The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฐานการเรียนรู้-การทำปุ๋ยชีวภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กชกร สุวรรณขำ, 2020-10-14 04:49:44

ฐานการเรียนรู้-การทำปุ๋ยชีวภาพ

ฐานการเรียนรู้-การทำปุ๋ยชีวภาพ

ฐานการเรียนรู้ การทาปยุ๋ ชีวภาพ

ขั้นตอนวิธที ำ ป๋ยุ หมักชีวภำพ และ กำรใชป้ ระโยชน์

ปยุ๋ หมักชีวภำพ
ปยุ๋ หมักชีวภำพ คือ ปุ๋ยอินทรยี ์ที่ผา่ นกระบวนการหมักกับนาสกัดชีวภาพ ชว่ ยในการ ปรับปรงุ ดนิ ย่อยสลาย
อินทรยี วตั ถใุ นดินใหเ้ ปน็ อาหารแก่พชื
วสั ดอุ ุปกรณ์
1. มูลสัตวแ์ ห่งละเอียด 3 สว่ น
2. แกลบดา 1 สว่ น
3. อินทรียว์ ตั ถุอืน่ ๆ ท่ีหาได้ง่าย เช่น แกลบ ชานออ้ ย ขีเล่อื ย เปลือกถว่ั ลิสง เปลือกถัว่ เขียว ขยุ มะพร้าว กาก
ปาล์ม เปลอื กมนั เปน็ ต้น อยา่ งใดอยา่ งหนึง่ หรือหลายอยา่ งรวมกนั 3 สว่ น
4. ราละเอยี ด 1 ส่วน
5. นาสกดั ชีวภาพ หรือใชห้ วั เชอื จุลนิ ทรยี ์ (หวั เชือจลุ ินทรยี ท์ าเอง หรือ สารเรง่ พด. หรือ EM) 1 ส่วน
6. กากนาตาล 1 สว่ น
7. นา 100 สว่ น
8. บัวรดนา
หมายเหตุ : อัตราสว่ นของวัสดทุ ี่ใช้ปรับตามความเหมาะสม นอกจากราละเอยี ด จะตอ้ งใหม้ ไี ม่น้อยกวา่ 1 ใน
10 หรอื 10% เพราะราละเอยี ดเป็นอาหารท่ีจาเป็นของจลุ นิ ทรีย์

ขนั ตอนวธิ ที า
1. นาวัสดุต่าง ๆ มากองซ้อนกนั เปน็ ชนั ๆ แลว้ คลุกเคลา้ จนเขา้ กนั ดี
2. เอาสว่ นผสมของนาสกัดชีวภาพกบั นาตาลและนาคนจนละลายเขา้ กนั ดี ใส่บวั ราด
บนกองวัสดปุ ยุ๋ หมกั คลกุ ใหเ้ ขา้ กนั จนทว่ั ใหไ้ ด้ความชืนพอหมาดๆ อย่าให้แหง้ หรือขนึ เกินไป (ประมาณ 30-40
%) หรือลองเอามอื ขยาบีบดู ถ้าสว่ นผสมเปน็ ก้อนไม่แตก ออกจากกนั และมอื รสู้ กึ ชนื ๆ ไม่แฉะแสดงว่าใช้ได้ ถ้า
แตกออกจากนั ยงั ใช้ไม่ได้ต้องรด นาเพมิ่
3. หมกั กองป๋ยุ หมกั ไว้ 7 วัน ก็นาไปใชไ้ ด้
4. วิธหี มกั ทาได้ 2 วิธี คือ
4.1 เกล่ยี กองป๋ยุ หมกั บนพนื ซเี มนต์หนาประมาณ 1-2 คบื คลมุ ดว้ ยกระสอบ ปา่ นทิงไว้ 4-5 วัน ตรวจดูความ
รอ้ นในวนั ท่ี 2-3 ถ้าร้อนมากอาจจะต้องเอากระสอบทคี่ ลมุ ออก แลว้ กลับ กองปยุ๋ เพื่อระบายความร้อน
หลงั จากนนั กองปุ๋ยจะคอ่ ย ๆ เย็นลงนาลงบรรจกุ ระสอบเกบ็ ไว้ใช้ต่อไป
4.2 บรรจุปุ๋ยหมักที่เข้ากันดแี ลว้ ลงในกระสอบปุ๋ย ไมต่ อ้ งมัดปากถงุ ตังทิงไว้ บนท่อนไม้ หรอื ไม้กระดานที่
สามารถถ่ายเทอากาศใตพ้ ืนถุงได้ ทิงไว้ 5-7 วนั จะไดป้ ๋ยุ หมกั ชีวภาพท่ี ประกอบด้วย จลุ นิ ทรยี ์และสารอินทรีย์
ต่าง ๆ เชน่ เดียวกับนาสกดั ชีวภาพในรปู แห้ง ป๋ยุ หมกั ชวี ภาพ ทด่ี ี จะมกี ล่ินหอม มีใยสีขาวของเชอื ราเกาะกนั
เป็นกอ้ นในระหว่างการหมกั ถา้ ไมเ่ กดิ ความรอ้ นเลย แสดงว่า การหมกั ไมไ่ ด้ผล อณุ หภมู ิในระหว่างการหมกั ที่
เหมาะสมอยู่ระหว่าง 40 – 50 องศาเซลเซียส ถา้ ให้ ความชืนสงู เกินไป จะเกดิ ความร้อนสูงเกินไป ฉะนนั
ความชนื ท่ีให้ตอ้ งพอดี ประมาณ 30% ป๋ยุ หมกั ชีวภาพเมือ่ แหง้ ดแี ลว้ สามารถเก็บไวไ้ ด้นานหลายเดือน เก็บไว้
ในที่แห้งในรม่

