The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการเรียนเล่ม 4 เครื่องใช้ไฟฟ้าgml

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by orasa, 2019-12-17 01:48:26

เอกสารประกอบการเรียนเล่ม 4 เครื่องใช้ไฟฟ้าgml

เอกสารประกอบการเรียนเล่ม 4 เครื่องใช้ไฟฟ้าgml

 เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า
 การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้ าอย่างถูกต้อง

ประหยดั และคุ้มค่า
 กาลงั ไฟฟ้ า
 พลงั งานไฟฟ้ า

คานา

เอกสารประกอบการเรียนการสอน “ชุดเรียนรู้เร่ืองพลงั งานไฟฟ้ า” เล่ม 4
เรื่อง เครื่องใชไ้ ฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า และพลงั งานไฟฟ้ า เล่มน้ีจดั ทาข้ึนเพ่ือพฒั นาการเรียน
การสอนวชิ าวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน ใหเ้ ป็นไปตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั ของหลกั สูตร
การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2544 ซ่ึงมุ่งเนน้ ใหน้ กั เรียนฝึกปฏิบตั ิจริง
คิดและแกป้ ัญหาไดด้ ว้ ยตนเอง ผจู้ ดั ทาไดด้ าเนินการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 โดยศึกษาขอ้ มลู พ้ืนฐานจาก
บนั ทึกผลหลงั สอน ซ่ึงผจู้ ดั ทา ไดร้ ะบุไวห้ ลงั จากการสอนจบทุกคร้ัง รวบรวมปัญหา
ต่างๆ ท่ีพบและไดจ้ ดั ทาเอกสารประกอบการเรียนการสอน เพอ่ื แกป้ ัญหาดงั กล่าวและ
พฒั นาคุณภาพนกั เรียนใหเ้ ป็นไปตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั ของหลกั สูตรสถานศึกษา
ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ จากเอกสารและตาราหลายเล่ม เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั ทาเอกสาร
ประกอบการเรียนการสอนคร้ังน้ี ไดศ้ กึ ษาหลกั จิตวทิ ยาการเรียนรู้เพื่อใหเ้ ป็นเอกสาร
ประกอบการเรียนการสอนท่ีน่าสนใจและเหมาะกบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3
โดยจดั ทาท้งั หมด 4 เล่ม ดงั น้ี 1. แหล่งกาเนิดพลงั งานไฟฟ้ า 2. ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ า
กระแสไฟฟ้ า และความตา้ นทานไฟฟ้ า 3. วงจรไฟฟ้ าและอุปกรณ์ไฟฟ้ า
4. เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า และพลงั งานไฟฟ้ าไดผ้ า่ นการตรวจสอบจากผเู้ ชี่ยวชาญ
และผา่ นการทดลองใช(้ Try Out ) จนมีคุณภาพทุกเล่ม ผจู้ ดั ทาจึงนามาใชก้ บั นกั เรียนช้นั
มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3
ผจู้ ดั ทาจึงหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ เอกสารประกอบการเรียนการสอนที่สร้างข้ึนน้ี
จะเป็นประโยชนต์ ่อการนาไปใชป้ ระกอบการเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และ
เป็นแนวทางสาหรับผสู้ นใจที่จะจดั ทาเอกสารประกอบการเรียนการสอนต่อไป

อรษา อภิรมยว์ ไิ ลชยั

สารบัญ

คานา หน้า

สารบญั ก

สารบญั ภาพ ง
1
คาชี้แจงการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน 2
3
จุดประสงค์ของเอกสารประกอบการเรียนการสอน 6
6
แบบทดสอบก่อนเรียน 7
8
1. เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า 12
13
เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าท่ีใหพ้ ลงั งานแสง สวา่ ง 14
17
หลอดไฟฟ้ าธรรมดาหรือหลอดไฟฟ้ าแบบมีไส้
19
หลอดเรืองแสง 20
21
หลอดตะเกียบ
23
หลอดนีออน 24

แบบฝึกหดั ท่ี 1 เร่ือง เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าท่ีใหพ้ ลงั งานแสง

เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าที่ใหพ้ ลงั งานความร้อน

แบบฝึกหดั ที่ 2 เร่ือง เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าที่ให้

พลงั งานความร้อน

เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าที่ใหพ้ ลงั งานกล

เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าท่ีใหพ้ ลงั งานเสียง

แบบฝึกหดั ที่ 3 เร่ือง เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าท่ีใหพ้ ลงั งานกล

และพลงั งานเสียง

แบบฝึกหดั ที่ 4 เร่ือง เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ า

สารบญั

หน้า

2. การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าอย่างถูกต้องประหยดั และคุ้มค่า 26

แบบฝึกหดั ที่ 5 เรื่อง การใชเ้ คร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าอยา่ งประหยดั ถกู ตอ้ ง

และคุม้ ค่า 29

3. กาลงั ไฟฟ้ า 30

4. พลงั งานไฟฟ้ า 34

แบบฝึ กหัดที่ 6 กาลงั ไฟฟ้ าและพลงั งานไฟฟ้ า 42

แบบทดสอบหลงั เรียน เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้ า 44

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า 47

เฉลยแบบฝึ กหดั ท่ี 1 เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้ าทใ่ี ห้พลงั งานแสง 48

เฉลยแบบฝึ กหัดท่ี 2 เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้ าทใ่ี ห้พลงั งานความร้อน 51

เฉลยแบบฝึ กหัดที่ 3 เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้ าทใี่ ห้พลงั งานกล และพลงั งานเสียง 52

เฉลยแบบฝึ กหดั ท่ี 4 เรื่อง เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า 53

เฉลยแบบฝึ กหดั ที่ 5 เรื่อง การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า 55

เฉลยแบบฝึ กหัดที่ 6 กาลงั ไฟฟ้ าและพลงั งานไฟฟ้ า 56

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า

และพลงั งานไฟฟ้ า 59

บรรณานุกรม 60

สารบญั ภาพ

ภาพ หน้า

ภาพท่ี 1 แสดงเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าท่ีใหแ้ สงสวา่ ง 6
ภาพที่ 2 แสดงส่วนประกอบของหลอดไฟ 7
ภาพท่ี 3 แสดงหลอดเรืองแสงแบบต่าง ๆ 8
ภาพที่ 4 แสดงตวั อยา่ งแบลลสั ตแ์ ละสตาร์สเตอร์ 9
ภาพท่ี 5 แสดงส่วนประกอบของหลอดเรืองแสง 11
ภาพที่ 6 แสดงตวั อยา่ งหลอดตะเกียบ 12
ภาพที่ 7 แสดงตวั อยา่ งหลอดนีออน 13
ภาพท่ี 8 แสดงตวั อยา่ งเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าท่ีใหค้ วามร้อน 17
ภาพท่ี 9 แสดงการทางานของเทอร์โมสตทั หรือ สวติ ซค์ วามร้อนอตั โนมตั ิ 18
ภาพท่ี 10 แสดงตวั อยา่ งเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าที่เปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานกล 20
ภาพท่ี 11 แสดงตวั อยา่ งเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าที่เปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานเสียง 21

คาชีแ้ จง
การใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน

เอกสารประกอบการเรียนการสอน เล่มท่ี 4 เรื่องเครื่องใชไ้ ฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า
และพลงั งานไฟฟ้ า ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 3 แบ่งเป็นสาระประกอบท้งั หมด 4 เรื่อง ดงั น้ี

- เรื่องเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ า
- เรื่องการใชเ้ คร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าอยา่ งถกู ตอ้ ง ประหยดั และคุม้ ค่า
- เร่ืองกาลงั ไฟฟ้ า
- เร่ืองพลงั งานไฟฟ้ า
ก่อนที่นกั เรียนจะปฏิบตั ิกิจกรรม ขอใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามคาช้ีแจงดงั น้ี
1. ใหน้ กั เรียนอ่านคาช้ีแจงน้ีใหเ้ ขา้ ใจอยา่ งชดั เจน
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ขอ้ เพ่ือวดั ความรู้พ้นื ฐาน
3. ใหน้ กั เรียนศกึ ษาเอกสารประกอบการเรียนการสอนและฝึ กกิจกรรม
ไปตามลาดบั จนจบเล่ม และในระหวา่ งปฏิบตั ิกิจกรรม จะมีกิจกรรมใหน้ กั เรียน
ฝึกปฏิบตั ิ หากนกั เรียนสงสัยหรือไม่เขา้ ใจ ขอใหน้ กั เรียนถามครูทนั ที
4. เม่ือศกึ ษาเอกสารประกอบการเรียนการสอนจบใหน้ กั เรียน
ทาแบบทดสอบอีกคร้ัง เพอื่ ดูความกา้ วหนา้ และวดั ความเขา้ ใจของตนเอง
5. ใหน้ กั เรียนศกึ ษาเอกสารประกอบการเรียนการสอนและทากิจกรรม
ดว้ ยความระมดั ระวงั และรอบคอบ

จุดประสงค์ของเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เล่มที่ 4 เร่ือง เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า และพลงั งานไฟฟ้ า

เมื่อนกั เรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน เล่มที่ 4
เร่ือง เครื่องใชไ้ ฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ าและพลงั งานไฟฟ้ า เล่มน้ีจบแลว้
นกั เรียนจะมีความรู้ ความสามารถดงั น้ี

1. สืบคน้ ขอ้ มูลและคานวณการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าของเครื่องใชไ้ ฟฟ้ า
และค่าไฟฟ้ า

2. สืบคน้ ขอ้ มลู อภิปราย และเลือกใชเ้ คร่ืองใชไ้ ฟฟ้ า
ในชีวติ ประจาวนั อยา่ งถูกตอ้ งประหยดั และคุม้ ค่า

แบบทดสอบก่อนเรียน
เร่ือง เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า

คาชี้แจง แบบทดสอบปรนยั จานวน 10 ขอ้ 10 คะแนน เวลา 10 นาที

ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบท่ีถกู ตอ้ งท่ีสุดเพยี งคาตอบเดียว โดยทาเคร่ืองหมาย X

ลงในกระดาษคาตอบ

** * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

1. เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าในขอ้ ใดท่ีสามารถ 3. เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าชนิดใดท่ีใชห้ ลกั การ

