The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pavarit2295, 2021-09-17 03:05:08

666

666

COVID-19

VACCINE

คู่มอื ครอบครัวรอบรอู้ ยู่กับโควดิ 19

สําหรับประชาชนดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
ในภาวะท่มี กี ารระบาดของโควิด 19

ยิง่ รอบรู้ ยิง่ รอด โควิด 19

คูม่ อื ครอบครัวรอบร้อู ยกู่ บั โควดิ 19
สำ�หรบั ประชาชนดูแลสขุ ภาพดว้ ยตนเอง

ในภาวะทม่ี ีการระบาดของโควดิ 19

ISBN 978-616-11-4659-7
พิมพค์ รง้ั ท่ี 1 สงิ หาคม 2564
จดั ท�ำ โดย กองสง่ เสรมิ ความรอบรแู้ ละสอ่ื สารสุขภาพ
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
88/22 ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง
จ.นนทบรุ ี
ดาวนโ์ หลดคู่มือ

https://cutt.ly/LmDSpc0





สาสน์ จาก

นายแพทย์สวุ รรณชัย วฒั นายิง่ เจรญิ ชัย

อธิบดกี รมอนามัย

สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควดิ 19
ในปจั จบุ ันได้เข้าสู่การระบาดระลอก 4 แล้ว เน่อื งจากไวรัสโควิด 19 ได้กลายพันธ์ุ
ตามความรุนแรงของแตล่ ะประเทศ มีความซับซอ้ นและมีลักษณะพเิ ศษ ทำ�ใหเ้ กดิ
การระบาดทีร่ วดเรว็ และรุนแรงเกนิ คาด ทั้งยงั ระบาดสคู่ นในครอบครัว
กรมอนามยั ไดต้ ระหนกั ถงึ ความสำ�คญั ของการดูแลตนเองและครอบครวั
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควดิ 19 จงึ ได้จัดท�ำ “ยง่ิ รอบรู้ ยิง่ รอดโควิด 19”
คูม่ อื “ครอบครวั รอบร้อู ยู่กบั โควดิ 19” เพอื่ สร้างความเขา้ ใจและใชเ้ ป็นแนวปฏิบัติ
สำ�หรบั จัดการตนเอง จัดการคนในครอบครวั ทีป่ ลอดเช้ือ ครอบครัวท่ีเส่ียง และ
ครอบครวั ท่มี ผี ้ตู ิดเชอื้ โควดิ 19 ใหอ้ ยู่รอด ปลอดภัยจากการระบาดของโรคโควิด 19
ในขณะน้ี

นายแพทยส์ ุวรรณชยั วัฒนาย่ิงเจรญิ ชัย

อธบิ ดีกรมอนามยั

สารบัญ หนา้

รจู้ ัก “โควดิ 19” 1

   โรคโควดิ 19 คอื 2
   รู้ไดอ้ ยา่ งไรว่าติดเชอื้ 2
   ติดเชือ้ ได้จาก 3
   ควรตรวจการติดเชอื้ หรอื ไม่ 4
   ตรวจการติดเช้อื ไดท้ ไี่ หน 5
   ใครมีสิทธต์ิ รวจหาเช้ือโควดิ 19 ฟรี 5
   การแยกกกั ตวั ทบ่ี ้าน 6
   ใคร? สามารถแยกกกั ตัวทีบ่ ้านได ้ 7

การดูแลตนเองเม่ือตดิ เชอ้ื 9

   การเตรียมอปุ กรณ์ เครื่องใชแ้ ละสถานที่แยกกักตัว 10
   การปฏบิ ัติตวั ของผ้ตู ิดเชือ้ 11
   การปฏบิ ัตติ วั ส�ำหรับผูด้ แู ลผตู้ ดิ เชอ้ื 12
   การปฏิบตั ิตัวส�ำหรบั ผู้ไม่ติดเชอ้ื 13
   การเฝ้าระวังอาการเจ็บปว่ ย 14

กิน อยู่ อยา่ งไร กบั โควิด 19 15

   จัดการเรื่องอาหารและการออกก�ำลังกาย 16
   การออกก�ำลังกาย : 6 ท่าบรหิ ารปอด เพ่ิมความแขง็ แรง 17
   การรับประทานยาและการรักษาตัว 19
การท�ำงานอดิเรก 20

หนา้

การลดความวติ กกังวล ลดความเครยี ด เมือ่ อยู่กบั โควิด 21

   แยกกกั ตัวอย่างไร .... ไม่เครียด 22

สิทธิประโยชนด์ า้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ 23

   สิทธทิ างการรักษาพยาบาล 24
   การดำ�เนนิ การของโรงพยาบาล 25

การขอความช่วยเหลือดา้ นอื่น ๆ 27

   หน่วยงานและสายดว่ นท่ีใหค้ วามชว่ ยเหลือ 28
   หน่วยงาน-โครงการชว่ ยเหลือคนวิกฤตโควดิ 31
   การประสานงานกับจงั หวัดทีต่ ้องการรับการรักษา 34
   LINE สำ�หรบั ตดิ ตามข่าวสารโควดิ 36

ภาคผนวก 37

   มาตรการป้องกันโควิด D-M-H-T-T 38
   การใส่หนา้ กากอนามัยปอ้ งกันโควิด 39
   การท้งิ และกำ�จดั หน้ากากอนามัยทใ่ี ชแ้ ลว้
   การล้างมอื ใหห้ ่างไกลโควิด 40
   แนวทางปฏิบตั ิเมื่อแยกกกั ตวั สำ�หรับเด็กและผปู้ กครอง 41
   คา่ ตรวจโควิด 42
43
แหล่งอา้ งอิง
47
คณะผ้จู ัดทำ�
50



รจู้ กั

“โควดิ 19”

จากการระบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019)
หรือ โควิด 19 (COVID-19) ทีเ่ กิดขึน้ ท่ัวโลก ในประเทศไทยพบผู้ป่วยรายแรก
เดอื นมกราคม 2563 และในเดือนมนี าคม 2563 เกิดการระบาดในกลมุ่ ทเี่ ข้าชม
การแข่งขันมวยไทย ท่สี นามมวยลุมพินี เดือนธนั วาคม 2563 เกดิ การระบาด
ในตลาดค้าอาหารทะเล จงั หวดั สมุทรสาคร ท่สี งสัยมาจากแรงงานต่างดา้ วทีล่ กั ลอบ
เข้าประเทศ เดอื นเมษายน 2564 เกิดการระบาดระลอกที่ 3 ในสถานบันเทงิ
ย่านทองหลอ่ และกระจายไปหลายคลัสเตอร์ เชน่ ตลาด แคมป์คนงาน โรงเรียน
ประกอบกบั การกลายพันธุข์ องเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 สายพนั ธุ์ เดลตา้ (Delta)
จากประเทศอนิ เดีย และสายพนั ธ์ุ แลมบด์ า (Lambda) จากอเมริกาใต ้ แมว้ ่า
ประเทศไทยไดเ้ รง่ ให้ประชาชนได้รับวัคซีนป้องกนั โรคโควดิ อย่างเรง่ ด่วนแลว้ แต่
ไมส่ ามารถปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของเช้ือโควิดท่ีเกิดขึน้ จากความใกล้ชดิ กัน
ในครอบครวั ได้ ทำ�ใหเ้ ดือนกรกฎาคม 2564 เกดิ การระบาดระลอกท่ี 4 ข้นึ และ
มมี าตรการใหค้ รอบครัวดแู ลผตู้ ดิ เชื้อโควิดทบ่ี ้าน (Home Isolation) หรือดแู ล
ผูท้ ี่เสย่ี งติดเช้ือ (รอผลตรวจ) ที่ตอ้ งแยกกกั ตัวและสงั เกตอาการทีบ่ า้ น 14 วัน

