The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ครูเอื้อ สุนทรสนาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sujeeranut Rekharuchi, 2022-07-12 09:44:41

ครูเอื้อ สุนทรสนาน

ครูเอื้อ สุนทรสนาน

ครูเอื้อ สุนทรสนาน

จัดทำโดย บุคคลสำคัญของวงการนาฏศิลป์
นางสาว สุจีรณัฐ เรขะรุจิ และละครไทย
ม.5/4 เลขที่ 23

เอื้อ สุนทรสนาน

21 มกราคม พ.ศ. 2453
– 1 เมษายน พ.ศ. 2524

เป็นนักร้องและนักประพันธ์เพลงชาวไทย
เคยเป็นหัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์ และผู้ก่อตั้ง
สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์

ใน พ.ศ. 2550
กระทรวงวัฒนธรรม ได้เสนอต่อ
อ ง ค์ ก า ร ยู เ น ส โ ก ใ น ว า ร ะ ค ร บ ร อ บ
100 ปี ชาตกาล เพื่อให้เป็นบุคคล
ดีเด่นของโลก และได้รับยกย่องเป็น
บุ ค ค ล สำ คั ญ ข อ ง โ ล ก ส า ข า วั ฒ น ธ ร ร ม
ดนตรีไทยสากล ใน พ.ศ. 2552

เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2453 ประวัติชีวิต
ณ ตำบลโรงหีบ อำเภออัมพวา
จังหวัดสมุทรสงคราม เรียนหนังสือที่โรงเรียนวัดใหม่ราษฎร์บูรณะในจังหวัด
สมุทรสงคราม เมื่อเข้าศึกษาได้เพียงปีเศษ ใน พ.ศ. 2460
มีนามเดิมว่า "ละออ" บิดาได้พาเข้ากรุงเทพมหานคร พักอาศัยอยู่กับหมื่นไพเราะ
ต่อมา บิดาให้นามใหม่เป็น "บุญเอื้อ" พจมาน ผู้เป็นพี่ชาย ซึ่งรับราชการเป็นคนพากย์โขนในกรม
และได้มาเปลี่ยนอีกครั้ง มหรสพ ต่อมาเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดระฆังโฆสิตารามจนจบชั้น
ในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น "เอื้อ" ประถมศึกษา
ซึ่งเป็นระยะเวลาเดียวกับที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
ต่อมาได้รับพระราชทานนามสกุล "สุนทรสนาน" เจ้าอยู่หัวทรงตั้งโรงเรียนพรานหลวง ขึ้นที่สวนมิสกวัน
จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสอนวิชาสามัญตามปกติ (ภาคเช้า) และวิชาดนตรี
ทุกประเภท (ภาคบ่าย)

ครูเอื้อเลือกเรียนดนตรีฝรั่งตามความถนัด
กับครูผู้ฝึกสอนคือ ครูโฉลก เนตตะสุต และ อาจารย์ใหญ่ คือ
อาจารย์พระเจนดุริยางค์

หลังจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในปี พ.ศ. 2465 พระเจนดุริยางค์เห็นว่า จากงานใหญ่ที่สร้างชื่อเสียง
มีความสามารถพิเศษทางด้านดนตรี จึงให้หัดไวโอลิน และแซ็กโซโฟน จึงมีความคิดตั้งวงดนตรีขึ้น
ทั้งยังให้เปลี่ยนมาเรียนดนตรีเต็มวัน ส่วนวิชาสามัญนั้นให้งดเรียน ในปีถัดมา เรียกชื่อวงตาม
ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นต้นมา จุดกำเนิดคือ " ไทยฟิล์ม "
ตามชื่อบริษัทหนัง แต่ต้อง
สองปีต่อมา เมื่ออายุได้เพียง 12 ขวบ ได้เข้ารับราชการประจำกอง สลายตัวเมื่อไทยฟิล์มเลิกกิจการ
เครื่องสายฝรั่งหลวงในกรมมหรสพ กระทรวงวัง รับพระราชทานยศ ไปหลังจากนั้นเพียงปีเศษ
เป็น "เด็กชา" และได้เลื่อนขึ้นไปเล่นวงใหญ่ อีกทั้งสองปีต่อมาก็ได้รับ
พระราชทานยศ "พันเด็กชาตรี" และ "พันเด็กชาโท" ในปีถัดไป จากนั้นไปอีก 1 ปี ทางราชการตั้งกรมโฆษณา
การ เผยแพร่ผลงานของรัฐบาลทางวิทยุ
พ.ศ. 2475 ได้โอนไปรับราชการสังกัดกรมศิลปากรในสังกัด กระจายเสียง ครูเอื้อได้เป็นหัวหน้าวงดนตรี
กองมหรสพ ของกรมฯ และได้เป็นข้าราชการของกรม
โฆษณาการ หรือกรมประชาสัมพันธ์ในปัจจุบัน
ได้ร่วมงานกับคณะละครร้องที่มีชื่อเสียงในยุคนั้น เช่น คณะของ
แม่เลื่อน ไวณุนาวิน และได้แต่งทำนองเพลง ยอดตองต้องลม ขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2482 จนเกษียณราชการในปี
นับเป็น เพลงแรกที่แต่งทำนอง (เฉลิม บุณยเกียรติ ใส่คำร้อง) พ.ศ.2513 ในตำแหน่งหัวหน่าแผนกบันเทิงต่าง
ในปีเดียวกันนั้นได้ขับร้องเพลง นาฏนารี (คู่กับ นางสาววาสนา ประเทศ ทางกรมประชาสัมพันธ์ได้จ้างพิเศษให้
ละออ) ซึ่งถือว่าเป็น เพลงแรกที่ได้ขับร้องบันทึกเสียง ดำรงตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญการดนตรีต่ออีก 2 ปี

จนอายุได้ 26 ปี ใน พ.ศ. 2479 มีโอกาสเล่นดนตรีประกอบภาพยนตร์ เมื่อหมดภาระหน้าที่ราชการ ครูเอื้อได้รับ
เสียงในฟิล์ม "ถ่านไฟเก่า" สร้างโดยบริษัทไทยฟิล์ม พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น
(ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล, หลวงสุขุมนัย สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม
ประดิษฐ์, นายพจน์ สารสิน และนายชาญ บุนนาค) พ.ศ.2516 ด้วยพื้นฐานทางดนตรี ทั้งไทยเดิม
และยังได้ร้องเพลง ในฝัน แทนเสียงร้องของพระเอก ต่อมาได้เป็น และไทยสากล ทำให้ครูเอื้อผสมผสานเส้นทาง
หัวหน้าวงดนตรีฟิล์มด้วย ดนตรีทั้งสองแบบขึ้นมา มีจุดพบกึ่งกลางที่
ดนตรีแบบไทยสากล คือมีการเรียบเรียงเสียง
ประสานและจังหวะลีลาศแบบสากล แต่ก็มีเนื้อ
ร้องและวิธีการร้องแบบไทย เช่น การเอื้อน
เสียงในการร้อง

นอกจากนี้ครูเอื้อดัดแปลงท่วงทำนองเพลง
ไทยเดิมให้เหมาะสมกับยุคสมัยใหม่ เล่นด้วย
เครื่องดนตรีสากล และร้องตามแบบสากลได้
อย่างเหมาะสมกลมกลืน จนเป็นแบบฉบับ
เฉพาะตัว เพลงเหล่านี้ส่วนใหญ่จะตั้งชื่ิอให้มี
เค้าเดิมของที่มา เช่น เพลง "พรพรหม" ดัดแปลง
จาก "แขกมอญบางขุนพรหม" "เสี่ยงเทียน"
ดัดแปลงจาก "ลาวเสี่ยงเทียน" "ทะเลบ้า"
ดัดแปลงจาก "ทะเลบ้า สองชั้น"

ครูเอื้อ สุนท

กับฝีมือแล

ครูเอื้อจึงได้ก่อตั้งวงดนตรีส่วนตัว เพื่อบรรเลงเพล
นอกเวลาราชการ ตั้งชื่อว่า "สุนทราภรณ์" โดยนำน
"อาภรณ์" ซึ่งเป็นชื่อของธิดาพระยาสุนทรบุรี และคุณ
สตรีผู้ซึ่งต่อมาได้สมรสกับครูเอื้อ ทั้งสองมีธิดาด้วย
สมรสกับ
พลตำรวจโทสันติ เสนะวงค์ มีธิดา 2 คน คือวราภรณ์

