The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by orasa, 2019-11-29 04:29:25

โครงงานศึกษาสารต้านอนุมูลอิสระ

รายงานโครงงาน 5 บท

โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทการทดลอง

เร่ือง ศึกษาผลการต้านอนมุ ูลอิสระของใบคะนา้ เมก็ ซโิ ก
ในการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑเ์ ครอ่ื งด่มื ชาสมุนไพร

โดย รอดกสิกรรม
แกว้ พวง
เด็กหญงิ สุรัตนาวดี พมิ พ์ดี
เด็กหญิงดารารตั น์
เดก็ หญิงกรณัณท์

ครูที่ปรกึ ษา
นางอรษา อภิรมย์วไิ ลชยั
นางวลั ลภา อนิ หลวง
โรงเรียนวชั รวิทยา สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต41

รายงานฉบับน้ีเปน็ ส่วนประกอบของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
ประเภททดลอง ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้

เนอ่ื งในงานมหกรรมความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม วชิ าการ และเทคโนโลยี

ของนักเรยี น ปีการศึกษา 2562 วันที่ 23 เดือนธนั วาคม พ.ศ.2562

โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภทการทดลอง

เรอื่ ง ศกึ ษาผลการตา้ นอนุมูลอิสระของใบคะนา้ เมก็ ซโิ ก
ในการพัฒนาเป็นผลติ ภัณฑ์เคร่ืองดืม่ ชาสมุนไพร

โดย

เดก็ หญงิ สุรัตนาวดี รอดกสิกรรม
เดก็ หญงิ ดารารตั น์ แกว้ พวง
เดก็ หญิงกรณณั ท์ พิมพด์ ี

ครูท่ีปรึกษา
นางอรษา อภิรมย์วไิ ลชัย
นางวัลลภา อินหลวง

ชอื่ โครงงาน ศึกษาผลการตา้ นอนุมูลอิสระของใบคะน้าเมก็ ซิโกในการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์

เคร่ืองดม่ื ชาสมนุ ไพร

ชอื่ นักเรยี น เดก็ หญงิ สรุ ัตนาวดี รอดกสิกรรม

เดก็ หญงิ ดารารัตน์ แกว้ พวง

เดก็ หญงิ กรณัณท์ พมิ พด์ ี

ชือ่ ครูท่ีปรกึ ษา นางอรษา อภิรมยว์ ไิ ลชยั อเี มล์ [email protected]

นางวลั ภา อินหลวง อีเมล์ [email protected]

สถานทีต่ ดิ ต่อ โรงเรยี นวชั รวทิ ยา ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จงั หวัดกาแพงเพชร

ปกี ารศึกษา 2562

บทคดั ย่อ

ปัจจุบนั มคี วามสนใจเร่ืองอนุมูลอสิ ระและสารต้านอนมุ ูล ท่มี ตี อ่ สุขภาพ หรอื ชะลอวัยเพื่อเสริมความ
งามกันมาก ทาใหผ้ บู้ ริโภคเสียเงนิ และบางกลมุ่ โดนหลอกลวงทาให้เสยี ทรพั ย์ และส่งผลเสยี ตอ่ สุขภาพอยา่ ง
มาก กลุม่ ของผ้ศู กึ ษาโครงงานจึงให้ความสนใจศกึ ษาสารตา้ นอนุมูลอิสระจากตน้ คะนา้ เม็กซิโก ทงั่ นเ้ี นอ่ื งจาก
มผี ู้กลา่ วไวว้ ่า ถา้ บริโภคใบคะนา้ เม็กซโิ ก จะทาให้รสชาตขิ องอาหารอร่อยขนึ้ และช่วยชะลอวัย และเนือ่ งจาก
ในครอบครัวในกล่มุ ของผู้ศึกษาโครงงาน มกี ารปลกู และนาตน้ ใบคะนา้ เม็กซโิ กมาประกอบอาหารเปน็ ประจา
อยู่แลว้ ทาใหก้ ลมุ่ ของคณะผู้ศึกษาโครงงานใหค้ วามสนใจ ตอ้ งการศกึ ษาประสทิ ธภิ าพในการตา้ นอนุมูลอิสระ
ของคะน้าเมก็ ซิโก เพือ่ นามาผลิตเปน็ เครือ่ งดมื่ ชาชนดิ บรรจุซอง และนาความรไู้ ปเผยแพร่หรือใหค้ วามร้แู ก่คน
ในชุมชน และเพ่อื มูลคา่ ใหก้ ับต้นคะนา้ เม็กซโิ ก ต่อไปกล่มุ ของผศู้ กึ ษาโครงงานจึงได้ทาการศกึ ษา ทดลอง และ
ได้ผลการศึกษาคอื

ใบคะนา้ เมก็ ซโิ กสามารถตา้ นอนุมูลอสิ ระได้ โดยทดสอบกับอนมุ ูลอสิ สระ ABTS ที่มีคา่ ดดู กลืนแสงที่
734 ไมโครเมตร แลว้ สเี ขียวของสาร ABTS จางลง และมีค่าการดดู กลืนแสงของสารลดลง ใบคะน้าเมก็ ซิโก
ชนิดใบออ่ นสามารถต้านอนมุ ลู อิสระได้มากกว่าใบกลาง และใบแก่ ชนดิ ใบสดต้านอนุมลู อสิ ระไดด้ กี ว่าใบแห้ง
แต่แตกต่างจากใบแหง้ ไมม่ าก เอธลิ อลั กอฮอล์ ละลายสารต้านอนมุ ูลอิสระในใบคะน้าเม็กซิโกได้ดกี วา่ นา้ แต่
แตกต่างกนั ไมม่ าก กลุ่มผู้จดั ทาโครงงานเลือกศึกษานา้ เปน็ ตัวทาละลาย ระยะทเี่ หมาะสมในการแช่ใบคะนา้
เมก็ ซิโกในนา้ คอื 15 นาที ท่ีอณุ หภูมิ 70 องศาเซนเซยี ส เปน็ ตน้ ไป เมอื่ นาใบคะน้าเม็กซโิ ก ไปแปรรูปเปน็ ชา
แลว้ ไปตรวจสอบคุณภาพและประสิทธิภาพ พบว่ามีความพึงพอใจทม่ี ตี ่อผลิตภณั ฑ์ชาคะน้าเมก็ ซโิ ก อยใู่ น
ระดบั พงึ พอใจมากทีส่ ุด และมีประสทิ ธิ์ภาพของชาคะน้าเม็กซิโกดีมากทสี่ ุดเท่ากับชาที่ขายตามท้องตลาด

ผลจากการศึกษาโครงงานในครั้งนี้ เปน็ ประโยชนต์ อ่ ชุมชน ท่สี ามารถบริโภคสารต้านอนมุ ลู อิสระจาก
พชื ในท้องถน่ิ ปลอดภัย ประหยัด ชว่ ยเพิม่ มูลคา่ ให้กับผักคะนา้ เมก็ ซิโก ชว่ ยแก้ปญั หา และสรา้ งความเชอ่ื มนั่
ใหก้ บั ผู้บริโภคทต่ี อ้ งการสารตา้ นอนุมูลอสิ ระ หาไดง้ า่ ยในท้องถิน่ และประหยดั ค่าใช้จา่ ย สามารถนาไปผลติ
เป็นสนิ ค้า สร้างอาชพี ในครอบครวั ได้ อีกทง้ั สามารถนาไปพฒั นาต่อยอดผลติ เปน็ สนิ คา้ อน่ื เช่น ผงปรงุ รส

อาหาร นา้ ปรุงสาเรจ็ รูปประกอบอาหาร หรอื ใช้เปน็ ส่วนประกอบในอาหารสาเรจ็ รูป เพ่อื สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั
ครอบครวั หรอื เปน็ สินค้า OTOP ของชมุ ชนต่อไปได้

กติ ติกรรมประกาศ

ในการศกึ ษาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ เรื่อง ศึกษาผลการตา้ นอนมุ ลู อิสระของใบคะนา้ เม็กซิโกในการ
พฒั นาเป็นผลติ ภัณฑ์เครื่องดื่มชาสมุนไพรคร้งั นีส้ าเร็จลุล่วงดว้ ยดี เพราะได้รับความกรุณาแนะนา ชว่ ยเหลือ
ให้แนวคดิ และกาลงั ใจ เป็นอย่างดียง่ิ จากครู อรษา อภิรมยว์ ิไลชยั และครูวัลลภา อนิ หลวง ครูที่ปรกึ ษา
โครงงาน ซ่งึ ผศู้ ึกษารู้สกึ ซาบซงึ้ และเป็นพระคุณอย่างยิง่ จึงขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสงู ไว้ ณ โอกาสนี้

ผศู้ ึกษาขอขอบพระคุณ อาจารยป์ ราณี เลิศแกว้ และอาจารย์ธดิ ารัตน์ พรหมมา อาจารยจ์ าก
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร คณะครศุ าสตร์ ทใ่ี หค้ าอนเุ คราะห์แนะนาการตรวจสอบจดุ ประสงค์
การใช้หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตร์ ผอู้ านวยการโรงเรยี นวชั รวทิ ยา ที่ไดพ้ ิจารณางบประมาณของโรงเรียน
สนบั สนุนการศกึ ษาในคร้ังนี้

สุดทา้ ยขอขอบคุณ คณะครโู รงเรียนวัชรวทิ ยา เวบ็ ไซตต์ ่างๆท่ีให้ขอ้ มลู อย่างเต็มทใี่ นการทาโครงงาน
วิทยาศาสตรค์ ร้งั นี้สาเร็จในเวลาอันรวดเรว็ และขอขอบคุณผใู้ ห้ความชว่ ยเหลืออกี หลายทา่ น ซึ่งไมส่ ามารถ
กล่าวนามในท่ีนไ้ี ดห้ มด

คณะผู้จดั ทา
19 กันยายน 2562

สารบัญ หนา้

บทคดั ยอ่ 1
กิตติกรรมประกาศ 1
สารบัญ 1
สารบัญตาราง 1
สารบัญภาพ 2
บทท1่ี บทนา 2
2
ท่มี าและความสาคัญ 2
จุดประสงค์ของโครงงาน
สมมตฐิ าน 3
ตวั แปรที่ศึกษา 3
นยิ ามศพั ท์ 4
ขอบเขตการศึกษา 4
ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั จากโครงงาน 6
นยิ ามศัพท์เฉพาะ 6
7
บทท2ี่ เอกสารและงานวิจยั ท่เี กยี่ วขอ้ ง
คะน้าเม็กซิโก
อนมุ ูลอิสสระ
อนมุ ูลอิสระกบั การเกิดโรค
สารต้านอนุมูลอสิ ระ
การวิเคราะหฤ์ ทธกิ์ ารต้านอนุมลู อสิ ระดว้ ยวธิ ี ABTS assay
ชา
งานวิจยั ท่เี กยี่ วข้อง

สารบญั

หนา้

บทที่ 3 อุปกรณ์ และวิธีการดาเนนิ การ

การเตรยี มสาร ABTS 9

ตอนท่ี 1 เพือ่ ศึกษาผลการต้านอนุมลู อิสระในใบคะนา้ เม็กซโิ ก 10

ตอนท่ี 2 เพอ่ื ศกึ ษาการตา้ นอนมุ ลู อิสระของใบคะน้าเม็กซิโกท่มี ีอายุใบตา่ งกนั 11

ตอนที่ 3 ศกึ ษาเปรียบเทียบปรมิ าณสารต้านอนุมลู อสิ ระในใบอ่อนคะน้าเมก็ ซโิ ก

ชนดิ ใบสด และแหง้ 11

ตอนท่ี 4 เพ่อื ศกึ ษาชนิดของตัวทาละลายสารตา้ นนุมลู อิสระในใบคะน้าเมก็ ซโิ ก 12

ตอนท่ี 5 ศกึ ษาระยะเวลาทเี่ หมาะสมในการละลายสารตา้ นอนุมูลอสิ ระ

ของใบคะนา้ เมก็ ซโิ กแห้งในน้าเปล่า 12

ตอนที่ 6 ศกึ ษาอณุ หภูมขิ องน้าที่เหมาะสมในการละลายสารตา้ นอนุมลู อสิ ระในใบคะนา้ เมก็ ซโิ ก 13

ตอนที่7 ศกึ ษาวิธกี ารผลิตและตรวจสอบประสิทธิภาพ ชาคะน้าเมก็ ซิโกตา้ นสารอนุมลู อสิ ระ 13

บทท่ี 4 ผลการทดลอง

ตอนท่ี 1 เพื่อศึกษาผลการตา้ นอนุมลู อสิ ระในใบคะนา้ เมก็ ซโิ ก 14

ตอนท่ี 2 เพ่ือศกึ ษาการตา้ นอนมุ ูลอิสระของใบคะนา้ เม็กซิโกทมี่ ีอายุใบต่างกัน 14

ตอนที่ 3 เพือ่ เปรยี บเทียบปรมิ าณสารต้านอนมุ ูลอสิ ระในใบออ่ นของคะน้าเมก็ ซิโก

ชนิดใบสด และแห้ง 15

ตอนที่ 4 ศึกษาชนิดของตวั ทาละลายสารต้านอนมุ ูลอิสระในใบคะน้าเมก็ ซโิ กชนดิ ใบออ่ นแห้ง 15