เปล่ียนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานความ เดียวกนั

ร้อนและพลงั งานแสง ก. พดั ลม เครื่องซกั ผา้

ก. โทรทศั น์ ข. เตาไฟฟ้ า สวา่ นไฟฟ้ า

ข. โทรศพั ท์ ค. หลอดเรืองแสง เตารีด

ค. หลอดไฟฟ้ า ง. เคร่ืองปรับอากาศ เครื่องทาน้าอุ่น

ง. กลอ้ งถ่ายรูป

4. ขอ้ ใดถือวา่ เป็นการเปลี่ยนพลงั งาน

2. การที่หลอดไฟโฆษณามีสีต่างกนั กลใหเ้ ป็นพลงั งานไฟฟ้ า

เพราะเหตุใด ก. ใชไ้ ฟฉายตอนกลางคืน เพ่อื จบั ปลู ม

ก. ชนิดของแกส๊ ท่ีบรรจุในหลอดไฟ บริเวณหาดพทั ยา

ต่างกนั ข. เมื่อเดินเขา้ ใกลป้ ระตู

ข. ปริมาณกระแสไฟฟ้ าท่ีไหลผา่ น หา้ งสรรพสินคา้ ประตูเปิ ดเองโดยใช้

หลอดต่างกนั กลไกอิเลก็ ทรอนิกส์

ค. ชนิดของโลหะท่ีใชท้ าไส้หลอด ค. ปั่นจกั รยาน แลว้ เคร่ืองปั่นไฟทางาน

ต่างกนั ไฟหนา้ รถสวา่ ง

ง. ชนิดของสารท่ีฉาบผวิ ดา้ นในของ ง. กดสวติ ช์ แลว้ หลอดไฟสวา่ ง

หลอดต่างกนั

5. การใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าในประเทศไทย 7. เครื่องใชป้ ระเภทใดเมื่อเกิดไฟรั่วจะ
มีแนวโนม้ อยา่ งไร เพราะเหตุใด มีอนั ตรายมากที่สุด
ก. เพ่ิมข้ึน เพราะมีประชากรเพมิ่ ข้ึน ก. ประเภทใหแ้ สงสวา่ ง
ข. ลงลง เพราะน้ามนั ปิ โตรเลียมราคา ข. ประเภทใหค้ วามร้อน
ค. ประเภทใหพ้ ลงั งานกล
สูงข้ึน ง. ประเภทใหพ้ ลงั งานเสียง
ค. ลดลง เพราะมีการนาพลงั งานความ
8. หลอดไฟท่ีมีตวั เลขและตวั อกั ษร
ร้อนมาทดแทน ระบุ วา่ 220 V 40 W หมายความวา่
ง. เพิม่ ข้ึน เพราะมีการเพ่มิ ผลผลิต หลอดไฟน้ีใชก้ บั วงจรท่ีมีลกั ษณะ
ตามขอ้ ใด
ทางดา้ นอุตสาหกรรมมากข้ึน
ก. ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ า 220 โวลต์
6. นายบุญมาไดร้ ับคาแนะนาให้ ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ า 40 จูลต่อวนิ าที
ประหยดั ไฟฟ้ าดงั ต่อไปน้ี มีกระแสไฟฟ้ าไหลผา่ นขณะใช้
0.18 แอมแปร์
1). ใชห้ ลอดเรืองแสงกาลงั วตั ตเ์ ท่ากนั
แต่สวา่ งมากกวา่ หลอดไฟธรรมดา ข. ความต่างศกั ย์ 220 โวลต์ ใชพ้ ลงั งาน
และทนกวา่ ไฟฟ้ า40 จลู ต่อวนิ าที มีกระแสไฟฟ้ า
ไหลผา่ นขณะใช้ 5.5 แอมแปร์
2). ไม่ใชไ้ ฟดวงใดใหป้ ิ ดดวงน้นั อยา่
ไปคิดวา่ การปิ ด- เปิ ดไฟทาให้ ค. ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ า 40 โวลต์
เสียค่าพลงั งานไฟฟ้ ามากข้ึน ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ า 220 จูลต่อวนิ าที
มีกระแสไฟฟ้ าไหลผา่ นขณะใช้
3). เปิ ดวทิ ยตุ ิดต่อกนั ไปเรื่อยๆ ทาให้ 5.5 แอมแปร์
เปลืองไฟนอ้ ยลง
ง. ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ า 220 โวลต์
คาตอบที่ถูกตอ้ งคือขอ้ ใด ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ า 40 จูลต่อวนิ าที
ก. ขอ้ 1 มีกระแสไฟฟ้ าไหลผา่ นขณะใช้
ข. ขอ้ 2 0.18 โวลต์
ค. ขอ้ 1 และ 2
ง. ขอ้ 1 , 2 และ 3

9. หลอดไฟ 60 วตั ต์ จานวน 5 หลอด 10. ในเดือนเมษายน ถา้ เปิ ดพดั ลมขนาด
จะใหก้ าลงั ไฟฟ้ าท้งั หมดเท่าไร 30 วตั ต์ 220 โวลต์ วนั ละ 12 ชว่ั โมง
ก. 0.03 กิโลวตั ต์ กบั ใชเ้ คร่ืองปรับอากาศขนาด
ข. 0.3 กิโลวตั ต์ 2000 วตั ต์ 220 โวลต์ วนั ละ
ค. 0.6 กิโลวตั ต์ 12 ชว่ั โมง ตลอดเดือนจะเสียค่า
ง. 60 กิโลวตั ต์ ไฟฟ้ าอยา่ งละเท่าใด
(ค่าไฟฟ้ ายนู ิตละ 1 บาท)

ก. พดั ลม 10.80 บาท
เครื่องปรับอากาศ 720.00 บาท

ข. พดั ลม 21.60 บาท
เคร่ืองปรับอากาศ 1440.00 บาท

ค. พดั ลม 108.00 บาท
เคร่ืองปรับอากาศ 720.00 บาท

ง. พดั ลม 216.00 บาท
เคร่ืองปรับอากาศ 2880.00 บาท

1. เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า

เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าเป็นเครื่องใชท้ ี่เปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้ าใหเ้ ป็นพลงั งาน
รูปอ่ืนๆ เช่นเปล่ียนเป็นพลงั งานความร้อน พลงั งานแสงสวา่ ง พลงั งานเสียง พลงั งานกล
และเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าบางชนิดสามารถเปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้ าใหเ้ ป็นพลงั งานรูปอ่ืนๆได้
หลายรูปในเวลาเดียวกนั สามารถจาแนกเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าไดเ้ ป็น 4 ประเภท

เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าที่ใหแ้ สงสวา่ ง
เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าที่ใหค้ วามร้อน
เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าที่ใหพ้ ลงั งานกล
เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าท่ีใหพ้ ลงั งานเสียง

1.1 เครื่องใช้ไฟฟ้ าทใี่ ห้แสงสว่าง

เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าที่ใหแ้ สงสวา่ ง เป็นเคร่ืองใชท้ ี่ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าแลว้
เปลี่ยนเป็นพลงั งานแสง ซ่ึงก็คือ หลอดไฟฟ้ า ปัจจุบนั หลอดไฟฟ้ ามีหลายชนิด เช่น
หลอดไฟฟ้ าธรรมดา หลอดเรืองแสง หลอดตะเกียบ และหลอดนีออน

ภาพท่ี 1 แสดงเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าที่ใหแ้ สงสวา่ ง
ท่ีมา : http://www.yimmarket.com/adpics/4b27b23bac38a6e2e9f62bcaa.jpg,

สืบคน้ วนั ที่ 12 ม.ค. 2551.

1) หลอดไฟฟ้ าธรรมดาหรือหลอดไฟฟ้ าแบบมไี ส้

หลอดไฟฟ้ าธรรมดาประดิษฐข์ ้ึนโดย โธมสั แอลวา เอดิสนั
(Thomas Alva Edison) นกั วทิ ยาศาสตร์ชาวอเมริกนั เม่ือปี พ.ศ. 2422 โดยคร้ังแรก
เอดิสันไดใ้ ชล้ วดคาร์บอน เสน้ เลก็ ๆทาเป็นไส้หลอด และไดพ้ ฒั นาข้ึนจนเป็นไสห้ ลอด
ทงั สเตนที่เราพบเห็นในปัจจุบนั

หลอดแกว้ ภายในหลอดแกว้ สูบอากาศออก
จนหมด แลว้ บรรจุดว้ ยแกส๊
ไส้หลอดทาดว้ ย ไนโตรเจนและอาร์กอนเพยี ง
โลหะทงั สเตนมีราคา เล็กนอ้ ยไวแ้ ทนท่ี แก๊สชนิดน้ีทา
ไม่แพง แต่มีความ ปฏิกิริยายาก ช่วยป้ องกนั ไม่ใหไ้ ส้
ตา้ นทานไฟฟ้ าสูง หลอดระเหิดไปจบั ที่หลอดแกว้
จุดหลอมเหลวสูง ทาใหห้ ลอดดา และช่วยใหไ้ ส้
ทนความร้อนไดด้ ี หลอดไม่ขาดง่าย ถา้ บรรจุแก๊ส
ออกซิเจนจะทาปฏิกิริยากบั ไส้
หลอด ซ่ึงทาใหไ้ ส้หลอดขาดง่าย

กา้ นยดึ ท่ีชูไส้หลอด ข้วั ตอ่ ไฟ
เปลือกโลหะ

ภาพที่ 2 แสดงส่วนประกอบของหลอดไฟ
ท่ีมา : http://www.yimmarket.com/adpics/4b27b23bac38a6e2e9f62bcaa.jpg,สืบคน้ วนั ท่ี12 ม.ค. 2551.

ส่วนประกอบต่างๆของของหลอดไฟฟ้ าธรรมดา ไดแ้ ก่
1. หลอดแก้ว ทาจากแกว้ ที่ทนความร้อนไม่แตกง่าย ภายในหลอด

สูบอากาศออกจนหมดแลว้ บรรจุแก๊สไนโตรเจน (N2) และแกส๊ อาร์กอน (Ar)
เพยี งเลก็ นอ้ ยไวแ้ ทน แก๊สท่ีบรรจุจะช่วยป้ องกนั ไม่ใหไ้ ส้หลอด เกิดการระเหิด
ไปจบั ที่ผวิ ในของหลอดแกว้ ทาใหห้ ลอดดา

2. ไส้หลอด ทาดว้ ยโลหะทงั สเตนเสน้ เลก็ ๆขดเอาไวเ้ หมือนขดสปริง
ทงั สเตนเป็นโลหะท่ีมีความตา้ นทานไฟฟ้ าสูง มีจุดหลอมเหลวสูง และทนความร้อน
ไดส้ ูง เมื่อถูกทาใหร้ ้อนจดั จะเปล่งแสงสวา่ งออกมาได้ และทงั สเตนยงั หาง่าย ราคาถูก

3. ข้วั ต่อไฟ เป็นจุดต่อวงจรไฟฟ้ าภายในหลอด หลอดไฟฟ้ าธรรมดา
จะมีท้งั แบบเข้ียวและแบบท่ีใชเ้ กลียวหมุนต่อเขา้ กบั วงจร

หลกั การทางานของหลอดไฟฟ้ าธรรมดา

เม่ือกระแสไฟฟ้ าผา่ นไสห้ ลอด ซ่ึงทาดว้ ยโลหะทงั สเตน จะทาให้

ไส้หลอดร้อน จนอุณหภมู ิสูงประมาณ 2,500 OC ทาใหไ้ สห้ ลอดเปล่งแสงสวา่ งออกมา

หลอดไฟฟ้ าชนิดน้ีมีประสิทธิภาพต่ากล่าวคือ นอ้ ยกวา่ 10 % ของพลงั งานไฟฟ้ าท่ี

เปลี่ยนเป็นพลงั งานแสง ที่เหลือจะเป็นพลงั งานความร้อน

2) หลอดเรืองแสง

ภาพท่ี 3 แสดงหลอดเรืองแสงแบบตา่ งๆ
ที่มา : http://www.yimmarket.com/adpics/4b27b23bac38a6e2e9f62bcaa.jpg,

สืบคน้ วนั ที่ 12 ม.ค. 2551.