วงดนตรีสุนทราภรณ์มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด

หน้าที่การงานที่รัก และภาระหนักเกี่ยวกับอาการป่วยที่รุงแรงขึ้น

ครูเอื้อเป็นทั้งคีตศิลปินสร้างสรรค์ผลงานเพลง และ วันที่ครูเอื้อปลาบปลื้มที่สุดวันหนึ่งในชีวิตนักดนตรีก็
สร้างนักร้องหน้าใหม่ ทั้งชายและหญิงได้ขับร้องเป็น คือ วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2512 ที่ครูเอื้อได้รับ
ดาวเสียงประดับฟ้าไทยจำนวนมากมาย หลายรุ่นด้วย พระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานเหรียญรูปเสมา
กัน แต่ละคนได้ร้องเพลงตามแนวที่ตัวเองถนัดจน ทองที่มีพระปรมาภิไธยย่อ ภ.ป.ร. จากพระหัตถ์ของ
ประสบผลสำเร็จอย่างงดงาม ได้ชื่อว่ามีน้ำเสียงและ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสครบรอบ
เพลงประจำตัวที่เป็นอมตะมาจนทุกวันนี้ 30 วงดนตรีสุนทราภรณ์

นอกจากนี้ท่านยังได้ร่วมงานกับนักแต่งเพลงที่มีฝีมือ ตลอดระยะเวลา 42 ปี ครูเอื้อทำงานทั้งงานราชการ
เลิศ อีกเป็นจำนวนมาก สร้างผลงานเพลงที่ยั่งยืนทั้ง งานประพันธ์เพลงติดต่อกัน และประสานงานกับผู้
ในรูปของละครเพลง และเพลงไทยสากลเป็นจำนวน เกี่ยวข้องในฐานะหัวหน้าวงดนตรี โดยไม่เคยหยุดพัก
กว่าสองพันเพลงตลอดชีวิตการทำงานของครูเอื้อ ผ่อนเลย ปกติครูเอื้อเป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง ไม่เคยล้ม
หมอนนอนเสื่อ และไม่มีโรคประตัว จนกระทั่งถึงปลายปี
นอกเหนือจากความรักในเพลง สิ่งสูงสุดที่บำรุง พ.ศ.2521 เริ่มป่วย แพทย์ได้เอ็กซเรย์ตรวจพบก้อนเนื้อ
จิตใจให้ทำงานได้อย่างไม่เห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อย ร้ายขนาดเท่าลูกเทนนิสที่บริเวณปอดด้านขวา จึงได้เข้า
ตลอดมาคือ พระมหากรุณาธิคุณจากพระบาท รับการรักษา แต่ครูเอื้อก็ยังทำงานตามปกติ จนถึง
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระ ปลายปี พ.ศ.2522 มีอาการทรุดลง จึงเข้ารับการรักษา
นางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ที่โรงพยาบาล และกลับไปรักษาต่อที่บ้าน

รสนาน
ะพรสวรรค์

ลงไทยสากลตามแบบที่ถนัด ในสถานที่ต่างๆ
นามสกุล "สุนทรสนาน" มารวมกับชื่อ
ณหญิงสอิ้ง คือคุณอาภรณ์ กรรณสูต สุภาพ
ยกันคนเดียวคือ คุณอติพร (สุนทรสนาน)

ณ์ และ อรอนงค์

การขับร้องบทเพลงถวาย
ครั้งสุดท้าย ก่อนถึงแก่
อนิจกรรม

ในช่วงปี พ.ศ.2523 ครูเอื้อได้เดินทางพร้อมนายกสมาคม
ดนตรีแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และคณะ
กรรมการไปเข้าเฝ้า ณ พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ จังหวัด
สกลนคร

ได้มีโอกาสขับร้องเพลงถวายเป็นครั้งสุดท้าย เพลงที่ร้อง
ถวายคือเพลง " พรานทะเล " เพลงสุดท้ายที่ครูเอื้อร้อง
บันทึกเสียง อยู่ในชุด "พระเจ้าทั้งห้า" เป็นการรวบรวม
ผลงานเพลงที่ท่านบันทึกเสียงในช่วงปลายชีวิต บางเพลง
ก็อัดไว้ก่อนหน้านั้นแล้ว แต่เพลงอีกส่วนหนึ่งท่านบันทึกใหม่

