The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเปลี่ยนเเปลงนโยบายการบัญชี_merged

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sudarat_2541_jitkaew, 2021-03-09 02:54:32

การเปลี่ยนเเปลงนโยบายการบัญชี_merged

การเปลี่ยนเเปลงนโยบายการบัญชี_merged

TFRS
FOR
NPAEs

การเปลยี นเเปลงนโยบายการบญั ชี
การเปลยี นเเปลงประมาณการทางบญั ชี

เเละการเเกไ้ ขข้อผดิ พลาด

ACCOUNTING POLICIES,
CHANGES IN ACCOUNTING
ESTIMATES AND ERRORS

มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ของประเทศไทย
สําหรบั กจิ การทไี มม่ สี ่วนไดเ้ สียสาธารณะ

การเปลยี นแปลงนโยบายการบญั ชี
หมายถึง การเปลียนแปลงวิธปี ฎบิ ัติทางการบัญชซี งึ เปนไปตาม หลักการบัญชที รี บั รอง
ทวั ไปเปนอีกวิธหี นึ ง ซงึ เปนไปตามมาตรฐานการบัญชที รี บั รองทวั ไป เชน่ ดยี วกัน

ตวั อย่าง
เชน่ งวดบัญชกี ่อน กิจการตีราคาทนุ ของสินค้าคงเหลือดว้ ยวธิ เี ขา้ ก่อนออกก่อน เเตง่ วดบญั ชปี จจปุ น
กิจการตีราคาทนุ ของสินค้าคงเหลือดว้ ยวิธถี วั เฉลียถ่วงนาหนั กหรอื กลับกัน

การเปดเผยข้อมูล
เมือกิจการเรมิ นํ ามาตรฐานการรายงานทางการเงนิ มาถือปฏบิ ัติทใี ห้เกิดผลกระทบต่องวดบัญชี
ปจจุบัน หากกิจการไม่สามารถระบุจํานวนเงนิ ของการปรบั ปรุงผลกระทบนั นหรอื หากผลกระทบนั นมี
ผลต่องวดบัญชใี นอนาคต กิจการต้องเปดเผยข้อมูลดังต่อไปนี

1. ชอื มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบับทนี ํ ามาถือปฏบิ ัติ
2. การเปลียนแปลงนโยบายการบัญชเี ปนการปฏิบัติตามทกี ําหนดไวใ้ นวธิ ปี ฏิบัติในชว่ งเปลียนแปลง
3. ลักษณะของการเปลียนแปลงนโยบายการบัญชี
4. คําอธบิ ายเกียวกับข้อกําหนดในชว่ งทมี ีการเปลียนแปลง
5. ข้อกําหนดในชว่ งทมี ีการเปลียนแปลง ซงึ อาจมีผลกระทบในงวดต่อไป
6. สําหรบั งวดบัญชปี จจุบัน หากสามารถปฏบิ ัติได้กิจการต้องเปดเผยจํานวนเงนิ ของรายการปรบั ปรุงที
กระทบต่อ

ก. รายการแต่ละบรรทดั ในงบการเงนิ ทไี ด้รบั ผลกระทบ
ข. งบการเงนิ สําหรบั งวดบัญชถี ัดไปไมต่ ้องเปดเผยข้อมูลเหล่านี อกี
หากการเปลียนแปลงนโยบายการบัญชโี ดยความสมัครใจทาํ ให้เกิดผลกระทบต่องวดบัญชปี จจบุ ัน
ผลกระทบดังกล่าวจะมีผลต่องวดบัญชนี ั นๆ เว้นแตจะไม่สามารถทําได้ในทางปฏิบัตทิ จี ะระบุจํานวนเงนิ
ทตี ้องปรบั ปรุง หรอื อาจมีผลกระทบต่องวดบัญชใี นอนาคต กิจการต้องเปดเผยขอ้ มูลดังต่อไปนี
1. ลักษณะของการเปลียนแปลงนโยบายการบัญชี
2. เหตุผลว่าการใชน้ โยบายการบัญชใี หม่ทําให้งบการเงนิ มีความน่ าเชอื ถอื และเกยี วขอ้ งกับการตดั สินใจ
มากยิงขึนได้อย่างไร
3. สําหรบั งวดบัญชปี จจุบัน หากสามารถปฏบิ ัติได้กิจการต้องเปดเผยจํานวนเงนิ ของรายการปรบั ปรุงที
กระทบต่อรายการแต่ละบรรทดั ในงบการเงนิ
4. จํานวนเงนิ ของรายการปรบั งบการเงนิ ทนี ํ าเสนอหากสามารถทาํ ได้ในทางปฏิบัติและ
งบการเงนิ สําหรบั งวดบัญชถี ัดไปไม่ต้องเปดเผยข้อมูลเหล่านี อกี