ส่วนประกอบต่างๆของหลอดเรืองแสง ไดแ้ ก่
1 หลอดแก้ว มีรูปร่างหลายแบบ มีท้งั เป็นหลอดแกว้ ทรงกระบอกยาว

ส้ัน และขดเป็นวงกลม ภายในหลอดแกว้ จะสูบอากาศออกจนหมด แลว้ ใส่ไอปรอท
ไวเ้ ลก็ นอ้ ย และผวิ หลอดแกว้ ดา้ นในฉาบดว้ ยสารวาวแสง (Fluorescent Coating)
ซ่ึงทาดว้ ยสารฟอสฟอร์ ทาหนา้ ท่ีเปล่งแสงสวา่ ง เมื่อมีรังสีอลั ตราไวโอเลตมากระทบ

2 ไส้หลอด (Filament) ติดอยทู่ ้งั ปลายหลอดท้งั 2 ดา้ น ไส้หลอดทาดว้ ย
โลหะทงั สเตนหรือวลุ แฟรม

อปุ กรณ์ทต่ี ้องใช้ประกอบกบั หลอดเรืองแสง มี 2 ชนิด ดงั น้ี
1. สตาร์สเตอร์ (Starter) ทาหนา้ ที่เป็นสวติ ซ์อตั โนมตั ิในขณะที่หลอด

เรืองแสงยงั ไม่ติด และหยดุ ทางานเมื่อหลอดติดแลว้ สตาร์สเตอร์มีลกั ษณะเป็น
หลอดแกว้ ใส ภายในบรรจุแกส๊ นีออนและมีแผน่ โลหะคู่ที่งอได้ เม่ือไดร้ ับความร้อน
สตาร์สเตอร์ตอ้ งต่อขนานกบั หลอดเรืองแสง

2. แบลลสั ต์ (Ballast) ทาหนา้ ท่ีเพ่ิมความต่างศกั ยเ์ พอื่ ใหห้ ลอดเรืองแสง
ติดในตอนแรก และทาใหก้ ระแสไฟฟ้ าที่ผา่ นหลอดลดลง เม่ือหลอดติดแลว้ พร้อมท้งั
ควบคุมกระแสใหค้ งที่ แบลลสั ตป์ ระกอบดว้ ยขดลวดพนั รอบแกนเหลก็
เม่ือมีกระแสไฟฟ้ าไหลผา่ นขดลวด จะทาใหเ้ กิดอานาจแม่เหลก็ ไฟฟ้ าและเกิด
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนา แบลลสั ตต์ อ้ งต่ออนุกรมกบั หลอดเรืองแสง

ภาพที่ 4 แสดงตวั อยา่ งแบลลสั ตแ์ ละสตาร์สเตอร์
ที่มา : http://www.yimmarket.com/adpics/4b27b23bac38a6e2e9f62bcaa.jpg,

สืบคน้ วนั ที่ 12 ม.ค. 2551.

หลกั การทางานของหลอดเรืองแสง มีดงั น้ี
เม่ือกดสวติ ซเ์ พอ่ื ใหก้ ระแสไฟฟ้ าไหลเขา้ สู่วงจรของหลอดเรืองแสง

กระแสไฟฟ้ าจะไหลผา่ นไส้หลอดขา้ งหน่ึง ผา่ นสตาร์สเตอร์ ผา่ นไสห้ ลอดอีกขา้ งหน่ึง
และผา่ นแบลลสั ตจ์ นครบวงจร ขณะท่ีกระแสไฟฟ้ าผา่ นไส้หลอด จะทาใหไ้ สห้ ลอดร้อน
และเม่ือกระแสไฟฟ้ าไหลผา่ นสตาร์สเตอร์จะทาใหแ้ ก๊สนีออนที่บรรจุอยใู่ นสตาร์สเตอร์
ติดไฟเกิดความร้อน เป็นผลใหแ้ ผน่ โลหะคู่โคง้ งอจนสัมผสั กนั กระแสไฟฟ้ าจึงผา่ น
แผน่ โลหะไดโ้ ดยตรง หลงั จากน้นั แกส๊ นีออนที่ติดไฟอยจู่ ะดบั ซ่ึงมีผลใหอ้ ุณหภูมิลดลง
ในระยะน้ีกระแสไฟฟ้ าจะไหลผา่ นไส้หลอดมาก จนทาใหไ้ สห้ ลอดร้อนมาก
และปรอทกลายเป็นไอมากข้ึน จนนาไฟฟ้ าได้ และเมื่ออุณหภูมิภายในสตาร์สเตอร์ลดลง
แผน่ โลหะคู่จะโคง้ แยกออกจากกนั ทาใหก้ ระแสไฟฟ้ าไม่สามารถไหลผา่ นสตาร์สเตอร์
แต่จะผา่ นไอปรอทแทน

ในแบลลสั ตเ์ มื่อกระไฟฟ้ าไหลผา่ นขดลวดที่พนั อยบู่ นแกนเหลก็
จะเกิดการเหน่ียวนาแม่เหลก็ ไฟฟ้ า เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหน่ียวนาข้ึน ทาใหเ้ กิด
ความต่างศกั ยร์ ะหวา่ งไสห้ ลอดท้งั สองขา้ งสูงเพยี งพอที่จะทาใหก้ ระแสไฟฟ้ าไหลผา่ น
ไอปรอทจากไส้หลอดขา้ งหน่ึง ไปยงั อีกขา้ งหน่ึงได้ และแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหน่ียวนา
ที่เกิดข้ึนน้ียงั ทาใหเ้ กิดกระแสไฟฟ้ าเหน่ียวนาไหลสวนทางกบั กระแสไฟฟ้ า
ในวงจรไฟฟ้ าของบา้ น เป็นผลใหก้ ระแสไฟฟ้ าท่ีเขา้ สู่วงจรของหลอดเรืองแสงลดลง

ในหลอดเรืองแสง เมื่อกระแสไฟฟ้ าผา่ นไอปรอท จะคายพลงั งานไฟฟ้ า
ใหแ้ ก่ไอปรอท ซ่ึงจะทาใหอ้ ะตอมของไอปรอทอยใู่ นสภาวะถกู กระตุน้ (Exited State)
เป็นผลใหอ้ ะตอมของปรอทคายพลงั งานออกมา เพ่ือลดระดบั พลงั งานในตวั เอง
ในรูปของรังสีอลั ตราไวโอเลต เมื่อรังสีชนิดน้ีไปกระทบกบั สารวาวแสงที่ฉาบไว้
ท่ีผวิ ดา้ นในของหลอดเรืองแสง กจ็ ะเปล่งแสงออกมา

ภายในบรรจุไอปรอท สตาร์สเตอร์

แบลลสั ต์ สารวาวแสงฉาบไว้ทผ่ี วิ หลอดไฟ
ภาพท่ี 5 แสดงส่วนประกอบของหลอดเรืองแสง

ตารางแสดง การเปล่งแสงสีของสารวาวแสงเมื่อรังสีอลั ตราไวโอเลตตกกระทบ

สารวาวแสง แสงสีทเี่ ปล่งออกมา

แคดเมียมบอเรท สีชมพู

แคดเมียมซิลิเคท สีชมพอู ่อน

แมกนีเซียมทงั สเตท สีขาวอมฟ้ า

แคลเซียมทงั สเตท สีน้าเงิน

ซิงคซ์ ิลิเคท สีเขียว

ซิงคเ์ บริลเลียมซิลิเคท สีเหลืองนวล

หมายเหตุ ถา้ ผสมสารเรืองแสงเขา้ ดว้ ยกนั จะไดส้ ีท่ีแตกต่างออกไปจากเดิม

ข้อดขี องหลอดเรืองแสง

1) เมื่อใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าเท่ากนั จะใหแ้ สงสวา่ งมากกวา่ หลอดไฟฟ้ าธรรมดา

ประมาณ 4 เท่า และมีอายกุ ารใชง้ านทนกวา่ หลอดไฟฟ้ าธรรมดา ประมาณ 8 เท่า

2) อุณหภูมิของหลอดไฟไม่สูงเท่ากบั หลอดไฟฟ้ าธรรมดา

3) ถา้ ตอ้ งการแสงสวา่ งเท่ากบั หลอดไฟฟ้ าธรรมดา จะใชว้ ตั ตต์ ่ากวา่ จึงเสียค่าไฟ

นอ้ ยกวา่

ข้อเสียของหลอดเรืองแสง

เม่ือติดต้งั จะเสียค่าใชจ้ ่ายสูงกวา่ หลอดไฟฟ้ าธรรมดา เพราะตอ้ งใชก้ บั

สตาร์ตเตอร์ และแบลลสั ต์

3) หลอดตะเกยี บ

หลอดตะเกียบเป็นหลอดเรืองแสงแบบใหม่ เรียกวา่ หลอดคอมแพค
ฟูลออเรสเซนต์ มี 2 ชนิด คือ

ภาพที่ 6 แสดงตวั อยา่ งหลอดตะเกียบ
ท่ีมา : http://she.cpportal.net/Portals/0/pic%20article_03/Firefa_503.jpg,สืบคน้ วนั ท่ี 12 ม.ค 2551.

1 หลอดตะเกยี บชนิดทม่ี แี บลลสั ต์ภายใน สามารถใชแ้ ทนหลอดไฟฟ้ า
ธรรมดาได้ เพราะมีท้งั หลอดตะเกียบแบบมีเข้ียวและแบบเกลียว

2 หลอดตะเกยี บชนิดทแ่ี บลลสั ต์อยู่ภายนอก จะมีขาเสียบเพื่อต่อเขา้ กบั
แบลลสั ต์

ข้อดขี องหลอดตะเกยี บ
ช่วยประหยดั พลงั งานและมีอายกุ ารใชง้ านท่ียาวนานกวา่ หลอดเรืองแสง
แบบธรรมดา

4) หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน

หลอดไฟโฆษณาเป็นหลอดแกว้ ขนาดเลก็ ท่ีถูกลนไฟดดั เป็นรูปภาพหรือ
ตวั อกั ษรต่างๆไม่มีไสห้ ลอด แต่ท่ีปลายท้งั 2 ขา้ งจะมีข้วั ไฟฟ้ าทาดว้ ยโลหะต่อกบั
แหล่งกาเนิดไฟฟ้ าท่ีมีความต่างศกั ยส์ ูงประมาณ 10,000 โวลตภ์ ายในหลอดจะสูบอากาศ
ออกจนเป็นสุญญากาศ แลว้ บรรจุแก๊สบางชนิดที่จะใหแ้ สงสีต่างๆเมื่อมีกระแสไฟฟ้ า
ไหลผา่ นแกส๊ จะเปล่งเป็นแสงสี และถา้ ใชแ้ ก๊สต่างๆผสมกนั กจ็ ะไดแ้ สงสีต่างๆ กนั
ออกไปอีก

ตารางแสดง แกส๊ ท่ีเปล่งแสงสีต่างๆ ของหลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน

แก๊ส แสงสีทเ่ี ปล่งออกมา
แก๊สนีออน แสงสีแดงหรือสม้
แก๊สฮีเลยี ม แสงสีชมพู
แก๊สอาร์กอน แสงสีขาวอมน้าเงิน
ซีนอน แสงสีฟ้ า
คาร์บอนไดออกไซด์ สีขาว
คริบตอน สีม่วงอ่อน
ไนโตรเจน สีม่วงแก่

ภาพที่ 7 แสดงตวั อยา่ งหลอดนีออน
ท่ีมา : http://www.thaidbmarket.com/uploads/20090710-134446-.jpg,

สืบคน้ วนั ที่ 12 ม.ค. 2551.