พร้อมด้วยเพลงสำคัญที่สุดคือเพลง " พระเจ้าทั้งห้า " เพลงนี้ครูเอื้อของให้ครูสุรัจ พุกกะเวส ประพันธ์คำร้อง
โดยบอกความประสงค์เป็นแนวในการใส่คำร้องและบันทึกเทปไว้ให้ ทางวงดนตรีและลูกศิษย์ถือกันว่าเป็นเพลง
ประจำตัวครูเอื้อ

ระหว่างการบันทึกเสียงร้อง ครูเอื้อต้องพักเป็นระยะๆ เพราะมะเร็งลุกลามถึงขั้นสุดท้าย ทำให้หายใจลำบาก ต้องใช้
วิธีตัดต่อเสียงทั้งเพลง แต่ท่านก็ร้องได้จนจบ "คลอด" เสียงไวโอลินที่ไพเราะ "กินใจ" ได้อารมณ์ที่สุด กล่าวกันว่า
เรียกน้ำตาจากผู้ใกล้ชิดครูเอื้อได้ทุกครั้งที่ได้ยิน

ตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ.2523 เป็นต้นมา อาการของครูเอื้อก็ได้ทรุดลงเป็นลำดับ จนถึงวันที่ 1 เมษายน 2524
ท่านก็ถึงแก่กรรมอย่างสงบ รวมอายุได้ 71 ปี 2 เดือน 11 วัน ครูเอื้อ สุนทรสนาน ได้รับพระราชทานโล่เกียรติยศใน
ฐานะศิลปินตัวอย่างผู้ประพันธ์เพลง ประจำปี พ.ศ.2523-2524 แผ่นเสียงทองคำพระราชทาน ครั้งที่ 4 โดยมี คุณ
อติพร เสนาะวงศ์ บุตรี เป็นผู้รับแทน

เกียรติยศ

ได้รับโล่เกียรติยศพระราชทานในฐานะศิลปินตัวอย่าง (ผู้ประพันธ์เพลง) ในงานรางวัลแผ่นเสียงทองคำ
พระราชทาน ครั้งที่ 4 ประจำ พ.ศ. 2523 – 2524 โดยมีนางอติพร เสนะวงศ์ (สุนทรสนาน) บุตรีเป็นผู้รับแทน

และในปี พ.ศ. 2559 กระทรวงวัฒนธรรมได้ประกาศยกย่องเชิดชูเป็น " บูรพศิลปิน สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ สาขา
ศิลปะการแสดง " โดยมีการเชิดชูเกียรติศิลปินผู้ล่วงลับ ซึ่งมีคุณูปการต่องานด้านศิลปวัฒนธรรมของชาติอันเป็น
ที่ประจักษ์ต่อสังคม ควรค่าแก่การเคารพยกย่องซึ่งอนุชนรุ่นต่อมาได้พัฒนาและสืบทอดให้เจริญก้าวหน้ามาจน
ปัจจุบัน ซึ่งในโอกาสดังกล่าวสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรด
กระหม่อมพระราชทานชื่อสำหรับศิลปินผู้ล่วงลับว่า " บูรพศิลปิน "

วีระยศ สำราญสุขทิวาเวทย์ คอลัมนิสต์ประจำคอลัมน์
‘ สโมสรวรรณกรรม ’ ในนิตยสารศิลปวัฒนธรรม เขียนถึง
เอกลักษณ์ของบทเพลงสุนทราภรณ์ว่า

“ ครูเอื้อและบรรดาศิลปินทั้งหลายในยุคนั้น ต่างก็มีครูเพลงและ
ครูดนตรีไทยเดิมเป็นมรดกทางใจกันทั้งสิ้น ดังนั้นดนตรีไทยสากลของ
สุนทราภรณ์จึงเป็นที่รวมของครูและศิลปินนักประพันธ์เพลงและ
ดนตรีที่ดัดแปลงทำนองดนตรีไทยเดิมมาเป็นเพลงสากลด้วยการเล่น
เครื่องดนตรีของตะวันตกได้อย่างไพเราะเสนาะโสต ”


Click to View FlipBook Version