1ย่ิงรอบร้.ู ..ยง่ิ รอด...โควิด 19

“โรคโควิด 19” คอื

โรคติดตอ่ ซ่งึ เกดิ จากเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
(Coronavirus Disease 2019) หรอื โควดิ 19
(COVID-19) ท่กี ่อใหเ้ กดิ โรคในระบบทางเดนิ หายใจ
โรคอบุ ัติใหมท่ ไี่ มเ่ ปน็ ท่ีรู้จกั กอ่ นทจ่ี ะระบาด
ในเมืองอูฮ่ ั่น ประเทศจนี ในเดอื นธันวาคม ปี 2019

รไู้ ดอ้ ย่างไรวา่ ตดิ เชื้อ

12

มีไข้ : มอี ณุ หภมู ริ า่ งกายต้ังแต่ ไอแห้ง : ไอไ้ มม่ นี �ำ้ ลาย ไม่มเี สมหะ ร้สู ึกคัน
37 องศาเซลเซียสขึ้นไป ระคายคอ อาจมีเสยี งแหบร่วมด้วย

34

จมูกไมไ่ ด้กลนิ่ ล้ินไม่รับรส : จะสูญเสยี หายใจล�ำ บาก : หายใจติดขัด
ความสามารถในการดมกลน่ิ ไป 68% หายใจที่เร็วขนึ้ อยา่ งชดั เจน

5 ความสามารถในการรบั รสลดลง 71%
ตาแดง ผน่ื ขน้ึ : มผี ่ืนแดงคลา้ ยตาขา่ ย
ผ่ืนเปน็ จดุ เลือด ผน่ื บวมแดงคล้ายลมพษิ
และตมุ่ นำ้� ใส
2 ยง่ิ รอบรู.้ ..ยิ่งรอด...โควดิ 19

ติดเชื้อไดจ้ าก

การสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อ ผา่ นสารคดั หล่ัง เช่น น้ำ� มกู น�้ำตา น้�ำลาย
เสมหะ หรือ ละอองฝอยจากการไอ จาม การพดู คยุ หรือจากการเอามือไปจบั พ้นื ผวิ
ทม่ี ีฝอยละอองของเชื้อโควดิ แล้วมาจบั ตามใบหน้า ตา จมูก ปาก

การแคะจมูก เพราะเชอื้ ไวรสั สามารถผา่ น
เข้าสูร่ ะบบทางเดินหายใจได้

การขย้ีตา เพราะดวงตามีทอ่ ระบายนำ้� ตา การจับหรือสัมผสั ปาก เพราะปาก
ทีเ่ ชอ้ื ไวรสั สามารถผา่ นเข้าไปได้ เปน็ ช่องทางท่ีเชอื้ ไวรสั เขา้ สูร่ ะบบทางเดิน
หายใจได้

โควดิ แพรเ่ ชอ้ื ในพื้นท่ปี ิดมากกว่าพ้ืนที่กลางแจ้ง

เพราะ โควดิ แพร่ทางละอองลอย ไม่ใช่ ละอองฝอย

อนุภาคขนาดใหญ่ อนุภาคขนาดเลก็

มีขนาดใหญ่ > 100 ไมครอน เข้าสู่ปอด < 2.5-5 ไมครอน
อนุภาคเคล8ือนท8แี บบโพรเจกไทล์ เข้าสู่ทรวงอก < 10-15 ไมครอน
ยงิ แนวตรงจากผู้ส่งไปยังตา จมูก หายใจรับเข้ามา < 100 ไมครอน
หรือปากของผู้รับ
เม8ืออนุภาคตกสู่พนืL หรือผวิ สัมผัส การแพร่เชือ* ผ่านละอองลอยในท5ี
ต่างๆ จะคงท8อี ย่ตู รงนันL กลางแจ้งเกดิ ขนึ* ได้น้อยกว่าพนื* ท5ปี ิ ด
อนุภาคท5ลี อยในอากาศสามารถเพ5มิ
และลดปริมาณได้อย่างรวดเร็ว

3ยง่ิ รอบรู้...ยง่ิ รอด...โควดิ 19

ควรตรวจการตดิ เช้อื หรือไม่

การแพร่ระบาดของโควิด 19 อาจท�ำให้เกดิ ความกังวลว่า... ตนเองตดิ เช้อื
หรอื ไม่ เพราะเมอ่ื รับเช้อื มาแลว้ อาจไม่มอี าการได้นานเกิน 14 วนั แต่สามารถ
แพรเ่ ช้อื ให้คนอน่ื ได้
หน่ึงในวิธีส�ำคัญในการควบคมุ การระบาดก็คอื การตรวจพบเชอ้ื และกักกัน
ใหเ้ ร็วท่ีสุด

ประเภทการตรวจโควดิ

แบบ RT-PCR แบบ Antigent test kit

ใช้เวลา 24-48 ชว่ั โมงทราบผล ใช้เวลาเพยี ง 10-30 นาทที ราบผล
เกบ็ ตัวอย่างดา้ นหลังโพรงจมกู มีความคลาดเคลอื่ นสูง เพราะตอ้ ง
1. ตรวจหลงั รับเชือ้ มาแล้ว 5-14 วนั
น�ำ สง่ หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร 2. ไมส่ ามารถตรวจพบเช้อื ได้
หลังจากหายป่วยแลว้
3. ตรวจพบภูมคิ ้มุ กนั ต่อเชอื้
หลังรับเชอ้ื มาแลว้ 10 วันขน้ึ ไป
และหลงั จากหายปว่ ยแลว้

4 ยิง่ รอบร.ู้ ..ยิง่ รอด...โควิด 19

ตรวจการติดเช้อื ได้ที่ไหน

การตรวจคัดกรอง COVID-19 เปน็ อกี หน่งึ กระบวนการท่ชี ว่ ยคดั กรอง
และลดจ�ำนวนผู้ท่ีมีภาวะกล่มุ เสี่ยง ไม่ให้แพร่กระจายเชื้อส่คู รอบครวั เพอื่ น เพ่ือน
ร่วมงาน คนใกลช้ ิด และคนท่วั ไปได้อกี ทางหน่งึ

ตสหราาวกมจาพรคบถดั วต่ากิดอรยตอใู่่อนงเขโก้าคลรวบัมุ่ ิดกเสาีย่1ร9ง  ฟรี

ได้ท่โี รงพยาบาลรฐั และเอกชนทกุ แห่ง ครอบคลุมท้งั
สิทธิบัตรทอง ประกนั สังคม สวสั ดกิ ารขา้ ราชการ และอืน่ ๆ

ส�ำ หรับคนท่ไี มไ่ ด้อยูใ่ นกลุ่มเสยี่ ง แตป่ ว่ ยและกงั วลว่าจะตดิ COVID-19
สามารถตรวจสอบรายช่ือ รพ. และคา่ ใช้จา่ ย ทีห่ ัวขอ้ “คา่ ตรวจโควดิ ” ในภาคผนวก

ใครมีสิทธิต์ รวจหาเชอื้ โควดิ 19 ฟรี

5ย่งิ รอบร.ู้ ..ย่งิ รอด...โควดิ 19

การแยกกกั ตวั ทีบ่ ้าน

ส�ำหรบั ผตู้ ิดเช้อื ทร่ี อ admit รพ. และแพทย์พิจารณาวา่ รักษาท่ีบ้านได้
รักษาตวั ใน รพ. หรอื สถานทีร่ ัฐจัดให้ อย่างน้อย 10 วันแล้วกลับไปรกั ษา