การเปลียนแปลงประมาณการทางบัญชี

หมายถึง การปรบั ปรุงมูลค่าตามบัญชขี องสินทรพั ย์

หรอื หนี สิน หรอื จํานวนทมี ีการใชป้ ระโยชน์ ของ

สินทรพั ย์ ในระหว่างงวดอันเปนผลมาจากการ

ประเมินสภาพ ปจจุบันของสินทรพั ย์และหนี สิน

และการประเมิน ประโยชน์ และภาระผกู พันทคี าดว่า

จะเกิดขึนในอนาคตทเี กียวข้องกับสินทรพั ย์และ

หนี สินนั น การเปลียนแปลงประมาณการทางบัญชี

เปนผลจากการได้รบั ข้อมูลใหม่หรอื มีการพัฒนาเพิม

เติมจากเดิม การเปลียนแปลงประมาณการจึงไมถ่ ือ

เปนการแก้ไข ข้อผดิ พลาด

ตวั อย่าง

เชน่ 1) งวดบัญชกี ่อนกิจการตังค่าเผอื หนี สงสัยจะสูญดว้ ยวิธรี อ้ ยละของยอดขายเชอื แต่งวดบัญชปี จจบุ ัน

กิจการตังค่าเผอื หนี สงสัยจะสูญด้วยวิธรี อ้ ยละของยอดลกู หนี การค้า

2) งวดบัญชกี ่อนกิจการตังค่าเผอื สินค้าเสือมสภาพล้าสมัย 50,000 บาท แต่งวดบัญชปี จจบุ ันกิจการตัง

ค่าเผอื สินค้าเสือมสภาพล้าสมัยรายการเดิม 60,000 บาท

3) งวดบัญชกี ่อนกิจการประมาณมูลค่าทคี าดวา่ จะได้รบั คืนจากสินทรพั ยร์ อการขาย 200,000 บาท แต่

งวดบัญชปี จจุบันกิจการประมาณมูลค่าทคี าดวา่ จะได้รบั คืนจากสินทรพั ย์รอการขายรายการเดมิ 170,000

บาท

4) งวดบัญชกี ่อนกิจการประมาณอายกุ ารให้ประโยชน์ ของยานพาหนะ 5 ป แต่งวดปจจบุ ันกิจการ

ประมาณอายกุ ารให้ประโยชน์ ของยานพาหนะรายการเดิม 8 ป

การเปดเผยข้อมูล

กิจการต้องเปดเผยข้อมูลเกียวกับลักษณะและจํานวน
เงนิ ของการเปลียนแปลงประมาณการทางบัญชที มี ีผลก
ระทบต่องบการเงนิ สําหรบั งวดบัญชปี จจบุ ันหรอื คาดว่า
จะมีผลกระทบต่องวดในอนาคต เว้นแต่ไม่สามารถ
ประมาณจํานวนเงนิ ของผลกระทบได้ หากกิจการไมเ่ ปด
เผยผลกระทบต่องวดในอนาคตเนื องจากไมส่ ามารถ
ประมาณจํานวนเงนิ ของผลกระทบจากการ
เปลียนแปลงประมาณการทางบัญชตี ่องวดในอนาคตได้
กิจการต้องเปดเผยข้อเทจ็ จรงิ ดังกล่าว

ข้อผดิ พลาดในงวดกอ่ น
หมายถึง การละเว้นการแสดงรายการและการแสดง
รายการทขี ัดต่อข้อเทจ็ จรงิ ในงบการเงนิ ของกิจการใน
งวดใดงวดหนึ งหรอื หลายงวดก็ตาม ซงึ ข้อมูลดังกล่าว
มีอยใู นงบการเงนิ ของงวดก่อนทไี ด้รบั การอนมุ ัติให้
เผยแพร่ สามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่า
สามารถหาข้อมูลได้และนํ ามาใชใ้ นการจัดทําและการ
แสดงรายการในงบการเงนิ ข้อผดิ พลาดดังกล่าว
รวมถึงผลกระทบจากการคํานวณผดิ พลาด ข้อผดิ พลาด
จากการใชน้ โยบายการบัญชกี ารมองข้าม หรอื การ
ตีความข้อเทจ็ จรงิ ผดิ พลาด และการทจุ รติ