ตอนที่ 5 ศึกษาระยะเวลาทเี่ หมาะสมในการละลายสารตา้ นอนมุ ลู อสิ ระของใบคะนา้ เมก็ ซโิ ก

แหง้ ในนา้ เปลา่ 16

ตอนท่ี 6 ศกึ ษาอุณหภมู ิของน้าทีเ่ หมาะสมในการละลายสารต้านอนมุ ูลอสิ ระ

ในใบคะน้าเมก็ ซิโก 16

ตอนท่ี 7 ศึกษาผลติ และตรวจสอบประสทิ ธภิ าพชาคะน้าเม็กซิโกตา้ นสารอนมุ ลู อสิ ระ

บทท5ี่ สรปุ และอภปิ รายผล

สรปุ ผลการศึกษา 19

อภปิ รายผลการทดลอง 20

ประโยชน์ 20

เอกสารอ้างองิ 21

ภาคผนวก 23

สารบัญตาราง หนา้

ตารางท่ี 1 แสดงแสดงคา่ การดูดกลืนแสงยวู ีท่ี 734 นาโนเมตรของสารสกัด 14
จากใบคะน้าเม็กซโิ กปรมิ าณ 30 µ ลิตร 14
15
ตารางที่ 2 แสดงแสดงคา่ การดูดกลนื แสงยูวที ี่ 734 นาโนเมตร 15
ของใบคะนา้ เม็กซิโกทม่ี อี ายใุ บแตกต่างกัน ปรมิ าณ 30 µ ลิตร 16
16
ตารางท่ี 3 แสดงแสดงคา่ การดูดกลืนแสงยวู ีท่ี 734 นาโนเมตร 17
โดยเปรียบเทียบการตา้ นอนมุ ูลอสิ ระในใบออ่ นคะน้าเมก็ ซิโกชนดิ ใบสด และแหง้ 18

ตารางท่ี 4 แสดงค่าการดดู กลนื แสงยวู ีที่ 734 นาโนเมตรของตวั ทาละลาย
สารต้านอนุมูลอิสระในใบคะน้าเมก็ ซโิ กชนดิ ใบอ่อนแหง้ ทแี่ ตกตา่ งกนั

ตารางที่ 5 แสดงคา่ การดูดกลืนแสงยูวที ี่ 734 นาโนเมตรของใบคะน้าเม็กซิโกทีแ่ ชใ่ นตัวทาละลาย
ทเี่ วลาแตกตา่ งกัน ปริมาณ 30 µ ลติ ร

ตารางท่ี 6 แสดงคา่ การดูดกลนื แสงยวู ีที่ 734 นาโนเมตรของใบคะนา้ เม็กซโิ กทแ่ี ช่ในนา้
อุณหภมู เิ ริ่มตน้ แตกต่างกนั ระยะเวลา 15 นาที ปริมาณ 30 µ ลิตร

ตารางท่ี 7 แสดงความพึงพอใจตอ่ ผลติ ภณั ฑ์ ชาคะนา้ เม็กซโิ ก
ตารางที่ 8 แสดงประสทิ ธิภาพของชาใบคะน้าเม็กซิโก และชาทอ้ งตลาด

สารบญั ภาพ หนา้

ภาพที่ 1-2 ชนิดใบคะนา้ เม็กซิโก 23
ภาพที่ 3-4 ชนดิ ใบคะน้าเม็กซิโกที่มีอายุใบตา่ งกนั 23
ภาพที่ 5-6 เปรยี บเทยี บใบคะน้าเมก็ ซิโกชนดิ ใบสด และใบแห้ง 24
ภาพที่ 7-8 สารสกัดจากใบคะน้าเม็กซโิ ก ชนิดอายใุ บตา่ งกัน 24
ภาพท่ี 9-10 นาสารสกดั จากคะน้าเมก็ ซิโกเขา้ เครื่องปน่ั เหวี่ยง 25
ภาพท่ี 11-12 คณะผู้ศึกษา และครูทป่ี รึกษาโครงงาน 25
ภาพท่ี 13-16 ผ้ศู ึกษาโครงงานปฏบิ ัตกิ ารทดลอง 26
ภาพที่ 17-18 ตรวจสอบการต้านอนุมูลอสิ ระ วัดค่าความเข้มแสง 27
ภาพท่ี 19-20 ชงั่ นา้ หนักของใบคะนา้ เม็กซิโกชนดิ ใบสด และใบแห้ง 27
ภาพที่ 21-23 ใบคะน้าเม็กซิโกขณะเขา้ เครอื่ งอบรมร้อน เพอ่ื ผลติ ชา 28

บทที่ 1
บทนา

ที่มาและความสาคญั
ปจั จบุ ันมีการสนใจเร่อื งอนุมูลอสิ ระและสารต้านอนมุ ูล ทม่ี ีผลตอ่ สุขภาพ หรือการชะลอวยั กันมาก

ทาให้ผู้สนใจเสียเงนิ และบางกลุ่มโดนหลอกทาให้เสียทรัพย์ และส่งผลเสียตอ่ สขุ ภาพ กล่มุ ของผู้ศกึ ษา
โครงงานจงึ ให้ความสนใจศกึ ษาสารตา้ นอนุมูลอสิ ระจากตน้ คะน้าเมก็ ซโิ ก ซึง่ เปน็ พืชทอ้ งถนิ่ เน่อื งจากมีผู้
กล่าวไว้วา่ ถ้าบรโิ ภคใบคะน้าเมก็ ซโิ ก จะทาใหร้ สชาตขิ องอาหารอรอ่ ยขึ้น และช่วยชะลอวยั และเนอื่ งจากใน
ครอบครวั ในกลุ่มของผูศ้ กึ ษาโครงงาน มีการปลูก และนาตน้ ใบคะน้าเม็กซโิ กมาประกอบอาหารเปน็ ประจาอยู่
แล้ว ทาใหก้ ลุ่มของคณะผศู้ กึ ษาโครงงานใหค้ วามสนใจ ตอ้ งการศกึ ษาประสิทธิภาพในการต้านอนมุ ูลอิสระของ
คะน้าเม็กซิโก เพอื่ นามาผลติ เป็นเครอื่ งดื่มชาชนิดบรรจซุ อง และนาความรไู้ ปเผยแพรใ่ ห้ความรแู้ ก่คนในชมุ ชน
และเพิม่ มูลคา่ ใหก้ บั ตน้ คะน้าเม็กซิโก ตอ่ ไป

จดุ ประสงค์ของโครงงาน
1. เพอ่ื ศกึ ษาผลการตา้ นอนมุ ูลอสิ ระในใบคะน้าเมก็ ซโิ ก
2. เพ่ือศึกษาการตา้ นอนมุ ูลอสิ ระของใบคะน้าเมก็ ซโิ กที่มอี ายุใบตา่ งกนั
3. เพ่ือเปรียบเทยี บปรมิ าณสารตา้ นอนมุ ูลอิสระในใบออ่ นของคะนา้ เม็กซโิ กชนดิ ใบสด และแหง้
4. เพื่อศึกษาชนิดของตวั ทาละลายสารต้านนุมลู อสิ ระในใบคะนา้ เม็กซิโก
5. เพอื่ ศกึ ษาระยะเวลาท่เี หมาะสมในการละลายสารต้านอนมุ ลู อิสระในใบคะนา้ เม็กซิโกทแี่ ชใ่ นนา้ เปล่า
6. เพอ่ื ศึกษาอุณหภูมิของน้าท่เี หมาะสมในการละลายสารตา้ นอนุมลู อสิ ระของใบคะนา้ เม็กซโิ ก
7. เพอ่ื ศึกษาวิธกี ารผลิตและตรวจสอบประสิทธภิ าพ ชาคะน้าเมก็ ซิโกตา้ นสารอนุมูลอิสระ

สมมติฐาน
ใบคะน้าเม็กซโิ กสามารถนามาผลติ ชาเพอื่ ต้านสารอนมุ ูลอสิ ระได้

ตวั แปรที่ศกึ ษา
ตวั แปรตน้ สารตา้ นอนมุ ลู อสิ ระจากใบคะน้าเมก็ ซิโก
ตวั แปรตาม ปรมิ าณอนุมูลอิสระจากสาร ABTS
ตวั แปรควบคุม 1. ชนดิ พันธุข์ องใบคะน้าเม็กซิโก
2. วิธกี ารตรวจสอบสารตา้ นอนมุ ูลอิสระ โดยสาร ABTS

ขอบเขตการศึกษา
1. ขอบเขตดา้ นเน้ือหา

การศึกษาโครงงานในครั้งนี้ทาการศึกษาฤทธ์กิ ารต้านอนุมูลอิสระจากใบคะน้าเม็กซโิ ก ดว้ ยวธิ ี ABTS
assay และศกึ ษาความพงึ พอใจโดยการใชแ้ บบสอบถาม ตวั อย่างที่ใช้ คือ ตน้ คะนา้ เมก็ ซิโก ทป่ี ลูกในตาบลนา
บอ่ คา อาเภอเมอื ง จงั หวัดกาแพงเพชร

2. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
2.1 ประชากร
ในการศกึ ษาครงั้ น้ี คอื ผ้ปู กครอง นักเรยี น และครู โรงเรียนวัชรวิทยา
2.2 กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างทศี่ ึกษาในคร้ังนี้เปน็ คือ ผปู้ กครอง นักเรียน และครู โรงเรยี นวชั รวิทยา ซึ่งกาหนดขนาด

ของกลมุ่ ตัวอยา่ ง และวิธกี ารส่มุ ตัวอยา่ ง จานวน 50 คน

ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รับจากโครงงาน
1. เผยแพรค่ วามรูใ้ หก้ ับประชาชนทั่วไปเรอื่ งการแปรรูปคะนา้ เมก็ ซิโก เพื่อเปน็ ผลติ ภณั ฑช์ าสมนุ ไพร
2. สรา้ งมลู ค่าเพม่ิ ให้กบั ใบคะนา้ เมก็ ซิโก
3. ใช้ความรเู้ รอ่ื งการแปรรูปผลิตภัณฑ์ชาจากใบคะนา้ เมก็ ซโิ ก นาไปพฒั นาตอ่ ยอด และประยุกตใ์ ช้

กับวสั ดธุ รรมชาตอิ นื่
4. ส่งเสรมิ ให้ชาสมนุ ไพรคะนา้ เมก็ ซิโกเปน็ ผลิตภัณฑส์ ินคา้ โอทอ๊ ปของชุมชน

นิยามศพั ท์
1. ใบคะน้าเมก็ ซิโก
ใบคะน้าเม็กซิโกอ่อน สว่ นของใบบนสดุ ของยอด มสี ีเขียวอ่อน ของต้นคะน้าเม็กซิโก
ใบคะนา้ เมก็ ซโิ กกลาง ส่วนของใบนบั จากบนสุดของยอดเวียนมาใบที่ 2 มสี เี ขยี วอ่อนเขม้ ขนึ้
ใบคะน้าเม็กซโิ กแก่ สว่ นของใบนบั จากบนสดุ ของยอดเวยี นมาใบท่ี 5 ลงมา มสี ีเขยี วเขม้
2. ชา หมายถึง ผลผลติ ทางเกษตรกรรมจากใบ ยอดออ่ น และกา้ นของตน้ ชา ( Camellia sinensis)

นามาผา่ นกรรมวธิ ีแปรรปู ในรปู แบบตา่ งๆ
3. สารต้านอนมุ ลู อสิ ระ (antioxidant) หมายถึง สารประกอบทีส่ ามารถป้องกันหรอื ชะลอการเกดิ

กระบวนการออกซเิ ดชันทท่ี าใหเ้ กิดอนมุ ูลอิสระขนึ้ ในร่างกายซ่ึงสรา้ งความเสยี หายตอ่ รา่ งกาย
4. ABTS assay หมายถงึ วิธกี ารวเิ คราะห์ความสามารถในการเปน็ สารต้านออกซิเดชนั

(antioxidant)

บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้อง

การศกึ ษาโครงงานวิทยาศาสตรเ์ รอื่ ง ศึกษาผลการตา้ นอนมุ ูลอสิ ระของใบคะนา้ เมก็ ซิโกในการพฒั นา
เป็นผลติ ภณั ฑ์เคร่ืองด่มื ชาสมนุ ไพร ไดศ้ ึกษาเอกสาร และ งานวิจยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง จานวน 7 เร่อื ง ดังน้ี
รายละเอียดของการศกึ ษาคน้ ควา้ มดี ังต่อไปนี้

