แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 เคมีเปน็ พื้นฐานของสง่ิ มชี ีวิต ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4
เรอ่ื ง สารอินทรีย์ สารอนินทรยี ์ และปฏกิ ิรยิ าเคมใี นสงิ่ มชี ีวิต เวลา 9 คาบ
1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
ในรา่ งกายของคนประกอบดว้ ยสารเคมี 2 ประเภท คอื สารอนิ ทรีย์และสารอนินทรยี ์
สารอนินทรีย์ท่ีส้าคัญคือ น้า และแร่ธาตุบางชนิด ในร่างกายมีน้าเป็นองค์ประกอบมากที่สุด
น้าเป็นตัวท้าละลายที่ดี ช่วยล้าเลียงสารต่างๆไปทั่วร่างกาย ช่วยรักษาอุณหภูมิในร่างกายให้คงที่
สา้ หรบั แรธ่ าตุเปน็ องคป์ ระกอบของเซลล์และเนือเยื่อ ช่วยให้เกดิ ปฏิกิริยาเคมตี ่างๆ
สารอินทรีย์มีธาตุคาร์บอน (C) และไฮโดรเจน (H) เป็นองค์ประกอบหลัก สารอินทรีย์ท่ีพบ
มากในสิ่งมีชีวิตมี 4 กลุ่ม คอื คารโ์ บไฮเดรท โปรตีน ลิพิด และกรดนิวคลีอิก สารเหล่านีเป็นโครงสร้าง
ของเซลล์ ชว่ ยให้รา่ งกายเจริญเติบโต เป็นสารท่ีให้พลังงาน กรดนิวคลีอิก ท้าหน้าท่ีเก็บและถ่ายทอด
ข้อมูลทางพันธุกรรม นอกจากนียังมีวิตามินซ่ึงเป็นสารท่ีไม่ให้พลังงาน แต่ร่างกายจ้าเป็นต้องได้รบั จึง
จะดา้ รงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งปกติ
ปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือปฏิกิริยาคายพลังงานและปฏิกิริยาดูด
พลังงาน ซ่ึงจ้าเป็นต้องอาศัยเอนไซม์ช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยา ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ ความ
เข้มข้นของสารตังต้น และความเข้มข้นของเอนไซม์ มีผลต่อปฏิกิริยาต่างๆ ในเซลล์ ปฏิกิริยาอาจ
ชะงกั หรือหยดุ ไป ถา้ มีสารทมี่ สี มบัติยบั ยงั การทา้ งานของเอนไซม์ เข้ารวมกบั เอนไซมห์ รอื สารตังตนั
2. มาตรฐานการเรยี นรู้
สาระท่ี 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจติ วิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ
แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึนส่วนใหญ่มีรูปแบบท่ีแน่นอน สามารถอธิบายและ
ตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเคร่ืองมือท่ีมอี ยู่ในช่วงเวลานัน ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สงั คม และสง่ิ แวดล้อม มีความเกยี่ วข้องสมั พนั ธก์ ัน
3. ผลการเรยี นรู้
1. อธบิ ายเกี่ยวกับโครงสร้างและหนา้ ท่ขี องสารเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชิวต
2. อธบิ าย และอภิปรายเกี่ยวกับสารเคมีที่เป็นองคป์ ระกอบของสารชีวโมเลกุลในรา่ งกายของ
สง่ิ มชี ีวิตพร้อมทงั บอกสมบัติ ประโยชนแ์ ละโทษได้
3. ส้ารวจตรวจสอบและวิเคราะหเ์ ก่ยี วกบั สารชีวโมเลกุลในอาหารบางชนดิ ได้
4. อธิบายเก่ยี วกับปฏิกิรยิ าเคมแี ละการเกิดพลงั งานเคมีในร่างกายส่ิงมชี ีวติ ได้
5. มีจติ วทิ ยาศาสตร์
4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เพ่ือให้นกั เรียนสามารถ
4.1 ดา้ นความรู้ (K)
1) ระบชุ นิด และหน้าท่ีของสารอนนิ ทรีย์บางชนิด
2) สบื คน้ ข้อมลู เกี่ยวกับแร่ธาตุบางชนดิ ที่เปน็ องคป์ ระกอบส้าคญั ของสิ่งมชี ีวิต
3) อธิบายโครงสรา้ งความส้าคญั และชนิดของคาร์โบไฮเดรท โปรตีน ลิพิด กรดนิวคลอี ิก และ
วติ ามิน
4) อธบิ ายการเกิดปฏิกิรยิ าดดู พลังงาน และปฏิกิริยาคายพลังงาน
4.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
1) ท้าการทดลองเพ่ือศึกษาการทา้ งานของเอนไซม์ จากเนือเยื่อของส่งิ มีชวี ิต
4.3 คณุ ลักษณะ (A)
1) มคี วามใฝเ่ รยี นรู้
2) การร่วมแสดงความคดิ เห็นและยอมรับฟังความคิดเหน็ ของผู้อืน่ และท้างานรว่ มกบั ผู้อื่น
อย่างสร้างสรรค์
3) ตรงต่อเวลาในการปฏิบัตกิ ิจกรรมและการเข้าชนั เรยี น
5. สาระการเรยี นรู้
สารเคมีในเซลล์ของสิ่งมชี ีวิต ประกอบด้วยสารอนินทรีย์ เช่นนา้ และแร่ธาตุ และสารอินทรีย์
เช่น คาร์โบไฮเดรท โปรตีน ลิพิด กรดนิวคลีอิก และวิตามิน สารเหล่านีบางชนิดเป็นองค์ประกอบ
และบางชนิดเกี่ยวข้องกับการท้างานของเซลล์
6. สมรรถนะสาคญั
6.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
6.2 ความสามารถในการคิด
- ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
- ทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์
6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
6.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
- กระบวนการทา้ งานกลุม่
7. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
7.1 มีวนิ ยั
7.2 ใฝ่เรยี นรู้
7.3 มุ่งม่นั ในการท้างาน
7.4 มีจิตสาธารณะ
8. ภาระงาน/ช้นิ งาน
8.1 ภาระงาน
- สบื คน้ ข้อมูลจากใบความรู้ ส่อื และแหลง่ เรียนรู้
- สืบค้นขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ เก่ียวกบั โรคและความผิดปกติทเี่ กิดขนึ กับสมอง