แบบฝึ กหัดท่ี 1
เร่ือง เคร่ืองใช้ไฟฟ้ าทใี่ ห้พลงั งานแสง

ให้นักเรียนเตมิ คาตอบในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. เม่ือเปิ ดหลอดไฟจะมีการเปล่ียนแปลงพลงั งานอยา่ งไร ……………………………
…………………………………………………………………………………………
2. จากรูปส่วนประกอบของหลอดไฟธรรมดา หมายเลข 1-5 คืออะไร

1………………………………… 2 ……………………………….

3………….………………
.

5………………….

4……………………
…..
3. หลอดไฟธรรมดา มีหลกั การทางานอยา่ งไร .................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

4. แกส๊ ที่บรรจุในหลอดไฟ คือแกส๊ อะไร………………………………… …………….
และบรรจุ ไวเ้ พอื่ …………………………………………………………………………

5. จากรูปส่วนประกอบของหลอดไฟเรืองแสง หมายเลข 1-5 คืออะไร

1…………………………… 2………………….........

3………………..... 4………………………… 5.......................................

6. ใหน้ กั เรียนอธิบายหลกั การทางานของหลอดเรืองแสง........ ………………………..
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….

7. แบลลสั ต์ ทาหนา้ ที่อะไร ……………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………...

8. ใหน้ กั เรียนบอกขอ้ ดีและขอ้ เสียของหลอดไฟเรืองแสง…………………………….
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

9. ใหน้ กั เรียนอธิบายหลกั การทางานของหลอดไฟโฆษณา
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

10. ถา้ ตอ้ งการแสงสวา่ งในปริมาณท่ีเท่ากนั นกั เรียนควรเลือกใชห้ ลอดไฟชนิดใด และ
เพราะเหตุใดจึงเลือก
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

1. 2 เคร่ืองใช้ไฟฟ้ าทใี่ ห้ความร้อน

เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าที่ใหค้ วามร้อนเป็นเครื่องใชท้ ี่เปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้ าเป็น
พลงั งานความร้อน ไดแ้ ก่ เตารีดไฟฟ้ า กระทะไฟฟ้ า เตาไฟฟ้ า หมอ้ หุงขา้ วไฟฟ้ า
หมอ้ ตม้ น้าไฟฟ้ า เคร่ืองเป่ าผมไฟฟ้ า เคร่ืองปิ้ งขนมปัง เป็นตน้

ภาพที่ 8 แสดงตวั อยา่ งเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าท่ีใหค้ วามร้อน
ท่ีมา : http://www.siamworachak.com/shop/s/siamworachak/imglib/spd_20080924191044_b.jpg,

สืบคน้ วนั ที่ 12 ม.ค. 2551.

ส่วนประกอบสาคญั ของเคร่ืองใช้ไฟฟ้ าทใี่ ห้ความร้อน
1) ขดลวดหรือแผน่ ความร้อนหรือขดลวดนิโครม เป็นแผน่ โลหะท่ีผสม

ระหวา่ งนิเกิลกบั โครเมียม (ไม่มีฉนวนหุม้ ) มีความตา้ นทานไฟฟ้ าและจุดหลอมเหลวสูง
ทาใหข้ ดลวดไม่ขาดเม่ือเกิดความร้อนข้ึนท่ีขดลวด

2) เทอร์โมสตทั หรือสวติ ซค์ วามร้อนอตั โนมตั ิ ทาหนา้ ที่ควบคุม
อุณหภูมิไม่ใหร้ ้อนเกินไป ประกอบดว้ ยแผน่ โลหะต่างชนิดกนั 2 แผน่ ประกบกนั
เมื่อไดร้ ับความร้อนจะขยายตวั ไดต้ ่างกนั เช่นทองเหลืองกบั เหลก็ โดยใหแ้ ผน่ โลหะท่ี
ขยายตวั ไดน้ อ้ ยอยบู่ น แผน่ โลหะท่ีขยายตวั ไดม้ ากอยลู่ ่าง เมื่อกระแสไฟฟ้ าไหลผา่ น
แผน่ โลหะท้งั สองมากข้ึน จะทาใหอ้ ุณหภมู ิสูงข้ึน แผน่ โลหะท้งั สองจึงโคง้ งอ เป็นเหตุ
ใหจ้ ุดสัมผสั แยกออกจากกนั เกิดวงจรเปิ ด กระแสไฟฟ้ าไม่ไหลผา่ น

และเมื่อแผน่ โลหะท้งั สองเยน็ ตวั ลง กจ็ ะสมั ผสั กนั อีกคร้ัง เกิดเป็นวงจรปิ ด กระแสไฟฟ้ า
ไหลผา่ นแผน่ โลหะท้งั สองอีกคร้ังวนเวยี นเช่นน้ีเรื่อยๆ

เมื่อเยน็

ป่ ุมสมั ผสั สายไฟ
เมื่อร้อนจดั

ป่ ุมสมั ผสั สายไฟ

ภาพที่ 9 แสดงการทางานของเทอร์โมสตทั หรือ สวติ ซ์ความร้อนอตั โนมตั ิ

3) แผน่ ไมกาและใยหิน ใชใ้ นเตารีดและหมอ้ หุงขา้ วไฟฟ้ า เพ่อื ป้ องกนั
ไม่ใหข้ ดลวดหลอมละลายและป้ องกนั ไฟฟ้ ารั่ว

ข้อควรระมดั ระวงั ในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าทใ่ี ห้ความร้อน
เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าท่ีใหค้ วามร้อนจะใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ ามากกวา่ เครื่องใชไ้ ฟฟ้ า

ประเภทอื่นๆหลายเท่า ทาใหก้ ระแสไฟฟ้ าที่ไหลผา่ นเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าเหล่าน้ีมีปริมาณมาก
ดงั น้นั ในการใชเ้ คร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าที่ใหค้ วามร้อนจึงตอ้ งใชด้ ว้ ยความระมดั ระวงั เช่น
หมน่ั ตรวจสอบสภาพของสายไฟ เตา้ เสียบหรือเตา้ รับใหอ้ ยใู่ นสภาพท่ีดีอยเู่ สมอ
เพ่ือป้ องกนั อนั ตรายจากไฟฟ้ ารั่ว และตอ้ งปลดเตา้ เสียบออกทุกคร้ังท่ีเลิกใชง้ าน

แบบฝึ กหัดที่ 2
เร่ือง เครื่องใช้ไฟฟ้ าทใี่ ห้พลงั งานความร้อน

คาสั่ง ใหน้ กั เรียนเติมคาตอบที่ถูกตอ้ ง
1. ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าท่ีใหพ้ ลงั งานความร้อน ………………………..
…………………………………………………………………………………………...

2. แผน่ ความร้อนหรือขดลวดนิโครมตอ้ งมีฉนวนหุม้ หรือไม่ เพราะเหตุใด ……………
…………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………...

3. เพ่อื ป้ องกนั ไม่ใหข้ ดลวดนิโครมหรือแผน่ ความร้อน ร้อนจดั หรือแตะกบั หมอ้ ไฟฟ้ า
โดยตรง จะตอ้ งทาอยา่ งไร ………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………...

4. ขดลวดหรือแผน่ ความร้อนทาจากโลหะชนิดใด ………………………………………
…………………………………………………………………………………………...

5. เพราะเหตุใดเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าที่ใหพ้ ลงั งานความร้อน จึงมีอนั ตรายมากกวา่ เคร่ืองใช้
เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าประเภทอ่ืน ………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………...

6. นกั เรียนมีวธิ ีป้ องกนั อนั ตรายจากไฟฟ้ าร่ัวและไฟฟ้ าดูดจากเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าที่ใหค้ วาม
ร้อนอยา่ งไร………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...

1.3 เครื่องใช้ไฟฟ้ าทใ่ี ห้พลงั งานกล

เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าที่ใหพ้ ลงั งานกลเป็นเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าที่เปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้ า
เป็นพลงั งานกล เช่น พดั ลม ตูเ้ ยน็ เคร่ืองปรับอากาศ เครื่องซกั ผา้ เครื่องปั่นน้าผลไม้
เครื่องป่ันไฟ เครื่องปั๊มน้า เคร่ืองดูดฝ่ นุ จกั รเยบ็ ผา้ ไฟฟ้ า เป็นตน้ เครื่องใชเ้ หล่าน้ีจะตอ้ ง
มีอุปกรณ์ท่ีทาหนา้ ที่เปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานกล คือ มอเตอร์ (Motor)
หลกั การทางานของมอเตอร์ คือ เม่ือผา่ นกระแสไฟฟ้ าเขา้ ไปในขดลวดตวั นาท่ีพนั อยู่
รอบแกนเหลก็ ในสนามแม่เหลก็ จะเกิดอานาจแม่เหลก็ ผลกั กบั สนามแม่เหลก็
ทาใหข้ ดลวดหมุนได้ การควบคุมมอเตอร์ใหห้ มุนชา้ หรือเร็ว ทาไดโ้ ดยการเพ่มิ
หรือลดความตา้ นทานไฟฟ้ า ถา้ ความตา้ นทานไฟฟ้ ามาก มอเตอร์จะหมุนชา้
ถา้ ลดความตา้ นทานไฟฟ้ าลง มอเตอร์จะหมุนเร็วข้ึน

ภาพที่ 10 แสดงตวั อยา่ งเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าที่เปล่ียนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานกล
ท่ีมา : http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/sudarat_n/index.html.

สืบคน้ วนั ท่ี 12 ส.ค. 2550.

ถ้าไฟตก มอเตอร์จะไม่หมนุ แต่ยงั คงมกี ระแสไฟฟ้ า
ไหลผ่านขดลวดตวั นาอยู่ ซ่ึงอาจทาให้ขดลวดร้อนและไหม้ได้
ดงั น้ันต้องปลดเต้าเสียบออกจากเต้ารับทกุ คร้ังทไี่ ฟตก

1.4 เครื่องใช้ไฟฟ้ าทใ่ี ห้พลงั งานเสียง

เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าที่เปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานเสียง เช่น วทิ ยุ
เครื่องบนั ทึกเสียง เคร่ืองรับโทรทศั น์ เคร่ืองดนตรีท่ีใชไ้ ฟฟ้ าชนิดต่างๆ เป็นตน้

ภาพที่ 11 แสดงตวั อยา่ งเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าท่ีเปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานเสียง
ท่ีมา : http://www.multiav.com/catalog/images/UX70.jpg.,สืบคน้ วนั ท่ี 12 ส.ค. 2549.