1. คะน้าเมก็ ซิโก
คะน้าเมก็ ซิโก ภาษาองั กฤษคอื Tree spinach มชี ่ือทางวทิ ยาศาสตร์วา่ Cnidoscolus
chayamansa McVaugh เป็นพชื ในวงศ์ EUPHORBIACEAE วงศเ์ ดียวกับมนั สาปะหลัง ยางพารา ฝ่นื ตน้
หนมุ านน่ังแทน่ สลัดได และสบู่ดา สว่ นถน่ิ กาเนดิ ของคะนา้ เมก็ ซโิ ก เป็นผกั ท้องถน่ิ ในเขตร้อนของประเทศ
เมก็ ซิโก โดยมกี ารแพรก่ ระจายสายพันธุอ์ ยู่ในกวั เตมาลา และอเมรกิ า แตป่ ัจจบุ ันก็พบในประเทศไทยอยูห่ ลาย
พ้ืนท่ี เพราะเป็นผกั ปลกู ง่าย โตไว และยืนต้นนาน โดยในไทยเรียกคะนา้ เมก็ ซโิ กหลากหลายชอื่ ทั้งคะน้า
เม็กซิโก คะนา้ เมก็ ซกิ นั ผกั ไชยา ผักชายา (Chaya ในภาษาสเปน) ต้นมะละกอกนิ ใบ (เพราะใบคล้ายมะละกอ
มาก) หรือ ต้นผงชรู ส เปน็ ตน้
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
ลักษณะคะน้าเมก็ ซโิ กไมไ่ ดเ้ หมือนคะนา้ แต่มีลักษณะเป็นไมพ้ มุ่ ลาต้นมีลกั ษณะอวบน้า ความสงู ของ
ลาต้นประมาณ 2-6 เมตร เปลอื กของลาตน้ เปน็ สีน้าตาล ข้างในมีน้ายางสีขาว ๆ ส่วนใบมีลกั ษณะคลา้ ยใบเม
เปิล โดยขอบใบจะแยกออกเป็น 3-4 แฉก ดอกของคะน้าเม็กซกิ นั เป็นสขี าว ลกั ษณะดอกจะออกเป็นช่ออยู่
ปลายกงิ่ และในแตล่ ะช่อจะประกอบไปดว้ ยดอกย่อยจานวนมาก สามารถขยายพันธไุ์ ด้ด้วยการปกั ชา
คุณคา่ ทางอาหาร
คะน้าเม็กซิกันเปน็ ผกั ท่ีมีคุณค่าทางอาหารสูง มีโปรตนี วิตามิน และแรธ่ าตอุ กี หลายชนดิ ดว้ ยกัน โดย
ใบคะน้าเม็กซโิ ก 100 กรมั จะใหค้ ณุ ค่าทางสารอาหาร ดงั นี้ นา้ 85.3% คารโ์ บไฮเดรต 4.2% โปรตนี 5.7%
ไขมัน 0.4% ใยอาหาร 1.9% แคลเซียม 199.4 มิลลกิ รัม โพแทสเซียม 217.2 มลิ ลกิ รมั ฟอสฟอรัส 39
มลิ ลกิ รมั เหลก็ 11.4 มิลลิกรมั วิตามินซี 164.7 มิลลกิ รมั วิตามนิ เอ 0.085 มลิ ลิกรมั นอกจากนี้ คะนา้ เมก็ ซโิ ก
เป็นผกั ทีใ่ ห้คณุ ค่าทางอาหารสงู กวา่ ผักใบเขียวอ่ืน ๆ ประมาณ 2-3 เทา่
2. อนมุ ูลอิสระ
อนมุ ูลอสิ ระ หมายถึงสารหรือโมเลกุลซึง่ มอี เิ ลก็ ตรอนที่ขาดคูอ่ ยู่ในวงรอบของอะตอม เปน็ โมเลกุลท่ี
ไมเ่ สถยี รเน่ืองจากขาดอิเลก็ ตรอน จงึ มคี วามไวตอ่ การเกิดปฏิกริ ยิ าตอสารรอบๆตวั เพ่อื ดึงอเิ ล็กตรอนจาก
อะตอมข้างเคยี งมาทดแทนอิเลก็ ตรอนทสี่ ญู เสยี ไปเพ่อื ให้ตวั เองกลับสู่สมดลุ ของประจไุ ฟฟา้ อีกครงั้ อะตอมท่ี
ถูกดึงอิเล็กตรอนไปจะกลายเป็นอนมุ ลู อสิ ระใหม่ และดึงอิเลก็ ตรอนจากอะตอมอ่นื ข้างเคยี ง เกิดปฏิกริ ยิ าเช่นนี้
ตอ่ กนั เป็นลูกโซ่ และกอ่ ให้เกิดความเสียหายแก่เซลล์ในรา่ งกาย
ร่างกายไดร้ ับอนุมูลอิสระจาก 2 แหลง่ ได้แก่
1.อนมุ ูลอิสระทีเ่ กดิ ขึน้ ภายในรา่ งกาย เปน็ ของเสียจากกระบวนการหายใจในระดบั เซลล์ เช่น ไอออน
ของออกซเิ จน

2.อนมุ ูลอิสระที่รบั มาจากภายนอกร่างกาย เชน่ มลพิษในอากาศ โอโซนไนตรสั ออกไซด์ ไนโตรเจนได
ออกไซด์ ควันบุหรี่ แกส๊ จากท่อไอเสยี ของรถยนต์ เช่น เขมา่ จากเครอ่ื งยนต์ ฝุน่ สารที่เกิดจากกระบวนการ
ประกอบอาหาร เชน่ การยา่ งเนือ้ สัตวท์ ี่มสี ว่ นประกอบของไขมนั สูง การนาน้ามันที่ผา่ นการทอดดว้ ยอณุ หภูมิ
สูงกลบั มาใช้ใหม่ การทาใหอ้ าหารไหมเ้ กรียมโดยการปิ้ง ยา่ ง ยาบางชนิด เช่น ดอกโซรูบินซนิ เพนนซิ ิลลามนิ
พาราเซทามอล เป็นต้น

อนมุ ลู อิสระท่ีสะสมในเซลล์และเนอื้ เย่อื ของอวยั วะตา่ งๆ จะทาปฏิกริ ิยากับสารองคป์ ระกอนใน
รา่ งกาย เช่น คอเรสเทอรอล โดยเฉพาะชนดิ LDL (Low Density Lipoprotien) โปรตนี และคารโ์ บไฮเดรต
ทาให้เซลล์และเนือ้ เยื่อเสียหาย เพม่ิ ความเสยี่ งต่อการเป็นโรคตา่ งๆ ยกตัวอย่างเช่น เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าออกซิเดชัน
กบั คอเรสเทอรอลชนิด LDL เมอ่ื มีการสะสมมากขึน้ จะอดุ ตนั หลอดเลอื ด กอ่ ใหเ้ กิดโรคหวั ใจหือดร๕หลอด
เลือดได้ ทาปฏิกิริยากับดีเอน็ เอเป็นสารเหตุของการกลายของสารพันธกุ รรม ทาให้เซลลป์ กตกิ ลายเป็น
เซลล์มะเรง็

ปัจจบุ นั นักวทิ ยาศาสตร์เชอ่ื วา่ ลักษณะความชราเกดิ จากการสะสมอนุมลู อสิ ระในรา่ งกาย และอนมุ ลู
อิสระเกิดปฏกิ ิริยาสรา้ งควาเสยี หายใหก้ ับเน้ือเย่ือในรา่ งกายอยา่ งชา้ ๆมีผลให้รา่ งกายเส่อื มโทรมและแสดง
ลกั ษณะความชรา

3. อนุมลู อสิ ระกับการเกดิ โรค
เน่อื งจากอนมุ ลู อสิ ระมอี เิ ล็กตรอนท่ไี มไ่ ดจ้ บั คู่อยใู่ นโมเลกลุ จงึ มีความไวสูงในการเขา้ ทาปฏกิ ริ ิยากบั
สารชีวโมเลกลุ ในร่างกาย ทาลายสมดุลของระบบตา่ ง ๆ ในร่างกาย โดยการทาลายองคป์ ระกอบหลกั ของเซลล์
เชน่ ทาลายหนา้ ท่ีของเยอ่ื หุ้มเซลลอ์ นั นาไปสู่การตายของเซลล์ ทาลายดีเอ็นเอโดยไปจับกับหม่ฟู อสเฟตและ
และนา้ ตาลออกซโี รโบส อนุมลู อิสระยังสามารถแตกพนั ธะเปปไทดข์ องโปรตีน ทาใหโ้ ปรตนี ไม่สามารถทางาน
ไดต้ ามปกติ ซึง่ สงิ่ เหลา่ น้ีเป็นสาเหตขุ องการเกิดการกลายพนั ธุ์และการเกิดมะเรง็ นอกจากนีย้ งั ก่อให้เกดิ
สภาวะทางพยาธิสภาพในโรคสาคญั บางโรค ได้แก่ โรคหัวใจ ไขมนั อุดตันในเสน้ เลอื ด ไขข้ออกั เสบ ตอ้ กระจก
เปน็ ต้น อนมุ ูลอิสระมีท่มี าทงั้ แหล่งภายนอกรา่ งกาย ได้แก่ มลพิษในอากาศ โอโซน ไนตรัสออกไซด์ ไนโตรเจน
ไดออกไซด์ ฝนุ่ ควันบุหรี่ อาหารท่มี ีกรดไขมันอิ่มตวั หรอื ธาตุเหลก็ มากกว่าปกติ แสงแดด ความรอ้ น รังสี
แกมมา ยาบางชนิด เปน็ ตน้ และแหล่งภายในรา่ งกาย ได้แก่ ออกซเิ จน เปน็ ต้น (บังอร วงศ์รักษ์ และศศิ
ลักษณ์ ปิยะสุวรรณ์, 2549)

4. สารต้านอนุมูลอสิ ระ
สารต้านอนุมลู อสิ ระ โมเลกลุ ของสารทส่ี ามารถปอ้ งกันการเกดิ ปฎกิ ริ ยิ าออกซเิ ดชั่น หรือกาจัดอนมุ ลู

อสิ ระได้ สารตน้ อนมุ ลู อสิ ระสามารถจาแนกเปน็ 2 กลมุ่ ไดแ้ ก่
1.สารตา้ นอนุมลู อสิ ระท่พี บในอาหาร ยกตัวอย่างเชน่ วติ ามนิ ซี ฟักทอง ถวั่ เหลือง น้ามนั ตบั ปลา จาก
ส้ม ฝรั่ง ผกั ใบเขยี ว และแคโรทนี อยด์ จากใบกระเพราแดง ยหี่ ร่า ผักหวานเปน็ ต้น

2.สารตา้ นอนมุ ูลอิสระที่ร่างกายสังเคราะห์ได้เอง ยกตวั อย่างเช่น เอนไซม์ ซูเปอร์ไซด์ดิสมิวเทส
(Superoxide Dismutase: SOD) เอนไซมค์ ะทะเลส (Catalase: CAT) เอนไซมก์ ลูตา้ ไธออนเพอรอ์ อกซิเดส
โประตนี กลูตา้ ไธโอน โปรตนี อัลบูมนิ และกรดยรู ิก

แหล่งทีพ่ บสารตา้ นอนมุ ูลอสิ ระ

สารต้านอนมุ ลู อสิ ระในธรรมชาติ ได้แก่ ผัก ผลไม้ น้ามนั พชื และสมุนไพร สารตา้ นอนุมูลอิสระใน

ธรรมชาตินาไปใช้ในอตุ สาหกรรมอาหาร และมกี ารวิจยั วา่ มผี ลต่อภายในร่างกายมนษุ ย์

1. สารต้านอนมุ ลู อสิ ระทพี่ บในอาหาร และไม่จัดเปน็ เอนไซม์ ไดแ้ ก่ Tocopherols, Gallic acid,

Carotenoids, Ascorbic acid ,Flavonoids, BHT, BHA สารต้านอนุมูลอสิ ระท่ีมใี นสารอาหารได้แก่

สารอาหารดงั น้ี

1.1 วติ ามนิ ซี หรือกรดแอสคอรบ์ ิค (Vitamin C; Ascorbic acid, C6H8O6) เปน็ สารต้าน
อนมุ ลู อิสระแรงมากทล่ี ะลายในนา้ ทาหน้าที่ตา้ นอนมุ ูลอสิ ระและรีไซเคิลวิตามินอี คุณสมบัตคิ ือ ป้องกนั การ

เหม็นหนื ของอาหารประเภทเนือ้ สตั ว์ และป้องกันการเปลีย่ นสีของผลไม้ ไมท่ นความร้อนแต่ทนความเย็นถงึ จดุ

เยือกแขง็ ได้ ป้องกันหลอดเลอื ดหวั ใจตีบ และป้องกนั การออกซิเดชันของไขมนั ชนดิ LDL วติ ามนิ ซีพบในผลไม้

รสเปรีย้ ว เชน่ แอปเป้ิล สตรอเบอรี่ รา่ งกายตอ้ งไดร้ บั วติ ามนิ ซไี ม่น้อยกว่า 90 มิลลกิ รัมตอ่ วนั และไมค่ วร

มากกวา่ 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน

1.2 เบตา้ แคโรทีน ( Beta Carotene : C40H60) นา้ หนักโมเลกลุ 536.85 เป็นสารต้งั ตน้

วติ ามินเอ ปัจจบุ ันเบต้าแคโรทนี ชว่ ยเสรมิ สร้างภูมคิ ้มุ กัน ชะลอความชรา พบในแครอท ฟักทอง มะเขอื เทศ

ผักใบเขียว สาหรา่ ยเคลป์ เปน็ ตน้

1.3 วติ ามินอี ( Vitamin E : C429H50O2) น้าหนกั โมเลกุล 430.69 มรี ูปแบบ 6 แบบ ท่พี บ

มากคือ ในรูปของอัลฟา-โทโคฟนี อล (alpha – tocophenol) เป็นสารตา้ นอนุมูลอสิ ระทีม่ ีพิษน้อยท่สี ุด

วติ ามนิ อีถกู ดูดซมึ ทีล่ าไสเ้ ล็กและส่งตอ่ ไปยังตบั เพ่ือบรรจใุ สใ่ นไลโพโปรตนี เพ่อื ขนสง่ ไปยงั เนือ้ เยื่อต่าง ๆ เช่น