- บนั ทกึ ผลในแบบบันทกึ กจิ กรรม เร่ืองโครงสร้างและหน้าที่ของสมอง
- บนั ทึกผลในแบบบันทกึ กจิ กรรม เร่ืองโครงสร้างและหนา้ ท่ีของไขสนั หลงั
8.2 ชนิ งาน
- ออกแบบชนิ งาน จดั ปา้ ยนเิ ทศ
- แบบบันทึกกิจกรรม เรื่องโครงสร้างและหน้าท่ีของสมอง
- แบบบันทึกกจิ กรรม เรื่องโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของไขสนั หลงั
9. กิจกรรมการเรยี นรู้
(คาบที่ 1) ธาตแุ ละสารประกอบทางเคมใี นเซลล์สิ่งมชี ีวิต
เน่ืองจากส่งิ มีชีวิตประกอบด้วยเซลล์ ภายในเซลล์จะประกอบด้วยสารเคมีหลายชนิด สารเคมเี หล่านีจะอยู่
ในรูปของสารประกอบ และสารประกอบทางเคมจี ะประกอบด้วยธาตทุ ่เี ป็นองค์ประกอบสา้ คัญท่ตี า่ งกนั
1) ข้นั นา
1. อภิปรายทบทวนความรู้เดิม พร้อมกับตังค้าถามเกี่ยวกับเร่ืองสารอาหารท่ีนักเรียนได้เรียนจากชัน
มัธยมศึกษาตอนต้นว่ามีอะไรบ้าง ท่ีมีส่วนท้าให้สิ่งมีชีวิตด้ารงชีวิตอยู่ได้ มีการเจริญเติบโต (คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ และน้า) และสารเหล่านีเป็นสารเคมีหรือไม่ อย่างไร นอกจากนีมีสารเคมีใน
รา่ งกายทีน่ ักเรยี นรูจ้ ักอีกหรือไม่ และให้ยกตวั อยา่ ง (ฮีโมโกลบนิ ฮอร์โมน สารพนั ธกุ รรม เอนไซม์ ฯลฯ)
2. ซักถามเชื่อมโยงความรู้กับวิชาเคมี เก่ียวกับ ธาตุ สารประกอบ สารอินทรีย์ สารอนินทรีย์
ปฏกิ ริ ยิ าเคมี และความส้าคญั ของสารเคมีในร่างกาย
2) ขน้ั สอน
จัดกลุ่มนักเรียนสืบเสาะ หรือสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับสารเคมีในส่ิงมีชีวิตท่ีนักเรียนรู้จักมีอะไรบ้าง
สารเคมีเหล่านีมีความส้าคัญและมีความแตกต่างกันอย่างไร เพ่ือน้าเสนอข้อมูลในชันเรียน อาจก้าหนดให้
ศึกษากลุม่ ละ 1 เรื่องก็ได้
3) ข้นั สรปุ
1. แต่ละกลุม่ นา้ เสนอข้อมลู ท่ไี ดส้ บื ค้น รว่ มกับอภิปราย เพ่ือให้เกดิ ความรู้ และความเขา้ ใจ
2. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุป
3. น้าแผนภูมิแสดงองค์ประกอบของธาตุต่างๆ ในร่างกายส่ิงมีชีวิต มาอภิปราย อธิบาย พร้อมกับตัง
คา้ ถามว่า ในรา่ งกายหรือเซลล์ร่างกายของสิ่งมีชีวิตมีธาตุทางเคมีอะไรบ้าง ธาตุทางเคมีใดมีมากหรือน้อยที่สุด
และธาตุเหล่านีเป็นองค์ประกอบของสารเคมีในร่างกายอะไรบ้าง (เช่ือมโยงไปถึงความรู้แต่ละกลุ่มท่ีไปสืบค้น
และนา้ เสนอในชันเรยี นดว้ ย)
4. ให้ความรู้เก่ียวกับปฏิกิริยาเคมี จากสมการเคมี (น้าเกิดจากธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจนท้า
ปฏกิ ิรยิ าทางเคมีกนั ) และเสริมความรู้เรื่อง สารท่ีท้าปฏิกริ ยิ าและสารผลิตภณั ฑ์ คอื อะไร
(คาบที่ 2-3) พนั ธะเคมี และสูตรทางเคมี
พันธะเคมี หมายถึงการดึงดูดซึ่งกันและกันระหว่างอะตอมของธาตุหรือโมเลกุลของสารท้าให้เกิดเป็น
ธาตหุ รือสารประกอบทางเคมี ได้แก่ พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะไฮโดรเจน และพันธะเพปไทด์ ส่วน
สูตรทางเคมี หมายถึงหมู่หรือสัดส่วนของธาตุหรือสารประกอบท่ีเขียนแสดงให้เห็นว่าใน 1 โมเลกุล
ประกอบด้วยธาตอุ ะไรบ้าง อย่างละก่ีอะตอม
1) ขน้ั นา
ยกตัวอย่างสูตรเคมี 3 - 4 สูตร เช่น H2O (น้า), H2SO4 (กรดซัลฟิวริก), C6H12O6 (น้าตาลกลูโคส)
ดูว่าแต่ละสารมีสูตรอย่างไรและตังค้าถามว่า มีธาตุอะไรเป็นองค์ประกอบ และการรวมตัวของธาตุต่างกัน
อย่างไร และมสี ูตรทางเคมอี ะไรอกี บา้ งที่นักเรยี นร้จู ัก โดยให้นักเรยี นยกตัวอยา่ ง และอภปิ รายรว่ มกัน
2) ขน้ั สอน
จัดกลุ่มนักเรียน โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาเอกสาร หนังสือ ต้ารา ที่ครูเตรียมให้และให้สืบค้นเก่ียวกับ
สูตรทางเคมี และการรวมตัวของธาตุต่างๆ ท่ีอยู่ในสูตรทางเคมี หรืออาจให้น้าความรู้จากการเรียนในวิชาเคมี
มาเป็นขอ้ มูล
3) ขั้นสรุป
1. แต่ละกลมุ่ น้าเสนอส่งิ ที่ไดไ้ ปเรียนรู้ มีการอภิปราย ซักถามเพ่ือเสรมิ ความรู้
2. อธิบายให้ความรู้กับนักเรียนเก่ียวกับ ชนิดของสูตรทางเคมี พันธะเคมี การเกิดสูตรและพันธะเคมี
โดยอาจนา้ สมการเคมกี ารเกดิ น้า ในหนังสอื เรยี นแม็ค (ครอู าจน้ามาเพิ่มเติมจากหนังสอื เลม่ อ่ืนได้)
3. เพม่ิ เติมความรทู้ ่นี า้ ไปสเู่ รือ่ งสารชีวโมเลกุล ในคา้ ศัพทท์ ่คี วรรู้ ได้แก่ มอนอเมอร์ (monomer)
พอลเิ มอร์ (polymer) ไอโซเมอร์ (isomer)
(คาบที่ 4-6) สารชีวโมเลกลุ (คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน ลพิ ิด)
สารเคมีในเซลล์ส่ิงมีชีวิต จะเป็นสารท่ีประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจนเป็น ส่วน
ใหญ่ และเรียกสารท่ีมีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นส่วนประกอบนีว่า สารอินทรีย์ ส่วนสารเคมีท่ีไม่มี
คาร์บอนเป็นส่วนประกอบ เรียกว่าสารอนินทรีย์ สารเคมีในเซลล์จะอยู่ในรูปของสารประกอบของธาตุ