ตอ่ เนื่องทบ่ี า้ น

แบบอยู่บ้านคนเดยี ว

แบบอยบู่ ้านรว่ มกบั ครอบครวั
หรอื พักร่วมกบั ผู้อืน่

แบบอยู่ในอาคารชุด หอพัก
คอนโดมิเนียม อพารต์ เมนต์

6 ย่ิงรอบรู้...ยิง่ รอด...โควิด 19

ใคร?...สามารถแยกกกั ตัวที่บา้ นได้

เกณฑ์แยกกกั ตัวทีบ่ ้าน

เป็นผตู้ ิดเชื้อทสี่ บายดี หรือไม่มีอาการ
(asymptomatic cases)
มีอายุนอ้ ยกว่า 60 ปี

มีสุขภาพรา่ งกายแขง็ แรง
อยูค่ นเดียว หรือมีผอู้ ยรู่ ่วมทพ่ี ักไมเ่ กนิ 1 คน
ยนิ ยอมแยกตวั ในทีพ่ ักของตนเอง
ตอ้ งไม่มภี าวะอว้ น ดัชนมี วลกาย < 30 กก./ม.2
หรือน�้ำหนกั ตัว < 90กก.
ไมม่ โี รครว่ ม ดังต่อไปน้ี
โรคปอดอุดกัน้ เร้อื รงั (COPD)
โรคไตเรอ้ื รงั (CKD Stage 3,4)
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคหลอดเลอื ดสมอง
เบาหวานทีค่ วบคมุ ไมไ่ ด้
หรือโรคอ่ืน ๆ ตามดุลยพินิจของแพทย์

!!! หากไมเ่ ข้าเกณฑ์ แตแ่ พทยอ์ นญุ าตก็สามารถร่วมได้ !!!

7ยิ่งรอบรู.้ ..ย่งิ รอด...โควดิ 19



การดแู ลตนเอง

เมือ่ ตดิ เชอื้

การเตรียมอุปกรณ์ เครื่องใช้
และสถานที่แยกกกั ตัว

ผู้ตดิ เชือ้ ทป่ี ระสงค์แยกกักตัวท่บี า้ น ต้องแจ้งครอบครวั ให้ทราบ เพ่อื สร้างกฎ
ท�ำขอ้ ตกลงร่วมกนั และจดั เตรียมอปุ กรณ์ เคร่อื งใช้ สถานทส่ี �ำหรับผตู้ ิดเชอื้ ดังน้ี

เตรยี มอปุ กรณ์ปอ้ งกนั การตดิ เช้อื เตรียมอปุ กรณท์ �ำความสะอาดสถานที่
หน้ากากอนามยั เจลแอลกอฮอล์ น�้ำยาฆา่ เชือ้ ถังและถงุ ขยะ
ทีว่ ดั ไข้ ยาแกไ้ ข้ ยาแกไ้ อ น�้ำเกลือแร่

แยกหอ้ งนอน หอ้ งนอนควรมีอากาศ แยกของใช้ส่วนตัว
ถา่ ยเทดี มีการระบายอากาศสมำ่� เสมอ และแยกท�ำความสะอาดดว้ ยนำ้� ยา

แสงแดดเขา้ ถงึ ได้ ฆา่ เชื้อโรค

10 ย่ิงรอบร.ู้ ..ยิง่ รอด...โควิด 19

การปฏบิ ตั ติ ัวของผู้ตดิ เช้ือ

หา้ มผู้ใดมาเยี่ยมระหว่างกกั ตวั

ไม่เข้าใกลห้ รอื สัมผสั
กบั ผูส้ ูงอายหุ รอื เด็ก

อยา่ งเด็ดขาด

แยกหอ้ งนอน หากแยกห้องนอนไมไ่ ด้ แยกรบั ประทานอาหาร ไม่รบั ประทานอาหาร
ใหใ้ ชแ้ ผ่นกัน้ หอ้ งแบบพลาสติก รว่ มกับคนในครอบครวั ให้ตักแบ่ง
มารบั ประทานคนเดียวในหอ้ งตนเอง
แบง่ สัดส่วน หรือนอนใหห้ า่ งจากผู้อ่นื
มากทีส่ ุด และควรเปดิ หนา้ ต่างใหอ้ ากาศ
ถา่ ยเทได้ ไมค่ วรนอนร่วมกันในห้องปดิ

ทใี่ ช้เครอ่ื งปรับอากาศ

แยกของใช้ส่วนตวั กับผอู้ ืน่ งดออกจากหอ้ งพัก หากจ�ำเปน็
ใหส้ วมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา

เลย่ี งจบั สัมผสั สิ่งของตา่ ง ๆ
รกั ษาระยะหา่ งไมน่ ้อยกวา่ 1-2 เมตรและใช้

เวลานอกหอ้ งพักใหส้ ั้นท่สี ุด

ล้างมือดว้ ยสบ่หู รือเจลแอลกอฮอล์ ทุกครั้ง

ที่จ�ำเปน็ ตอ้ งสัมผสั กับผู้อืน่ หรือหยิบจับของ

ทใ่ี ชร้ ว่ มกับผอู้ ่ืน

แยกซักเสื้อผ้า ผ้าขนหนู และเครอ่ื งนอน

ดว้ ยนำ้� สบู่หรอื ผงซักฟอก

แยกใชห้ อ้ งส้วม หากแยกไมไ่ ด้ ให้ท�ำความสะอาด
ดว้ ยน้ำ� ยาฆา่ เชือ้ หลงั ใช้งานทุกคร้ัง และปดิ ฝาชกั โครก
ทกุ ครั้งกอ่ นกด

11ยิง่ รอบร.ู้ ..ยง่ิ รอด...โควิด 19

การปฏิบตั ติ วั ส�ำหรับผดู้ แู ลผูต้ ิดเชือ้

ปฏิบัติตามมาตรการ D-M-H-T-T แยกหอ้ งนอน
(ภาคผนวก)

จดั หาถงั และถุงขยะ สวมหน้ากากอนามัย
ส�ำหรับผตู้ ดิ เช้อื ตลอดเวลา

และเขยี นขา้ งถุงวา่ แยกซักเสื้อผ้า เครือ่ งนุ่งหม่ ของผ้ตู ดิ เชอ้ื
“ขยะตดิ เชื้อ” ดว้ ยน้ำ� สบูห่ รือผงซักฟอก

แยกส่ิงของเครอ่ื งใช้
ทุกอย่าง

จากผูต้ ิดเชื้อ

แยกท�ำความสะอาด แยกใช้หอ้ งส้วม หากแยกไมไ่ ด้
ภาชนะ จาน ชาม ใหท้ �ำความสะอาดด้วยน้ำ� ยาฆา่ เชื้อ
ชอ้ น และแกว้ น�ำ้
หลงั ใช้งานทกุ ครัง้
ของผ้ตู ดิ เชื้อ และปิดฝาชักโครกทุกครั้งก่อนกด
ด้วยน้ำ� ยาลา้ งจาน

หมั่นสังเกต ดูแล ถามไถ่อาการผ้ตู ดิ เชื้อ หากพบอาการไม่นา่ ไว้ใจ
รบี โทรประสานหนว่ ยงานทด่ี ูแล (หวั ขอ้ การขอความชว่ ยเหลือด้านอื่น ๆ)

12 ย่ิงรอบร.ู้ ..ยิง่ รอด...โควดิ 19

การปฏบิ ัตติ วั ส�ำหรับผ้ไู ม่ตดิ เช้อื

ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ D-M-H-T-T รักษาระยะหา่ งการพูดคุย การใกลช้ ดิ
(ภาคผนวก) 2 เมตร

ใช้ช้อนกลางส่วนตวั แยกนงั่ รบั ประทานอาหารคนเดยี ว
ไม่ใชช้ ้อนกลางร่วมกับคนอื่น ถา้ จ�ำเปน็ ต้องนั่งรับประทานอาหาร

รว่ มกนั ใหน้ ง่ั เยื้องกนั
ไมน่ ่ังตรงขา้ มกัน

หรอื น่งั หนั หนา้ เขา้ หากนั

สวมหน้ากากอนามยั ถกู วธิ ี
ตลอดเวลา ทั้งใน-นอกบา้ น

หม่ันลา้ งมอื ให้สะอาดตลอดเวลา อาบน�้ำ สระผม
ดว้ ยน�้ำและสบู่หรอื เจลแอลกอฮอล์ ช�ำระรา่ งกาย
ทกุ คร้งั หลังสัมผัสอปุ กรณส์ ่ิงของต่าง ๆ ใหส้ ะอาดทันที
ทก่ี ลบั เข้าบา้ น
และก่อนสัมผัสอวยั วะบนใบหนา้
พึงระลกึ เสมอว่า...