ไมโทคอนเดรีย เมด็ เลือดแดง และเซลล์ในระบบทางเดนิ หายใจป้องกันผนังเซลล์จากอนมุ ูลอิสระ ปอ้ งกนั การ

จับตวั ของเลอื ด ปอ้ งกันการเกดิ โรคหวั ใจ พบมากในน้ามนั พืชจมกู ข้าว ในนา้ มันพชื เมลด็ ทานตะวนั มะละกอ

มนั เทศ และน้ามันปลา

1.4 สารประกอบฟีนอลิก ( Phenolic compounds) เป็นสารประกอบกลุม่ ใหญท่ ่พี บในพืช

ซง่ึ มีความสาคัญต่อเมตาบอลซิ ึมของมนษุ ย์ สารประกอบฟีนอลกิ ไดแ้ ก่ กรดฟีนอลิก (phenolic acid) แทน

นนิ (tannin) ฟลาโวนอยด์ (flavonoid) สารประกอบเหล่านี้มีความสาคัญในการป้องกันการเกิดออกซิเดชัน

และป้องกนั เซลล์จากความเสยี หายอันเน่ืองมาจากการเกดิ ออกซเิ ดชนั ซ่ึงเปน็ การลดความเสยี่ งตอ่ การเกดิ

โรคหวั ใจ และโรคมะเรง็ ลงได้

1.5 เซเลเนียม (Celenium; Ce) เปน็ ส่วนประกอบสาคัญในเอนไซมก์ ลูตาไธโอน เปอร์ออกซิ

เดส (Glutathion peroxidase) เป็นเอนไซมท์ ่ีทาลายอนุมูลอิสระ เซเลเนียมยงั ชว่ ยป้องกนั การสะสมของ

ไขมันและคอเลสเตอรอลในกระแสเลือด พบมากในผกั ใบเขยี ว สารตา้ นอนมุ ูลอสิ ระเหลา่ นี้จะทาลายอนมุ ลู

อสิ ระโดยการจบั กบั อนุมูลอสิ ระลดการเกิดปฏกิ ิริยา ณ จดุ ตัง้ ตน้ หรือยบั ย้ังการเกิดปฏกิ ริ ิยาลกู โซ่

2. สารต้านอนมุ ลู อสิ ระที่พบในร่างกาย และจดั เปน็ เอนไซม์ ได้แก่ Superoxide dismutase (SOD)
Catalase (CAT), Glutathione peroxidase (GPX), Glutathione reductase (GR), Gluta thione S -
transferase (GST)
5. การวเิ คราะห์ฤทธ์ิการตา้ นอนุมลู อสิ ระดว้ ยวธิ ี ABTS assay
การตรวจวดั ฤทธติ์ า้ นอนมุ ลู อสิ ระด้วยวิธีการทาลายอนมุ ูลอิสระ ABTS 2,2'-Azino-bis (3-
ethylbenzthiazoline-6-sulphonic acid) เปน็ stable radical ในตวั ทาละลายเอทานอล (Ethanol)
สารละลายนมี้ ีสเี ขยี ว ซ่ึงดูดกลนื แสงได้ดีท่คี วามยาวคล่ืน 734 นาโนเมตร (nm) เมอ่ื ABTS ทาปฏกิ ิรยิ ากบั สาร
ที่มีฤทธติ์ า้ นอนุมลู อิสระ สีของสารละลายสเี ขยี วจะเปลีย่ นเปน็ สีใส โดยเปรยี บเทยี บกบั สารตา้ นอนุมลู อสิ ระที่
ใช้เปน็ มาตรฐานคอื Trolox ถ้าตวั อย่างมีความสามารถในการต้านออกซิเดชันได้สงู ความเขม้ ของสารละลายสี
เขียวจะลดลง เพราะฉะนนั้ ผลการศกึ ษาสารต้านอนมุ ูลอิสระในผลติ ภณั ฑ์ชาคะนา้ เมก็ ซโิ ก มฤี ทธกิ์ ารต้าน
อนมุ ลู อิสระได้ดี ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย ABTS ที่มีสเี ขียวจะลดลงจากปกติ
6. ชา

การแปรรปู ชา คอื กรรมวธิ ีในการแปรรูปใบไมจ้ ากต้นชา Camellia sinensis ให้กลายเป็นใบชา
แห้ง เพื่อนาไปต้มเปน็ นา้ ชาตอ่ ไป ชาสามารถแบง่ เป็นประเภทต่างๆตามกรรมวิธีการแปรรูป โดยท่วั ไป การบ่ม
ใบชาจะมีกระบวนการทาปฏกิ ิรยิ าเคมขี องใบชากบั ออกซิเจน จากน้ัน เม่ือปฏกิ ิริยาสนิ้ สดุ ลง ก็จะเป็น
กระบวนการตากแหง้ รสชาเฉพาะตวั ของชาจะถกู กาหนดโดยพันธ์ุของชาท่คี ดั มาเพาะปลูก, คณุ ภาพของใบชา
ทีเ่ ก็บเกย่ี วได้, และกรรมวธิ กี ารแปรรปู และผลติ เป็นใบชาแหง้ หลังผา่ นกระบวนการแปรรูปแลว้ ชาชนดิ หนึ่ง
อาจถูกนาไปผสมกบั ชาชนดิ อน่ื หรอื สารปรุงแต่งรสและกลนิ่ เพื่อปรับเปล่ียนรสชาติของชาในทสี่ ุด

1. ชาเขียว (Green tea) เปน็ ชาท่ีไม่ผา่ นกระบวนการหมกั (Non-fermented tea) กรรมวธิ กี าร
ผลติ เรม่ิ จากการหยดุ การทางานของเอนไซม์ Polyphenol oxidase ทอ่ี ย่ใู นใบชาสดโดยการอบดว้ ยไอนา้
(steaming) หรอื การคว่ั บนกระทะรอ้ น (pan firing) เพอื่ ทาใหเ้ อนไซม์ polyphenol oxidase ไมส่ ามารถเร่ง
ปฏิกริ ิยา oxidation และ polymerization ของ polyphenols ท่ีอยใู่ นใบชาได้ เสรจ็ แล้วนาไปนวด
(rolling) เพอื่ ทาใหเ้ ซลล์แตกและนวดเพ่อื ใหใ้ บชาม้วนตวั จากน้ันนาไปอบแห้ง สขี องนา้ ชาประเภทนจี้ ะมสี ี
เขียวถงึ เขียวอมเหลือง

2. ชาอูห่ ลง (Oolong tea) เป็นชาท่ีผา่ นกระบวนการหมักเพยี งบางส่วน (Semi-fermented tea)
ก่อนหยดุ ปฏกิ ิริยาของเอนไซมด์ ว้ ยความร้อน กรรมวธิ กี ารผลิตจะมกี ารผง่ึ แดด (withering) ประมาณ 20-40
นาที ภายหลังผ่ึงแดดใบชาจะถูกผึ่งในร่มอีกคร้งั พรอ้ มเขยา่ กระตนุ้ ให้ชาต่นื ตัว การผงึ่ นี้เป็นกระบวนการหมัก
ซึง่ ทาให้เอนไซม์ polyphenol oxidase เรง่ ปฏกิ ริ ยิ า oxidation และ polymerization ของ polyphenols
ทาใหเ้ กดิ dimers และสารประกอบเชงิ ซ้อนของ polyphenols สารประกอบที่เกิดขน้ึ น้ีทาใหช้ าอู่หลงมกี ลิ่น
และสที ีแ่ ตกต่างไปจากชาเขียว น้าชาอหู่ ลงจะมีสเี หลืองอมเขยี ว และสนี า้ ตาลอมเขยี ว

3. ชาดา (Black tea) เปน็ ชาท่ผี ่านกระบวนการหมักอย่างสมบรณู ์ (Completely-fermented
tea) ใบชาจะถกู ผงึ่ ให้เอนไซม์ polyphenol oxidase เรง่ ปฏกิ ริ ยิ าอย่างเต็มท่ี ซึง่ polyphenols จะถกู
oxidized อย่างสมบรูณเ์ กดิ เป็นสารประกอบกลุ่ม Theaflavins และ Thearubigins ทาให้ชาดามีสนี ้าตาล
แดง

7. งานวิจัยที่เก่ียวข้อง
กฤติยา ไชยนอก ได้ศึกษา การศึกษาฤทธ์ทิ างเภสัชวทิ ยาพบว่าคะนา้ เม็กซิโกมีฤทธติ์ ้านจุลชีพหลาย
ชนิด มีฤทธต์ิ า้ นการอกั เสบ ช่วยปกป้องหลอดเลอื ดและหวั ใจ ต้านอนุมูลอสิ ระ ลดนา้ ตาลในเลอื ด และลด
ไขมนั ในเลือด แต่ทง้ั หมดเปน็ การศกึ ษาในรูปแบบของสารสกดั และสารสาคัญท่แี ยกได้จากสว่ นใบ เชน่ สาร
ในกล่มุ flavonoids, alkaloids และยังเป็นเพยี งการศึกษาในระดบั หลอดทดลองและสัตวท์ ดลอง
สุบรรณ ฝอยกลาง ,ศรญั ญา มว่ งทพิ ยม์ าลัย , ตะวัน คัมภีร์ ศึกษาผลของการทดแทนกากถัว่ เหลอื ง
ดว้ ยใบชายาบดต่อจลนศาสตรก์ ารผลติ แกส๊ ความสามารถในการย่อยได้ และกระบวนการหมกั โดยใชเ้ ทคนคิ
การผลติ แก๊ส ในหลอดทดลอง การศกึ ษานี ม้ วี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื ศกึ ษาผลของการใชใ้ บชายาทดแทนกากถั่ว
เหลืองในสตู รอาหารขน้ โดย ใช้เทคนคิ การผลิตแกส๊ ในหลอดทดลอง โดยวางแผนการทดลองแบบส่มุ สมบูรณ์
(CRD) ทาการศกึ ษา 5 ทรที เมน ต์ ซงึ่ ใชใ้ บชายาบด (CLM) ทดแทนกากถวั่ เหลอื ง (SBM) ในสดั สว่ น
SBM:CLM ท่ี 100:0, 75:25, 50:50, 25:75 และ 0:100 ตามลาดับ การใชใ้ บชายาบดทดแทนกากถั่วเหลืองใน
อาหารข้นสง่ ผลตอ่ จลนศาสตรก์ ารผลติ แก๊ส โดย ค่า a, b และ a+b มคี า่ เพม่ิ ขึ น้ สว่ นคา่ c มคี า่ ลดลง
นันธดิ า ล่ิมเสฎโฐ (2560) ศกึ ษาฤทธติ์ ้านอนมุ ลู อิสระของชาสมุนไพรจากพืช 3 ชนิด ไดแ้ ก่ ใบชา ชา
ใบหมอ่ น และชาใบมะรมุ โดยการทดสอบสารสกดั ชาด้วยนา้ รอ้ น 100 องศาเซลเซียส ในอัตราสว่ นตา่ งๆ ท่ี
เวลา 2, 5, 10, 30 และ 60 นาที เพอ่ื หาอัตราสว่ นและชว่ งเวลาทีเ่ หมาะสมแก่การชงชาสมุนไพรที่มีฤทธต์ิ ้าน
อนมุ ลู อสิ ระสูงสดุ นาสารสกดั ทีไ่ ด้ไปวิเคราะห์หาปรมิ าณสารประกอบฟีนอลิกรวมและฤทธิ์ต้านอนมุ ูลอิสระ
โดยวิธี DPPH assay และ ABTS assay จากการศึกษาพบว่า สารสกัดใบชามปี ริมาณสารประกอบฟีนอลกิ รวม
สงู สดุ ท่ี 2 นาที และมฤี ทธต์ิ ้านอนุมูลอสิ ระ DPPH และ ABTS สงู สดุ ทเ่ี วลา 60 นาที สารสกดั ใบหม่อนและใบ
มะรมุ มีปรมิ าณสารประกอบฟีนอลกิ รวมสงู สดุ ท่ี 60 นาที และมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH และ ABTS
สงู สดุ ที่เวลา 2 นาที เมือ่ นาสารสกัดผสมกันทั้ง 3 ชนดิ ทดสอบฤทธ์ิต้านอนุมลู อิสระ DPPH พบว่า สารสกัด
ผสมใบชากบั ใบหม่อน 0.5:1.5 w/w, ใบชากบั ใบมะรุม 0.5:1.5 w/w, ใบหมอ่ นกับใบมะรมุ 1.5:0.5 w/w
และใบชา+ใบหมอ่ น+ใบมะรมุ ในอัตราสว่ น 1.0:1.0:1.0 w/w มฤี ทธติ์ ้านอนุมลู อิสระสูงสุดท่ี 2 นาที และฤทธ์ิ
ต้านอนมุ ูลอสิ ระ ABTS พบวา่ สารสกัดผสมใบชากับใบหม่อน 1.5:0.5 w/w ใบชากับใบมะรุม 0.5:1.5 w/w,
ใบหม่อนกับใบมะรุม 1.5:0.5 w/w และใบชา+ใบหมอ่ น+ใบมะรมุ ในอัตราสว่ น 1.5:1.0:0.5 w/w มีฤทธิ์ตา้ น
อนมุ ูลอสิ ระสูงสดุ ท่ีเวลา 2 นาที ผลจากการศึกษาอัตราส่วนและเวลาท่ใี ช้ในการสกดั สามารถใชเ้ ป็นขอ้ แนะนา
ในการชงชาให้มคี ุณภาพและมปี ระโยชน์ต่อสขุ ภาพ
สิรกิ าร หนูสงิ ห์, ปาจารยี ์ ม่นั ดี และบุศราภา ลีละวัฒน์ (2560) ไดท้ าการตรวจสอบสภาวะที่
เหมาะสมในการผลติ ชาข้าวกา่ เพาะงอกพร้อมชง จากการนาข้าวก่าเพาะงอกมาคว่ั นาน 5 นาที และนาไปแช่
ในนา้ ทอี่ ณุ หภูมิ (55, 60 และ 65ºC) และเวลาต่างๆ (5, 15, 25, 35, 45 และ 65 นาที) ในอตั ราส่วนระหว่าง
ขา้ วกา่ ต่อน้าเท่ากบั 1:3 โดยน้าหนกั พบวา่ สภาวะที่เหมาะสมท่ีทาใหไ้ ดน้ ้าชาขา้ วกา่ มปี ริมาณแอนโทไซยานิน
สูงทสี่ ุดคือ อณุ หภมู ิ 65ºC นาน 35 นาที จากนัน้ ศกึ ษาสภาวะที่เหมาะสมในการทาแหง้ นา้ ชาข้าวกา่ ด้วย
วิธีการทาแหง้ แบบพ่นกระจายโดยแปรปริมาณมอลโทเดกซ์ทริน (20, 25 และ 30% โดยนา้ หนัก) และ
อุณหภูมิขาเขา้ ของเคร่ืองทาแห้งแบบพน่ กระจาย (140 และ 160ºC) พบว่า การเตมิ มอลโทเดกซท์ รนิ 30%

