น
หลักการในการดาเนินชีวิต ช่วยแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์สุขแก่สังคม เช่น การช่วยกันดูแล
รักษาส่ิงแวดล้อม โดยการไม่ทิ้งขยะลงในแหลง่ น้า การดูแลรักษาสาธารณสมบัติ เช่น โทรศัพท์สาธารณะ หลอด
ไฟฟ้าท่ีให้ความสว่างตามถนนหนทาง แม้แต่การประหยัดน้า ประปา หรือไฟฟ้า ท่ีเป็นของส่วนรวม โดยใช้ให้
เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า ตลอดจนช่วยกันดูแลรักษา ให้ความช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก หรือผู้ที่ร้องขอความ
ช่วยเหลือเท่าท่ีจะทาได้ ตลอดจนร่วมมือกระทาเพ่ือไม่ให้เกิดปัญหา หรือช่วยกันแก้ปัญหา แต่ต้องไม่ขัดต่อ
กฎหมาย เพือ่ รกั ษาประโยชน์สว่ นรวม

ราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของ จิตสานึกทางสังคม หรือจิตสานึกสาธารณะว่า คือ การ
ตระหนกั รู้และคานงึ ถึงส่วนรวมร่วมกัน หรือการคานงึ ถึงผูอ้ นื่ ท่รี ่วมสมั พันธเ์ ปน็ กลุ่มเดียวกนั

สานกั งานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ ได้ให้ความหมายวา่ การรจู้ ักเอาใจใสเ่ ป็นธุระและเขา้ รว่ มในเร่ือง
ของส่วนรวมท่ีเป็นประโยชน์ต่อ ประเทศชาติ มี ความสานึกและยึดม่ันในระบบคุณธรรม และจริยธรรมท่ีดีงาม
ละอายตอ่ สง่ิ ผิด เน้นความเรยี บรอ้ ย ประหยัดและมคี วามสมดลุ ระหว่างมนุษยก์ บั ธรรมชาติ

สรุป จิตอาสา หรือจิตสาธารณะ หรือจิตสานึกสาธารณะ คือ จิตสานึก (Conscious) เป็นการตระหนัก
รู้ตัว หรือเป็นจิตส่วนท่ีรู้ตัว รู้ว่าทาอะไร อยู่ที่ไหน เป็นอย่างไรขณะท่ีตื่นอยู่น่ันเอง ส่วนคาว่า สาธารณะ (Public)

การพทิ ักษ์ทรพั ยากรป่าไม้

135

เป็นการแสดงออกเพื่อสังคมส่วนรวม เป็นการบริการชุมชน ทาประโยชน์เพื่อสังคม ถ้าเป็นส่ิงของก็ต้องใช้
ประโยชน์ร่วมกัน เมอื่ นาสองคามารวม หมายถงึ การตระหนกั รตู้ น ท่จี ะทาส่งิ ใดเพอื่ เห็นแกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวม

ที่มา : http://www.nitade.lpru.ac.th/2012/html/news9.html

แนวคิดและทฤษฎที เ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการมสี ่วนร่วมของประชาชนในการอนุรกั ษส์ ่ิงแวดล้อม

การมีส่วนรว่ มของประชาชน
โกวิทย์ พวงงาม (2553 : 127) อธิบายว่าการมีส่วนร่วมของประชาชน คือ การที่ประชาชนมีส่วนร่วม
ต้ังแต่การคิด วิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติงาน ประเมินผล และร่วมรับผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น ซ่ึงอาจกล่าวได้ว่า
เปน็ การพฒั นาชมุ ชนโดยประชาชนเพือ่ ประชาชน
คณะกรรมาธิการความม่ันคงแห่งรัฐสภาผู้แทนราษฎร (2553 : 10) กล่าวว่าการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกระดับชั้นเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงานในการแก้ไขปัญหา
ต่างๆ ให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของคนในชมุ ชนและสภาพปัญหาท่เี กดิ ขนึ้ ในชุมชน
มธรุ ดา ศรีรตั น์ (2554) ไดก้ ล่าวว่า การมีส่วนร่วมของประชาชน คือ การที่ประชาชนเข้ามามสี ่วนร่วม
ปฏิบัติในการแสดงความคิดเห็น ตัดสินใจวางแผน ปฏิบัติงานและการประเมินผล โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์
อยา่ งมีความเชย่ี วชาญ เพือ่ ใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์
สรุป การมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีบทบาทในการดาเนินงาน
ต้ังแต่เริ่มจนสิ้นสุดการดาเนินงาน ไม่ว่าจะเป็นการร่วมกาหนดปัญหาวางแผนตัดสินใจ ระดมทรัพยากรบริหาร
จัดการ ติดตามประเมินผล และร่วมรับผลประโยชน์ที่เกิดข้ึน เพ่ือพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาให้ตรงกับความ
ตอ้ งการของคนในชุมชน