เราสามารถติดเช้อื ได้ทุก ๆ ที่
ทุก ๆ เวลา

13ยิง่ รอบร้.ู ..ย่งิ รอด...โควดิ 19

การเฝ้าระวังอาการเจ็บป่วย

วดั อุณหภูมิรา่ งกายทุกวนั
หากเกิน 37.5 องศาเซลเซียส

ควรรีบไปพบแพทย์
หากวดั ได้ 37.2

แตไ่ ม่เกนิ 37.5 องศาเซลเซียส
ใหเ้ ฝ้าระวงั อาการไข้

สังเกตอาการไข้ ไอ นำ้� มูก เจบ็ คอ หายใจล�ำบาก หอบเหน่อื ย ตาแดง จมกู ไม่ไดก้ ลน่ิ
หรอื ล้นิ ไมร่ ับรส มีผื่นขน้ึ ปวดหวั ปวดเมอ่ื ยกลา้ มเนอ้ื ท้องเสีย อาเจียน

หากมีอาการผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง ใหแ้ จง้ เจา้ หนา้ ทีท่ ีด่ แู ลในพ้ืนที่ทราบทันที

เม่อื ตอ้ งเดินทางไปโรงพยาบาลใหใ้ ช้รถยนตส์ ่วนตวั
ไมใ่ ช้รถสาธารณะ พร้อมใส่หน้ากากอนามยั ตลอดเวลาทเี่ ดนิ ทาง

หากมีผู้รว่ มยานพาหนะมาดว้ ยให้เปิดหนา้ ต่างรถ
เพ่ือเพ่ิมการระบายอากาศ เพื่อความปลอดภัยกับคนรอบขา้ ง

14 ย่งิ รอบร.ู้ ..ยิง่ รอด...โควดิ 19

กนิ อยู่ อยา่ งไรกับ

“โควิด 19”

การจดั การเร่อื งอาหารและการออกกำ� ลังกาย

หลักการทานอาหารตา้ นโควิด

รบั ประทานอาหารใหค้ รบ 5 หมู่
แต่ละหม่ทู านใหห้ ลากหลาย

รับประทานอาหารทปี่ รงุ สุกใหม่ ไม่ค้างมื้อ

กนิ พืชผกั ใหม้ าก และกินผลไมเ้ ป็นประจ�ำ

กินข้าวเป็นอาหารหลัก
สลับกบั อาหารประเภทแป้งเปน็ บางมือ้

กนิ ปลา เนือ้ สัตว์ไมต่ ดิ มนั ไข่
และถว่ั เมล็ดแหง้ เป็นประจ�ำ

ใช้ช้อนส่วนตัว และแยกท�ำความสะอาด

ผัก ผลไม้ สมุนไพร ชว่ ยเสรมิ ภมู ติ ้านทาน

กะเพรา หอมแดง หอมหวั ใหญ่ เห็ดตา่ ง ๆ พลูคาวหรอื คะนา้ ใบเหลยี ง ยอดสะเดา
มะรุม พลคู าวหรอื ผกั คาวตอง ผกั คาวตอง ตรีผลา มะระขนี้ ก ดอกข้ีเหลก็ มะรุม
(สมอไทย สมอพเิ ภก ยอดมะยม ฟกั ขา้ ว ผักเชยี งดา
ใบหม่อน แอปเป้ลิ มะขามป้อม) ผักแพว มะขามปอ้ ม ลกู หมอ่ น
เปลอื กของพืชตระกลู สม้
(สม้ มะนาว มะกรดู ส้มซ่า) กลุ่มท่มี วี ิตามินซีและ และผกั ผลไม้หลากสี
สารตา้ นอนุมูลอิสระสูง
กลมุ่ ปอ้ งกนั การติดเชือ้ กลุ่มเสรมิ ภมู ิคุ้มกนั

16 ยงิ่ รอบร้.ู ..ยิง่ รอด...โควดิ 19

การออกกำ� ลังกาย :
6 ทา่ บริหารปอด เพิ่มความแข็งแรง

ท่าท่ี 1 : พุงป่อง

น่งั ตวั ตรง วางมือทัง้ สองข้างทีห่ น้าทอ้ ง หายใจออกทอ้ งแฟบ
หายใจเข้าท้องป่อง ทำ� 10 ครัง้ พัก 30-60 วินาที ต่อรอบ

ท่าที่ 2 : อกนิง่

นง่ั ตวั ตรง มอื ซ้ายวางบนหนา้ อก หายใจเข้าท้องป่อง หายใจออกท้องแฟบ
มอื ขวาวางใต้ลิ้นป่ ี ทำ� 10 คร้ัง พัก 30-60 วนิ าที ตอ่ รอบ

ทา่ ท่ี 3 : ขยับซี่โครง

นงั่ ตัวตรง มือทัง้ สองข้างวางบรเิ วณ หายใจออกทางปากชา้ ใหซ้ ี่โครงหบุ ลง
ตำ� แหนง่ ชายซ่ีโครงด้านข้าง หายใจเข้าลกึ ๆ ทำ� 10 คร้ัง พัก 30-60 วนิ าที ตอ่ รอบ

เพ่ือให้ซ่โี ครงขยายออก

17ย่ิงรอบรู้...ยง่ิ รอด...โควดิ 19

ท่าท่ี 4 : ชูมือ ยืดอก

หายใจเขา้ ทางจมกู พร้อมยกแขน หายใจออกทางจมกู พรอ้ มยกแขนลง
ทัง้ สองข้างขึน้ ดา้ นบน ทำ� 10 ครั้ง พัก 30-60 วนิ าที ตอ่ รอบ

ทา่ ที่ 5 : กางปีกขยายปอด

ยกแขนข้นึ ประสานกันดา้ นหนา้ หายใจเขา้ หายใจออกทางปาก
ทางจมกู พรอ้ มกางแขนออกดา้ นข้าง ฝ่ามือประสานกับด้านหน้า
ทั้งสองข้าง ท�ำ 10 คร้ัง พัก 30-60 วินาที ตอ่ รอบ

ท่าที่ 6 : ยดื สะบัก ขยับศอก

มอื ทั้งสองข้างประสานทา้ ยทอย หายใจเข้า หายใจออกทางปาก พรอ้ มหบุ ศอก
ทางจมกู พร้อมกางขอ้ ศอกออก ทำ� 10 ครั้ง พัก 30-60 วนิ าที ต่อรอบ

1. ลดอาการเหนอ่ื ย หายใจล�ำบาก
2. เพิ่มความสามารถในการหายใจให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้
ป ระ โยชน์ 3. ชว่ ยขับเสมหะ
4. ปอ้ งกันการเกดิ ภาวะปอดแฟบ