คารบ์ อนเปน็ สว่ นใหญ่ ไดแ้ ก่ คาร์โบไฮเดรต ลพิ ิด โปรตนี และกรดนิวคลอิ ิก จงึ เรียกสารนวี ่า สารชวี โมเลกุล
1) ขั้นนา
1. ตังประเด็นคา้ ถามวา่ อาหารที่นักเรียนรบั ประทานเมือ่ เช้านีคืออะไร มีส่วนปรุงแต่งหรือมีอะไรเป็น
สว่ นประกอบบา้ ง นกั เรยี นคิดวา่ อาหารเชา้ มอื นีมปี ระโยชน์หรอื ไม่ อยา่ งไร
2. ครูอาจน้าตัวอย่างอาหารมาใหน้ ักเรียนดู (หรืออาจเปน็ ภาพ อาหาร 1 จาน หรอื ข้าวราดแกง)
ตังคา้ ถามวา่ มอี ะไรเปน็ ส่วนประกอบ และสว่ นประกอบในอาหารนมี คี ณุ ค่าทางอาหารหรือไม่ อย่างไร
2) ขนั้ สอน
1. จัดกลุ่มนักเรียน 3 – 4 คน ศึกษาเอกสารหรือหนังสือเรียน จากอินเทอร์เน็ต เกี่ยวกับสารอาหาร
3 ชนิด คอื คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และลิพดิ ในประเด็นตา่ งๆ ดงั นี
1.1 เปน็ สารอาหารทมี่ ธี าตอุ ะไรเป็นส่วนประกอบหลัก มสี ูตรทางเคมีอย่างไร
1.2 หนว่ ยย่อยคอื อะไร
1.3 การตรวจสอบสารอาหารแตล่ ะชนดิ
1.4 คุณคา่ ทางอาหารของอาหารแตล่ ะชนดิ
2. น้าผลการศึกษาค้นควา้ มาเสนอในชันเรียน ทุกคนมีสว่ นร่วมในการเรียนรู้ รว่ มคดิ ร่วมอภปิ ราย
3. ให้นักเรียนด้าเนินกิจกรรมปฏิบัติการทดลอง ในกิจกรรมท่ี 3.1 เร่ืองการตรวจสอบสารอาหาร
จ้าพวกคาร์โบไฮเดรตในสารอาหารชนิดต่างๆ และ กิจกรรมที่ 3.2 เร่ือง การออกแบบตรวจสอบโปรตีนใน
สารอาหาร
3) ขนั้ สรปุ
1. น้าผลการศึกษาค้นคว้ามาเสนอในชันเรียน ทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ร่วมคิดร่วมอภิปราย
และสรุปความรูท้ ี่ไดร้ บั จากการเรยี นรู้
2. นา้ ผลการศึกษาทดลองมาอภิปรายร่วมกนั
3. ให้ความรู้เกี่ยวกับสารอาหารจ้าพวกคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และลิพิด เพิ่มเติมจากท่ีได้เรียนรู้และ
สรปุ รว่ มกัน
4. น้าซองใส่อาหารจ้าพวกข้าวเกรียบ กล่องนมต่างๆ ให้นักเรียนดูและสังเกตว่าที่ซองบอกความรู้
อะไรให้กับเราบ้าง (บอกชนิดของสารอาหาร ส่วนประกอบและปริมาณส่วนผสม) และนักเรียนคิดว่าอาหาร
ประเภทนีควรน้ามารบั ประทานหรอื ไม่ และถา้ จะเลอื กซือ นกั เรยี นจะใช้เกณฑอ์ ะไรส้าหรับเป็นตัวเลอื ก
ถา้ ปริมาณและราคาเท่ากนั นกั เรยี นจะเลือกซืออยา่ งไร
5. ร่วมกันสรุปได้ว่า สารอาหารเหล่านีเป็นสารอาหารที่ให้พลังงาน แต่ก็มีสารอาหารบางชนิดที่
รับประทานเข้าไปแล้วไม่ทา้ ให้เกิดพลงั งานได้
6. อาจนา้ เสนอความรู้จากวีดทิ ัศน์หรอื VCD เกยี่ วกบั สารอาหารคารโ์ บไฮเดรต โปรตนี และลพิ ิด
(คาบท่ี 7) สารชวี โมเลกุล (กรดนิวคลีอิก)
กรดนิวคลีอิกเป็นสารชีวโมเลกุลท่ีมีความเกี่ยวข้องกับลักษณะทางพันธุกรรม ซ่ึงพบในเซลล์ของ
สิง่ มีชีวติ มี 2 ชนดิ คือ กรดดีออกซีไรโบนวิ คลีอิก (DNA) และ กรดไรโบนิวคลอี ิก (RNA) ซ่ึงกรดนิวคลอี ิกทัง 2
ชนดิ มนี า้ ตาลและเบสเป็นองคป์ ระกอบท่ีต่างกนั
1) ขน้ั นา
1. ทบทวนความรู้เดิม เรื่อง สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต โดยตังค้าถาม เกี่ยวกับน้าตาล
โมเลกุลเด่ียว มอนอแซกคาไรด์ ชนิดน้าตาลคาร์บอน - 5 คือ น้าตาลดีออกซีไรโบส และน้าตาลไรโบส มีสูตร
โครงสร้างเป็นอย่างไร น้าตาลเหล่านมี ีความสา้ คัญอยา่ งไร
2. ตังประเด็นค้าถามว่า น้าตาลทัง 2 ชนิดนี มีความเกี่ยวข้องกับกรดนิวคลีอิกอย่างไร และ
กรดนวิ คลีอิก คืออะไร
2) ขน้ั สอน
1. นักเรียนแต่ละคน สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับ กรดนิวคลีอิก ชนิดของกรดนิวคลีอิกส่วนประกอบของ
กรดนิวคลอี กิ สูตรโครงสรา้ งของกรดนิคลอี ิกแต่ละชนดิ
2. นกั เรยี นแต่ละคนเตรยี มขอ้ มูลและสอื่ ประกอบการน้าเสนอสิ่งท่ีได้เรยี นรู้
3) ข้นั สรุป
1. สุ่มนักเรียน 4 – 5 คน ออกมาน้าเสนอข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้น ทุกคนร่วมซักถาม เพ่ือให้ได้
องคค์ วามรูเ้ ก่ียวกบั กรดนิวคลีอิกอย่างครบถ้วน และร่วมกนั ลงข้อสรปุ
2. ครูอธิบายเพมิ่ เตมิ ให้กบั นักเรียนเก่ยี วกับ ความรูเ้ ร่อื ง DNA, RNA แหล่งทพี่ บ บทบาทสา้ คัญ สูตร
โครงสร้างและนิวคลีโอไทด์ พอลีนิวคลีโอไทด์ ของสาย DNA และ RNA ที่ประกอบด้วยเบสชนิดต่างๆ การ
เชื่อมพันธะไฮโดรเจนระหวา่ งค่เู บส
3. ร่วมกนั อภิปรายถงึ ความแตกตา่ งของ DNA และ RNA
(คาบท่ี 8) สารชีวโมเลกุล (เอนไซม์)
เอนไซม์เป็นสมบัติของโปรตีน ประกอบด้วยพอลีเพปไทด์ของกรดอะมิโนเป็นองค์ประกอบ ซึ่งอาจจะ
มีสายเดียวหรือหลายสาย และมักจะมีไอออนของโลหะหนักหรือโมเลกุลท่ีไม่ใช่โปรตีนประกอบอยู่ด้วย และ
เอนไซม์จะเรง่ ปฏิกริ ยิ าไดด้ ขี ึนอยกู่ ับอุณหภูมแิ ละความเปน็ กรด-เบสท่ีเหมาะสม
1) ขั้นนา
1. ทบทวนความรู้เดิม เรื่องสารอาหารจ้าพวกคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และลิพิด เป็นสารอาหารท่ีให้
พลังงานและตังค้าถามว่า อาหารเหล่านีเม่ือเข้าสู่ร่างกายแล้วมีปฏิกิริยาเคมีอะไรที่ท้าให้เกิดพลังงาน (มีการ