ตวั อย่าง
เชน่ กิจการไม่ได้คิดค่าเสือมราคาเครอื งจักรทซี อื มาเมือ
สามปทเี เล้ว TFRS for NPAEs กําหนดให้ กิจการต้อง
แก้ไขข้อผดิ พลาดซงึ เกิดขึนในงวดก่อนโดยการปรบั ข้อมูล
เปรยี บเทยี บในงวดปจจุบันให้ถูกต้อง

การเปดเผยข้อมูล

กิจการต้องเปดเผยข้อมูลข้อมูลทกุ ข้อดังต่อไปนี
1.ลักษณะของข้อผดิ พลาดทเี กิดขึนในงบการเงนิ งวด
ก่อน
2.สําหรบั งบการเงนิ ของงวดก่อนทนี ํ ามาแสดงเปรยี บ
เทยี บกิจการต้องเปดเผยจํานวนเงนิ ของรายการ
ปรบั ปรุงเทา่ ทสี ามารถปฏิบัติได้ทมี ีผลกระทบต่อ
รายการแต่ละบรรทดั ในงบการเงนิ
3. จํานวนเงนิ ของรายการปรบั ปรุง ณ วนั ต้นงวดของ
งวดบัญชแี รกสุดทนี ํ ามาแสดงเปรยี บเทยี บ
4.หากในทางปฏิบัติกิจการไม่สามารถปรบั งบการเงนิ
ย้อนหลังสําหรบั งบการเงนิ งวดก่อนงวดใดงวดหนึ ง
ได้กิจการต้องเปดเผยสถานการณ์ทนี ํ าไปสู่การเกิดขนึ
ของเงอื นไขดังกล่าวและรายละเอียดว่ากิจการแก้ไขข้อ
ผดิ พลาดเมือใดและอย่างไรงบการเงนิ สําหรบั งวด
บัญชถี ัดไปไม่ต้องเปดเผยข้อมูลเหล่านี อกี



TFRS for NPAEs

เงินสดและ
รายการเทียบ

เทา่ เงินสด

Cash and cash equivalents

มาตรฐานการรายงานการเงินของ
ประเทศไทยสําหรับกจิ การที่ไมม ีสวน

ไดเ สยี สาธารณะ

เงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สด

ความหมาย

เงินสด

เงนิ สดในมอื (Cash on Hand) ไดแ ก ธนบัตรและเหรียญกษาปณท่ี
กิจการมีอยู รวมทัง้ เงินสดยอ ย ธนาณัติ ตัว๋ แลกเงนิ ไปรษณีย เช็คทถ่ี ึง
กําหนดชาํ ระแตย ังมไิ ดนําฝาก เช็คเดนิ ทาง และดราฟตข องธนาคาร

เงินฝากธนาคาร (Cash at Bank) ไดแก เงนิ ฝากธนาคารกระแส
รายวนั และออมทรพั ย ทัง้ นี้ไมร วมเงนิ ฝากธนาคารประเภทจายคนื เม่ือสิน้
ระยะเวลา (เงินฝากประจํา) และบัตรเงินฝากทีอ่ อกโดยธนาคารพาณิชย
และสถาบันการเงนิ อ่ืน

รายการเทยี บเทา่ เงนิ สด (Cash on Equivalent)

เงนิ ลงทุนระยะสนั้ ท่มี ีสภาพคลอ งสงู ซ่งึ พรอ มทจ่ี ะเปล่ียนเป็น
เงนิ สดในจาํ นวนท่ีทราบไดและมีความเสยี่ งตอการเปลยี่ นแปลงในมลู คา
น อยหรือไมมีสาระสําคัญ เชน เงินลงทุนที่มวี นั ครบกําหนดในระยะสนั้
กลาวคือ 3 เดอื นหรือน อยกวา นับจากวันทไ่ี ดมา เป็นตน