18 ยงิ่ รอบร.ู้ ..ยิง่ รอด...โควิด 19

การรับประทานยาและการรักษาตวั

มาตรการรกั ษาตัวท่บี ้าน ส�ำหรับผปู้ ่วยทม่ี อี าการน้อย ควบคมุ ได้
(กลมุ่ สีเขยี ว) ท่ผี า่ นการประเมิน ยนิ ยอมรกั ษาตวั ทบ่ี ้าน

จะตอ้ ง

วดั ไขว้ ันละ 2 ครัง้ เช้า-เยน็ วัดออกซิเจนปลายนว้ิ
วนั ละ 2 ครั้ง เชา้ -เย็น

ได้รบั การสอบถามอาการผ่าน
โทรศัพท์ วันละ 1 คร้ัง

ถา้ ไมม่ ีอาการ
แพทยส์ ั่งจ่ายยา “ฟา้ ทะลายโจร”

ถา้ เริม่ มีอาการ
แพทยส์ ั่งจ่ายยา “ฟาวิพิราเวียร์”

ผู้แยกกกั ตวั ท่บี ้าน ห้ามออกนอกบา้ น
ผิด พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558
ปรับ 20,000 บาท

19ยง่ิ รอบร.ู้ ..ยง่ิ รอด...โควดิ 19

การท�ำงานอดิเรก

ผ้ทู ี่แยกกกั ตัวทบ่ี ้าน หลายคนอาจเกิดความเบอ่ื หนา่ ย ไม่ไดอ้ อกไปเปิดหู
เปิดตา และอาจรนุ แรงถึงขน้ั หมด Passion ในดา้ นตา่ ง ๆ ได้ บางคนอาจขาดรายได้
สะเทือนสภาพคล่องอยา่ งหนัก เงินเกบ็ ร่อยหรอ

ส�ำหรับใครทีก่ �ำลงั หางานอดเิ รก หรือต้องการหารายไดเ้ สริมระหว่างแยกกกั ตวั
ที่บ้าน เชิญติดตามด้านล่าง

การท�ำงานอดิเรก รายไดเ้ สรมิ

เย็บหนา้ กากผ้า ตวิ เตอร์ออนไลน์

ท�ำของเลน่ เขยี น e-book ขาย
ใหก้ �ำลงั ใจ
บนโซเชยี ลมเี ดีย ขายภาพถ่ายหรอื
บทความออนไลน์
ท�ำความสะอาดบ้าน
ห้องพัก ขายของออนไลน์

ซ่อมแซม
ของใชใ้ นบา้ น

ซอ่ มแซมเสื้อผ้า

20 ย่งิ รอบร.ู้ ..ยิ่งรอด...โควิด 19

การลดความวติ กกังวล

ลดความเครียด

เมอ่ื อยกู่ ับโควิด

แยกกักตัวอยา่ งไร...ไม่เครยี ด

1.ติดตอ่ สอื่ สารผ่านช่องทางออนไลนต์ ่าง ๆ
กบั คนท่ีคณุ รัก ครอบครัว เพอ่ื น ผา่ นมอื ถอื หรือ
โซเชยี ลมเี ดีย

2. ติดตามข่าวสารอยา่ งมสี ติ 3. ต่อต้านความเครยี ด
หาทางผอ่ นคลาย ดแู ลสขุ ภาพทัง้ ร่างกาย
ไม่หมกมนุ่ เกินไป ลดการดู การอ่าน หรือ และจิตใจให้ แขง็ แรง นอนหลบั พกั ผอ่ น
การฟังขา่ ว ท่ที �ำให้ร้สู ึกวิตกกังวล ควรอ่าน ใหเ้ พียงพอ ออกก�ำลังกายสม่�ำเสมอ
ข้อมลู จากแหลง่ ทีเ่ ชือ่ ถอื ไดเ้ ทา่ น้นั ถา้ รสู้ ึก
เครยี ด หยดุ รบั สอื่ และหากิจกรรมอ่นื ท�ำ

4. เติมเต็มความรู้ 5. ชืน่ ชมตนเองท่มี ี
ปรึกษา ความรับผดิ ชอบ
ผู้เช่ยี วชาญ ต่อสงั คมและ
ประเทศชาติ
หาข้อมลู ทชี่ ว่ ยในการชว่ ยเหลอื ดแู ลจิตใจ
ตนเอง หาโอกาสพูดถึงเรอ่ื งราวเชิงบวก ท�ำใหเ้ กดิ ความรสู้ ึกมกี �ำลังใจในการที่ต้อง
กกั ตัวเอง ถูกจ�ำกดั พ้นื ที่ ตอ้ งเปลีย่ นแปลง
22 ยง่ิ รอบร.ู้ ..ยิ่งรอด...โควิด 19 การใช้ชีวิต ต้องแยกจากคนในครอบครัว
และผูอ้ ื่น คุณมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
และท�ำประโยชนต์ ่อประเทศชาติ

สิทธิประโยชน์

ทางการแพทย์

และการสาธารณสุข

สิทธทิ างการรกั ษาพยาบาล

การตรวจรักษาโควิด 19 : ผู้ป่วยทุกสทิ ธิรักษาได้ทั้งโรงพยาบาลรฐั
และเอกชนไมเ่ สยี ค่าใช้จา่ ย โรงพยาบาลห้ามเรียกเก็บเงินเพิ่มจากผปู้ ่วย ยืนยนั
สิทธิประโยชนค์ รอบคลมุ ทกุ กรณ ี ทั้งคา่ ยา คา่ รถส่งต่อ คา่ ตรวจแล็บ ชดุ  PPE
ห้องความดนั ลบ รพ.สนาม และ hospitel
ทงั้ น.ี้ .. โรงพยาบาลทด่ี ูแลผแู้ ยกกักตัวที่บ้าน จะได้รับ
คา่ อุปกรณ์ ไมเ่ กนิ 1,100 บาท/คน
คา่ ดแู ลรวมอาหาร 3 มอ้ื ไมเ่ กิน 1,000 บาท/วนั /คน

ผูท้ ีแ่ ยกกักตวั ท่ีบา้ น จะได้รับ

ทว่ี ดั ไข้ เคร่อื งวัด
ออกซเิ จน
การสอบถาม ปลายนิว้
อาการ
“ฟา้ ทะลายโจร”
หรอื “ฟาวพิ ิราเวียร์”

ตามอาการ

อาหาร
3 ม้ือ

24 ยง่ิ รอบรู.้ ..ยิ่งรอด...โควิด 19

การดำ� เนินการของโรงพยาบาล

ผ้ปู ่วยหรอื ผู้ตรวจพบเชอื้ COVID-19 ทุกคนตอ้ งรักษาในโรงพยาบาล
หรอื โรงพยาบาลสนาม หรอื ฮอสพเิ ทล (Hospitel) หรือ แยกกักตัวท่บี ้าน (Home
Isolation) เพื่อการดูแลรกั ษา โดยเฉพาะผปู้ ว่ ยท่ีมอี าการควรไดร้ ับการดแู ลรักษา
ในโรงพยาบาล หรือ โรงพยาบาลสนาม หรือ หอผปู้ ว่ ยเฉพาะกจิ (hospitel)
ตามความเหมาะสมเปน็ ระยะเวลาไม่น้อยกวา่ 14 วนั ผู้ตดิ เชอ้ื ที่ไม่มอี าการควรแยก
กักตวั จากผอู้ ืน่ ทบ่ี า้ น ไม่น้อยกว่า 14 วนั เชน่ เดียวกัน
โรงพยาบาลจะพจิ ารณาใหผ้ ู้ตดิ เชอื้ COVID-19 ใช้ทพี่ กั อาศยั เป็นสถานท่ี
แยกตัว อาทิ บา้ นเดี่ยว หอพกั หรือคอนโดมิเนยี ม ส�ำหรบั ผูป้ ว่ ยโควดิ 19 (COVID-19)
ทไี่ มไ่ ดเ้ ขา้ รักษาตัวแบบผ้ปู ว่ ยในของโรงพยาบาล หากไมม่ อี าการผดิ ปรกตใิ ด ๆ
แนะน�ำให้แยกตวั ต่อเนอ่ื งจนครบ 1 เดือน โดยจะด�ำเนนิ การดงั ต่อไปน้กี ับผแู้ ยก
กักตัวท่ีบา้ น