ย่อยอาหารใหเ้ ปน็ โมเลกุลเดีย่ วก่อนน้าไปสรา้ งพลังงาน)
2. ตงั ค้าถามว่า นา้ ย่อยในรา่ งกายของคนเราพบที่สว่ นใด และนา้ ย่อยแปง้ หรือย่อยขา้ ว สามารถยอ่ ย
อาหารจ้าพวกโปรตีนได้หรือไม่ และน้าย่อยในร่างกายของคนเราท่ีนักเรียนรู้จักมีอะไรบ้าง และสามารถย่อย
สารอาหารประเภทใดได้
2) ขน้ั สอน
1. เตรียมหวั ข้อองค์ความรู้ เปน็ 4 หัวข้อ คอื
เรอ่ื งที่ 1 โครงสร้างและการทา้ งานของเอนไซม์
เรื่องท่ี 2 การจ้าแนกชนิดของเอนไซม์
เรื่องท่ี 3 สว่ นประกอบของเอนไซม์
เรื่องท่ี 4 ปัจจัยท่ีมีผลต่อการทา้ งานของเอนไซม์
2. จัดกลุ่มนักเรียนเป็น 8 กลุ่ม แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนศึกษาหัวข้อเร่ืองที่เตรียมไว้กลุ่มละ 2 คน แล้ว
ศกึ ษาเนือหาสาระตามหัวข้อเรอ่ื งจากหนงั สือใหเ้ ขา้ ใจ
3. สมาชกิ แต่ละกลมุ่ กลับเข้ากลมุ่ เดมิ และแลกเปลย่ี นความรู้ อธิบายในสงิ่ ทไ่ี ปเรยี นร้ใู นหัวข้อเร่ืองที่
รับผิดชอบให้สมาชิกฟัง และตอบข้อซกั ถามจนทุกคนมีความเข้าใจ
3) ขนั้ สรุป
1. สุ่มตัวแทนที่ศึกษาในแต่ละหัวข้อเร่ือง 4 หัวข้อ น้าเสนอผลงานหน้าชันเรียน และตอบข้อ
ซักถามอีกครงั หนงึ่
2. ครูอธิบายเพิ่มเติมและซักถาม และลงข้อสรุปในประเด็นท่ีเรียนรู้ทัง 4 หัวข้อ เพ่ือให้นักเรียนมี
ความร้แู ละความเข้าใจมากขนึ
3. จัดกลุ่มนักเรียนท้ากิจกรรมปฏิบัติการ กิจกรรมที่ 3.3 เร่ือง ศึกษาการท้างานของเอนไซม์ และ
กิจกรรมท่ี 3.4 เรื่อง ออกแบบการทดลองเก่ียวกับปัจจัยบางประการที่มีผลต่อการท้างานของเอนไซม์ พร้อม
ทังเข้ารายงานและ / หรือเสนอเคา้ โครงโครงงานวิทยาศาสตร์
4. แต่ละกลุ่มน้าเสนอผลงานที่ได้จากการทดลองและแนวคิดของกลุ่มเกี่ยวกับการเขียนเค้าโครง
โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ทกุ คนมีส่วนรว่ มในการอภปิ รายและแสดงความคิดเหน็
5. ให้ความรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกับ “น้าย่อยเป็นเอนไซม์ หรือไม่” อธิบายค้าต่างๆ เช่น คะตะลิสต์-
ซับสเตรท บริเวณเร่งหรือแอกทีฟไซต์ แบบจ้าลองแม่กุญแจกับลูกกุญแจ ส่วนประกอบท่ีเรียกว่า
“โคเอนไซม์” “โคแฟคเตอร์” “หมู่โพรสเทตกิ ” “ฮอลอเอนไซม์” “อะโพเอนไซม์”
(คาบท่ี 9) ปฏกิ ริ ยิ าเคมแี ละพลงั งานเคมีในเซลล์สิ่งมชี ีวติ
พลังงานเคมีในส่ิงมีชีวิตเป็นพลังงานท่ีเกิดจากกระบวนการสังเคราะห์แสง และ กระบวนการหายใจ
เม่ือมีการสร้างพลังงานเกิดขึน จะเปล่ียนไปเป็นพลังงานรูปอ่ืนได้ พลังงานดังกล่าวคือ ATP ซ่ึงเป็นสารเคมี ที่
ให้พลงั งานสงู และพลังงาน ATP นยี ังมสี ่วนเกย่ี วขอ้ งกบั ปฏกิ ิรยิ าเคมีในเซลล์ ทีเ่ รียกวา่ เมแทบอลิซึม
1) ขัน้ นา
ทบทวนความรู้เดิมเก่ียวกับ คุณลักษณะของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตต้องการสารอาหารเพ่ือน้าไปใช้สร้าง
พลังงาน และสารอาหารท่ีให้พลังงานมีอะไรบ้าง (คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และลิพิด) และพลังงานในร่างกาย
ของสง่ิ มชี วี ิตสรา้ งมาจากกระบวนการอะไร (การหายใจ และปฏิกิรยิ าเคมีในร่างกาย)
2) ขน้ั สอน
จัดกลุ่มนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม โดย 2 กลุ่มแรกให้ศึกษาองค์ความรู้เร่ือง ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์
สิง่ มีชีวิต และ 2 กลุ่ม หลัง ศึกษาองค์ความรเู้ รื่อง พลังงานเคมีในส่ิงมีชีวิต แต่ละกลุ่มเตรียมน้าเสนอผลจาก
การเรียนรพู้ รอ้ มมสี ือ่ ประกอบการอธิบาย
3) ขน้ั สรุป
1. แต่ละกลุม่ น้าเสนอผลงาน ทกุ คนในชันเรียนมีส่วนร่วมซักถามเพื่อให้ได้ทังความรู้และความเข้าใจ
ในองคค์ วามรู้นนั ๆ โดยเฉพาะ
1.1 กลุ่มที่อธิบายเรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ส่ิงมีชีวิต เน้นภาพแสดงการเปล่ียนแปลงระดับ
พลงั งานทัง 2 ภาพ
1.2 กลมุ่ ทอ่ี ธบิ ายเรื่อง พลังงานเคมใี นสิ่งมชี วี ิต เนน้ กระบวนการสร้างพลงั งาน
และเมแทบอลิซมึ
2. ครูอธบิ ายเสรมิ ความรเู้ ก่ยี วกับ
2.1 ปฏิกริ ิยาคายพลงั งาน และปฏกิ ริ ยิ าดดู พลงั งาน
2.2 โฟโตเคมีคัล และอเิ ลก็ โตรเคมคี อล
3. ปฏิกิรยิ าออกซเิ ดชันและรดี ักชัน
4. การถ่ายทอดอเิ ล็กตรอนกับการเกดิ พลังงาน
5. เมแทบอลิซมึ
โดยเช่ือมโยงความรู้ กับบทเรยี นท่ีนักเรียนจะได้เรียนเก่ยี วกับกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
และกระบวนการหายใจภายในเซลล์สง่ิ มีชีวิต ซ่ึงนกั เรยี นจะได้เรียนในชันต่อไป
กจิ กรรมเสนอแนะ
หนว่ ยการเรียนรู้นี ครูผ้สู อนควรจะบูรณาการในเนือหาหรอื สอนร่วมกับครผู ูส้ อนในวิชาเคมี ซ่ึงอาจจะ
ใหค้ รูเคมีสอน โดยชีแจงให้นักเรียนได้ทราบหวั ข้อเร่ืองทส่ี อดคล้องกนั ระหว่างชีววิทยาและเคมี ซ่งึ ส่วนใหญ่จะ
ให้องคค์ วามร้สู า้ หรบั นกั เรยี น โดยเริ่มจาก หัวข้อเรือ่ งประเภทของสารเคมี