ขันตอนการมีส่วนร่วม
กระทรวงศกึ ษาธิการ (2545 : 116) ได้จาแนกข้นั ตอนการมีส่วนร่วมของประชาชนไว้ 5 ข้นึ ตอน ดังนี้
1. ข้ันตอนการมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหา โดยประชาชนจะมีส่วนร่วมในการ
กาหนดปญั หาและจดั ลาดับความสาคญั ของปัญหาท่ีเกดิ ขึน้ ในชุมชน
2. ข้นั ตอนการมีส่วนรว่ มในการวางแผนพัฒนา โดยประชาชนจะมีสว่ นรว่ มในการกาหนดวตั ถปุ ระสงค์
วิธีการดาเนนิ การ แนวทางการดาเนินการ รวมถึงการกาหนดแหลง่ ทรัพยากร
3. ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน เป็นขั้นท่ีประชาชนจะมีส่วนร่วมในการสนับสนุนทรัพย์
วสั ดอุ ุปกรณ์และแรงงาน หรือเข้าร่วมบรหิ ารงานและประสานงาน
4. ข้ันตอนการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ เป็นการรับผลประโยชน์ท่พี ึงจะได้รับผลประโยชนอ์ ัน
เกิดจากการดาเนินงานด้านวัตถแุ ละจติ ใจ
5. ขนั้ ตอนการมสี ว่ นร่วมในการประเมนิ ผล เปน็ การประเมินว่าการดาเนินงานนน้ั กระทาไปสาเร็จตาม
วัตถุประสงค์ท่กี าหนดมากนอ้ ยเพียงใด

แนวคดิ เกี่ยวกบั การอนรุ ักษส์ ิ่งแวดล้อม
กรมส่งเสริมสุขภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (2545) ได้ให้แนวทาง
การอนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ มไวว้ ่า เป็นการศึกษาเผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธ์คือในการแก้ไขปญั หาตา่ งๆ ต้องมีความเขา้ ใจ
เก่ียวกบั ปัญหาต้องรู้จักสังคมและสภาพแวดล้อมอย่างแทจ้ ริง เพอื่ ใหค้ นในสังคมตระหนักถึงบทบาทของตนเอง

การพิทกั ษท์ รพั ยากรปา่ ไม้

136

และหน้าที่ที่มีต่อส่ิงแวดล้อม สลักจิต พุกจรูญ (2551) ได้เสนอแนวคิดในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมไว้ทั้งสิ้น 6
แนวทาง คอื

1. ต้องมีความรเู้ กย่ี วกับประโยชน์และโทษของการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและต้องให้ความสาคัญ
กับการนาทรัพยากรธรรมชาติไปใชแ้ บบสญู เปลา่

2. ใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีจาเป็นและหายากอย่างระวัง โดยให้พึงระวังไว้ว่าการใช้ทรัพยากรมาก
เกินไปจะทาให้สภาพแวดลอ้ มเสียสมดุล