การรับรู้รายการและการวัดมูลคา่

การรบั รู (Recognition) และตัดรายการ (Derecognition) เงนิ สด
และรายการเทยี บเทาเงินสด มกั เป็นผลมาจากการรับรูหรือตัดรายการองค
ประกอบตา ง ๆ ของงบการเงิน โดยการวัดมลู คา เม่ือเร่มิ แรกใหใ ชม ูลคา ที่
ตราไวข องรายการเงนิ สดและรายการเทียบเทาเงนิ สด ยกเวนเงนิ ตราตาง
ประเทศ จะตอ งแปลงคาใหเ ป็นเงนิ บาทกอน สําหรับการวดั มลู คา ภายหลงั
การรบั รรู ายการ (Subsequent Recognition) กใ็ หใชมูลคา เดิม ยกเวน
เงนิ ตราตางประเทศ จะตอ งแปลงคา ตามขอกาํ หนดในบทท่ี 21 เร่ือง ผล
กระทบจากอตั ราแลกเปลย่ี นเงนิ ตราตา งประเทศ

การแสดงรายการและการเปดเผยขอ้ มูล

กิจการตองนําเสนอเงินสดและรายการเทียบเทาเงนิ สดรวมเป็น
รายการเดยี วกัน โดยแสดงเป็นสนิ ทรัพยห มุนเวียน แตถ า กิจการมีเงินสด
และรายการเทียบเทา เงินสดรายการใดมขี อ จาํ กัดในการใช เชน เงนิ สดท่ี
กันไวเ พ่อื วตั ถปุ ระสงคเฉพาะ เงินฝากธนาคารที่มขี อ จาํ กดั ในการใช หรอื
ดํารงเงินฝากขนั้ ต่ําไวใ นบัญชี รายการเหลานี้ตองแสดงแยกตางหาก

ใหก จิ การแสดงเงนิ ฝากธนาคารประเภทจา ยคืนเม่ือสนิ้ ระยะเวลา
(เงนิ ฝากประจาํ ) และบตั รเงินฝากท่อี อกโดยธนาคารพาณิชยแ ละสถาบัน
การเงนิ อ่ืนเป็นเงินลงทนุ ชวั่ คราว โดยจัดประเภทเป็นสินทรัพยห มุนเวยี น
หรอื เงินลงทนุ ระยะยาว โดยจัดประเภทเป็นสินทรัพยไ มหมนุ เวยี น

ใหกจิ การแสดงเงินฝากธนาคารทีม่ ีขอจํากดั ในการเบกิ ถอนเป็น
สนิ ทรัพยอ ่นื โดยจัดประเภทเป็นสนิ ทรพั ยห มนุ เวยี นหรอื ไมหมุนเวยี น
ทงั้ นี้ข้นึ อยูก ับกําหนดเวลาของขอ จํากัดในการเบกิ ถอนและกิจการตองเปิด
เผยรายละเอียดเกีย่ วกบั เง่ือนไขหรือขอ จํากดั ในหมายเหตุประกอบงบการ
เงินดวย

เงนิ เบกิ เกินบัญชธี นาคารจัดเป็นหนี้สินหมุนเวียนของกจิ การ ไม
สามารถนํามาหกั กลบกบั รายการเงินสดและรายการเทยี บเทา เงนิ สด

ตวั อย่างการแสดงรายการเงนิ สดและรายการเทียบเทา่ เงนิ สด



TFRS for NPAEs

ลกู หนี

Account Receivables

มาตรฐานการรายงานทางการเงินของประเทศไทย
สาํ หรับกจิ การทีไมม่ สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ

ลกู หนี

ลูกหนี้ หมายถงึ สทิ ธิเรียกรองของกจิ การในการท่ีจะใหผ ูอ่นื ชําระ
ดวยเงนิ สด สินคา บริการ หรือสินทรพั ยอ ่ืน แบงไดเ ป็น 2 ประเภท คือ
1.ลกู หนี้การคา หมายถงึ เงินท่ีลูกคา คางชําระคาสนิ คา หรอื บรกิ ารที่
กิจการไดข ายไปตามปกตธิ รุ ะ
2.ลูกหนี้อ่ืน หมายถงึ ลูกหนี้ทมี่ ิใชลูกหนี้การคา ซ่ึงเป็นลูกหนี้ท่ีไมได
เกิดจากการดาํ เนินการคาตามปกติของกจิ การ

“ลกู หนี้การคา และลูกหนี้อ่นื ตอ งวดั มูลคา ภายหลงั ดว ยมูลคาท่ีจะได
รบั ซ่งึ หมายถงึ มลู คา หลังจากหกั คาเผ่ือหนี้สงสยั จะสูญ”