ตังค้าถามให้นักเรียนตอบหรืออภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ พร้อมกับให้
ตัวอย่าง พร้อมกับเช่ือมโยงกับความรู้ใหม่ คือ ธาตุและสารประกอบทางเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต โดยร่วม
อภิปรายแผนภูมิรูปวงกลมเก่ียวกบั ธาตตุ ่างๆ ท่ีมีในรา่ งกายส่ิงมีชีวติ พร้อมกบั ตอบค้าถาม
คาถาม จากแผนภมู ขิ า้ งตน้ นักเรียนคิดวา่ ในรา่ งกายของคนมีธาตอุ ะไรเป็นองค์ประกอบและมี
ปรมิ าณเทา่ ใด
แนวคาตอบ ใหพ้ ิจารณาจากเปอรเ์ ซน็ ตข์ องธาตุต่างๆ ในแผนภมู ิ
คาถาม นักเรยี นคิดวา่ ในสงิ่ มีชวี ติ ท่ตี ่างชนิดกัน จะมีธาตุเป็นองค์ประกอบตา่ งกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร
แนวคาตอบ อาจต่างกนั
จากนันครูผู้สอนน้าเข้าสู่เนือหา การเกิดปฏิกิริยาเคมี สูตรเคมี และพันธะเคมี โดยเน้นให้นักเรียน
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสูตรโมเลกุลและสูตรโครงสร้าง และให้นักเรียนสังเกตความแตกต่างของสูตร
โมเลกุลและสูตรโครงสร้าง คือ สารบางอย่างมีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน เช่น กลูโคส กาแล็กโทส และฟรักโทส
แต่สตู รโครงสร้างต่างกัน ซึง่ เรยี กว่า “ไอโซเมอร์ (isomer)”
คาถาม จากภาพแสดงลักษณะของสูตรโครงสร้างของน้าตาลกลูโคส น้าตาลฟรักโทสและน้าตาล
กาแลก็ โทส นักเรียนจะอธบิ ายอย่างไร
แนวคาตอบ กลูโคสและกาแล็กโทสต่างกันท่ีตาแหน่งคาร์บอน ตาแหน่งท่ี 4 กลับกัน และ
พิจารณาจากตารางเกยี่ วกับน้าตาลโมเลกุลในหน้าถดั ไป สูตรโครงสร้างฟรักโทส เป็นรปู ห้าเหล่ยี ม
สารชวี โมเลกลุ
ในบทเรียนนี ครผู ู้สอนควรจะทบทวนความรู้เดิมในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เก่ียวกบั สารอาหารทใี่ ห้
พลังงานและที่ไม่ให้พลังงาน และต่อเนื่องเข้าสู่บทเรียนเร่ืองสารชีวโมเลกุล ซ่ึงในท่ีนีจะเรียนเก่ียวกับ
สารอาหารท่ีให้พลังงาน ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และลิพิด นอกจากนียงั มี กรดนิวคลิอกิ เอนไซม์ เป็น
ตน้
จากนัน ครูผู้สอนให้องค์ความรู้เก่ียวกับคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ลิพิด กรดนิวคลิอิก และเอนไซม์
อธิบายและซักถามความแตกต่าง คุณสมบัติ ประโยชน์และโทษ และการน้าองค์ความรู้ไปใช้ในการเรียนรู้
เกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง เช่นโปรตีน และกรดนิวคลิอิก น้าไปเรียนรู้เร่ืองสารพันธุกรรม เอนไซม์ น้าไปเรียนรู้
เกี่ยวกับการย่อยอาหาร การหายใจและการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง เป็นตน้
คารโ์ บไฮเดรต
คาถาม
1. โมเลกุลของนา้ ตาลไรโบสและโมเลกลุ ของน้าตาลดอี อกซีไรโบส แตกตา่ งกันหรอื ไมอ่ ย่างไร
แนวคาตอบ ตา่ งกัน ในตาแหน่งคารบ์ อนตาแหนง่ ท่ี 2 การจบั ของหมู่ – OH และ H
2. โมเลกลุ ของน้าตาลกลโู คส ฟรกั โทสและกาแลก็ โทส เหมอื นกันหรือแตกตา่ งกนั หรือไม่ อย่างไร
แนวคาตอบ ต่างกันท่ีฟรักโทส มีสูตรโครงสร้างห้าเหล่ียม กาแล็กโทส มีสูตรโครงสร้างเป็น
หกเหลยี่ ม
3. โมเลกุลของนา้ ตาลไรโบสและโมเลกลุ ของนา้ ตาลฟรักโทส เหมือนหรือตา่ งกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร
แนวคาตอบ ต่างกัน คอื ไรโบส เปน็ นา้ ตาลคารบ์ อน – 5 ฟรกั โทส เป็นน้าตาลคาร์บอน – 6
4. สมการเคมีทงั 3 สมการ จะอธิบายไดอ้ ย่างไร
แนวคาตอบ น้าตาลโมเลกุลคู่ จะมีกลูโคสเป็นองค์ประกอบเหมือนกัน แต่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี
รวมกันแลว้ ได้สารใหม่ตา่ งกนั เช่น กลโู คส + ฟรกั โทส ได้ซูโครส เป็นต้น
กิจกรรมท่ี 3.1 ตรวจสอบสารอาหารจาพวกคาร์โบไฮเดรตในอาหารชนิดต่างๆ
อปุ กรณ์ท่ใี ชท้ ดลอง
1. ข้าวสกุ นา้ อ้อย นา้ ตาลกลโู คส และเนือปลาสกุ
2. จานแกว้ สา้ หรบั ใส่อาหาร
3. สารละลายไอโอดนี
4. สารละลายเบเนดกิ ต์
5. หลอดหยด
6. หลอดทดลอง
7. บกี เกอร์
8. เตาไฟฟา้ หรอื ตะเกยี งแอลกอฮอล์
ผลการทดลอง : สารละลายไอโอดีนจะท้าปฏิกิริยากับอาหรที่มีแป้ง ในท่ีนี คือ ข้าวสุก โดยเปลี่ยน
เป็นสีมว่ งด้า ส่วนสารละลายเบเนดิกต์ ท้าปฏิกิริยากับน้าตาลกลูโคส โดยเปลี่ยนเปน็ สีแดงอิฐส่วนน้าอ้อย ซึ่ง
เป็นน้าตาลซูโครส ท้าปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์เล็กน้อยอาจให้สีเขียวอ่อน ส้าหรับเนือปลาเป็นโปรตีน
จะไม่ท้าปฏิกิริยาเคมกี ับสารทัง 2 ชนดิ จากนนั ให้นักเรยี นตอบคา้ ถาม ดังนี
คาถาม
1. เม่ือหยดสารละลายไอโอดีนและสารละลายเบเนดิกต์ ลงในอาหารแต่ละชนิด มีการ เปล่ียนแปลง
หรือไม่ อย่างไรบ้าง
แนวคาตอบ มีการเปลย่ี นแปลงตามผลการทดลอง
2. นักเรียนบอกได้หรือไม่ว่าอาหารชนิดใดมีแป้ง ชนิดใดมีน้าตาลกลูโคส และ เซลลูโลสโดยสังเกตได้
จากอะไร
แนวคาตอบ ข้าวสุก ขนมปัง มีแป้ง โดยทดสอบกับสารละลายไอโอดีน ส่วนกลูโคสในสารละลาย