1. ประเมนิ ความเหมาะสมส�ำหรับผู้ตดิ เชอื้ แยกตวั ในสถานทพ่ี กั ของตนเอง
2. ลงทะเบียนผ้ตู ดิ เชอ้ื ทเี่ ขา้ เกณฑ์การแยกตวั ทีบ่ ้าน (home isolation)
ในระบบของโรงพยาบาล 
3. ถา่ ยภาพรังสที รวงอก (chest X-ray) หากพบความผดิ ปกติ แนะน�ำใหเ้ ข้า
รับการรักษาท่โี รงพยาบาล 
4. แนะน�ำการปฏิบัติตัวและจดั เตรยี มปรอทวัดไข้ และ pulse oximeter
ให้กบั ผ้ปู ว่ ย
5. ตดิ ตาม ประเมนิ อาการผู้ติดเชอื้ ระหว่างแยกกักตวั ทบ่ี า้ น ผ่านระบบส่ือสาร
ต่าง ๆ อาทิ โทรศัพท์ตดิ ตามอาการ สอบถามอาการไข้ ค่า oxygen
saturation วันละ 2 ครั้ง (เช้า-เยน็ ) เปน็ ระยะเวลา 14 วนั
6. จัดช่องทางตดิ ต่อในกรณผี ้ตู ิดเชอื้ มอี าการเพ่ิมขน้ึ หรือมภี าวะฉุกเฉิน
อาทิ มไี ขล้ อย หอบเหนอ่ื ย หายใจล�ำบาก

25ยงิ่ รอบร.ู้ ..ย่งิ รอด...โควิด 19

7. จัดระบบรบั – สง่ ต่อผปู้ ่วยไปยังโรงพยาบาลในกรณีผตู้ ดิ เชอื้ จ�ำเป็นต้อง
ยา้ ยเข้ารับการรักษาตอ่ ในโรงพยาบาล
8. ให้ความมั่นใจในมาตรฐานการดูแลรักษาของทีมแพทยแ์ ละพยาบาล
แก่ผตู้ ดิ เช้อื

26 ย่งิ รอบร.ู้ ..ยิ่งรอด...โควิด 19

การขอความชว่ ยเหลือ
ด้านอื่น ๆ

หนว่ ยงานและสายด่วน
ท่ีใหค้ วามชว่ ยเหลอื

ตอ้ งการเชค็ อาการปว่ ยโควดิ สอบถามข้อมลู ต้องการประสานหาเตียงวา่ ง
ในโรงพยาบาล รวมถึงปญั หาอืน่ ๆ เชน่ ได้รบั ผลกระทบจาก COVID-19 ต้องการ
ได้ข้อมูล มาตรการเยียวยาตา่ ง ๆ สามารถค้นหา หน่วยงานและเบอร์ติดต่อ สายด่วน
ดา้ นลา่ ง

1330 ส�ำนักงานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ
1422 แจ้งขอเข้าระบบรักษาตวั ทีบ่ า้ น ประสานหาเตียงผตู้ ดิ เชือ้ โควิด
1668 ในพน้ื ที่ กทม. และตา่ งจังหวัด ตลอด 24 ชว่ั โมง

กรมควบคุมโรค
สอบถามขอ้ สงสยั ขอค�ำแนะน�ำ ความช่วยเหลอื เรื่องโควิด 19
หรือรับแจง้ เหตุผ้ทู ม่ี ีอาการป่วยเขา้ เกณฑส์ งสยั รวมไปถึงประสานงาน
โรงพยาบาล โทร. ฟรี ตลอด 24 ช่วั โมง (For foreigner call 0-9684-7820-9)

กรมการแพทย์
ให้ค�ำปรึกษาผ้ปู ่วยโควดิ 19 ปรึกษาเรอ่ื งการปฏบิ ตั ิตัวระหว่างรอเตียง รบั ขอ้ มูลผู้ป่วย
คดั แยกผู้ป่วยตามระดับความรนุ แรง รวมทั้งประสานหาเตียงให้ผูต้ ิดเชอื้ ท่ยี ังไม่สามารถ
เข้ารบั การดแู ลรักษาในโรงพยาบาลในเขตพ้ืนที่ กทม. และปรมิ ณฑล โดยจะสง่ ขอ้ มูล
ตอ่ ไปยัง 1669 ให้บรกิ ารทกุ วัน เวลา 08.00-22.00 น.

1669 สถาบนั การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.)
1646 แจ้งเหตฉุ ุกเฉินทงั้ ผ้ปู ่วยและผ้บู าดเจ็บจากอบุ ัติเหตุ เป็นศนู ยก์ ลางในการรบั ขอ้ มูล
จากโรงพยาบาล สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมอื ง และแชตไลนส์ บายดบี อต
ในการจัดสรรเตยี งในพน้ื ท่ี กทม. โทร. ฟรี ตลอด 24 ช่วั โมง

ศูนยบ์ รกิ ารแพทย์ฉกุ เฉิน (ศูนยเ์ อราวัณ)
แจ้งเหตุฉุกเฉนิ ท้งั ผ้ปู ว่ ยและผูบ้ าดเจ็บจากอบุ ตั ิเหตุ ในเขตพ้นื ที่ กทม. เปน็ ศูนย์ส่ังการ
กลางในการประสานไปยังโรงพยาบาลทใ่ี กล้ทส่ี ดุ ในการรบั ผปู้ ่วยให้บริการตลอด
24 ชั่วโมง

28 ยิ่งรอบร้.ู ..ยิง่ รอด...โควิด 19

1323 สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ
1506 ปรกึ ษาปญั หาดา้ นสขุ ภาพจิต เครียด กังวล ไมส่ บายใจ ซมึ เศรา้
1648 ตลอด 24 ชวั่ โมง
1556
1569 ส�ำนักงานประกนั สังคม
1111 เช็คสทิ ธปิ ระกันสังคม

1212 องค์การเภสชั กรรม
สอบถามเกี่ยวกบั ยา

คณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
ร้องเรยี นผลิตภัณฑท์ างสุขภาพ

กรมการคา้ ภายใน
รอ้ งเรยี น แจง้ เบาะแส สนิ ค้ากักตนุ ขายเกนิ ราคา ไดท้ กุ วนั
ตลอด 24 ช่ัวโมง

ศูนย์บริการข้อมลู ภาครัฐเพื่อประชาชน
ส�ำนักนายกรัฐมนตรี
ร้องเรียน รอ้ งทุกข์ เกย่ี วกับโควดิ 19 ทกุ กรณ ี ฟรี
ตลอด 24 ชวั่ โมง

ศูนยร์ บั เรือ่ งร้องเรยี นปัญหาออนไลน์
รอ้ งเรียน ร้องทกุ ข์ การสง่ั ซ้ือสินคา้ ออนไลน์ ใหบ้ รกิ าร
ทกุ วัน ตลอด 24 ช่วั โมง

02-270-5685 ศูนยป์ ระสานงานต้านภยั โควดิ ทบ.
ประสานความชว่ ยเหลือผู้ตดิ เชือ้ โควดิ 19 ตลอด 24 ชวั่ โมง
02-281-1061
02-519-8383 วดั โสมนสั วหิ าร
02-519-8383
วัดศิรพิ งษธ์ รรมนมิ ติ ฌาปนกิจสถาน
วัดอาวุธกสติ าราม
ทบ.