หลกั การของเครื่องรับวทิ ยุ
เคร่ืองรับวทิ ยจุ ะรับและเลือกสถานีหรือเลือกความถ่ีของคลื่นวทิ ยซุ ่ึงเป็น

คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้ าจากสถานีส่งวทิ ยุ แลว้ เปล่ียนคลื่นวทิ ยเุ ป็นสญั ญาณไฟฟ้ า แลว้ ใช้
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ขยายสญั ญาณเสียงที่อยใู่ นรูปของสัญญาณไฟฟ้ าใหแ้ รงข้ึน
จนเพยี งพอท่ีทาใหล้ าโพงสั่นสะเทือนเป็นเสียงใหไ้ ดย้ นิ ดงั แผนภาพต่อไปน้ี

เสารับอากาศส่ง เสารับอากาศรับคลื่นวทิ ยุ
คล่ืนวทิ ยุ
รับคล่ืนวทิ ยุ อุปกรณ์ เสียง
สถานี และเลือก อิเลก็ ทรอนิกส์ เสียง
วทิ ยกุ ระจายเสียง ความถี่ของ ขยายสัญญาณ เสียง
คล่ืนหรือ เสียง
สถานี ไฟฟ้ าให้
แรงข้ึน

หลกั การของเคร่ืองบนั ทกึ เสียง
1) ขณะบนั ทกึ เสียงเคร่ืองบนั ทกึ เสียง โดยการพดู ผา่ นไมโครโฟน

ไมโครโฟน จะทาหนา้ ที่เปลี่ยนพลงั งานเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้ า แลว้ สัญญาณไฟฟ้ าจะ
ถูกบนั ทึกลงในแถบบนั ทึกเสียงซ่ึงฉาบไวด้ ว้ ยสารแม่เหลก็ ในรูปของสญั ญาณแม่เหลก็

คล่ืนเสียง เปลี่ยนคลื่นเสียงเป็ น เครื่องบนั ทึกเทปจะ บนั ทึกลงในมว้ นเทป
สญั ญาณไฟฟ้ า ขยายสญั ญาณไฟฟ้ า หรือคอมแพคดิสก์

ใหแ้ รงข้ึน ( CD)

2) ขณะเล่นเครื่องบันทกึ เสียง จะทาหนา้ ท่ีเปล่ียนสญั ญาณแม่เหลก็

ในแถบบนั ทึกเสียงกลบั มาเป็นสัญญาณไฟฟ้ า และสญั ญาณน้ีจะถกู ขยายใหแ้ รงข้ึนดว้ ย

อุปกรณ์ไฟฟ้ า แลว้ ผา่ นไปท่ีลาโพง ลาโพงจะทาหนา้ ท่ีเปล่ียนสัญญาณไฟฟ้ าเป็น

พลงั งานเสียง

สญั ญาณแม่เหลก็ เคร่ืองเล่นเทปจะ แอมพลิฟายเออร์ ลาโพงเสียง
จากแถบ เปลี่ยนสญั ญาณ ขยายสัญญาณไฟฟ้ า สนั่ สะเทือน
บนั ทึกเสียง แม่เหลก็ เป็น
สญั ญาณไฟฟ้ า เปลี่ยน
สัญญาณไฟฟ้ า
เป็ นคล่ืนเสียง

หลกั การของเคร่ืองขยายเสียง
เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าท่ีเปล่ียนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานเสียง โดยการใชไ้ มโครโฟน

เปล่ียนเสียงเป็นสญั ญาณไฟฟ้ า แลว้ ขยายสญั ญาณไฟฟ้ าใหแ้ รงข้ึนดว้ ยอุปกรณ์
อิเลก็ ทรอนิกส์จนทาใหล้ าโพงส่ันสะเทือนเป็นเสียง ซ่ึงประกอบดว้ ยส่วนประกอบดงั น้ี

1) ไมโครโฟน เปล่ียนพลงั งานเสียงใหเ้ ป็นสัญญาณไฟฟ้ า
2) เครื่องขยายสญั ญาณไฟฟ้ า ขยายสญั ญาณไฟฟ้ าใหแ้ รงข้ึน
3) ลาโพง เปลี่ยนสญั ญาณไฟฟ้ าใหเ้ ป็นพลงั งานเสียง

แบบฝึ กหัดท่ี 3
เร่ือง เคร่ืองใช้ไฟฟ้ าทใี่ ห้พลงั งานกล และพลงั งานเสียง

ตอนท่ี 1 ให้นักเรียนทาเคร่ืองหมาย หน้าข้อทถ่ี ูก และเครื่องหมาย  หน้าข้อทผ่ี ดิ
………… 1. เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าที่ใหพ้ ลงั งานกล จะมีไดนาโม เป็นส่วนประกอบ
………… 2. พดั ลมเป็นเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าท่ีเปล่ียนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานกล
………… 3. มอเตอร์เป็นอุปกรณ์ท่ีเปล่ียนพลงั งานกลเป็นพลงั งานไฟฟ้ า
………… 4. เม่ือกระแสไฟฟ้ าผา่ นขดลวดพนั รอบแกนเหลก็ ในสนามแม่เหลก็

จะเกิดอานาจแม่เหลก็ ผลกั กบั สนามแม่เหลก็ ทาใหข้ ดลวดหมุนได้
………… 5. ขณะไฟตก กระแสไฟฟ้ ายงั ไหลผา่ นมอเตอร์ แต่มอเตอร์จะไม่หมุน
………… 6. เครื่องปิ้งขนมปัง และเครื่องซกั ผา้ เป็นเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าประเภทเดียวกนั
………… 7. เครื่องรับวทิ ยุ เป็นอุปกรณ์ท่ีเปล่ียนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานเสียง
………… 8. แอมพลิฟายเออร์ ทาหนา้ ที่ขยายสัญญาณเสียงใหแ้ รงข้ึน
………… 9. ไมโครโฟนทาหนา้ ที่ เปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานเสียง
………… 10. ลาโพง ทาหนา้ ที่สัญญาณไฟฟ้ าเป็นพลงั งานกล

แบบฝึ กหดั ท่ี 4
เรื่อง เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า

ใหน้ กั เรียนเติมคาหรือขอ้ ความลงไปในช่องวา่ งใหถ้ กู ตอ้ งสมบูรณ์
1. เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าต่อไปน้ีเปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานรูปใด

เครื่องใช้ไฟฟ้ า การเปลยี่ นรูปพลงั งาน

…………………………………………

…………………………………………

…………………………………………
…………………………………………

เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า - ต่อ-
การเปลย่ี นรูปพลงั งาน

…………………………………………

…………………………………………

…………………………………………

…………………………………………

2. การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้ าอย่างถูกต้องประหยดั และคุ้มค่า

การผลิตพลงั งานไฟฟ้ าตอ้ งอาศยั พลงั งานจากแหล่งต่างๆ เช่น พลงั งาน
จากน้า พลงั งานน้ามนั เช้ือเพลิงและก๊าซธรรมชาติ จึงมีความจาเป็นอยา่ งยง่ิ ท่ีจะตอ้ ง
ช่วยกนั ประหยดั พลงั งานไฟฟ้ าไวใ้ หใ้ ชไ้ ดน้ านๆ สามารถทาไดเ้ ช่นใชห้ ลอดเรืองแสง
แทนหลอดไฟฟ้ า ลดกาลงั วตั ตข์ องหลอดไฟลงเท่าที่จาเป็น ปิ ดสวติ ซ์หรือถอดเตา้ เสียบ
ออกทุกคร้ังเมื่อเลิกใชเ้ คร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าแลว้ ลดการใชเ้ ครื่องใชไ้ ฟฟ้ าอื่นๆที่ไม่จาเป็น

พลงั งานที่มนุษยใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ส่วนใหญ่มกั จะเป็นพลงั งานท่ีใช้
กบั เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ า ถึงแมว้ า่ การเลือกซ้ือเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าท่ีถูกตอ้ งจะช่วยประหยดั ไฟฟ้ า
แต่ในขณะเดียวกนั วธิ ีการหรือลกั ษณะการใช้ ตอ้ งเหมาะสมดว้ ยจึงจะเป็นการประหยดั
อยา่ งแทจ้ ริง เน่ืองจากเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าแต่ละชนิดมีลกั ษณะการใชท้ ี่แตกต่างกนั ออกไป
เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าที่ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ส่วนมาก มีแนวทางการใชใ้ หป้ ระหยดั
และคุม้ ค่าดงั น้ี

1 ตู้เยน็ มีหลกั การใชด้ งั น้ี
1) เลือกใชต้ ูเ้ ยน็ ท่ีมีขนาดเหมาะสมกบั ครอบครัว
2) ควรวางตูเ้ ยน็ ใหห้ ่างจากผนงั ท้งั ดา้ นหลงั และดา้ นขา้ ง อยา่ งนอ้ ย 15

เซนติเมตร
3) ควรต้งั อุณหภมู ิภายในตเู้ ยน็ ประมาณ 3 – 6 OC และในช่องแช่แขง็

ระหวา่ ง -15 OC ถึง – 18 OC
4) ตอ้ งละลายน้าแขง็ อยา่ งสม่าเสมอ
5) อยา่ ต้งั ไวใ้ กลแ้ หล่งความร้อน
6) ไม่นาอาหารที่ยงั ร้อนหรือยงั อุ่นอยแู่ ช่ตูเ้ ยน็
7) ไม่ใส่ของแช่จนแน่นตเู้ ยน็
8) ปิ ดประตตู ูเ้ ยน็ ทนั ท่ี เม่ือนาของใส่หรือออก
9) หากยางขอบประตูตูเ้ ยน็ ร่ัวใหร้ ีบแกไ้ ขทนั ที

2.) หลอดไฟฟ้ า มีหลกั การใชด้ งั น้ี
1) ออกแบบบา้ นใหใ้ ชแ้ สงสวา่ งจากธรรมชาติใหม้ ากที่สุด
2) ควรทาสีผนงั บา้ นดว้ ยสีอ่อนๆ เพ่ือทาใหห้ อ้ งดูสวา่ ง

ลดการใชห้ ลอดไฟ
3) เลือกใชห้ ลอดตะเกียบ
4) บริเวณที่ตอ้ งเปิ ดไฟทิง้ ไวน้ านๆ ควรใชห้ ลอดไฟฟ้ าท่ีมีวตั ตต์ ่า

3. โทรทศั น์ มีหลกั การใชด้ งั น้ี
1) เลือกซ้ือโทรทศั นข์ นาดใหเ้ หมาะสมกบั ความจาเป็น
2) อยา่ เปิ ดโทรทศั นท์ ิง้ ไวโ้ ดยไม่มีคนดู
3) ไม่ปรับจอภาพใหส้ วา่ งเกินความจาเป็น
4) ไม่เปิ ดโทรทศั นล์ ่วงหนา้ เพ่อื รอดูรายการที่ชอบ ควรเปิ ดดูรายการเม่ือ

ถึงเวลาที่ออกอากาศ

4. เตารีด มีหลกั การใชด้ งั น้ี
1) เกบ็ ผา้ ไวร้ ีดคร้ังละมากๆ และควรรีดผา้ ต่อกนั จนเสร็จ
2) ไม่รีดผา้ ที่ยงั เปี ยกอยู่
3) ไม่พรมน้าผา้ ที่จะรีดจนชุ่มเกินไป
4) ถอดปลก๊ั ก่อนเสร็จสิ้นการรีด ประมาณ 2 – 3 นาที

เพราะยงั มีความร้อนเหลือเพียงพอ
5) ควรซกั และตากผา้ โดยไม่ตอ้ งบิด จะทาใหร้ ีดไดง้ ่ายข้ึน
6) ต้งั ป่ ุมระดบั ความร้อนใหเ้ หมาะสมกบั ชนิดของผา้ ที่จะรีด
7) ไม่ควรรีดผา้ ในหอ้ งแอร์

ครอบครัวของนักเรียน
มแี นวทางการใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า
อย่างประหยดั อย่างไร ?