3. รักษาทรพั ยากรที่ทดแทนไดใ้ หม้ มี ากกวา่ หรือเทา่ กับทีต่ อ้ งการใช้เป็นอยา่ งนอ้ ย
4. สามารถประมาณอัตราการเปล่ียนแปลงของประชากรได้ โดยพิจารณาจากความต้องการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติเปน็ สาคญั
5. พยายามค้นควา้ หาวธิ ใี หมๆ่ ในการผลติ และใชท้ รัพยากรธรรมชาติจากแหล่งธรรมชาตใิ ห้พอเพียงต่อ
ความตอ้ งการใช้ของประชากร
6. ให้ความรู้กับประชาชนเก่ียวกับการรักษาสมดุลของธรรมชาติ เพื่อให้เข้าใจถึงหลักการอนุรักษ์
สิง่ แวดลอ้ ม
ตัวอย่าง โมเดลการจัดการพืนท่ีชุมชนในโครงการจัดการพืนท่ีคุ้มครองอย่างมีส่วนร่วม บ้านเขาเหล็ก
อุทยานแหง่ ชาตเิ ฉลมิ รตั นโกสินทร์

การพทิ ักษ์ทรัพยากรปา่ ไม้

137

เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ปา่ ทงุ่ ใหญ่นเรศวรด้านตะวันออก ได้เสนอรปู แบบของการประยุกต์ปรชั ญาเศรษกิจ
พอเพยี งในการดาเนินชวี ิตบนทางสายกลาง บนหลักการสามห่วง สองเงอื่ นไข มาปรบั ใชก้ ับการทางานชุมชนใน
โครงการจอมปา่ ดงั นี้

การพิทกั ษ์ทรพั ยากรป่าไม้

138

ผงั การนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกต์ใชใ้ นโครงการจอมปา่

การพทิ ักษ์ทรัพยากรปา่ ไม้

139

การพทิ กั ษท์ รพั ยากรป่าไม้

140

ตารางระดับการมีส่วนรว่ มของประชาชนของ IAP2 และตวั อยา่ งเทคนิคการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน

3. ความสมดุลระหวา่ งความตอ้ งการของมนุษยก์ บั ทรพั ยากร
การวเิ คราะห์สถานการณป์ ่าไม้
ท่ีดินป่าไม้ของรัฐบางส่วนถูกครอบครองโดยประชาชนเพ่ืออยู่อาศัย หรือใช้ประโยชน์โดยไม่ได้รับ

อนุญาตตามกฎหมาย จานวนไม่น้อยกว่า ๑๕ ล้านไ โดยจาแนกเป็นพื้นที่ป่าเพ่ือการอนุรักษ์ (อุทยานแห่งชาติ
พันธ์ุสัตว์ป่า และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า) ไม่น้อยกว่า ๕.๙ ล้านไร่ ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าไม่น้อยกว่า ๙ ล้านไร่
ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าทีต่ ามกฎหมายแตล่ ะฉบับอาจละเว้นการดาเนนิ การตามกฎหมายในขณะเดียวกนั รัฐบาลใน
แต่ละสมัยได้ออกนโยบายหรือคาส่งั ผ่อนปรนการบงั คับใช้กฎหมายกับประชาชนยากไร้ หรือไร้ท่ีดินทากิน เชน่
มตคิ ณะรฐั มนตรี เม่ือวันที่ ๓ มิถนุ ายน ๒๕๔๑ และคาส่ังคณะรักแห่งชาติ ที่ ๖๖/0๕๕๗ เปน็ ต้น

การพิทกั ษ์ทรัพยากรป่าไม้

141

จากสถานการณ์ป่าไม้ดังกล่าว ทาให้เกิดความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานของรัฐที่บังคับใช้กฎหมายกับ
ประชาชนทค่ี รอบครองทด่ี ินป่าไม้ของรัฐโดยไม่ได้รับอนุญาตมาโดยตลอด แมว้ ่าจะมคี วามพยายามแก้ไขปัญหา
เหล่านี้ในหลายรัฐบาลท่ีผ่านมา แต่ก็ยังไม่สาเร็จ ในขณะท่ีประชาชนที่ครอบครองท่ีดินป่าไม้ของรัฐบางสว่ นได้
พยายามเรียกร้องขอความเป็นธรรม ขอให้รัฐจัดสรรท่ีดินป่าไม้ และให้เอกสารแสดงสิทธิในการครอบครองใน
รปู แบบตา่ ง ๆ