การประมาณหนสี งสัยจะสญู

กิจการสามารถเลอื กใชว ธิ ีการใดวธิ หี น่ึงในการตงั้ คา เผ่อื หนี้สงสัยจะสูญ
ได ดงั ตอ ไปนี้

วิธอี ัตรารอ ยละของยอดขายเช่ือ โดยยอดขายเช่ือท่ีใชเป็นยอด
ขายเช่ือสทุ ธิ เกดิ จาดยอดขายเช่ือหกั รับคืนและสวนลด และสวนลด
จาย

วธิ อี ัตรารอยละของลูกหนี้ที่คางชําระจําแนกตามอายุของลกู หนี้
กิจการควรทบทวนและปรับปรุงอัตรารอ ยละท่ีนํามาใชใ นการประมาณ
การอยูเ สมอ เพ่ือใหใกลเ คยี งกับความเป็นจริงและสอดคลอ งกบั
ประสบการณทเี่ กิดข้นึ ของแตล ะกจิ การ

วธิ ีพจิ ารณาลูกหนี้เป็นแตล ะราย เหมาะกับกิจการทีม่ ีลกู หนี้ไม
มากนัก โดยวิเคราะหค วามสามารถในการชาํ ระหนี้ของลูกหนี้แตล ะ
ราย

หนสี งสยั จะสญู (Doubtful Debt)

*มาตรฐานฯ กําหนดการตัดจําหนายเป็นหนี้สูญทางบญั ชี (ไมไ ด
กาํ หนดวิธกี ารตัดจาํ หนายหนี้สูญตามกฎหมาย) โดยปรับปรงุ ที่บัญชีลูก
หนี้และบญั ชีคา เผ่อื หนี้สงสยั จะสญู ท่เี กี่ยวขอ ง

หนสี ญู ได้รับคนื

มาตรฐานฯ กําหนดวธิ ีปฏิบตั สิ าํ หรบั หนี้สูญ (ทางบญั ชี) ไดรับคนื
โดยปรบั ปรงุ บญั ชลี ูกหนี้และคา เผ่อื หนี้สงสยั จะสญู ทเ่ี กย่ี วของพรอม
รายการรบั ชําระหนี้

“วิธที ่ี 2 เป็นวธิ ีทางเลือกสาํ หรับการใชนโยบายการบญั ชีตาม
ประกาศฉบับที่ 13/2555 หากเลอื กใชว ิธีนี้ตอ งเปิดเผยในหมายเหตุ
ประกอบงบการเงนิ ดวย”

การเปดเผยขอ้ มลู เกยี วกับลูกหนี

กิจการตอ งเปิดเผยขอมลู ตอ ไปนี้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
มลู คา หนี้สูญที่ตัดจําหนายระหวางงวด
หนี้สญู ไดรบั คนื สาํ หรับงวด
จํานวนและรายละเอียดของลูกหนี้ท่ีใชเป็นหลกั ทรพั ยค้าํ ประกนั

ตวั อยา่ งการเปดเผยขอ้ มลู เกยี วกบั ลูกหนใี นงบการเงิน



TFRS for NPAEs

สนิ ค้าคงเหลอื

Inventory

มาตรฐานการรายงานการเงินของประเทศไทย
สาํ หรบั กจิ การทไี่ มมีสว นไดเสยี สาธารณะ

สินค้าคงเหลอื

สนิ คา คงเหลอื หมายถงึ สินทรพั ย ซ่งึ มลี ักษณะใดลกั ษณะหน่ึง ดงั ตอไปนี้

ถือไวเพ่ือขายตามลกั ษณะการประกอบธรุ กิจตามปกติของกจิ การ
อยูในระหวางกระบวนการผลติ เพ่อื ใหเ ป็นสนิ คาสําเรจ็ รปู เพ่ือขาย
อยูใ นรูปของวตั ถุดบิ หรือวสั ดทุ ่ีมไี วเพ่อื ใชในกระบวนการผลติ สินคา
หรือใหบ ริการ
ตน ทนุ งานใหบรกิ ารสวนท่กี จิ การยงั ไมไ ดร บั รเู ป็นรายได