เบเนดกิ ต์ ส่วนเซลลูโลส ไม่ทาปฏิกิริยากับสารละลายดงั กลา่ ว เชน่ พบในสาลี เน้อื ไม้ เปน็ ต้น
3. การทดลองนสี รุปได้อย่างไร
แนวคาตอบ ขา้ วสุก มีแป้ง น้าอ้อย มนี ้าตาลซูโครส น้าตาลกลูโคส เปน็ น้าตาลโมเลกุลเดี่ยว และ
เนอื้ ปลาสุก มสี ารอาหารจาพวกโปรตนี
4. ถ้านักเรียนจะนา้ วธิ กี ารทดลองนีไปตรวจสอบกับอาหารจา้ พวกไขมันและโปรตีนไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร
แนวคาตอบ สารละลายท้ัง 2 ชนิด ใช้ตรวจสอบไขมันไม่ได้ แต่ถ้านาอาหารท่ีนามาใช้ทดลอง
ตรวจสอบว่ามีไขมันหรอื ไม่ ในเบอื้ งตน้ อาจใชว้ ิธีการถูกบั กระดาษขาว ถา้ กระดาษมีไขมนั บริเวณน้ันจะมี
ลักษณะโปร่งแสง
5. ถา้ นกั เรียนจะตรวจสอบน้าตาลในปัสสาวะของคน จะมีวิธีการตรวจสอบอยา่ งไร
แนวคาตอบ ผู้ตรวจสอบจะต้องไม่รับประทานอาหารอย่างน้อย 12 ช่ัวโมง แล้วนาปัสสาวะมา
ตรวจสอบกบั สารละลายเบเนดกิ ต์ โดยปฏิบัตกิ ารทดลองเชน่ เดียวกับการตรวจสอบน้าตาลกลโู คส
ลพิ ิด
การน้าเข้าสู่บทเรียนเรื่องลิพิด โดยการตังค้าถามว่าในชีวิตประจ้าวัน จะสังเกตว่า อาหารใดบ้างที่มี
ไขมัน ตรวจสอบได้อย่างไร หรืออาจน้าข้าวราดแกงมา 1 จานและถามว่าในอาหารมือนีมีสารอาหารอะไรบ้าง
จากนันให้ความรู้กับนักเรียนเร่ืองลิพิด โดยเน้นเร่ืองสารที่เป็นองค์ประกอบ คือ กรดไขมัน กลีเซ
อรอล กรดไขมันอ่ิมตัวและไม่อิ่มตัว และบอกความแตกต่างของกรดไขมันทัง 2 ประเภทได้ และให้นักเรียน
ตอบคา้ ถาม
คาถาม ลพิ ิดและคาร์โบไฮเดรต มีธาตุท่ีเปน็ องคป์ ระกอบในโมเลกุลของสาร ต่างกนั หรือไม่ อย่างไร
แนวคาตอบ มีธาตุคารบ์ อน ไฮโดรเจน และ ออกซเิ จน เหมอื นกัน
คาถาม นักเรียนจะมกี ารทดลองพิสจู น์ไดอ้ ยา่ งไรวา่ อาหารชนิดใดมีไขมัน
แนวคาตอบ ทดสอบโดยนาไปถูกบั กระดาษขาวเพ่ือดูความโปร่งแสง
โปรตีน
ครูเน้นเกี่ยวกับองค์ประกอบของโปรตีนท่ีมีกรดอะมิโนเป็นองค์ประกอบและต่อกันด้วยพันธะ เพป
ไทด์ จนได้โปรตีนสายยาวๆ ท่ีเรียกว่า พอลิเพปไทด์ และให้ความรู้วา่ กรดอะมิโนมี 2 ชนดิ คอื กรด อะมิโน
จ้าเป็น ซ่ึงร่างกายสร้างขึนเองไม่ได้ จะต้องรับมาจากอาหาร ส่วนกรดอะมิโนไม่จ้าเป็นร่างกายสร้างขึนเองได้
จงึ ไม่จา้ เป็นตอ้ งไดจ้ ากอาหารที่รบั ประทานเข้าไป และอธิบายถึงการพบโปรตีนในร่างกายของเราที่ส่วนใดบ้าง
เชน่ เฮโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง เอนไซมใ์ นน้ายอ่ ย เปน็ ตน้
คาถาม โปรตนี มีธาตทุ ี่เป็นองค์ประกอบตา่ งกับคารโ์ บไฮเดรตและลิพดิ หรอื ไม่ อยา่ งไร
แนวคาตอบ โปรตีนมีธาตุ คารบ์ อน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจนเป็นธาตหุ ลัก และอาจมี
ธาตุอืน่ เป็นสว่ นปะกอบบ้าง ส่วนลิพิดและคาร์โบไฮเดรต ไม่มีไนโตรเจน
คาถาม จากภาพ สูตรโครงสร้างของกรดอะมโิ น นกั เรยี นจะอธิบายเกีย่ วกับสูตรนอี ยา่ งไร
แนวคาตอบ ประกอบด้วยหมู่อะมิโน หมู่คาร์บอกซิล และหมู่อัลคิล เมื่อพิจารณาตารางตัวอย่าง
สูตรโครงสร้างกรดอะมิโนบางชนิด พบว่าแต่ละชนิดแตกต่างกันที่หมู่อัลคิล และหมู่ท่ีมีกามะถันเป็น
องค์ประกอบ คอื ชนดิ เมไทโอนีน
คาถาม การทีโ่ ปรตนี หรือพอลเิ พปไทด์มีความแตกตา่ งกัน นกั เรยี นคิดวา่ เปน็ เพราะอะไร
แนวคาตอบ เป็นเพราะการเรียงกรดอะมิโนแต่ละชนิดของโปรตีนต่างกัน เพราะกรดอะมิโนมี 20
ชนดิ ลาดบั การเรยี งตัวอาจซ้ากนั ได้
กิจกรรมท่ี 3.2 การออกแบบการทดสอบโปรตีนในอาหาร
การออกแบบและวางแผนการส้ารวจตรวจสอบโปรตีนในอาหารชนิดต่างๆ ให้เป็นโครงงาน
วิทยาศาสตร์ จะเน้นที่ตัวแปรต่างๆ ในท่ีนี ให้น้าอาหารชนิดต่างๆ มาตรวจสอบ เช่น เนือปลา ข้าวสุก
เนือหมู ไข่ นม ผัก ผลไม้ มาหลายๆ ชนิด เป็นตัวแปรอิสระ ใช้สารละลายไบยูเร็ต ตรวจสอบ ซึ่งเป็น
ตัวแปรควบคุม ส่วนตัวแปรตาม คือ ผลการตรวจสอบว่าสารใดมีสารอาหารประเภทโปรตีนบ้าง เมื่อลงมือ
ปฏบิ ตั ิการทดลองจรงิ ใหน้ า้ ผลการทดลองมาเขยี นเป็นรายงานตามหัวข้อทีก่ ้าหนดไว้
กรดนิวคลอิ กิ
ครผู ู้สอนให้ความรกู้ บั นักเรียนเกี่ยวกบั ความแตกต่างขององคป์ ระกอบ DNA และ RNA สตู รโครงสร้าง
นิวคลิโอไทด์ พอลินิวคลิโอไทด์ เบสต่างๆ เบสคู่ท่ีต่อกันด้วยพันธะไฮโดรเจน หน้าที่ของ DNA และ RNA
พร้อมทังอธิบายถึง นิวคลิโอไทด์ของ RNA ยังเป็นสารที่ให้พลังงานได้ เช่น พลังงาน ATP (Adenosine
Tri Phosphate) ซงึ่ นกั เรยี นจะได้เรียนเรื่องพลังงาน ATP ต่อไป
โครงสร้างและการทางานของเอนไซม์
บทเรียนนี ให้ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้างของเอนไซม์ การจ้าแนกชนิดของเอนไซม์ ส่วนประกอบของ
เอนไซม์ ปัจจัยท่ีมผี ลต่อการทา้ งานของเอนไซม์ เอนไซม์ชนิดฮอลอเอนไซม์ โคเอนไซม์ และโคแฟค-เตอร์ โดย
น้าเข้าสู่บทเรียนด้วยการซักถามกระบวนการย่อยอาหารของเราโดยมีน้าย่อยเป็นสารเคมีที่สลายอาหารจาก