วิธกี ารใช้
1. ผสมปุ๋ยหมักชวี ภาพกบั ดินในแปลงปลกู ผักทุกชนิดในอัตรา 1 กิโลกรมั ต่อพนื ที่ 1 ตารางเมตร
2. พืชผักอายุเกิน 2 เดอื น เช่น กะหล่าปลี ถวั่ ฝักยาว แตง และฟักทอง ใช้ป๋ยุ หมกั ชวี ภาพคลกุ กับดินรองกน้
หลมุ กอ่ นปลกู ผกั ประมาณ 1 กามือ
3. ไม้ผลควรรองกน้ หลมุ ดว้ ยเศษหญ้าใบไมแ้ หง้ ฟางและปุ๋ยหมกั ชีวภาพ 1-2 กโิ ลกรัม สาหรับไม้ผลทป่ี ลกู แล้ว
ใส่ปุ๋ยหมกั ชวี ภาพ แนวทรงพุ่ม 2 กก.ตอ่ 1 ตารางเมตร แล้วคลุมดว้ ยหญ้าแห้งหรือใบไม้แห้งหรือฟาง ควรใส่
ป๋ยุ หมกั ชวี ภาพ
เดือนละ 1 ครงั ๆ ละ 1 กามอื
4. ลักษณะของปุ๋ยหมักต่างๆ ตามระยะเวลาในการนามาใช้ โดยแบง่ ได้ 4 แบบ ดงั นี
4.1 ป๋ยุ หมักค้างปี ใช้เศษพืชเพียงอยา่ งเดียวนามาหมกั ทิงไวค้ า้ งปกี ส็ ามารถ นามาใชเ้ ป็นปยุ๋ หมักไดโ้ ดยไมต่ ้อง
ดแู ลรักษา ซงึ่ ต้องใช้เวลาในการหมกั นานประมาณ 1 ปี
4.2 ปยุ๋ หมกั ธรรมดาใชม้ ูลสัตว์ ใชเ้ ศษพชื และมูลสัตว์ในอตั รา 100 : 10 ถา้ เป็นเศษพชื ชนิ สว่ นเล็กนามาคลุก
ผสมได้เลย แตถ่ ้าเปน็ เศษพชื ชินส่วนใหญน่ ามากองเป็นชันๆ แต่ละ กองจะทาประมาณ 3 ชัน แต่ละชัน
ประกอบดว้ ยเศษพชื ทยี่ า่ และรดนาสงู ประมาณ 30 – 40 เซนตเิ มตร แล้วโรยทบั ด้วยมูลสตั ว์ แบบนีใช้
ระยะเวลาหมกั น้อยกว่าปุย๋ หมักคา้ งปี เชน่ ถา้ ใช้ฟางขา้ วจะใช้เวลา ประมาณ 6 – 8 เดอื นในการหมกั
4.3 ปุย๋ หมกั ธรรมดาใช้จุลินทรยี ์เร่ง ใชเ้ วลาในการทาสนั ทาไดโ้ ดยการใช้ เชอื จุลนิ ทรยี ์เรง่ การยอ่ ยสลายของ
เศษพชื และมูลสัตว์ทาใหไ้ ด้ปยุ๋ หมักเรว็ ขึนนาไปใช้ไดท้ นั ฤดกู าลโดยใช้ สูตรดงั นี เศษพชื 1,000 กโิ ลกรมั มูล
สตั ว์ 100 กิโลกรมั และเชือจุลินทรีย์ (นาหมกั ชวี ภาพ) ตามความ เหมาะสม ใชเ้ วลาหมกั ประมาณ 30 – 60
วนั
4.4 ป๋ยุ หมักตอ่ เชือ เป็นการนาป๋ยุ หมักธรรมดาใช้จลุ นิ ทรยี ์เร่งจานวน 100 กโิ ลกรัม นาไปต่อเชอื การทาปยุ๋
หมกั ได้อกี 1,000 กโิ ลกรัม (1 ตนั ) การต่อเชือนีสามารถทาการตอ่ ได้ เพียงอีก 3 ครัง ใชเ้ วลาหมกั ประมาณ 30
- 60 วัน มีจดุ ประสงคเ์ พ่อื เป็นการประหยดั ในการซอื เชอื จลุ นิ ทรีย์
5. การพิจารณาในแงใ่ ช้ประโยชนส์ ูงสุดในการใช้ปุ๋ยหมกั ชวี ภาพต้องพิจารณาจาก ลกั ษณะของการใส่ใหแ้ ก่พืช
ปลกู โดยแบ่งได้ 3 แบบ ดงั นี
5.1 ใส่แบบหว่านทั่วแปลง การใสป่ ยุ๋ หมกั แบบนีเปน็ วิธกี ารทดี่ ีตอ่ การปรับปรงุ บารุงดิน เน่อื งจากปยุ๋ หมกั จะ
กระจายอย่างสมา่ เสมอท่ัวทังแปลงปลกู พชื ทีม่ ีขนาดไม่ใหญม่ ากนัก ส่วนมากจะใชก้ ับการปลูกขา้ วหรือพชื ไร่
หรือพืชผัก แตจ่ ะต้องใชแ้ รงงานในการใสป่ ุ๋ยหมกั อตั ราของปยุ๋ หมักทใ่ี ชป้ ระมาณ 2 ตนั ต่อไร่ตอ่ ปี
5.2 ใส่แบบเป็นแถว การใส่ปุ๋ยหมกั แบบเป็นแถวตามแนวปลกู พชื มักใชก้ ับการ ปลูกพืชไร่ วธิ ีการใส่ปุ๋ยหมัก
แบบเป็นแถวเหมาะสมทจ่ี ะใช้แบบโรยเปน็ แถวสาหรบั ระบบการปลกู พืชไร่ ทั่วไป อัตราปุย๋ หมกั ท่ีใช้ประมาณ
3 ตนั ต่อไร่ต่อปี