5. หม้อหุงข้าวไฟฟ้ า มีหลกั การเลือกใชด้ งั น้ี
1) เลือกขนาดหมอ้ หุงขา้ วใหเ้ หมาะสมกบั ขนาดครอบครัว
2) หุงขา้ วใหพ้ อดีกบั จานวนคน
3) อยา่ เปิ ดฝาหมอ้ ขณะที่ขา้ วยงั ไม่สุก
4) หากเสียบปลก๊ั อยู่ อยา่ กดสวติ ช์ ปิ ด – เปิ ด ขณะที่ไม่มีตวั หมอ้ ช้นั ใน
5) ควรดึงปลกั๊ ออกเม่ือขา้ วสุกแลว้

6. เครื่องปรับอากาศ มีหลกั การเลือกใชด้ งั น้ี
1) เลือกขนาดที่เหมาะสม เช่น หอ้ งท่ีมีความสูงไม่เกิน 3 เมตร และ

มีพ้นื ที่ หอ้ งขนาด 13-15 ต.ร.ม. ควรใชข้ นาด 7,000-9,000 บีทีย/ู ชวั่ โมง ขนาดพ้นื ท่ี
16-17 ต.ร.ม. ควรใชข้ นาด 9,000-11,000 บีทีย/ู ชว่ั โมง เป็นตน้

2) ใชเ้ คร่ืองปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพสูงท่ีสุด
3) ต้งั ป่ ุมปรับอุณหภมู ิใหเ้ หมาะสม อยา่ ปรับอุณหภูมิใหต้ ่าเกินไป
โดยปกติ ควรต้งั ที่อุณหภูมิ 25 ํC
4) หมน่ั ทาความสะอาดแผน่ กรองอากาศไม่ใหม้ ีฝ่ นุ จบั เพราะจะทาให้
ประสิทธิภาพการทาความเยน็ ลดลง
5) เลือกใชเ้ คร่ืองปรับอากาศที่มีฉลากประหยดั ไฟเบอร์ 5

เราควรปรับอณุ หภูมขิ องเครื่องปรับอากาศ
ให้เหมาะสม ควรต้งั อณุ หภูมไิ ว้ที่ 25 ํC

แบบฝึ กหดั ที่ 5
เร่ือง การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าอย่างถูกต้องประหยดั และคุ้มค่า

ใหน้ กั เรียนเติมคาตอบที่ถูกตอ้ งในช่องวา่ ง
1. ถา้ สงสัยเครื่องใชไ้ ฟฟ้ ามีไฟร่ัวหรือไม่ เราสามารถใช.้ ..................................ตรวจดูได้
2. เราไม่ควรต่อเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าหลายๆ ชนิดเขา้ กบั เตา้ รับเตา้ เสียบอนั เดียวกนั เพราะเหตุ
ใด………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………..
3. เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าประเภทใดอาจก่อใหเ้ กิดอนั ตรายมากท่ีสุดเม่ือเกิดไฟฟ้ าร่ัว………….
…………………………………………………………………………………………
4. กระแสไฟฟ้ าท่ีไหลผา่ นร่างกายจะเป็นอนั ตรายมากหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั ส่ิงใดบา้ ง…..
………………………………………………………………………………………….
5. การต้งั อุณหภมู ิของเคร่ืองปรับอากาศที่ประหยดั ควรต้งั อุณหภมู ิเท่าไร………………
6. ใหน้ กั เรียนบอกหลกั การเลือกใชห้ มอ้ หุงขา้ วไฟฟ้ าท่ีเหมาะสม………………………
…………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………...............
…………………………………………………………………………………………...
7. การใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าอยา่ งประหยดั โดยการ ลด – เลิก ส่ิงใด……………………….
…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………..
8. เพอ่ื ใหต้ เู้ ยน็ ละบายความร้อนไดด้ ี ควรต้งั ตูเ้ ยน็ ห่างจากผนงั อยา่ งนอ้ ยเท่าไร…………
9. นกั เรียนควรเลือกใชห้ ลอดไฟชนิดใดในบา้ นพกั อาศยั ……………………………….
10 หมอ้ หุงขา้ ว โทรทศั น์ พดั ลม เครื่องปรับอากาศ เม่ือนามาเรียงลาดบั การใชพ้ ลงั งาน
ไฟฟ้ าจากนอ้ ยไปมาก จะไดอ้ ยา่ งไร ……………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………...

3. กาลงั ไฟฟ้ า

เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าเป็นเครื่องใชท้ ี่เปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานรูปอื่น
ไดต้ ามตอ้ งการ และเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าแต่ละชนิดจะใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าต่างกนั ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั
ชนิดของเครื่องใชไ้ ฟฟ้ า และระยะเวลาการใชง้ าน โดยเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าแต่ละชนิด
จะใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ ามากนอ้ ยเพยี งใด เราทราบไดจ้ ากเลขท่ีกากบั ไวท้ ี่แผน่ ติดกบั
เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าน้นั ๆ เช่น หลอดไฟฟ้ ามีตวั เลขกากบั วา่ 220 V 60 W หมายความวา่
หลอดไฟฟ้ าดวงน้ีตอ้ งใชก้ บั ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ า 220 โวลต์ และหลอดไฟฟ้ าหลอดน้ี
มีกาลงั ไฟฟ้ า 60 วตั ต์ และกาลงั ไฟฟ้ า 60 วตั ต์ บอกถึงปริมาณพลงั งานไฟฟ้ า
ท่ีหลอดไฟฟ้ าใชไ้ ปในเวลา 1 วนิ าที แสดงวา่ ขณะที่เปิ ดไฟ หลอดไฟฟ้ าดวงน้ีจะตอ้ งใช้
พลงั งานไฟฟ้ า 60 จูลในเวลา 1 วนิ าที

ดงั น้นั กาลงั ไฟฟ้ า คือ พลงั งานไฟฟ้ าที่ใชไ้ ปในเวลา 1 วนิ าที
มีหน่วยเป็นจลู ต่อวนิ าที หรือวตั ต์ ( Watt) สามารถคานวณหากาลงั ไฟฟ้ าไดจ้ าก
ความสัมพนั ธ์ดงั น้ี

กาลงั ไฟฟ้ า ( วตั ต์ ) = พลงั งานไฟฟํ้า(จูล)
หรือ P = เวลา(วินาทํ)ี

W
t

เม่ือ P แทน กาลงั ไฟฟ้ า มีหน่วยเป็น วตั ต์

W แทน พลงั งานไฟฟ้ า มีหน่วยเป็น จูล

.t แทน เวลา มีหน่วยเป็น วนิ าที

ตาราง แสดงกาลงั ไฟฟ้ าของเคร่ืองใช้ไฟฟ้ าบางชนิด

เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า(วตั ต์)
พดั ลมต้งั พ้นื 20 - 75
พดั ลมเพดาน 70 - 100
โทรทศั นส์ ี 80 - 180
เคร่ืองเล่นวดี ีโอ 25 - 50
ตเู้ ยน็ 7-10 คิว 70 - 145
หมอ้ หุงขา้ ว 450 - 1,500
เตารีดไฟฟ้ า 750 - 2,000
เครื่องปรับอากาศ 1,200 - 3,300
เคร่ืองซกั ผา้ แบบมีเครื่องอบผา้ 3,000

ตัวอย่าง

หลอดไฟฟ้ าดวงหน่ึงใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ า 1,000 จลู ในเวลา 10 วนิ าที

หลอดไฟฟ้ า ดวงน้ีมีกาลงั ไฟฟ้ าเท่าใด

วธิ ีทา พิจารณาโจทย์ ระบุ

พลงั งานไฟฟ้ าที่ใช้ 1,000 จูล

เวลาที่ใช้ 10 วนิ าที

จากความสัมพนั ธ์ กาลงั ไฟฟ้ า (วตั ต์ ) = พลงั งานไฟฟํ้า(จูล)

= 1,1000เว0ลาจ(วลู ินตา่อทวํนิ )ี าที หรือวตั ต์
= 100 จลู ต่อวนิ าที หรือวตั ต์

ดงั น้นั หลอดไฟฟ้ าหลอดน้ีมีกาลงั ไฟฟ้ า 100 จลู ต่อวนิ าที หรือ 100 วตั ต์

ตัวอย่าง ตเู้ ยน็ หลงั หน่ึงใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าไป 1,200 จูล ในเวลา 8 วนิ าที ตูเ้ ยน็ หลงั น้ี

มีกาลงั ไฟฟ้ าเท่าไร

วธิ ที า พิจารณาโจทย์ ระบุ

พลงั งานไฟฟ้ าท่ีใช้ 1,200 จูล

เวลาที่ใช้ 8 วนิ าที

จากความสมั พนั ธ์ กาลงั ไฟฟ้ า (วตั ต์ ) = พลงั งานไฟฟํ้า(จูล)
=
1,28เ0ว0ลา(วินาทจํลู )ี ต่อวนิ าที หรือวตั ต์
= 150 จลู ต่อวนิ าที หรือวตั ต์

ดงั น้นั ตเู้ ยน็ เครื่องน้ีมีกาลงั ไฟฟ้ า 150 จูลต่อวนิ าที หรือ 150 วตั ต์

ค่าของกาลงั ไฟฟ้ านอกจากจะข้ึนอยกู่ บั พลงั งานไฟฟ้ าท่ีใชแ้ ลว้ ยงั ข้ึนอยกู่ บั
ปริมาณกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผา่ นเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าและความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ าที่เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ า
ชนิดน้นั ต่ออยดู่ ว้ ย

กาลงั ไฟฟ้ า (วตั ต)์ = ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ า(โวลต)์ Xกระแสไฟฟ้ า(แอมแปร์)

หรือ P = VI

เม่ือกาหนดให้ P แทน กาลงั ไฟฟ้ า มีหน่วยเป็น วตั ต์ ( W)
V แทน ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ า มีหน่วยเป็น โวลต์ ( V )
I แทน กระแสไฟฟ้ า มีหน่วยเป็น แอมแปร์ ( A )

ตัวอย่าง กระทะไฟฟ้ ามีกาลงั ไฟฟ้ า 1,100 วตั ต์ เม่ือใชก้ บั กระแสไฟฟ้ าท่ีมีความต่างศกั ย์

220 โวลต์ จะมีปริมาณกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผา่ นอยา่ งไร