29ยิง่ รอบรู้...ย่งิ รอด...โควดิ 19

02-790-2111 ศูนยป์ ระสานฉุกเฉนิ ไทยพีบีเอส

แจง้ ขอความช่วยเหลือ

02-079-1000 ศนู ยแ์ รกรับผูต้ ิดเชอ้ื โควิด
อาคารนิมิบุตร สนามกีฬาแหง่ ชาติ

จ�ำนวน 40 คู่สาย ให้บรกิ ารเวลา 08.00-22.00 น.

02-245-4964 ส�ำนักอนามยั กรงุ เทพมหานคร

097-046-7549 สอบถามอาการป่วยโควดิ 19 ตลอด 24 ช่ัวโมง

02-203-2393 เวบ็ ไซต์ BKK COVID-19
02-203-2396 ใหบ้ รกิ ารเวลา 08.00-20.00 น.

02-193-7057 กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ

เร่อื งรอ้ งเรียนโรงพยาบาลเอกชนเรยี กเกบ็ คา่ รักษาพยาบาล
โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ใหบ้ รกิ ารในวันและเวลาราชการ

1330 กด 12 สายด่วน สปสช.
1426
สายด่วน สบส.
เคลยี รค์ า่ รกั ษาโควิด 19 กรณผี ู้ป่วยถกู เรยี กเกบ็ เงนิ
หากผูท้ ีร่ ักษาโควดิ -19 ตามกระบวนการ แลว้ ถูกเรยี กเก็บเงนิ
อยา่ เพงิ่ จ่าย ใหโ้ ทรไปทีส่ ายด่วน 2 สายน้ี

02-127-7000 กรมบัญชีกลาง

สอบถามสิทธริ ักษาพยาบาล ส�ำหรับข้าราชการ ในวนั และเวลาราชการ
08.00-16.00 น.

02-572-8442 กรมการกงสุล
สอบถามการเดินทางไป-กลับ ต่างประเทศ ให้บริการทุกวัน
ตลอด 24 ช่วั โมง

30 ยิ่งรอบรู้...ยิ่งรอด...โควิด 19

หนว่ ยงาน-โครงการ
ชว่ ยเหลอื คนวกิ ฤตโควดิ

สบายดีบอต

กรุงเทพมหานคร

#เราตอ้ งรอด

โควิดติดลอ้ ถงึ เตียง

พ.อ. จกั รทพิ ย์ ชัยจนิ ดา

ใครตดิ สะกดิ มาร์ท

คุณอภวิ ฒั น์ ด่านศรชี าญชัย
โทร. 064-939-4691

พรรรคประชาธิปัตย์

ดร. พนาสนิ จึงสวนันทน์

แอร์ ภณั ฑิลา

คุณแอร์ ภัณฑิลา

31ย่งิ รอบร้.ู ..ยง่ิ รอด...โควดิ 19

โครงการ “เป็นโควดิ ตอ้ งมีทีร่ ักษา”

คุณณวัฒน์ อิสรไกรศลี

ประสานหาเตียงให้ผ้ปู ่วยโควิด 19

หมอแลบ็ แพนด้า

ไม่ไดเ้ ป็นหมอแตเ่ ป็นห่วง

ดร.นคิ สสุ ดี พนั ธพ์ุ านิช

#องค์กรท�ำดี

ดร.ปนัดดา วงศผ์ ู้ดี และทมี งาน

ชว่ ยกลา้ หาเตียง

พรรคกล้า – KLA Party

ไทยรฐั นวิ สโ์ ชวห์ าเตียง

ไทยรัฐนิวส์โชว์

ศูนยป์ ระสานฉุกเฉนิ ไทยพีบีเอสช่วยโควิด 19

ไทยพีบีเอส

เพจเสน้ ด้าย

จดั เตรยี มรถและประสานงาน
โทร. 081-591-9714 เฉพาะผู้มี รพ.ปลายทาง

Zero C Thailand

Twitter รวมพลังไทยลดยอดติดเชอ้ื ให้เหลอื “0”

Telehealth

ลดความเหลอ่ี มล้�ำการเข้าถงึ บรกิ ารทางการแพทย์

32 ย่ิงรอบร้.ู ..ยิง่ รอด...โควดิ 19

มลู นิธแิ พทย์ชนบท

กองทนุ พัฒนา รพ.ชุมชน และ รพ.สต. สู้ภัยโรคอุบัติใหม่ โควิด 19

มูลนิธกิ ระจกเงา

ช่วยเหลือเดก็ ผู้ประสบภัยโควิด หรอื โอนเข้า 063-931-6340

มลู นธิ อิ าสาสมัครเพื่อสังคม-Thai Volunteer Service

บริจาค ยา ฟา้ ทะลายโจร วิตามนิ ซี

มลู นธิ ิ รพ.สวนดอกคณะแพทยศาสตร์ ม.เชยี งใหม่

โครงการเพ่ือผปู้ ่วยไวรสั โควิด 19

รพ.ธรรมศาสตร์

บรจิ าคเงินและส่ิงของช่วยผู้ป่วย โควดิ 19

คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล ม.มหดิ ล

ศริ ริ าชส้ภู ยั โควดิ

COVID HERO: กลุม่ เสน้ ดา้ ย

ปรกึ ษาแพทย์อาสาหา่ งไกลโควดิ

องคก์ ารบรหิ ารสโมสรนิสติ จฬุ าฯ (อบจ.) กบั คณะใกลเ้ ทย่ี งคนื
กลมุ่ คนทำ� งานขับเคล่อื นเพื่อสงั คมในมติ กิ ารพัฒนาเยาวชน

นอ้ งฉนั ต้องไดเ้ รยี น

33ย่ิงรอบร.ู้ ..ย่งิ รอด...โควิด 19

การประสานงานกับจังหวัด
ที่ต้องการรบั การรักษา

หากผลตรวจโควดิ เป็นบวก ต้องการกลับไปรักษาทภ่ี มู ลิ �ำเนา
จะตอ้ งประสานงานกับจังหวดั ก่อน ดงั น้ี

ภาคกลาง 091-025-3596 กาํ แพงเพชร 093-111-8594
เพชรบรู ณ์ 063-830-3597 สโุ ขทัย
พิษณุโลก 061-869-8161
สิงห์บุรี 055-241555-9 094-865-4499
088-275-2217 094-630-8482
055-613559
036-813493
086-3188853

ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

สุรินทร์ 092-599-5108 ยโสธร 045-712233
044-513999 045-712234

มหาสารคาม 096-342-3450 อุบลราชธานี 088-714-2721

หนองคาย 096-690-2900 ศรีสะเกษ 065-240-0691

อดุ รธานี 084-428-6982 สกลนคร 093-328-5264

ชยั ภูมิ 098-135-2870 เลย 062-197-7501
กาฬสินธ์ุ นครพนม
ขอนแกน่ 044-811692 ต่อ นครราชสีมา 042-862123 ต่อ
402 2709

043-019-760 ต่อ 082-849-8155
128-130 061-019-2999

099-169-2552 081-265-5604
081-260-4433 065-119-0188

บงึ กาฬ 061-205-3743 มกุ ดาหาร 042-614270
081-205-5908

34 ย่งิ รอบร.ู้ ..ยิง่ รอด...โควิด 19

ภาคเหนอื 088-275-2217 ลําปาง 093-140-8023
พิษณโุ ลก 055-241555-9 090-331-1493
อตุ รดติ ถ์
เชียงใหม่ 095-312-6690 แพร่ 065-367-0273
เชยี งราย
นา่ น 053-215183 ถงึ 5 ลําพู น 053-093725 ถึง 6
053-215192 ถึง 3
062-019-7187
053-910384 ถงึ 5 แม่ฮ่องสอน
062-295-3064
054-600070 ต่อ พะเยา
311-313 054-409132
095-698-4350