ทาใหไ้ ดร้ ้อยละผลผลติ ผงชาข้าวกา่ สูงทส่ี ุด และมีค่าการละลายทด่ี ที สี่ ดุ เมื่อนามาคนื รปู มีคะแนนทางประสาท
สมั ผสั ในดา้ นลักษณะปรากฏและสีของน้าชามากทสี่ ดุ

บังอร วงศ์รกั ษ์, ศศิลกั ษณป์ ยิ ะสวุ รรณ์ ได้ศกึ ษา ฤทธ์ิต้านอนุมลู อิสระของผกั พนื้ บ้าน ภาควชิ า
สรีรวทิ ยา คณะเภสัชศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั มหิดล ** ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์คณะเภสัชศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล *** ภาควิชาเภสชั วทิ ยา คณะเภสชั ศาสตร์มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล คาสาคัญ:ฤทธิต์ ้านอนุมลู
อิสระ, ผักพ้นื บ้าน, ผักกดู , ผกั ติ้ว, ผักปลังขาว, ย่านาง, ผกั เหมียง, ผกั หวานบา้ น การทดสอบฤทธ์ติ า้ นอนมุ ลู
อิสระของผกั พื้นบา้ น จานวน 6 ชนิด ได้แก่ ผกั กดู , ผักติว้ , ผกั ปลังขาว, ย่านาง, ผกั เหมยี ง และผักหวานบ้าน
สกัดสารสาคัญจากผักแตล่ ะชนดิ โดยการหมกั ดว้ ย methanol นาน 3 วัน แลว้ นาไประเหยแห้งดว้ ยความร้อน
ท่ี 60 องศาเซลเซยี ส นาสารสกัดที่ ไดม้ าแยกเปน็ 2 สว่ น คอื สว่ นท่ีละลายในํน้า และสว่ นที่ไมล่ ะลายในํน้าซง่ึ
นามาละลายกลบั ดว้ ย methanol ทดสอบฤทธติ์ า้ นอนุมลู อสิ ระของสารสกดั จากผักทั้ง 6 ชนดิ ด้วยวธิ Dี PPH
assay โดย ผสมตัวอย่างทที่ ดสอบกับสารละลาย 2,2–diphenyl–1–picrylhydrazyl (DPPH) แลว้ วัดการ
เปล่ยี นแปลงคา่ การดูดกลนื แสงทีค่ วามยาวคลื่น 515 nm เปรียบเทยี บกบั control, วิตามินซีและ วิตามินอี
(Trolox) ซง่ึ เป็นสารมาตรฐาน ผลการศกึ ษาพบวา่ สารสกดั จากผกั ตวิ้ แสดงฤทธติ์ ้าน อนมุ ูลอสิ ระมากทส่ี ุด
โดยสารสกัดส่วนท่ลี ะลายในน้าและสว่ นท่ีไมล่ ะลายในน้าให้คา่ IC50 เทา่ กบั 205.96 µg/ml และ 101.79
µg/ml ตามลาดบั รองลงมาคอื สารสกัดจากย่านาง ใหค้ า่ IC50 499.24 µg/ml (ส่วนท่ีละลายในนา้ ) และ
772.63 µg/ml (ส่วนทไ่ี มล่ ะลายในํน้า) สาหรบั วิตามนิ ซี และวติ ามนิ อีใหค้ า่ IC50 9.34 µg/ml และ 15.91
µg/ml ตามลาดบั สว่ นสารสกดั จากผกั อีก4 ชนดิ มีคา่ IC50 มากกว่า 1,000 µg/ml การตรวจสอบทางเคมี
เบือ้ งตน้ พบว่าสารสกดั ผักติว้ มี hydrolysable tannin ส่วนสารสกดั ย่านางมีphenolic compounds และได้
จดั ทา TLC fingerprints เพอ่ื เปรยี บเทียบสาหรับการศกึ ษาคร้ังตอ่ ไป

บทที่ 3
วิธีการดาเนนิ งาน

การศกึ ษาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง ศึกษาผลการตา้ นอนมุ ลู อสิ ระของใบคะน้าเม็กซิโกในการพฒั นา

เปน็ ผลติ ภณั ฑเ์ ครื่องดืม่ ชาสมนุ ไพร คณะผูจ้ ดั ทาไดด้ าเนินการตามข้ันตอนกระบวนการ ท้งั หมด 2 ขน้ั ตอน

หลกั ดังนี้

1. การเตรียมสาร ABTS เพ่อื ตรวจสอบสารต้านอนมุ ูลอิสระจากใบคะน้าเม็กซิโก

2. ตรวจสอบจดุ ประสงคข์ องโครงงาน

1. การเตรียมสาร ABTS

1. ชั่งสาร ABTS ปรมิ าณ 0.0077 กรมั ใส่ขวดรูปชมพทู ห่ี อ่ อะลูมเิ นียมฟอย

2. ช่งั สารโพแทสเซยี มเปอร์ซลั เฟต ปริมาณ 0.0166 กรัม ใสผ่ สมเข้ากับ ABTS ในขวดรูปชมพู

3. เตมิ น้ากลัน่ ปรมิ าณ 10 ml เขย่าให้เข้ากันและต้งั ท้งิ ไว้ในทีม่ ดื 16 ชว่ั โมง

วเิ คราะห์ฤทธก์ิ ารต้านอนมุ ลู อสิ ระของสารตวั อย่าง

การตรวจวัดฤทธต์ิ า้ นอนุมลู อิสระด้วยวิธีการทาลายอนุมลู อิสระ ABTS 2,2'-Azino-bis (3-

ethylbenzthiazoline-6-sulphonic acid) เป็น stable radical ในตัวทาละลายเอทานอล ( Ethanol)

สารละลายนี้มีสีเขียว ซ่ึงดูดกลนื แสงได้ดที ่ีความยาวคลน่ื 734 นาโนเมตร (nm) เม่อื ABTS ทาปฏกิ ริ ยิ ากบั สาร

ท่ีมฤี ทธติ์ ้านอนุมลู อสิ ระ สีของสารละลายสีเขยี วจะเปลยี่ นเป็นสใี ส โดยเปรยี บเทียบกับสารตา้ นอนมุ ลู อสิ ระที่

ใชเ้ ปน็ มาตรฐานคอื Trolox ถ้าตวั อยา่ งมคี วามสามารถในการตา้ นออกซเิ ดชนั ได้สูง ความเข้มของสารละลายสี

เขียวจะลดลง (ปรยี นนั ท์ บัวสด, 2549) เพราะฉะน้นั ผลการศึกษาสารต้านอนุมูลอิสระในผลติ ภัณฑช์ าเปลอื ก

กล้วยไข่ ถ้าชาเปลือกกลว้ ยไข่มีฤทธกิ์ ารตา้ นอนมุ ูลอิสระได้ดี ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย ABTS ทีม่ สี ีเขยี วจะ

ลดลงจากปกติ

2. การตรวจสอบจดุ ประสงคข์ องโครงงาน แบง่ การศกึ ษาออกเปน็ ท้ังสนิ้ 7 ขัน้ ตอน
1. เพ่อื ศึกษาผลการต้านอนมุ ูลอสิ ระในใบคะน้าเม็กซิโก
2. เพ่ือศึกษาการตา้ นอนมุ ลู อสิ ระของใบคะน้าเม็กซิโกที่มีอายใุ บตา่ งกนั
3. เพือ่ เปรยี บเทียบปรมิ าณสารตา้ นอนมุ ลู อิสระในใบอ่อนของคะนา้ เม็กซโิ กชนิดใบสด และแห้ง
4. เพ่ือศึกษาชนิดของตัวทาละลายสารตา้ นนมุ ลู อสิ ระในใบคะนา้ เม็กซโิ ก
5. เพ่ือศกึ ษาระยะเวลาท่เี หมาะสมในการละลายสารตา้ นอนุมูลอสิ ระในใบคะน้าเม็กซโิ กท่แี ชใ่ นนา้ เปลา่
6. เพอ่ื ศกึ ษาอณุ หภมู ิของนา้ ท่ีเหมาะสมในการละลายสารตา้ นอนมุ ลู อสิ ระของใบคะนา้ เม็กซิโก
7. ศึกษาวธิ ีการผลติ และตรวจสอบประสิทธภิ าพ ชาคะน้าเมก็ ซโิ กตา้ นสารอนมุ ูลอสิ ระ

อปุ กรณแ์ ละสารเคมี

1. เคร่อื งช่ังสารเคมีดจิ ติ อล (Analytical balance)

2. เครือ่ งอลั ตราไวโอเลตวสิ ิเบิลสเปกโตรโฟโตรมเิ ตอร์ (UV-Visible Spectrophotometer)

3. ตู้อบความร้อน (Hot Air Oven) 4. อะลูมิเนียมฟอยด์ ( Aluminium

foil)

5. ไมโครปเิ ปต (Micropipette) 6. ปเิ ปตทปิ (Pipette Tips)

7. ควิ เวต (Cuvette) 8. ขวดรูปชมพู่ (Erlenmayer flask)

9. บกี เกอร์ (Beaker) 10. ปิเปต (Pipette)

11. ลูกยางปเิ ปต 3 ทาง (Pipette Filler) 12. หลอดทดลอง (Test tube)

13. ตะแกรงวางหลอดทดลอง (Test Tube Rack) 14. ช้อนตักสาร (Spatular)

15. มีด, เขียง, ถาด, ถงุ เย่ือกระดาษบรรจชุ า 16. สาร ABTS

17. Potassium persulfate (K2S2O8) 18. นา้ กลั่น

19. Absolute Ethanol

ขัน้ ตอนที่ 1 เพอื่ ศกึ ษาผลการตา้ นอนมุ ูลอิสระในใบคะนา้ เมก็ ซิโก ด้วยวธิ ี ABTS assay
วธิ ีการทดลอง
1. นาใบคะนา้ เม็กซิโกมาคัดเลอื กใบท่สี มบูรณ์ นาไปลา้ งทาความสะอาด ปริมาณ 5 กรมั (4-5ใบ)
2. นาใบคะนา้ เมก็ ซิโก ไปปนั่ แช่ในเอทานอล 1 คืน แล้วนามาป่นั เหวย่ี ง 1 นาที 3,800 รอบ ไดส้ าร
สกดั จากใบคะนา้ เม็กซโิ ก
3. นาสารสกัดใบคะน้าแม็กซโิ ก ไปตรวจสอบสารต้านอนุมูลอสิ ระ ABTS
4. ปิเปต ABTS ปรมิ าณ 1.462 ไมโครลิตร กับสารสกดั ใบคะนา้ เมก็ ซิโก ปริมาณ 30 ไมโครลติ ร
5. วดั ค่ามาตรฐานการต้านอนมุ ลู อสิ ระด้วยเครือ่ ง อลั ตราไวโอเลตวิสเิ บิลสเปกโตรโฟโตรมเิ ตอร์
(UV-Visible Spectrophotometer)
6. สังเกต บันทกึ ผล และตรวจสอบซา้ 3 รอบ

ขั้นตอนท่ี 2 เพ่ือศึกษาการต้านอนุมลู อสิ ระของใบคะน้าเม็กซโิ กทมี่ อี ายใุ บต่างกัน
วิธกี ารทดลอง
1. นาใบคะนา้ เมก็ ซิโกมาคดั เลือกใบท่สี มบรู ณ์ แยกประเภทเปน็ ใบอ่อน ใบกลาง และใบแก่ นาไปล้าง