วธิ ีทา พิจารณาโจทย์ ระบุ

กาลงั ไฟฟ้ า = 1,100 วตั ต์

ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ า = 220 โวลต์

จากความสัมพนั ธ์

กาลงั ไฟฟ้ า (วตั ต)์ = ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ า(โวลต)์ X กระแสไฟฟ้ า(แอมแปร์)

กระแสไฟฟ้ า = กาลงั ไฟฟ้ า
= 1ค2,ว12า00ม0ตา่ งแศอกัมยแไ์ปฟรฟ์ ้ า
กระแสไฟฟ้ า
กระแสไฟฟ้ า = 5 แอมแปร์

ดงั น้นั กระทะไฟฟ้ าจะมีกระแสไฟฟ้ าไหลผา่ น 5 แอมแปร์

4. พลงั งานไฟฟ้ า

โดยทว่ั ไปพลงั งานไฟฟ้ าที่ใชใ้ นบา้ นจะรายงานใบแจง้ ค่าไฟฟ้ า

ของแต่ละเดือนในรูปของจานวนหน่วยที่ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ า หรือพลงั งานไฟฟ้ าที่ใชไ้ ป

ผใู้ ชไ้ ฟฟ้ า จะอ่านไดโ้ ดยตรงจากเคร่ืองวดั ที่เรียกวา่ มาตรกิโลวตั ตช์ ว่ั โมง

เมื่อเราทราบค่ากาลงั ไฟฟ้ าที่ใชก้ บั เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ า จะสามารถหาพลงั งาน

ไฟฟ้ าท่ีสิ้นเปลืองไปกบั เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าได้

กาลงั ไฟฟ้ า (วตั ต)์ = พลงั งานไฟฟํ้า(จูล)
เวลา(วินาทํ)ี

พลงั งานไฟฟ้ า (จูล) = กาลงั ไฟฟ้ า (วตั ต)์ x เวลา (วนิ าที)

โดยทว่ั ไปนิยมวดั พลงั งานท่ีใชก้ บั เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าเป็นหน่วยท่ีใหญ่กวา่
หน่วย จลู โดยวดั กาลงั ไฟฟ้ าเป็น กิโลวตั ต์ และคิดช่วงเวลาเป็น ชวั่ โมง ดงั น้นั พลงั งาน
ไฟฟ้ า จึงวดั ไดเ้ ป็น กิโลวตั ตช์ ว่ั โมง หรือ หน่วย ซ่ึงคานวณไดจ้ าก

พลงั งานไฟฟ้ า (หน่วย) = กาลงั ไฟฟ้ า (กิโลวตั ต)์ x เวลา (ชว่ั โมง)

ตวั อย่าง จงหาพลงั งานไฟฟ้ าที่ใชใ้ นเคร่ืองปรับอากาศท่ีมีกาลงั ไฟฟ้ า 3,000 วตั ต์

นาน 3 ชว่ั โมง จะสิ้นเปลืองพลงั งานไฟฟ้ ากี่หน่วย

วธิ ที า จากโจทย์ กาลงั ไฟฟ้ า 3,000 วตั ต์

เวลาที่ใช้ 3 ชว่ั โมง

พลงั งานไฟฟ้ า (หน่วย) = กาลงั ไฟฟ้ า (กิโลวตั ต)์ x เวลา (ชวั่ โมง)

= 3 กิโลวตั ต์ x 3 ชว่ั โมง

= 9 หน่วย

ดงั น้นั เครื่องปรับอากาศจะสิ้นเปลืองพลงั งานไฟฟ้ า 9 หน่วย

ตวั อย่าง จงหาพลงั งานไฟฟ้ าที่ใชใ้ นพดั ลมท่ีมีกาลงั ไฟฟ้ า 1,300 วตั ต์ และเปิ ดใชง้ าน

นาน 30 นาที

วธิ ีทา จาก โจทย์ ใชก้ าลงั ไฟฟ้ า 1,300 วตั ต์

เวลาท่ีใช้ 30 นาที

พลงั งานไฟฟ้ า = กาลงั ไฟฟ้ า (วตั ต)์ x เวลา (วนิ าที)

= 1.3 กิโลวตั ต์ X 0.5 ชม.

= 0.65 หน่วย

ดงั น้นั พดั ลมจะสิ้นเปลืองพลงั งานไฟฟ้ า 0.65 หน่วย

เคร่ืองมอื วดั พลงั งานไฟฟ้ า

การไฟฟ้ าจะคิดเงินค่าพลงั งานไฟฟ้ าท่ีแต่ละบา้ นใชไ้ ป โดยใชเ้ คร่ืองมือวดั
พลงั งานไฟฟ้ าติดท่ีเสาไฟฟ้ า หนา้ บา้ นของผใู้ ชไ้ ฟฟ้ า เรียกวา่ มิเตอร์ไฟฟ้ า หรือ มาตร
ไฟฟ้ า หรือมาตรกิโลวตั ตช์ วั่ โมง ซ่ึงจะวดั พลงั งานไฟฟ้ าท่ีใชไ้ ปเป็น กิโลวตั ตช์ ว่ั โมง
หรือ หน่วย หรือ ยนู ิต

มาตราวดั ไฟฟ้ ามีหลายขนาด ข้ึนอยกู่ บั ปริมาณกระแสไฟฟ้ าท่ีไหลผา่ น
ในเวลา 1 วนิ าที ถา้ มีกระแสไฟฟ้ าไหลผา่ นมาตรไฟฟ้ ามากเกินกวา่ ขนาดท่ีติดต้งั ไว้
จะทาใหม้ าตรไฟฟ้ าเกิดความร้อนสูงจนไหมไ้ ด้ สาหรับบา้ นที่อยอู่ าศยั ทวั่ ๆ ไป
จะใชม้ าตรไฟฟ้ าขนาด 5 แอมแปร์

ภาพที่ 11 แสดงมาตรไฟฟ้ า
ท่ีมา : http://www.bloggang.com/data/b/bangkoktoday/picture/125632.jpg.

สืบคน้ วนั ที่12 ส.ค. 2549.

การคดิ ค่าพลงั งานไฟฟ้ า

หน่วยของพลงั งานไฟฟ้ าท่ีแต่ละบา้ นใชไ้ ปคิดเป็น หน่วย หรือ ยนู ิต
โดยท่ี 1 หน่วย หรือ 1 ยนู ิต เท่ากบั 1 กิโลวตั ตช์ วั่ โมง

ดงั น้นั พลงั งานไฟฟ้ า( หน่วย) = กาลงั ไฟฟ้ า (กิโลวตั ต)์ x เวลา (ชวั่ โมง)
เงินค่าพลงั งานไฟฟ้ า = จานวนหน่วยที่ใช้ x อตั ราค่าไฟต่อหน่วย

ตัวอย่าง ตเู้ ยน็ 250 วตั ต์ เปิ ดใชต้ ลอด 24 ชวั่ โมง ทุกวนั ในเดือนกนั ยายนจะตอ้ งเสียค่า

ไฟฟ้ าในการใชต้ ูเ้ ยน็ หลงั น้ีเท่าไร ถา้ ค่าไฟฟ้ าหน่วยละ 2 บาท

วธิ ที า = 250 = 0.25 กิโลวตั ต์
ตเู้ ยน็ 250 วตั ต์ 1,000

ดงั น้นั ใน 1 วนั ตูเ้ ยน็ ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ า = 0.25 กิโลวตั ต์ x 24 ชว่ั โมง

= 6 หน่วย

แสดงวา่ ในเดือนกนั ยายน ตูเ้ ยน็ ใชพ้ ลงั งานท้งั สิ้น = 6x30 หน่วย

= 180 หน่วย

เสียค่าพลงั งานไฟฟ้ า 2 บาท
เงินค่าพลงั งานไฟฟ้ า = จานวนหน่วย x อตั ราค่าไฟฟ้ าต่อหน่วย

= 180 x 2 บาท
ดงั น้นั ในเดือนกนั ยายนตอ้ งเสียค่าไฟฟ้ าในการใชต้ ูเ้ ยน็ ท้งั สิน 360 บาท

การไฟฟ้ านครหลวง และการไฟฟ้ าส่วนภมู ิภาคเป็นผรู้ ับผดิ ชอบ
เรียกเกบ็ เงินค่าไฟฟ้ าที่ใชต้ ามบา้ นโดยจะมีใบเสร็จแจง้ รายละเอียดเกี่ยวกบั พลงั งานไฟฟ้ า
โดยคิดค่าไฟฟ้ าดงั น้ี

ค่าไฟฟ้ าทต่ี ้องชาระ = ค่าพลงั งานไฟฟ้ า + ค่าบริการ +ค่า Ft +ค่าภาษมี ูลค่าเพม่ิ

การคดิ อตั ราค่าไฟฟ้ า แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คอื
1. อตั ราปกติ ปริมาณการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน

จานวนหน่วย หน่วยที่ ค่าพลงั งานไฟฟ้ า
5 หน่วยแรก 0-5 0.00 บาท
10 หน่วยต่อไป 6-15
10 หน่วยต่อไป 16-25 หน่วยละ 1.3576 บาท
10 หน่วยต่อไป 26-35 หน่วยละ 1.5445 บาท
65 หน่วยต่อไป 36-100 หน่วยละ 1.7968 บาท
50 หน่วยต่อไป 101-150 หน่วยละ 2.1800 บาท
250 หน่วยต่อไป 151-400 หน่วยละ 2.2734 บาท
เกิน 400 หน่วย 401 เป็นตน้ ไป หน่วยละ 2.7781 บาท
หน่วยละ 2.9780 บาท

2. อตั ราปกติ ปริมาณการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าเกิน 150 หน่วยต่อเดือน

จานวนหน่วย หน่วยที่ ค่าพลงั งานไฟฟ้ า
150 หน่วยแรก 0-150 หน่วยละ 1.8047 บาท
250 หน่วยต่อไป 151-400 หน่วยละ 2.7781 บาท
เกิน 400 หน่วย 401 เป็นตน้ ไป หน่วยละ 2.9780 บาท

3. อตั ราค่าไฟฟ้ าแบบ TOU

จานวนหน่วย ค่าพลงั งานไฟฟ้ า ( บาท / หน่วย )

On Peak Off Peak

แรงดนั 12-24 กิโลวตั ต์ 3.6246 1.1914

แรงดนั ต่ากวา่ 12 กิโลวตั ต์ 4.3093 1.2246

On Peak หมายถึง ช่วงเวลา 09.00-22.00 น. (วนั จนั ทร์-วนั ศกุ ร์)

Off Peak หมายถึง ช่วงเวลา 22.00- 09.00 น. (วนั จนั ทร์-วนั ศุกร์)

และเวลา 00.00-24.00 น. (วนั เสาร์-วนั อาทิตย์ และวนั หยดุ ราชการตามปกติ

ไม่รวมวนั หยดุ ชดเชย )

ค่าบริการรายเดือน
ค่าบริการรายเดือนประเภทท่ีอยอู่ าศยั คิดค่าบริการดงั น้ี

ปริมาณพลงั งานไฟฟ้ าที่ใช้ ค่าบริการรายเดือน (บาท)
พลงั งานไฟฟ้ าไม่เกิน 150 หน่วย/เดือน 8.19
พลงั งานไฟฟ้ าเกิน 150 หน่วย/เดือน 40.90
อตั ราค่าไฟแบบ TOU แรงดนั ต่ากวา่ 12 กิโลวตั ต์ 57.95
อตั ราค่าไฟแบบ TOU แรงดนั 12-24 กิโลวตั ต์ 228.17