โมเลกุลใหญ่ให้เป็นโมเลกุลขนาดเล็กลง น้าย่อยเป็นเอนไซม์หรือไม่ และเน้นว่าเอนไซม์เป็น สารชีวโมเลกุล
จา้ พวกโปรตีน เพราะมกี รดอะมโิ นเปน็ องคป์ ระกอบและต่อเป็นสายยาวๆ ดว้ ยพนั ธะเคมี พันธะเพปไทด์
จากนันอธิบายถึงสมบัติของเอนไซม์ ท้าหน้าที่เป็นคะตะลิสต์ มีความจ้าเพาะต่อซับสเตรท ท้าให้เกิด
ชอื่ เอนไซม์ โดยใช้ชอ่ื ซบั สเตรทเป็นค้าหนา้ เปลี่ยนค้าหลังโดยเติม – ase เช่น เอนไซมท์ ยี่ ่อยสารอาหารจ้าพวก
ซูโครส ช่ือเอนไซม์ คือ ซูเครส (sucrase) แล้วซักถามนักเรียนจากค้าถาม และอธิบายต่อถึงการท้างานของ
เอนไซม์มอลเทส แบบจ้าลองแม่กญุ แจและลูกกุญแจ ตามสมการและโมเดล
คาถาม เมอ่ื เราเคยี วข้าวนานๆ ประมาณ 3 – 5 นาที จะรู้สึกวา่ มีรสหวาน เปน็ เพราะอะไร
แนวคาตอบ เอนไซม์อะไมเลสในน้าลายย่อยแป้งจนไดก้ ลโู คส ทาให้เกิดรสหวานข้นึ
ในส่วนของการจ้าแนกชนิดของเอนไซม์ ครูควรให้ความรูก้ ับนักเรียนในเรื่องของเอนไซม์บางชนิด คือ
เอนไซม์ไฮโดรเลส หมายถึงน้าย่อยในร่างกายของเรา เอนไซม์ออกซิโด - รีดักเทส (oxido - reductase)
เกีย่ วขอ้ งกับการหายใจและการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง ซง่ึ นักเรียนจะไดเ้ รียนในระดบั ชันท่ีสูงขนึ
ในเร่ืองปัจจัยท่ีมีผลต่อการท้างานของเอนไซม์ ครูผู้สอนให้นักเรียนเรียนรู้และน้าองค์ความรู้ไปท้า
กจิ กรรมที่ 3.3 ศึกษาการทางานของเอนไซม์ โดยใช้อุปกรณ์ดังนี
1. คะน้าสด ถั่วงอก ผลฝร่ัง
2. เครือ่ งชง่ั
3. โกรง่ บดสาร
4. นา้ กล่ัน
5. หลอดทดลองขนาดกลาง
6. กระบอกตวงหรือหลอดฉีดยา
7. เตาไฟฟ้า หรือ ชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์
8. บกี เกอร์
9. เทอรม์ อมิเตอร์
10. สารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 3 เปอร์เซ็นต์
11. มีดหน่ั ผกั หรอื ปอกผลไม้
12. แท่งแก้วคน
ผลการทดลองตรวจสอบจากค้าถามต่อไปนี หลอดท่ีคันน้าพืช ซ่ึงมีเอนไซม์ เมื่อเติมไฮโดรเจน-เปอร์
ออกไซด์ เอนไซม์จะกระตุ้นให้ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์สลายตัวได้สารใหม่คือแก๊สออกซเิ จนกับน้า นักเรียนจะ
เห็นฟองแก๊สเกิดขึน ส่วนหลอดท่ีน้าน้าคันไปอุ่น เม่ือเติมไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ เอนไซม์ในน้าคันจะสลายตัว
ด้วยความร้อน จึงไม่ท้าให้เกิดปฏิกิริยาเคมี จึงไม่เห็นหรือไม่เกิดฟองแก๊ส ในขณะเดียวกัน หลอดที่ใส่น้ากับ
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ โดยไม่มีน้าคัน ก็จะไม่เกิดฟองแก๊สเช่นเดียวกัน หลอดที่ 3 จึงเป็นชุดเปรียบเทียบกับ
หลอดทดลองทัง 2 หลอด ดังนัน ในการทดลองตัวแปรอิสระ คือ น้าคันจากพืชชนิดต่างๆ (รวมทังหลอด
ทดลองทใี่ ส่น้ากบั ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ดว้ ย) ส่วนตัวแปรควบคุม คอื ปรมิ าณนา้ คัน ชนิดของไฮโดรเจนเปอร์
ออกไซด์ ตัวแปรตาม คือ ปฏิกิริยาเคมีท่ีเกิดขึนจากการทดลองทัง 3 หลอด การทดลองนีจึงสรุปได้ว่า ถ้าน้า
คันในพืชชนิดต่างๆ มีเอนไซม์ เอนไซม์ก็จะสามารถท้างานได้ โดยสังเกตจากการ ท้าปฏิกิริยา
เคมีกับไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ได้แก๊สออกซิเจน ขณะเดียวกันเอนไซม์จะท้างานไม่ได้หรือไม่ได้ดีเมื่อได้รับ
ความรอ้ น ความรอ้ นจงึ มผี ลต่อการทา้ งานของเอนไซม์
การท่ีจะตรวจสอบว่าฟองแก๊สเป็นแก๊สออกซิเจนหรือไม่ ให้ใช้ธูปจุดให้ติดไฟแหย่ลงในหลอดทดลอง
ถา้ มีไฟลกุ แดงขึนแสดงว่าเป็นแก๊สออกซิเจน เพราะชว่ ยใหไ้ ฟติด
กิจกรรมท่ี 3.4 ออกแบบการทดลองเก่ียวกับปจั จัยบางประการทีม่ ีผลต่อการทางานของเอนไซม์
ตัวอย่าง ชอื่ เร่ืองและสมมตุ ิฐาน กรดและเบสน่าจะมีผลตอ่ การท้างานของเอนไซมใ์ นน้าลายโดย การ
ออกแบบการทดลอง ก้าหนดตัวแปรอิสระ คือ สารท่ีมีสมบัติเป็นกรดเบส เช่น น้ามะนาว และน้ายาเช็ด
กระจก ตัวแปรควบคุม คือ เอนไซม์ในน้าลายคน 1 คน ปริมาณน้ามะนาว น้ายาเช็ดกระจก ปริมาณ ข้าวสุก
และปรมิ าณเอนไซม์ ตัวแปรตาม คอื ดูผลของการท้างานเอนไซม์ในนา้ ลาย
วิธีการทดลอง ใส่ข้าวสุกในหลอดทดลองปริมาณเท่ากัน 3 หลอด ใส่เอนไซม์ในน้าลายทัง 3 หลอด
ปริมาณเท่ากัน หลอดที่ 1 ไม่ใส่กรดหรือเบส หลอดที่ 2 ใส่กรดน้ามะนาว หลอดที่ 3 ใส่เบสท่ีเป็นน้ายาเช็ด
กระจก ทิงไว้ 30 นาที น้าสารทดลองทัง 3 หลอดมาตรวจสอบดว้ ยสารละลายเบเนดิกต์ น้าไปต้ม ถ้าไมเ่ ปลีย่ น
สสี ารละลายเบเนดกิ ต์ แสดงว่ามีผลต่อการยบั ยังการท้างานเอนไซม์ ถ้าเปลีย่ นสีสารละลายเบเนดิกต์แสดงว่า
ไม่มผี ลต่อการท้างานของเอนไซม์
ปฏกิ ริ ิยาเคมีและพลังงานเคมใี นเซลลส์ งิ่ มชี ีวติ
ในบทเรียนเรอื่ งปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวติ และพลังงานเคมีในส่ิงมีชีวิต ครูผู้สอนควรจะ บูรณา
การกบั ครูท่ีสอนเคมีเพ่ือร่วมกนั อธิบายในเร่อื ง ปฏิกริ ิยาคายพลงั งาน และปฏิกริ ิยาดดู พลังงาน โดยพิจารณา