ทาความสะอาด ปริมาณชนิดละ 5 กรัม

2. นาใบคะน้าเม็กซิโกท้ัง 3 ประเภท ไปป่นั แชใ่ นเอทานอล 1 คืน แล้วนามาปัน่ เหวี่ยง 1 นาที 3,800

รอบ ไดส้ ารสกดั จากใบคะนา้ เม็กซิโก ท้งั 3 ประเภท

3. นาสารสกัดใบคะน้าแม็กซิโก ไปตรวจสอบสารตา้ นอนุมลู อสิ ระ ABTS
4. ปิเปต ABTS ปริมาณ 1.462 ไมโครลิตร กับสารสกัดใบคะนา้ เม็กซโิ ก ปรมิ าณ 30 ไมโครลิตร
5. วดั ค่ามาตรฐานการตา้ นอนมุ ลู อสิ ระดว้ ยเครื่อง อลั ตราไวโอเลตวสิ ิเบิลสเปกโตรโฟโตรมเิ ตอร์ (UV-
Visible Spectrophotometer)
6. สังเกต บนั ทึกผล และตรวจสอบซา้ 3 รอบ

ขนั้ ตอนที่ 3 เพ่ือเปรยี บเทยี บปริมาณสารตา้ นอนุมูลอสิ ระในใบอ่อนของคะน้าเมก็ ซิโกชนิดใบสด และแห้ง
วิธีการทดลอง
1. นาใบคะนา้ เมก็ ซิโกชนดิ ใบอ่อนมาคัดเลอื กใบทีส่ มบูรณ์ นาไปล้าง ทาความสะอาด ปรมิ าณ 10

กรัม แบง่ เปน็ 2 สว่ น ส่วนที่ 1 นาไปอบแห้งจะไดใ้ บคะน้าเม็กซิโกชนดิ ใบออ่ นแหง้ ไดน้ า้ หนกั 1.5 กรัม
2. นาใบคะน้าเม็กซิโกทง้ั สด และแหง้ ไปปน่ั แชใ่ นเอทานอล 1 คนื แลว้ นามาปั่นเหว่ยี ง 1 นาที

3,800 รอบ ไดส้ ารสกดั จากใบคะนา้ เม็กซิโก จากใบออ่ นชนิดใบสด และใบแหง้
3. นาสารสกดั ใบคะนา้ แมก็ ซิโก ไปตรวจสอบสารต้านอนุมูลอสิ ระ ABTS
4. ปิเปต ABTS ปรมิ าณ 1.462 ไมโครลติ ร กบั สารสกดั ใบคะนา้ เมก็ ซิโก ปรมิ าณ 30 ไมโครลติ ร
5. วัดค่ามาตรฐานการตา้ นอนมุ ลู อิสระดว้ ยเครื่อง อัลตราไวโอเลตวิสเิ บิลสเปกโตรโฟโตรมเิ ตอร์ (UV-

Visible Spectrophotometer)
6. สังเกต บันทึกผล และตรวจสอบซ้า 3 รอบ

ขน้ั ตอนที่ 4 เพื่อศกึ ษาชนดิ ของตัวทาละลายสารตา้ นนมุ ลู อิสระในใบคะนา้ เม็กซโิ ก
วธิ ีการทดลอง

1. นาใบคะน้าเมก็ ซโิ กชนดิ ใบออ่ นแห้ง ปรมิ าณ 3 กรัม แบง่ เปน็ 2 ส่วน สว่ นท่ี 1 นาไปปน่ั แชใ่ นเอ
ทานอล 1 คืน แล้วนามาปัน่ เหว่ยี ง 1 นาที 3,800 รอบ

2. นาใบคะนา้ เม็กซโิ กอ่อนชนดิ แห้งส่วนท่ี 2 ทาซา้ ขอ้ ที่ 1 แตเ่ ปลย่ี นตวั ทาละลายเปน็ นา้
3. ได้สารสกัดจากใบคะน้าเมก็ ซโิ กแห้งจากตัวทาละลายเอทานอล และน้าเปลา่
4. นาสารสกัดใบคะน้าแม็กซิโก ไปตรวจสอบสารตา้ นอนุมลู อสิ ระ ABTS โดยการปิเปต ABTS
ปริมาณ 1.462 ไมโครลิตร กับสารสกัดใบคะนา้ เม็กซโิ ก ปรมิ าณ 30 ไมโครลิตร
5. วัดคา่ มาตรฐานการต้านอนุมูลอิสระดว้ ยเครื่อง อลั ตราไวโอเลตวสิ เิ บลิ สเปกโตรโฟโตรมิเตอร์ (UV-
Visible Spectrophotometer)
6. สังเกต บนั ทึกผล และตรวจสอบซา้ 3 รอบ

ขนั้ ตอนที่ 5 ศกึ ษาระยะเวลาทีเ่ หมาะสมในการละลายสารตา้ นอนมุ ลู อิสระของใบคะนา้ เมก็ ซิโกแห้งใน
นา้ เปล่า

วิธกี ารทดลอง
1. นาใบคะน้าเมก็ ซิโกชนิดใบออ่ นแหง้ ปรมิ าณ 9 กรมั แบง่ เปน็ 6 สว่ น นาแต่ละสว่ นไปปัน่ แชใ่ น
นา้ เปลา่ ระยะเวลา 1, 5, 10, 15, 20 และ 25 นาที แลว้ นามาปั่นเหวยี่ ง 1 นาที 3,800 รอบ
2. ไดส้ ารสกัดจากใบคะนา้ เมก็ ซิโกแห้งทมี นี า้ เปน็ ตวั ทาละลายที่ระยะเวลา 1, 5, 10, 15, 20 และ
25 นาที 3. นาสารสกดั ใบคะน้าแมก็ ซิโก ไปตรวจสอบสารตา้ นอนมุ ูลอสิ ระ ABTS โดยการปิเปต ABTS
ปรมิ าณ 1.462 ไมโครลติ ร กับสารสกัดใบคะน้าเมก็ ซิโก ปริมาณ 30 ไมโครลิตร
5. วดั ค่ามาตรฐานการต้านอนมุ ูลอิสระด้วยเคร่อื ง อลั ตราไวโอเลตวิสเิ บลิ สเปกโตรโฟโตรมิเตอร์ (UV-
Visible Spectrophotometer)
6. สังเกต บนั ทกึ ผล และตรวจสอบซ้า 3 รอบ

ขนั้ ตอนท่ี 6 ศกึ ษาอณุ หภูมิของน้าท่เี หมาะสมในการละลายสารต้านอนุมูลอสิ ระในใบคะน้าเม็กซิโก
วิธกี ารทดลอง
1. นาใบคะนา้ เม็กซโิ กชนิดใบอ่อนแห้ง ปริมาณ 10.5 กรัม แบ่งเป็น 7 สว่ น นาแต่ละสว่ นไปป่นั แช่

ในน้าอณุ หภมู เิ ร่มิ ต้นที่ 50, 60, 70, 80, 90, 100 องศา และอณุ หภูมิหอ้ ง เปน็ เวลา 15 นาที แล้วนามาปั่น
เหวยี่ ง 1 นาที 3,800 รอบ

2. ได้สารสกดั จากใบคะนา้ เม็กซิโกแหง้ ทีมีนา้ เป็นตัวทาละลายท่อี ุณหภูมนิ า้ เร่มิ ตน้ ตา่ งกนั
3. นาสารสกดั ใบคะน้าแมก็ ซโิ ก ไปตรวจสอบสารต้านอนมุ ลู อสิ ระ ABTS โดยการปเิ ปต ABTS
ปรมิ าณ 1.462 ไมโครลติ ร กบั สารสกัดใบคะนา้ เมก็ ซโิ ก ปริมาณ 30 ไมโครลติ ร
5. วดั คา่ มาตรฐานการตา้ นอนมุ ลู อิสระดว้ ยเครื่อง อัลตราไวโอเลตวสิ ิเบลิ สเปกโตรโฟโตรมเิ ตอร์ (UV-
Visible Spectrophotometer)
6. สงั เกต บนั ทกึ ผล และตรวจสอบซา้ 3 รอบ

ขน้ั ตอนที่ 7 ศกึ ษาวิธีการผลติ และตรวจสอบประสทิ ธภิ าพ ชาคะนา้ เม็กซโิ กตา้ นสารอนมุ ลู อสิ ระ
วธิ กี ารทดลอง
1. นาใบคะน้าเม็กซิโกล้างสะอาดแล้ว แล้วนาไปอบลมรอ้ นทอี่ ุณภมู ิ 60 องศา 6 ช่วั โมง
2. ไดใ้ บคะนา้ เมก็ ซโิ กอบแห้ง แล้วนาไปบดหยาบ แลว้ ชงั่ ปรมิ าณ 1.5 กรมั บรรจใุ ส่ถุงชา
3. นาถงุ ชาไปฆา่ เช้ือที่ตู้อบ (Hot Air Oven) ด้วยอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซยี ส แล้วบรรจใุ นซองท่ี

ออกแบบ

4. นาถุงชาคะน้าเม็กซิโก ไปตรวจสอบประสทิ ธภิ าพ กับชาทช่ี ายในตลาด โดยเก็บขอ้ มูลกับ
ผู้ปกครอง นกั เรียน และครูจานวน 50 คน แล้วตอบแบบประเมิน แลว้ นามาวเิ คราะห์ข้อมลู

5. นาใบคะน้าเม็กซโิ กมาลา้ งให้สะอาด นามาหัน่ แลว้ นาไปอบลมรอ้ นที่อุณหภมู ิ 60 องศาเซนเซียส
นาน 6 ชว่ั โมง แล้วนาไปบรรจขุ วด ตดิ ฝาใหส้ นทิ ติดฉลากตามทอี่ อกแบบไว้

6. ทาซา้ ขอ้ ท่ี 4

บทท่ี 4
ผลการทดลอง

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ชาต้านอนุมลู อิสระจากใบคะน้าเมก็ ซโิ ก คณะผู้จัดทาได้ดาเนนิ การตาม

ศกึ ษาเพ่อื ตรวจสอบจดุ ประสงค์ ทงั้ สน้ิ 7 ชนั้ ตอน ไดผ้ ลการศึกษาดงั นี้

ข้ันตอนที่ 1 เพ่อื ศกึ ษาผลการต้านอนุมลู อสิ ระในใบคะนา้ เม็กซิโก

ตารางท่ี 1 แสดงค่าการดูดกลืนแสงยูวที ี่ 734 นาโนเมตร ของสารสกดั จากใบคะนา้ เม็กซิโก

ปรมิ าณ 30 µ ลิตร

สารตัวอยา่ ง คา่ การดดู กลืนแสงของสาร ABTS

ครัง้ ที่ 1 ครงั้ ที่ 2 ครั้งที่ 3 ค่าเฉลย่ี

สาร ABTS 0.735 0.725 0.743 0.734

สารสกดั จากใบคะนา้ เมก็ ซิโก 0.081 0.082 0.051 0.071

จากตารางท่ี 1 พบวา่ สารสกดั จากใบคะนา้ เมก็ ซโิ ก มีค่าการดูดกลนื แสงลดลง มีค่าเฉลีย่ ท่ี 0.071 แสดงถึง
การต้านอนุมูลอสิ ระไดด้ ี

ข้นั ตอนที่ 2 เพอ่ื ศึกษาการตา้ นอนุมูลอิสระของใบคะนา้ เม็กซโิ กท่ีมอี ายุใบต่างกนั

ตารางที่ 2 แสดงแสดงคา่ การดูดกลนื แสงยวู ที ี่ 734 นาโนเมตร ของใบคะน้าเม็กซโิ กทมี่ อี ายุใบแตกตา่ งกนั

ปริมาณ 30 µ ลติ ร

สารตัวอย่าง ค่าการดูดกลนื แสงของสาร ABTS (นาโนเมตร)

คร้ังท่ี 1 ครงั้ ท่ี 2 คร้ังท่ี 3 ค่าเฉล่ยี

สาร ABTS 0.735 0.725 0.743 0.734

สารสกัดจากใบคะน้าเม็กซิโกชนดิ ใบแก่ 0.144 0.197 0.165 0.169

สารสกดั จากใบคะนา้ เมก็ ซโิ กชนดิ ใบกลาง 0.083 0.082 0.080 0.081

สารสกดั จากใบคะน้าเม็กซิโกชนดิ ใบอ่อน 0.081 0.082 0.051 0.071

จากตารางที่ 2 พบวา่ สารสกัดจากใบคะนา้ เมก็ ซโิ ก มีคา่ การดูดกลืนแสงลดลง เรียงตามลาดบั จาก
ลดลงมากสดุ ไปน้อยคอื ใบออ่ น ใบกลาง และ ใบแก่ คา่ เฉลีย่ ที่ 0.071, 0.081, และ 0.169 ตามลาดับ

หมายถงึ สารสกัดจากใบคะนา้ เม็กซโิ กชนดิ ใบอ่อน ใบกลาง และใบแก่ ลดสารต้านอนุมูลอสิ ระไดม้ ากสดุ ไป
น้อยสุดเรยี งตามลาดบั

ขัน้ ตอนที่ 3 เพื่อเปรียบเทยี บปริมาณสารตา้ นอนุมลู อสิ ระในใบอ่อนของคะน้าเมก็ ซิโกชนดิ ใบสด และ
แหง้
ตารางท่ี 3 แสดงแสดงค่าการดูดกลืนแสงยูวที ่ี 734 นาโนเมตร โดยเปรียบเทียบการตา้ นอนุมูลอสิ ระในใบ
ออ่ นคะน้าเมก็ ซิโกชนิดใบสด และแห้ง