พระราชดารเิ กีย่ วกับการจดั การทรพั ยากรป่าไม้
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงห่วงใยในปัญหาปริมาณป่าไม้
ลดลงเปน็ อย่างมาก จงึ ทรงพยายามคน้ หาวิธีนานาประการที่จะเพม่ิ ปริมาณของป่าไมใ้ นประเทศไทยใหเ้ พ่ิมมาก
ข้ึนอยา่ งม่ันคงและถาวร โดยมีวธิ ีการที่เรียบงา่ ยและประหยัดในการดาเนินงาน ตลอดจนเปน็ การสง่ เสรมิ ระบบ
วงจรป่าไม้ในลักษณะอันเป็นธรรมชาติด้ังเดิม ซ่ึงได้พระราชทานพระราชดาริหลายวิธี ดังน้ี (สานักงาน กปร..
๒๕๔๐.)

(1) ปลกู ปา้ โดยไมต่ อ้ งปลูก ด้วยวธิ ีการ ๓ วธิ ี คอื
ก."...ถ้าเลือกได้ที่ท่ีเหมาะสมแล้ว ก็ทิ้งป่าน้ันไว้ตรงน้ัน ไม่ต้องไปทาอะไรเลย ป่าจะเจริญเติบโต

ขน้ึ มาเปน็ ปา่ สมบูรณ์โดยไมต่ อ้ งไปปลกู เลยสกั ต้นเดียว..."
ข. "...ไม่ไปรังแกป่าหรือตอแยต้นไม้เพียงแตค่ ้มุ ครองให้ขึ้นเองได้เท่านั้น..."
ค. "...ในสภาพป่าเตง็ รัง ป่าเส่ือมโทรมไม่ต้องทาอะไรเพราะตอไม้ก็จะแตกกิ่งออกมาอีกถึงแม้

ตน้ ไมส่ วยแต่กเ็ ป็นตน้ ไม้ใหญไ่ ด้..."
(2) การปลกู ปา่ ๓ อยา่ ง ได้ประโยชน์ ๔ อย่าง : การรจู้ ักใชท้ รัพยากรธรรมชาติด้วยพระปรีชาญาณ

อยา่ งชาญฉลาดให้เกดิ ประโยชนแ์ กป่ วงชนมากทสี่ ดุ ยาวนานทส่ี ุด และท่วั ถึงกนั
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ทรงแนะนาการปลกู ปา่ ใน

เชงิ ผสมผสาน ท้ังดา้ นเกษตรวนศาสตร์ และเศรษฐกิจสั่งคมไว้เป็นมรรควิธปี ลูกปา่ แบบเบด็ เสรจ็ นน้ั ไวด้ ว้ ย

ลักษณะทั่วไปของปา่ ๓ อยา่ ง
พระราชดาริปลูกป่า ๓ อยา่ งนั้น มพี ระราชดารัส ความวา่
"....ป่าไม้ท่ีจะปลูกนั้น สมควรท่ีจะปลูกแบบป่าใช้ไม้หน่ึง ป่าสาหรับใช้ผลหน่ึง ป่าสาหรับใช้
เป็นฟืนอย่างหน่ึง อันนี้แยกออกไปเป็นกว้าง ๆ ใหญ่ ๆ การที่จะปลูกต้นไม้สาหรับได้ประโยชน์ ดังน้ี ในคาวิเคราะห์
ของกรมป่าไม้รู้สึกจะไม่ใช่ป่าไม้ เป็นสวน หรือจะเป็นสวนมากกว่าป่าไม้ แต่ในความหมายของการช่วยเหลือ
เพื่อต้นน้าลาธารนั้น ป่าไม้เช่นน้ีจะเป็นสวนผลไม้ก็ตามหรือเป็นสวนไม้ฟืนก็ตามน่ันแหละเป็นป่าไม้ที่ถูกต้อง
เพราะทาหน้าที่เป็นป่าคือเป็นต้นไม้และทาหน้าท่ีเป็นทรัพยากรในด้านสาหรับให้ผลที่มาเป็นประโยชน์แก่
ประชาชนได้..."
ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ
ในการปลกู ปา่ ๓ อย่างนน้ั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร
ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานพระราชาธิบายถึงประโยชน์ในการปลกู ปา่ ตามพระราชดารวิ า่
“...การปลูกป่า ๓ อย่าง แต่ให้ประโยชน์ ๔ อย่าง ซ่ึงได้ไม้ผล ไม้สร้างบ้าน และไม้ฟินนั้น
สามารถให้ประโยชน์ได้ถึง 4 อย่าง คือ นอกจากประโยชน์ในตัวเองตามช่ือแล้ว ยังสามารถให้ประโยชน์ อันท่ี
4 ซ่ึงเปน็ ข้อสาคญั คอื สามารถช่วยอนรุ กั ษ์ดนิ และต้นน้าลาธารดว้ ย...."
และไดม้ ีพระราชดารัสเพมิ่ เติมวา่