ภาคตะวนั ออก

สระแกว้ 098-272-8734 จันทบุรี 039-31960
081-051-0074 095-748-1031
รพ.กรุงเทพ
ตราด 083-340-8910 จนั ทบรุ ี 081-983-1890
091-760-9716

ภาคใต้
นครศรีธรรมราช 086-5254461 081-929-6396

35ยงิ่ รอบร.ู้ ..ย่งิ รอด...โควิด 19

LINE
สำ� หรบั ตดิ ตามขา่ วสารโควิด

นอกจากเบอร์โทรและเบอร์สายด่วน ยงั มีชอ่ งทางติดตามข่าวสาร
โควดิ 19 ไดท้ ี่แอปพลเิ คชัน่ LINE Official ดา้ นล่าง

Line Official : Away Covid-19
เช็กพ้ืนท่เี ส่ยี งโควิด

Line Official : sabaideebot
ประสานหาเตียงใหผ้ ้ปู ่วย

Line Official : ChatBot 1422 “Kor-Ror-Ok”
Line Official : รูก้ นั ทนั โรค
Line Official : ไทยรู้ สโู้ ควดิ

36 ยง่ิ รอบร.ู้ ..ยิง่ รอด...โควดิ 19

ภาคผนวก

มาตรการป้องกันโควดิ
D-M-H-T-T

D Distancing
อย่หู า่ งไว้

M Mask Wearing
ใสแ่ มสกก์ นั
H Hand washing
หมัน่ ล้างมอื

T Testing ไทยเซฟไทย
ตรวจวัดอณุ หภมู ิ
ตรวจหาเชอื้ โควิด

T Thai Save Thai
ใชแ้ อปฯไทยเซฟไทย

38 ยิ่งรอบรู้...ยิง่ รอด...โควิด 19

การใสห่ นา้ กากอนามยั
ป้องกันโควดิ

ล้างมือให้สะอาดกอ่ นใส่ หนั ดา้ นสีเขม้ หรอื ใหข้ อบลวดอยู่
ด้วยสบ่แู ละนํ้าเปลา่ หรือ มันวาวออกดา้ นนอก ด้านบนสันจมูก

เจลแอลกอฮอล์

ดึงสายคลอ้ งหู กดแถบลวดให้แนบพอดี ดงึ หนา้ กากให้คลมุ
ท้ังสองขา้ ง กบั สนั จมูกจนมิดชดิ ถึงใตค้ าง

หา้ มนำ� มอื ไปจบั บริเวณด้านนอกของหน้ากาก เพราะเชือ้ โรค
อาจติดอยดู่ ้านนอกหน้ากาก

เม่ือถอดหรือทิ้งหน้ากาก ตอ้ งจับท่สี ายคลอ้ ง เพราะเชอ้ื โรค
อาจติดอยู่ท่หี นา้ กาก

ลา้ งมอื ใหส้ ะอาด หลังถอดหน้ากาก

ควรเปลี่ยนหน้ากากอนามยั ทกุ วนั และไมค่ วรใชอ้ นั เดมิ เป็นเวลานาน
เพราะอาจกลายเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค

หนา้ กากทท่ี �ำดว้ ยกระดาษควรเปลี่ยนทุกวัน ส่วนหนา้ กากท่เี ป็นผา้
ควรซักให้สะอาดและตากแดดใหแ้ หง้ และตอ้ งแยกเกบ็ หนา้ กากอนามยั
จากของใชช้ นิดอ่นื ๆ

39ยิ่งรอบร.ู้ ..ย่งิ รอด...โควิด 19

การทิง้ และก�ำจัด
หนา้ กากอนามยั ที่ใช้แล้ว

ถอดหนา้ กาก โดยจบั ท่ี
สายคล้องหู ไมส่ มั ผัสดา้ นใน

และดา้ นนอกของหน้ากาก

ตัด ทาํ ตาํ หนิ กอ่ นทิ้ง

พับ หรอื มว้ นหน้ากาก
ใหส้ ่วนที่สมั ผสั หน้าอยดู่ า้ นใน

ใชส้ ายคล้องหู รดั พัน
รอบหน้ากาก

ใส่ถุงขยะติดเชือ้ (สแี ดง)
รัดปากถงุ ใหแ้ น่น

กรณไี มม่ ถี ุงขยะสแี ดง ล้างมอื ให้สะอาด
ใหเ้ ขยี นบนถุงขยะใหช้ ัดเจน ด้วยสบแู่ ละน้าํ เปล่า หรอื

ว่าเป็น ขยะตดิ เช้อื หรอื เจลแอลกอฮอล์
หน้ากากใช้แลว้ นาน 20 วินาที

40 ยงิ่ รอบรู้...ยิง่ รอด...โควดิ 19

การล้างมอื ให้ห่างไกลโควิด

ถหู ลงั มือและซอกนวิ้

ถูฝ่ามอื ถูฝ่ามอื และซอกน้ิว
หลงั นิ้วถฝู ่ามอื
ล้างมอื ทุกขนั้ ตอน ทา่ ละ 5 คร้ัง
ทาํ สลับกันท้งั 2 ข้าง

ใชเ้ วลาล้างมือทุกข้นั ตอนรวม
ไม่น้อยกวา่ 20 วนิ าที

ถนู ิ้วหัวแม่มือโดยรอบ
ด้วยฝ่ามือ

ปลายนว้ิ มือถูฝ่ามือ ถูรอบข้อมือ

41ยงิ่ รอบรู้...ยง่ิ รอด...โควดิ 19

แนวทางปฏิบตั เิ ม่อื แยกกักตวั
สำ� หรบั เดก็ และผ้ปู กครอง

หา้ มใหเ้ ด็กออกจากทพี่ ัก ห้ามใหเ้ ดก็ เข้าใกลท้ ุกคน หรอื ต้อง
และหา้ มผ้ใู ดมาเยย่ี ม เว้นระยะห่างอยา่ งนอ้ ย 2 เมตร

แต่ถ้าตอ้ งเขา้ ไปดแู ลเด็กอยา่ งใกล้ชดิ ผ้ดู ูแลเด็ก

ต้องสวมหน้ากากและล้างมอื ทุกคร้งั ทีส่ มั ผัสเดก็

แยกหอ้ งพัก ของใชส้ ว่ นตวั ใหเ้ ด็กแยก
หากแยกหอ้ งไมไ่ ด้ ควรแยกให้ห่าง รบั ประทานอาหาร
จากผู้อ่ืนมากท่ีสดุ และควรเปิด ไมท่ านรว่ มกบั ผใู้ หญ่
หนา้ ต่างให้อากาศถา่ ยเท
ให้เด็กสวมหนา้ กากอนามยั
ใหเ้ ดก็ ล้างมอื ดว้ ยสบู่ ตลอดเวลา หากไมไ่ ด้อยคู่ นเดียว
หรอื เจลแอลกอฮอล์
ทต่ี อ้ งสมั ผัสกับของใช้ต่าง ๆ แยกซักเสอ้ื ผ้า
เคร่อื งนุ่งห่ม เครอื่ งนอน
ควรแยกห้องสว้ ม หากแยกไม่ได้
ใหท้ ําความสะอาดทุกคร้งั หลังใช้งาน สอนหรือกาํ กับให้เด็กทิ้งขยะ
ในท่ี ๆ จดั ไว้ให้ และแยกขยะตดิ เชอื้
วดั อุณหภมู ิทกุ วัน
และหม่นั สังเกตอาการของเดก็

42 ย่งิ รอบรู้...ยิ่งรอด...โควิด 19


Click to View FlipBook Version