สารตวั อย่าง ค่าการดดู กลืนแสงของสาร ABTS

คร้ังท่ี 1 คร้งั ท่ี 2 คร้ังที่ 3 ค่าเฉลยี่

สาร ABTS 0.735 0.725 0.743 0.734

สารสกัดจากใบคะนา้ เม็กซิโกชนิดใบอ่อน 0.081 0.082 0.051 0.071
สด

สารสกัดจากใบคะน้าเม็กซิโกชนิดใบอ่อน 0.078 0.068 0.074 0.072
แหง้

จากตารางที่ 3 พบวา่ สารสกดั จากใบคะน้าเม็กซโิ ก มคี า่ การดดู กลนื แสงลดลง โดยชนดิ ใบสดลดลงได้
มากกวา่ ชนิดใบแห้ง เฉลี่ยท่ี 0.071 และ 0.072 ตามลาดับ หมายถึง สารสกดั จากใบคะน้าเม็กซโิ กชนิดใบ
ออ่ นสด ลดสารต้านอนุมูลอสิ ระได้มากกว่าใบแห้ง แต่แตกต่างกนั เลก็ น้อย ที่ 0.001

ขน้ั ตอนที่ 4 เพื่อศึกษาชนิดของตวั ทาละลายสารตา้ นนมุ ูลอิสระในใบคะนา้ เม็กซิโก
ตารางที่ 4 แสดงคา่ การดดู กลนื แสงยวู ีท่ี 734 นาโนเมตร ของตวั ทาละลายสารตา้ นอนุมูลอสิ ระในใบคะนา้
เมก็ ซิโกชนดิ ใบออ่ นแหง้ ทแี่ ตกตา่ งกนั

สารตัวอย่าง ค่าการดดู กลืนแสงของสาร ABTS

ครงั้ ท่ี 1 ครง้ั ที่ 2 ครั้งที่ 3 ค่าเฉลย่ี

สาร ABTS 0.735 0.725 0.743 0.734

สารสกดั จากใบคะน้าเมก็ ซิโกดว้ ยเอธลิ อลั กอ 0.081 0.082 0.061 0.075
ฮอร์

สารสกดั จากใบคะนา้ เมก็ ซโิ กด้ ้วยน้าเปลา่ 0.077 0.078 0.077 0.077

จากตารางที่ 4 พบว่า สารสกดั จากใบคะนา้ เมก็ ซิโกที่สกัดดว้ ยเอธลิ อลั กอฮอล์ มคี ่าการดดู กลืนแสง
ลดลง มากกว่าสกดั ด้วยนา้ เปลา่ คา่ เฉลี่ยที่ 0.075 และ 0.077 ตามลาดับ หมายถงึ สารสกดั จากใบคะน้า
เมก็ ซโิ กด้วยเอธิลอัลกอฮอล์ ลดสารตา้ นอนมุ ลู อสิ ระได้มากกว่าสกดั ด้วยนา้ เปล่า แตแ่ ตกตา่ งกนั เลก็ น้อย ท่ี
0.002

ขัน้ ตอนท่ี 5 เพ่ือศึกษาระยะเวลาทเี่ หมาะสมในการละลายสารต้านอนมุ ูลอิสระในใบคะน้าเมก็ ซิโกท่ีแช่ใน

น้าเปลา่

ตารางท่ี 5 แสดงค่าการดดู กลืนแสงยวู ที ี่ 734 นาโนเมตร ของใบคะนา้ เม็กซิโกที่แชใ่ นตวั ทาละลายทีเ่ วลา

แตกตา่ ง กัน ปริมาณ 30 µ ลติ ร

ระยะเวลาทแ่ี ช่สารตวั อย่าง ค่าการดูดกลืนแสงของสาร ABTS

(นาท)ี คร้ังท่ี 1 คร้งั ท่ี 2 ครง้ั ที่ 3 คา่ เฉล่ีย

สาร ABTS 0.735 0.725 0.743 0.734

1 0.575 0.652 0.645 0.624

5 0.594 0.582 0.480 0.552

10 0.398 0.450 0.322 0.390

15 0.281 0.352 0.158 0.258

20 0.275 0.255 0.228 0.253

25 0.261 0.242 0.256 0.253

จากตารางที่ 5 พบวา่ สารสกัดจากใบคะน้าเม็กซโิ กท่ีแช่ด้วยตัวทาละลายระยะเวลาต่างกัน มคี ่าการ
ดูดกลืนแสงลดลง เรยี งตามลาดับจากลดมากสดุ และนอ้ ยสดุ 25, 20 และ 1 นาที แสดงวา่ ระยะเวลาท่ีแช่
ใบคะนา้ เมก็ ซิโกที่ระยะ 25 และ 20 นาที ลดปริมาณสารตา้ นอนุมลู อสิ ระได้มากท่ีสดุ รองลงไปคอื 15 นาที

ขัน้ ตอนที่ 6 เพอ่ื ศกึ ษาอณุ หภูมขิ องน้าทเ่ี หมาะสมในการละลายสารตา้ นอนมุ ลู อิสระของใบคะน้าเมก็ ซโิ ก

ตารางท่ี 6 แสดงค่าการดูดกลนื แสงยวู ที ี่ 734 นาโนเมตร ของใบคะนา้ เมก็ ซิโกทแี่ ชใ่ นนา้ อุณหภูมเิ ร่มิ ต้น

แตกตา่ งกนั ระยะเวลา 15 นาที ปรมิ าณ 30 µ ลิตร

อุณหภมู เิ รม่ิ ต้นทีแ่ ขใ่ บคะนา้ เม็กซโิ ก ค่าการดดู กลนื แสงของสาร ABTS

(องศาเซนเซียส) ครัง้ ท่ี 1 คร้งั ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 คา่ เฉลยี่

สาร ABTS 0.735 0.725 0.743 0.734

อุณหภูมเิ ร่มิ ต้น 0.675 0.652 0.655 0.661

50 0.694 0.584 0.460 0.579

60 0.398 0.450 0.422 0.423

70 0.261 0.256 0.211 0.242

80 0.245 0.255 0.226 0.242

100 0.241 0.242 0.244 0.242

จากตารางที่ 6 พบวา่ สารสกดั จากใบคะนา้ เม็กซโิ กท่ีแชด่ ้วยตวั ทาละลายที่อณุ หภมู ิต่างกัน มคี ่าการ
ดดู กลืนแสงลดลง จากลดมากสดุ ไปน้อยคอื 100, 80, 70, และ อุณหภมู ิห้อง ตามลาดับ

ขนั้ ตอนที่ 7 ศึกษาวิธกี ารผลติ และตรวจสอบประสทิ ธิภาพ ชาคะน้าเมก็ ซโิ กต้านสารอนมุ ลู อิสระ

ตารางท่ี 7 แสดงความพึงพอใจต่อผลติ ภัณฑ์ ชาคะน้าเม็กซิโก

ความพงึ พอใจในดา้ นผลิตภัณฑ์ ระดบั ความพึงพอใจ คา่ เฉลย่ี แปลผล

พงึ พอใจ พงึ พอใจ เฉย ๆ ไมพ่ ึง ไม่พึง ( )
มากท่ีสุด มาก พอใจ พอใจมาก

1. ด้านกล่นิ สี และรสชาติ

1) กลิน่ ของชาก่อนนาไปชง 38 10 2 4.70 พึงพอใจมาก
ทส่ี ุด

2) กล่ินของนา้ ชาเมื่อชง 42 8 4.84 พึงพอใจมาก
ท่สี ดุ

3) สีของนา้ ชาเมอื่ ชง 48 2 4.96 พงึ พอใจมาก
ท่สี ดุ

4) รสชาตขิ องนา้ ชา 50 5.00 พงึ พอใจมาก
ทีส่ ุด

2. ดา้ นบรรจุภัณฑ์

1) ความสะดวกในการพกพาของ 50 5.00 พงึ พอใจมาก
บรรจุภณั ฑ์ ท่สี ดุ

2) ความสวยงามของบรรจุภัณฑ์ 38 6 6 4.64 พึงพอใจมาก
ที่สุด

3. ดา้ นความปลอดภัย

1) ปราศจากผลขา้ งเคยี ง (ท้องอืด, 50 5.00 พึงพอใจมาก
ท้องเสีย) ทีส่ ุด

2) ความใสสะอาดของนา้ ชา (ไมม่ ี 50 5.00 พงึ พอใจมาก
เศษผง) ที่สดุ

คา่ เฉลยี่ ความพงึ พอใจทีม่ ีต่อผลติ ภัณฑโ์ ดยรวม 4.89 พงึ พอใจมาก
ทีส่ ดุ

จากตารางท่ี 7 พบวา่ ค่าเฉลย่ี ความพึงพอใจโดยรวมท่มี ีตอ่ ผลติ ภัณฑ์ชาคะน้าเม็กซโิ ก อยทู่ ี่ 4.89

ระดับความพึงพอใจมาก

ตารางท่ี 8 แสดงการศึกษาประสทิ ธภิ์ าพของชาคะนา้ เม็กซิโก กับชาที่ขายทั่วไปตามตลาด

รายการประเมนิ ระดบั ความพงึ พอใจ คา่ เฉล่ีย แปลผล

พงึ พอใจ พงึ พอใจ เฉย ๆ ไม่พึง ไมพ่ งึ ( )
มากท่สี ดุ มาก พอใจ พอใจมาก

1) กล่ินของชาก่อนชงมคี วามหอม 45 3 2 4.86 พงึ พอใจ
เมอ่ื เทียบกับชาจากท้องตลาด มากทส่ี ดุ

2) กลน่ิ ของชาชงมีความหอมเมอื่ 38 10 2 4.72 พึงพอใจ
มากท่ีสุด
เทยี บกบั ชาจากใบชาจากท้องตลาด

3) สีสันนา่ รบั ประทานเม่ือเทียบกับ 35 13 2 4.86 พึงพอใจ
ชาจากใบชาจากทอ้ งตลาด มากทส่ี ดุ

4) มรี สชาตทิ ี่ดีเมือ่ เทยี บกับชาจากใบ 35 8 7 4.56 พงึ พอใจ
ชาจากทอ้ งตลาด มากที่สดุ

5) บรรจุภณั ฑช์ าเทยี บกับชาตาม 35 8 7 4.56 พงึ พอใจ
ทอ้ งตลาด มากทส่ี ดุ

ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจที่มตี อ่ ผลิตภณั ฑ์โดยรวม 4.71 พงึ พอใจ
มากทส่ี ุด

จากตารางท่ี 8 พบวา่ ค่าเฉล่ียความพงึ พอใจโดยรวมท่มี ตี ่อประสทิ ธภ์ิ าพของชาคะน้าเมก็ ซโิ ก อย่ทู ี่ 4.71
ระดบั ความพึงพอใจมากที่สดุ

บทท5ี่
สรุป และอภิปรายผล

การศกึ ษาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ เรื่อง ชาตา้ นอนุมลู อิสระจากใบคะน้าเมก็ ซโิ ก คณะผูจ้ ัดทาได้
ดาเนนิ การตามข้นั ตอนเพื่อตรวจสอบสมมุติฐาน 7 ข้อ ดงั น้ี

1. เพื่อศึกษาผลการต้านอนุมลู อสิ ระในใบคะน้าเม็กซโิ ก
2. เพอ่ื ศึกษาการตา้ นอนุมูลอสิ ระของใบคะนา้ เมก็ ซโิ กทม่ี ีอายุใบต่างกนั
3. เพอ่ื เปรียบเทียบปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระในใบออ่ นของคะนา้ เม็กซโิ กชนดิ ใบสด และแห้ง
4. เพอ่ื ศึกษาชนิดของตัวทาละลายสารตา้ นนมุ ลู อิสระในใบคะน้าเมก็ ซโิ ก
5. เพือ่ ศึกษาระยะเวลาทเ่ี หมาะสมในการละลายสารตา้ นอนมุ ลู อสิ ระในใบคะนา้ เมก็ ซโิ กท่แี ช่ในนา้ เปล่า
6. เพื่อศกึ ษาอุณหภมู ิของน้าทเ่ี หมาะสมในการละลายสารตา้ นอนมุ ูลอิสระของใบคะน้าเมก็ ซโิ ก
7. เพอ่ื ศกึ ษาวธิ กี ารผลติ และตรวจสอบประสทิ ธิภาพ ชาคะนา้ เมก็ ซโิ กตา้ นสารอนมุ ูลอสิ ระ

สรปุ ผลการศึกษา
1. ใบคะน้าเม็กซิโกสามารถตา้ นอนมุ ูลอิสระได้
2 ใบคะนา้ เมก็ ซิโกชนิดใบอ่อนสามารถต้านอนมุ ลู อสิ ระได้มากกว่าชนดิ ใบกลาง และใบแก่
3 ใบคะน้าเม็กซโิ กชนดิ ใบสดต้านอนมุ ูลอสิ ระได้ไม่แตกตา่ งจากชนิดใบอบแหง้
4 เอธลิ อัลกอฮอล์ ละลายสารตา้ นอนมุ ูลอิสระในใบคะน้าเม็กซิโกไดด้ ีกว่านา้
5. ระยะท่ีเหมาะสมในการแช่ใบคะนา้ เมก็ ซโิ กในน้าคือ 15 นาที
6. อณุ หภมู ขิ องนา้ ที่เหมาะสมในการละลายสารต้านอนมุ ลู อสิ ระในใบคะน้าเมก็ ซโิ ก คอื 70