การพิทกั ษ์ทรัพยากรปา่ ไม้

142

"...การปลกู ปา่ ถา้ จะให้ราษฎรมีประโยชน์ให้เขาอยู่ได้ ให้ใช้วิธีปลูกไม้ ๓ อยา่ ง แตม่ ีประโยชน์
๔ อย่าง คือ ไม้ใช้สอย ไม้กินได้ ไม้เศรษฐกิจ โดยปลูกรองรับการชลประทาน ปลูกรับชับน้า และปลูกอุดช่วงไหล่
ตามร่องห้วย โดยรับนา้ ฝนอย่างเดียว ประโยชนอ์ ย่างที่ ๔ คอื ได้ระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า....

(3) การปลกู ป่าในใจคน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงตระหนักถึง

ความสาคัญของป่าไม้มาต้ังแต่เสด็จข้ึนครองราชย์ พระองค์เสร็จพระราชดาเนินไปเย่ียมราษฎรท่ัวทุกภูมิภาค
ทรงได้เห็นสภาพป่าไม้ที่ทรุดโทรมและถูกทาลายลงมากมาก จึงทรงมีพระราชดาริให้มีการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูป่า
เพ่ือรักษาสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศทางน้า ดิน และป่าไม้ เพ่ือให้ประชาชนได้มีชีวิตและความเป็นอยู่ท่ีดี
ในสภาพแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์และสามารถพ่ึงพาตนเองได้หลายโครงการ ทั้งท่ีเป็นโครงการส่วนพระองค์
โครงการพระราชดารทิ ี่เก่ยี วกบั ปา่ และดนิ

นอกจากน้ี พระองค์ทรงมีพระราชดารัสในเร่ืองของการปลูกป่าว่า" "...วรจะปลูกต้นไม้ในใจ
คนเสียกอ่ น แล้วคนเหลา่ นน้ั ก็จะพากนั ปลูกต้นไมล้ งบนแผ่นดนิ และรักษาต้นไมด้ ว้ ยตนเอง.."

ปลูกต้นไม้ในใจคน หมายถึง ประการแรก ต้องเข้าใจว่าเราปลูกต้นไม้ทาไมต้องให้เห็นระ
โยชน์ว่าประโยชนค์ ืออะไร จาเป็นต่อชวี ติ อยา่ งไร ประการที่สอง ปลูกตน้ ไมเ้ ป็นการปลูกจิตสานึกเกี่ยวกับ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ดินนาลมไฟทอี่ ย่รู อบตวั เรา

พระราชดาริในการปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก เป็นกลยุทธ์ในการรักษาป่าท่ีเรียบง่าย ประหยัด
โดยทรงอาศัยหลักวงจรธรรมชาติเพียงคนไม่เข้าไปทาลาย รบกวน เพ่ือให้ต้นไม้ได้ฟ้ืนตัว ขยายพันธ์ุ เกิดระบบ
นิเวศของส่ิงมีชีวิตท่ีเกื้อกูลกันเป็นระดับชั้น จนป่าฟื้นคืนสู่ความสมบูรณ์ได้ จากการทรงงานพัฒนาในภูมิภาค
ตา่ ง ๆ ของประเทศ มาตลอด ๗0 ปี ทรงตระหนักถึงปัญหาความเสื่อมโทรมของป่า โดยเฉพาะป่าตน้ นา้ ลาธาร
ด้วยทรงเข้าพระทัยในวงจรธรรมชาติของป่า จึงทรงคัดเลือกวิธีฟื้นฟู อนุรักษ์ป่าที่สอดคล้องกับสภาพภูมิ
ประเทศและวัฒนธรรมความเป็นอยู่ และท่ีสาคัญคือความเข้าใจของคนในพ้ืนที่ ดังพระราชดารัสท่ีว่า "...ต้อง
อธิบายให้ราษฎรรู้ว่าการท่ีปริมาณน้าตามแหล่งน้าธรรมชาติลดลง มันก็เพราะมีการทาลายป่าต้นน้าโดย
รเู้ ท่าไมถ่ งึ การณ.์ .." และ "...ไมย้ ืนต้นน้นั จะชว่ ยใหอ้ ากาศมีความชุม่ ช้ืนเปน็ ข้ันตอนหนึง่ ของระบบการเกดิ ฝนตก
ตามธรรมชาติ ทง้ั ยังชว่ ยยึดดินบนภูเขาไม่ให้พงั ทลายเมื่อเกดิ ฝนตกอีกดว้ ย... "