5.3 ใสแ่ บบเปน็ หลุม การใส่ ปยุ๋ หมกั แบบเปน็ หลุมมักจะใช้กบั การปลกู ไมผ้ ล และไม้ยืนตน้ โดยสามารถใสป่ ๋ยุ
หมกั ไดส้ องระยะคอื ในช่วงแรกของการเตรียมหลมุ เพอื่ การปลูกพืช นา ดินด้านบนของหลมุ คลกุ เคล้ากับปุ๋ย
หมักแล้วใสร่ องก้นหลุม อีกระยะหนง่ึ อาจจะใสป่ ๋ยุ หมักในช่วงท่ีพชื เจรญิ แลว้ โดยการขดุ เปน็ ร่องรอบๆต้นตาม
แนวทรงพุ่มของตน้ พืช แลว้ ใส่ป๋ยุ หมักลงในร่องแล้วกลบดว้ ย ดิน อตั ราการใชป้ ุ๋ยหมักประมาณ 20 – 50
กโิ ลกรมั ต่อหลุม

การใช้ประโยชน์
1. ทาให้โครงสรา้ งของดนิ และการซึมผ่านของนาดีขึน
2. เพ่มิ การดูดซบั ธาตุอาหารหลักและลดความเป็นพิษของธาตุบางชนดิ
3. เพมิ่ กิจกรรมของจุลินทรีย์ในดินและลดปรมิ าณเชือโรคพชื บางชนดิ
4. การระบายอากาศของดนิ และรากพชื แผก่ ระจายไดด้ ีขึน
5. ดินคอ่ ยๆ ปลอ่ ยธาตุอาหารพืชและลดการสญู เสียธาตอุ าหารของพชื
ขอ้ มลู จำก
http://www.vigotech.in.th/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80
%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2%
E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89/%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B9%8B%E0%B8%A2%
E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E
0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E.html


Click to View FlipBook Version