องศาเซนเซียส
7. ความพึงพอใจทมี่ ตี ่อผลิตภณั ฑช์ าคะนา้ เม็กซโิ ก อยู่ในระดบั พงึ พอใจมากที่สุด และมีประสิทธ์ภิ าพ

ดีมากเทา่ กับชาทีข่ ายตามทอ้ งตลาด

อภปิ รายผลการทดลอง
1. ใบคะนา้ เม็กซโิ กสามารถต้านอนมุ ูลอสิ ระได้ เนอ่ื งจากสารสกัดจากใบคะน้าเม็กซโิ ก ไปทาให้ สาร

ABTS มีคา่ การดดู กลืนแสงลดลงจากเดิม แสดงถึงการต้านอนมุ ูลอสิ ระไดด้ ี ทงั้ น้ีเนอ่ื งจากสารตา้ นอนมุ ูลอิสระ
ในใบคะนา้ เมก็ ซโิ ก ไปทาลายอนุมูลอสิ ระ ABTS 2,2'-Azino-bis (3-ethylbenzthiazoline-6-sulphonic
acid) จากสารละลายนีม้ ีสเี ขยี ว ดดู กลนื แสงไดด้ ีทีค่ วามยาวคล่ืน 734 นาโนเมตร (nm) เม่ือ ABTS ทา
ปฏกิ ิริยากับสารทีม่ ฤี ทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ สีของสารละลายสเี ขียวจะเปล่ียนเป็นสีใส เมือ่ วัดคา่ การดูดกลนื แสง
จะลดลง เพราะฉะน้นั ผลการศกึ ษาสารต้านอนุมลู อสิ ระในผลิตภณั ฑ์ชาใบคะน้าเมก็ ซิโก ความเขม้ ข้นของ
สารละลาย ABTS สเี ขียวลดลง

2. สารสกดั จากใบคะน้าเมก็ ซโิ กชนิดใบอ่อนสามารถตา้ นอนมุ ูลอิสระได้มากกวา่ ใบกลาง และใบแก่
เนือ่ งจากมีสารตา้ นอนุมลู อิสระปรมิ าณมากกว่าไปทาปฏกิ ริ ิยากบั อนมุ ูลอสิ ระ ( ABTS ) ซง่ึ วัดไดจ้ ากค่าการ
ดดู กลืนแสงท่ีลดลง อกี ทง้ั สารต้านอนุมลู อสิ ระในใบอ่อนคะนา้ เม็กซโิ กแหง้ ให้ผลไม่แตกตา่ งจากใบอ่อนสด
ซึ่งวธิ กี ารตรวจสอบโดยการใช้สารอนุมูลอสิ ระ ABTS เชน่ เดียวกับการศกึ ษาของนนั ธดิ า ลิม่ เสฎโฐ (2560)
ศกึ ษาฤทธิต์ ้านอนุมูลอิสระของชาสมุนไพรจากพชื 3 ชนิด ได้แก่ ใบชา ชาใบหม่อน และชาใบมะรมุ นาสาร
สกดั ทไี่ ด้ไปวเิ คราะหห์ าปรมิ าณสารประกอบฟีนอลกิ รวมและฤทธต์ิ ้านอนมุ ูลอสิ ระโดยวธิ ี DPPH assay และ
ABTS assay จากการศกึ ษาพบวา่ สารสกัดใบชามีปริมาณสารประกอบฟนี อลกิ รวมสูงสดุ ที่ 2 นาที และมฤี ทธิ์
ต้านอนมุ ูลอสิ ระ DPPH และ ABTS สูงสดุ ท่ีเวลา 60 นาที

3. ความพงึ พอใจท่ีมีต่อผลิตภณั ฑช์ าคะน้าเม็กซโิ ก อยู่ในระดบั พงึ พอใจมากทส่ี ดุ และเมอ่ื ทดสอบ
ประสทิ ธ์ิภาพของชาคะนา้ เม็กซโิ ก ผลการวเิ คราะห์พบว่าผู้ทดสอบมคี วามพึงพอใจมากทส่ี ุดเท่ากบั ชาทข่ี าย
ตามทอ้ งตลาด สอดคลอ้ งกับการศึกษาของ กฤตยิ า ไชยนอก ได้ศึกษา การศึกษาฤทธท์ิ างเภสชั วิทยาพบว่า
คะนา้ เมก็ ซิโกมีฤทธิต์ า้ นจุลชพี หลายชนดิ มีฤทธต์ิ า้ นการอกั เสบ ช่วยปกปอ้ งหลอดเลอื ดและหวั ใจ ต้านอนมุ ูล
อิสระ ลดน้าตาลในเลอื ด และลดไขมันในเลอื ด แต่ท้ังหมดเปน็ การศกึ ษาในรูปแบบของสารสกดั และ
สารสาคญั ท่ีแยกไดจ้ ากส่วนใบ เชน่ สารในกลุม่ flavonoids, alkaloids และยังเป็นเพียงการศกึ ษาในระดบั
หลอดทดลองและสัตว์ทดลอง

ประโยชน์
1. ช่วยเพิ่มมลู คา่ ให้กบั ผกั คะน้าเม็กซิโก
2. ชว่ ยแกป้ ัญหา และสรา้ งความเชอื่ ม่นั ให้กับผู้บรโิ ภคทีต่ ้องการสารต้านอนมุ ลู อสิ ระ หาไดง้ า่ ยใน

ท้องถน่ิ และประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย
3. สามารถนาไปผลติ เปน็ สนิ ค้า สร้างอาชพี ในครอบครัวได้
4. สามารถนาไปพัฒนาตอ่ ยอดผลติ เปน็ สินค้าอ่นื เชน่ ผงปรุงรสอาหาร นา้ ปรงุ สาเรจ็ รปู ประกอบ

อาหาร หรือใช้เป็นส่วนประกอบในอาหารสาเรจ็ รปู เพื่อสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ครอบครวั หรอื เปน็ สินคา้ OTOP
ของชุมชนต่อไป

เอกสารอา้ งองิ

กฤติยา ไชยนอก . (ม.ป.ป.). การศกึ ษาฤทธท์ิ างเภสัชวิทยาของคะนา้ เมก็ ซโิ ก. หลกั สตู รวิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เครอื่ งสาอาง มหาวิทยาลยั แม่ฟ้าหลวง.

กระทรวงสาธารณสขุ . (2555). แนะกิน “กล้วยไข่” อร่อยดมี ีสารต้านมะเรง็ . [Online]. Available:
https://mgronline.com/qol/detail/9550000126324. [ธันวาคม 25, 2560].

จนั ทมิ า นามโชติ. (2555). ประสทิ ธิภาพของสารสกัดหยาบกง่ิ มะขวิดทมี่ ฤี ทธ์ิต้านอนุมูลอสิ ระ.
สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์.

จนั ทร์เพญ็ บุตรใส และเสนห่ ์ บวั สนิท. (2555). การศกึ ษาปัจจัยท่ีผลตอ่ กระบวนการผลติ กล้วยอบมว้ น.
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรม
เกษตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ .
เจนจิรา จริ ัมย์ และประสงค์ สหี านาม. (2554). อนมุ ลู อสิ ระและสารตา้ นอนุมูอิสระ: แหล่งทมี่ าและกลไก การ

เกดิ ปฏิกริ ยิ า. วารสารวิชาการมหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาฬสนิ ธ์ุ, 1(1), 59-70.
ชมพนู ทุ สินธพุ ิบูลยกจิ และคณะ. (2557). ฤทธิต์ า้ นอนุมูลอสิ ระในผลติ ภณั ฑช์ าสมนุ ไพรชนดิ ปรุงสาเร็จ

พร้อมบริโภคและชนดิ อบแห้งบรรจุซองพรอ้ มชง. คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลยั หวั เฉียว
เฉลิมพระเกยี รติ.
ดวงพร อมรเลศิ พศิ าล และคณะ. (2555). ผลของสาหร่ายเตาตอ่ ระบบตา้ นอนมุ ูลอิสระและเอนไซม์
กาจัดสารพิษในปลานิล. คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนา้ มหาวิทยาลยั แม่โจ้.
ดวงพร อมรเลิศพิศาล, รัตนาภรณ์ จันทร์ทพิ ย์ และอุเทน จาใจ. (2559). ฤทธ์ติ า้ นอนุมลู อสิ ระและสาร
สาคัญ ในผลิตภณั ฑ์เครือ่ งดม่ื จากชาปลีกล้วย. คณะเทคโนโลยกี ารประมงและทรัพยากรทางน้า
มหาวิทยาลยั แม่โจ้.
ธวัลรัตน์ โถงโฉม และคณะ. (2559). การศึกษาฤทธต์ิ า้ นอนุมลู อิสระและสารประกอบฟนี อลิกทง้ั หมดจาก
กล้วย 5 สายพันธุ์. การประชมุ วิชาการดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ประจาปี 2559. กาแพงเพชร:
มหาวิทยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร .
ธรี พงษ์ เทพกรณ์. (2556). คาเทชินในชาเขียวและความคงตวั ระหวา่ งเกบ็ รกั ษา. วารสารวทิ ยาศาสตร์
มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ , 41(1), 46-55.
ธรี พงษ์ เทพกรณ์. (2557). ความคงตัวของคาเทชินระหว่างกระบวนการผลติ ชาเขียวและเครอ่ื งดื่มชา
เขียว . วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 19(2), 189-198.

บรรณานุกรม (ตอ่ )

นันท์ชนก นนั ทะไชย, อนิ ทิรา ลจิ นั ทรพ์ ร และปาลิดา ต้ังอนุรกั ษ์. (2556). ความสามารถในการต้าน
อนมุ ลู อสิ ระของชาชงจากเปลือกสม้ โอ . คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลธญั บรุ ี .
นนั ธิดา ล่ิมเสฎโฐ. (2557). สารต้านอนมุ ูลอิสระในผลิตภัณฑ์จากใบชา ใบหมอ่ น และใบมะรมุ . คณะ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา .
นพิ ัฒน์ ลิ้มสงวน. (2547). การศึกษากระบวนการสกดั คณุ สมบตั ิในการเป็นสารยับยงั้ จุลนิ ทรยี ์ และ

สารต้านอนุมลู อสิ ระของคาเทชนิ จากชาเขยี วของไทย. สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัย
ศลิ ปากร.
บงั อร วงศ์รกั ษ์ และศศิลกั ษณ์ ปิยะสวุ รรณ.์ (2549). ฤทธิ์ต้านอนุมลู อสิ ระของผักพน้ื บา้ น. คณะ
เภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล.
บุษรา ใจยศ. (2551). การวเิ คราะหต์ น้ ทุนและผลตอบแทนการผลิตกล้วยไข่ในจังหวดั ตาก. ปริญญา
นิพนธเ์ ศรษฐศาสตรมหาบณั ฑิต , มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. กรุงเทพฯ.
ปฏวิ ทิ ย์ ลอยพมิ าย, ทิพวรรณ ผาสกลุ และราตรี มงคลไทย. (2554). เปรยี บเทียบฤทธก์ิ ารต้านอนุมลู
อิสระและสารประกอบฟนี อลกิ รวมของเปลือกผลไม้. สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
การอาหาร คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั บ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
ปริยานชุ อินทร์รอด. (2551). ฤทธิ์ตา้ นออกซิเดชนั และปริมาณสารประกอบฟีนอลกิ รวมของส่วนสกัด จาก
ตน้ เรว่ หอมและวา่ นสาวหลง. สาขาวชิ าชวี เคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา.

ภาคผนวก

ภาพประกอบการศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง ชาต้านอนุมลู อิสระจากใบคะนา้ เมก็ ซโิ ก
ใบคะนา้ เม็กซโิ ก ชนิดพันธ์ตุ วั เมีย

ชนดิ ใบของคะนา้ เม็กซิโก ใบแก่ ใบกลาง และใบออ่ น

เปรยี บเทยี บลักษณะของใบคะน้าเมก็ ซิโก ชนดิ ใบอ่อน ใบกลาง ใบแก่ และ ใบแหง้
สารสกดั จากใบคะนา้ เมก็ ซโิ ก ชนดิ อายุใบตา่ งกัน

นาสารสกดั จากคะน้าเม็กซิโก เขา้ เครื่องป่ันเหวี่ยง
คณะผจู้ ัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์และครทู ปี่ รึกษา

ปฏบิ ัตกิ ารนาสารสกัดเขา้ เคร่อื งป่นั เหว่ยี งเพ่อื ใหส้ ารละลายที่ไดใ้ ส เพ่อื ความเชื่อม่นั ของการทดสอบ

ปฏบิ ตั กิ ารนาสารสกัดสาร และตรวจสอบการตา้ นอนมุ ูลอสิ ระ วดั คา่ ความเข้มของแสง

ใบคะนา้ เม็กซโิ กห่นั เขา้ เคร่อื งอบลมรอ้ น ที่อณุ หภูมิ 60 องศาเซนเซียส ใชร้ ะยะเวลา 2 วนั


Click to View FlipBook Version