ปัจจุบันจานวนประชากรท่ีเพิ่มข้ึนและความต้องการใช้ทรัพยากรก็เพ่ิมมากขึ้นตามไปด้วยทา
ให้เกิดการตักตวงผลประโยชน์จากธรรมชาติจนสร้างความเสียหายอย่างมหาศาลแก่สิ่งแวดล้อมและมนุษย์ไป
พร้อมกัน ในวันน้ีพระราชดาริการปลูกบาโดยไม่ต้องปลูก และการปลูกป่าในใจคนของพระบาทสมเด็จพระ
ปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จะเป็นบทเรยี นอันลกึ ซึ้งให้คนไทยได้ศกึ ษาหาหนทางช่วยกัน
รักษาป่าไม้ และทรพั ยากรธรรมชาติใหด้ ารงอยู่คแู่ ผ่นดนิ สืบไป

"...อาจฝกึ ใหร้ าษฎรช่วยทาหน้าทพี่ นักงานดแู ลปา่ ไม้ เพราะต่างฝ่ายต่างกม็ ีประโยชนร์ ่วมกัน...
บริเวณพ้ืนท่ีราบในหุบเขาก็ต้องพัฒนาให้เป็นนาข้าวสาหรับราษฎรทากิน... เมื่อราษฎรสามารถทากินได้บริบูรณ์
แล้วจะเลิกปลูกฝ่ินโดยสิ้นเชิง..." พระราชดารัส เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๖๐ ณ โครงการหลวง
พฒั นาต้นน้าหนว่ ยที่ ๖ ขุนคอง (สานักสนองงานพระราชดาริ, ๒๕๖๐)

การพิทกั ษท์ รพั ยากรปา่ ไม้

143

4. การร้องเรยี นเก่ียวกับการกระทาความผิดทางทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม
กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั ว์ปา่ และพันธพ์ุ ืช จัดตั้งศูนยบ์ ริการประชาชนเพ่ือบรหิ ารจดั การเรื่องร้องเรียน

ต่าง ๆ เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด ภายใต้คาส่ังกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
ท่ี 297/2550 ซ่ึงดาเนินการโดยศูนย์สารสนเทศ สานักแผนงานและสารสนเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็น
แนวทางในการแจ้งเร่ืองร้องเรียนสาหรับประชาชน และเพ่อื ทราบข้นั ตอน/กระบวนการในการดาเนินการเกี่ยวกับ
เรอื่ งร้องเรียนของประชาชนทเ่ี กยี่ วกบั การกระผิดทางทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม

การบริหารจัดการเรื่องร้องเรียน มีเพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการโดยให้ครอบคลุมทุกกลมุ่
ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการข้อร้องเรียน ข้อคิดเห็นข้อเสนอแนะ และคาชมเชย ด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงเร่ืองร้องเรียนเก่ียวกับภารกิจด้านทรัพยากรธรรมชาติ เช่น การ
บุกรุกพื้นท่ปี ่าไม้ การตัดไมท้ าลายปา่ การลา่ สตั ว์ การครอบครองสัตว์ปา่ และการคา้ ขายสตั วป์ ่าและพืชป่า

ผงั กระบวนการจัดการเรื่องรอ้ งเรียน

การพทิ ักษท์ รพั ยากรปา่ ไม้

144


Click to View FlipBook Version