จากภาพ รวมถึงพลังงานกระตุ้น และ การสร้างพลังงาน ATP ในเซลล์ส่ิงมีชีวิตจากโฟโตเคมิคัล และอิเล็ก
โตรเคมิคลั โครงสรา้ งของ ATP และการน้าพลังงาน ATP ไปใช้ประโยชน์
10. สอ่ื การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
10.1 หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพิม่ เติม ชีววิทยา เลม่ 1 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
10.2 แบบบนั ทกึ กิจกรรมเรื่องการตรวจสอบสารอาหารจ้าพวกคาร์โบไฮเดรตในสารอาหารชนิดต่างๆ
10.3 แบบบันทึก เร่ืองการออกแบบตรวจสอบโปรตีนในสารอาหาร
10.4 สื่อคลปิ วิดีโอประกอบการสอนเรื่องโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของสารชีวโมเลกุล
10.5 สื่อคลิปวดิ โี อประกอบการสอนเรอ่ื งปฏิกิรยิ าภายในเซลลข์ องส่งิ มีชวี ิต
10.6 หอ้ งสมุด / ชุมชน
10.7 ฐานขอ้ มลู internet
11. การวดั และประเมินผล
11.1 วิธีวัดและประเมินผล
1) ใหน้ กั เรยี นท้าแบบทดสอบปรนยั 10 ข้อ
2) ครูใหค้ ะแนนทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคะแนนจติ วิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การใหค้ ะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไมเ่ พยี งพอใช้วธิ ีสมั ภาษณ์เพิ่มเตมิ
11.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล
1) ขอ้ สอบปรนยั 10 ขอ้
2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3) แบบประเมนิ จิตวิทยาศาสตร์
11.3 เกณฑก์ ารประเมิน
1) ข้อสอบปรนยั ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ได้คะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
3) แบบประเมินจติ วิทยาศาสตร์ ไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75
แบบทดสอบท้ายแผนการจดั การการเรียนรทู้ ่ี 3
จงเลือกคำตอบทถี่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงคำตอบเดียว
1. เมื่อเอานา้ ออกจากเซลลจ์ นหมด สารเคมีที่พบในเซลลม์ ีปรมิ าณแตกตา่ งกันอยา่ งไร
1. สารอนนิ ทรยี ์ คาร์โบไฮเดรต ไขมนั
2. คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตนี
3. ไขมัน โปรตนี คารโ์ บไฮเดรต
4. โปรตีน ไขมัน สารอนนิ ทรีย์
2. ข้อใดกล่าวถกู ต้อง
ก. โมเลกุลของน้าประกอบด้วยอะตอมของไฮโดรเจนกับออกซิเจนยดึ เหน่ียวกันด้วยพนั ธะไอออนิก
ข. นา้ เป็นโมเลกุลที่มีขวั และมสี ถานะเป็นของเหลว เนื่องจากมีพนั ธะไฮโดรเจนยึดระหวา่ งโมเลกลุ
ค. สารพวกไฮโดรโฟบิกเป็นสารทแี่ ตกตัวเป็นไอออนได้ จึงมีสมบัตลิ ะลายนา้ ได้ดี
1. เฉพาะข้อ ก 2. เฉพาะข้อ ข
3. ขอ้ ก และ ข 4. ข้อ ก และ ค
3. ข้อใดแสดงความสา้ คญั ของแร่ธาตุทม่ี ตี ่อมนุษย์ได้ถูกตอ้ ง
ชนดิ ของแร่ธาตุ ความผดิ ปกตเิ มอ่ื ขาดแร่ธาตุ
1. แคลเซยี ม โรคกระดูกอ่อน
2. เหลก็ โรคความดันโลหติ สูง
3. ไอโอดนี โรคโลหิตจาง
4. แมกนีเซยี ม โรคคอพอก
4. ก้าหนดให้
ก. ฟอสฟอรัสเปน็ องค์ประกอของนวิ คลีโอโปรตนี และ ATP ของพชื
ข. แคลเซยี มเปน็ องค์ประกอบของแคลเซยี มเพกเทตในเซลลเ์ พลตขณะท่ีมีการแบ่งเซลล์
ค. โพแทสเซียมเป็นองค์ประกอบของคลอโรฟลิ ล์ และช่วยเรง่ เมแทบอลิซึมของคาร์โบ-
ไฮเดรต
ข้อใดกลา่ วถกู ต้อง
1. เฉพาะข้อ ก 2. ข้อ ก และ ข
3. ขอ้ ก และ ค 4. ขอ้ ข และ ค
5. โครงสร้างใดจัดเปน็ สารอนิ ทรยี ์ประเภทคารโ์ บไฮเดรต
1. 2.
2.
3. 4.
6. ขอ้ ใดเปน็ มอนอแซ็กคาไรด์
1. ไรโบส กลูโคส แมนโนส
2. แมนโนส ฟรักโทส ซโู ครส
3. ซูโครส กาแลก็ โทส มอลโทส
4. มอลโทส อรี ิโทรส กลูโคส
7. กา้ หนดให้
ก. กลโู คสเปน็ องค์ประกอบของแป้ง ไกลโคเจน และเซลลูโลส
ข. มอลโทสเป็นน้าตาลโมเลกุลคู่ท่ีพบในสัตว์ แต่ไม่พบในพชื
ค. ซโู ครสเปน็ น้าตาลที่เกิดจากกลูโคสกบั ฟรักโทส
ข้อใดกล่าวถกู ต้อง
1. ขอ้ ก และ ข
2. ข้อ ก และ ค
3. ขอ้ ข และ ค
4. ถูกต้องทุกข้อ
8. ข้อใดถูกต้อง
แปง้ ไกลโคเจน เซลลูโลส
1. ประกอบดว้ ยกลูโคส โมเลกลุ ไมแ่ ตกแขนง พบในผนังเซลลพ์ ืช
2. เปลย่ี นสีสารละลายไอโอดีน สะสมในตบั และกล้ามเนือ
3. โมเลกลุ ไมแ่ ตกแขนง ประกอบดว้ ยกลูโคส
4. สะสมในพืชและสัตว์ ไมเ่ ปลยี่ นสสี ารละลายไอโอดีน โมเลกุลบดิ เป็นเกลยี ว
โมเลกุลบิดเป็นเกลยี ว ประกอบดว้ ยอะไมโลส
9. กรดอะมิโนชนิดใดมีความจา้ เปน็ ต่อการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการในวยั เด็ก
1. เมไทโอนนี และทรีโอนนี
2. ทรีโอนนี และลิวซีน
3. ลิวซีนและอารจ์ นิ นี
4. อาร์จนิ นี และฮสี ตดิ นี
10. โมเลกุลของโปรตีนประกอบด้วยกรดอะมิโนจ้านวนมากเชื่อมต่อเปน็ สายยาวด้วยพนั ธะเคมีชนิดใด
1. พนั ธะไอออนิก
2. พนั ธะไกลโคซิดกิ
3. พันธะเพปไทด์
4. พันธะไฮโดรเจน
เฉลยแบบทดสอบท้ายแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3
1. 4 2. 2 3. 1 4. 2 5. 2
6. 1 7. 2 8. 2 9. 4 10. 3