ค่าไฟฟ้ าผนั แปร ( Ft )

มีค่าไม่แน่นอนข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั หลายอยา่ ง ซ่ึงทางการไฟฟ้ าจะแจง้ ใหท้ ราบ

ในใบเสร็จแต่ละเดือน

ภาษมี ูลค่าเพมิ่

ค่าใชไ้ ฟฟ้ าในแต่ละเดือน จะตอ้ งเสียภาษมี ูลเพ่ิมอีก 7%

ตัวอย่าง บา้ นของครูอรษา ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าในเดือน ตุลาคม 135 หน่วย จะตอ้ งจ่าย

ค่าไฟฟ้ าเป็นเงินเท่าใด ( ถา้ เสียค่าไฟฟ้ าผนั แปรหน่วยละ 38.50 สตางค์ )

ค่าพลงั งานไฟฟ้ า 5 หน่วยแรก = 0 บาท

ค่าพลงั งานไฟฟ้ า หน่วยท่ี 6-15 รวม 10 หน่วย = 10 x 1.357

= 13.57 บาท

ค่าพลงั งานไฟฟ้ า หน่วยท่ี 16-25 รวม 10 หน่วย = 10 x 1.5445

= 15.445 บาท

ค่าพลงั งานไฟฟ้ า หน่วยท่ี 26-35 รวม 10 หน่วย = 10 x 1.7968

= 17.968 บาท

ค่าพลงั งานไฟฟ้ า หน่วยท่ี 36-100 รวม 65 หน่วย = 65 x 2.180

= 141.70 บาท

ค่าพลงั งานไฟฟ้ า หน่วยท่ี 101-135 รวม 35 หน่วย = 35 x 2.2734

= 79.569 บาท

ดงั น้นั เดือนตุลาคม ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ า = 13.57 +15.445 + 17.968 + 141.70 + 79.569

= 268.252 บาท

ค่าไฟฟ้ าผนั แปร( Ft ) หน่วยละ 38.50 สตางค์ = 135x 38.50
100
= 51.975 บาท

ค่าบริการรายเดือน = 8.19 บาท

ค่าไฟเดือนตุลาคม = 268.252 + 51.975 + 8.19 = 328.417 บาท

ค่าภาษมี ลู ค่าเพิ่ม 7 % = 328.417 x 7 บาท
100
= 22.99 บาท

ดงั น้นั เดือนตุลาคม ครูอรษา ตอ้ งเสียเงินค่าไฟฟ้ า 328.417 + 22.99 = 351.41 บาท

จะเห็นวา่ ไฟฟ้ าและเครื่องใชไ้ ฟฟ้ ามีประโยชนต์ ่อเรามากมาย
แต่การใชไ้ ฟฟ้ าใหป้ ลอดภยั และคุม้ ค่าจะตอ้ งรู้จกั เลือกใชอ้ ุปกรณ์และเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าท่ีมี
คุณภาพ รู้จกั ใช้ และป้ องกนั อนั ตรายจากไฟฟ้ าลดั วงจร และไฟฟ้ ารั่ว

แสดงความรักชาติ
รักสถาบนั โดยการ
ลดการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ า

สรุป
พลงั งานไฟฟ้ า

พลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานรูปหน่ึงท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การดารงชีวติ ของมนุษย์
และเป็นพลงั งานท่ีนิยมใชม้ ากท่ีสุด เนื่องจากสามารถใชง้ ่าย สะดวก รวดเร็ว และมี
ประสิทธิภาพท้งั ยงั เป็นพลงั งานที่สามารถส่งไปไดไ้ กลๆ ในรูปของกระแสไฟฟ้ า ขณะ
ขนส่งมีการสูญเสียพลงั งานใหก้ บั สิ่งแวดลอ้ มนอ้ ย พลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานชนิดหน่ึง
ซ่ึงแปลงเป็นพลงั งานอ่ืนได้ เช่นแปลงเป็นพลงั งานแสงจากหลอดไฟ พลงั งานกล
จากการหมุนของมอเตอร์ของพดั ลม เปล่ียนเป็นพลงั งานเสียงในเครื่องรับวทิ ยุ
ในแต่ละวนั เราใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ ากบั เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าต่างๆ โดยผใู้ ชไ้ ฟฟ้ าตอ้ ง
ซ้ือพลงั งานไฟฟ้ าจากผผู้ ลิต และจะตอ้ งจ่ายค่าพลงั งานไฟฟ้ าแต่ละเดือนตามจานวนเงิน
ท่ีเรียกเกบ็ การคิดค่าพลงั งานไฟฟ้ าจะคิดจากปริมาณพลงั งานไฟฟ้ ารวมที่ใชใ้ นแต่ละ
เดือน และค่าพลงั งานไฟฟ้ าจะอ่านไดจ้ ากเคร่ืองมือวดั ท่ีเรียกวา่ มาตรกิโลวตั ตช์ ว่ั โมง
เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าแต่ละชนิดจะใชพ้ ลงั งานเท่าใดน้นั มีความสมั พนั ธก์ บั ความต่าง
ศกั ยไ์ ฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า และความตา้ นทานของเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าน้นั ๆ
ซ่ึงทราบไดจ้ ากตวั เลขที่กากบั บนเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ า

. . . . เคร่ืองมอื ใช้วดั ค่าพลงั งาน
ไฟฟ้ า เรียกว่า มาตรกโิ ลวตั ต์ชั่วโมง

แบบฝึ กหัดที่ 6
กาลงั ไฟฟ้ าและพลงั งานไฟฟ้ า

ให้นักเรียนเตมิ คาในช่องว่างให้สมบูรณ์ และถูกต้องทส่ี ุด
1. เคร่ืองมือท่ีใชว้ ดั พลงั งานไฟฟ้ าที่แต่ละบา้ นใชไ้ ป เรียกวา่ ..........................................
และมีหน่วยเป็น ...............................................................................................................
2. กาลงั ไฟฟ้ าหมายถึงอะไร.............................................................................................
…………………………………………………………………………………………..
3. กาลงั ไฟฟ้ ามีหน่วยเป็นอะไร.........................................................................................
4. กาลงั ไฟฟ้ าจะมีค่าข้ึนอยกู่ บั ปริมาณกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผา่ นเครื่องใชไ้ ฟฟ้ า โดย
กาลงั ไฟฟ้ ามีค่าเท่ากบั ผลคูณระหวา่ ง…………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………...
5. เตารีดขนาด 1,000 วตั ต์ หมายถึงอะไร........................................................................
…………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………...
6. กาลงั ไฟฟ้ า 1 กิโลวตั ตม์ ีค่ากี่จลู ....................................................................................
7. พลงั งานไฟฟ้ ามีหน่วยเป็นจูล มีค่าเท่ากบั ผลคูณระหวา่ ง …………………………….
8. จานวนพลงั งานไฟฟ้ า 65 หน่วย คิดเป็นก่ีกิโลวตั ตช์ ว่ั โมง.........................................
9. เครื่องเป่ าผม 500 วตั ต์ วนั ละ 1 ชวั่ โมง ในเดือน ธนั วาคม จะตอ้ งเสียค่าไฟฟ้ าใน
การเป่ าผมเครื่องน้ีเท่าไร ถา้ ค่าไฟฟ้ าหน่วยละ 2 บาท
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
……………… ……………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………..

10. บา้ นหลงั หน่ึงใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าในเวลาหน่ึงวนั ดงั น้ี
เตารีดไฟฟ้ า ขนาด 500 วตั ต์ จานวน 1 เคร่ือง ใชน้ าน 1 ชว่ั โมง
หลอดไฟ ขนาด 50 วตั ต์ จานวน 3 เครื่อง ใชน้ าน 4 ชวั่ โมง
พดั ลมไฟฟ้ า ขนาด 450 วตั ต์ จานวน 2 เครื่อง ใชน้ าน 5 ชวั่ โมง
โทรทศั น์ ขนาด 300 วตั ต์ จานวน 1 เครื่อง ใชน้ าน 5 ชวั่ โมง
ตเู้ ยน็ ขนาด 150 วตั ต์ จานวน 1 เครื่อง ใชน้ าน 24 ชว่ั โมง
เครื่องปรับอากาศ ขนาด 1,500 วตั ต์ จานวน 2 เคร่ือง ใชน้ าน 4 ชว่ั โมง ถา้ เสียค่า
พลงั งานไฟฟ้ าในอตั รากา้ วหนา้ ในเดือนมกราคม บา้ นหลงั น้ีจะเสียค่าไฟฟ้ า
เดือนละเท่าไร ( ถา้ เสียค่าไฟฟ้ าผนั แปรหน่วยละ 38.50 สตางค์ )
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…….……………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

แบบทดสอบหลงั เรียน
เรื่อง เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า

คาชี้แจง แบบทดสอบปรนยั จานวน 10 ขอ้ 10 คะแนน เวลา 10 นาที

ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบท่ีถูกตอ้ งท่ีสุดเพียงคาตอบเดียว โดยทาเคร่ืองหมาย X

ลงในกระดาษคาตอบ

** * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

1. การท่ีหลอดไฟโฆษณามีสีต่างกนั 3. ขอ้ ใดถือวา่ เป็นการเปลี่ยนพลงั งาน

เพราะเหตุใด กลใหเ้ ป็นพลงั งานไฟฟ้ า

ก. ชนิดของแก๊สท่ีบรรจุในหลอดไฟ ก. ใชไ้ ฟฉายตอนกลางคืน เพอื่ จบั ปลู ม

ต่างกนั บริเวณหาดพทั ยา

ข. ปริมาณกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผา่ น ข. เมื่อเดินเขา้ ใกลป้ ระตู

หลอดต่างกนั หา้ งสรรพสินคา้ ประตูเปิ ดเองโดยใช้

ค. ชนิดของโลหะท่ีใชท้ าไสห้ ลอด กลไกอิเลก็ ทรอนิกส์

ต่างกนั ค. ป่ันจกั รยาน แลว้ เครื่องปั่นไฟทางาน

ง. ชนิดของสารท่ีฉาบผวิ ดา้ นในของ ไฟหนา้ รถสวา่ ง

หลอดต่างกนั ง. กดสวติ ช์ แลว้ หลอดไฟสวา่ ง

2. เครื่องใชไ้ ฟฟ้ าในขอ้ ใดที่สามารถ 4. เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าชนิดใดที่ใชห้ ลกั การ
เปล่ียนพลงั งานไฟฟ้ าเป็นพลงั งานความ เดียวกนั
ร้อนและพลงั งานแสง ก. พดั ลม เคร่ืองซกั ผา้
ก. โทรทศั น์ ข. เตาไฟฟ้ า สวา่ นไฟฟ้ า
ข. โทรศพั ท์ ค. หลอดเรืองแสง เตารีด
ค. หลอดไฟฟ้ า ง. เครื่องปรับอากาศ เครื่องทาน้าอุ่น
ง. กลอ้ งถ่ายรูป


Click to View FlipBook Version