วธีการบนั ทึกบัญชสี นิ คา้ คงเหลอื

วธิ ีการบนั ทกึ บญั ชสี นิ คาคงเหลือแบงเป็น 2 วิธี คือ

1.วิธกี ารบันทึกบัญชีสนิ คาคงเหลอื เม่ือสนิ้ รอบระยะเวลาบญั ชี (Periodic
Inventory Method) หรอื อาจเรียกวาวิธสี นิ คาคงเหลือเม่ือสิน้ งวด เป็นวิธี
การบัญชซี ่งึ ไมบ ันทึกรายการบญั ชสี ินคา ทกุ ครัง้ เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงใน
จํานวนสนิ คา
2.วิธกี ารบันทกึ บัญชสี ินคา คงเหลอื แบบตอ เน่ือง (Perpetual Inventory
Method) เป็นวิธีการบัญชเี กยี่ วกับสินคาคงเหลือทีบ่ นั ทึกรายการบญั ชี
สนิ คา ทุกครงั้ ทีม่ ีการเปล่ียนแปลง

*เพ่อื การควบคมุ ภายในท่ดี ีควรบันทกึ บัญชแี บบ Perpetual Inventory
Method มากกวาการบันทกึ บัญชีแบบ Periodic Inventory Method

ความแตกต่างของวธกี ารบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบ
Perpetual กบั Periodic

การวดั มูลคา่ ของสนิ คา้ คงเหลือ

*สินคา คงเหลือ ตองวัดมูลคา ดว ยราคาทุนหรือมลู คาสทุ ธทิ ่ีจะไดร ับ แลว
แตม ูลคา ใดจะต่ํากวา ”

วธีการคาํ นวณต้นทุนของสินคา้ เมอื ขาย :

วิธีราคาเจาะจง (Specific Identification Inventory) เจาะจงใชราคา
ทุนของสินคา แตล ะหนวยทข่ี ายไปและคงเหลืออยู

วธิ เี ขา กอนออกกอน (FIFO) สินคา ทีเ่ ขา มากอ นหรอื ซ้อื มากอ นเป็น
สนิ คา ที่ขายออกไปกอ น

วิธถี ัวเฉลย่ี ถวงน้ําหนัก (Weighted Average-Cost) สนิ คา คงเหลอื
จะแสดงในราคาเฉล่ียจากการซ้อื หลาย ๆ ครงั้
*การตีราคาสินคา คงเหลอื โดยวธิ ี FIFO จะทาํ ใหส ินคาคงเหลือท่ีแสดงใน

งบแสดงฐานะการเงินมมี ลู คาใกลเคียงกบั ราคาท่เี ป็นอยใู นปัจจุบัน”

การเปดเผยขอ้ มูล

นโยบายการบัญชีที่ใชใ นการวัดมลู คาสินคา คงเหลอื และวธิ ที ่ใี ช
คาํ นวณราคาทุน

มูลคาตามบัญชรี วมของสินคาคงเหลอื และมลู คา ตามบญั ชขี อง
สินคา คงเหลอื แตละประเภทจาํ แนกตามความเหมาะสมของแตละกิจการ

มลู คาของสนิ คาคงเหลอื ทร่ี บั รเู ป็นคาใชจ า ยในการบริหาร
มูลคาของสนิ คาคงเหลือทป่ี รับลดลงและรบั รูเป็นสว นหน่ึงของ
ตน ทนุ ขาย
มูลคาการบนั ทึกกลับรายการมลู คา ของสินคาคงเหลือทป่ี รับลดลง
และรบั รเู ป็นสวนหน่ึงของตน ทนุ ขาย
มูลคาตามบัญชขี องสนิ คาคงเหลอื ท่ีใชเป็นหลักประกันหนี้สนิ

ตวั อย่างการเปดเผยขอ้ มูลเกยี วกบั สินคา้ คงเหลือ



เ งิ น ล ง ทุ น

INVESTMENT

เงินลงทนุ

ความหมาย

T F R S F O R N P A E S ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง เ งิ น ล ง ทุ น ไ ว้ ดั ง นี
เ งิ น ล ง ทุ น ห ม า ย ถึ ง ต ร า ส า ร ห นี แ ล ะ ต ร า ส า ร ทุ น ที กิ จ ก า ร มี ไ ว้
เ พื อ เ พิ ม ค ว า ม มั น คั ง ใ ห้ กั บ กิ จ ก า ร ไ ม่ ว่ า จ ะ อ ยู่ ใ น รู ป ข อ ง ส่ ว น
แ บ่ ง ที จ ะ ไ ด้ รั บ เ ช่ น ด อ ก เ บี ย ค่ า สิ ท ธิ แ ล ะ เ งิ น ป น ผ ล ห รื อ อ ยู่
ใ น รู ป ข อ ง ร า ค า ที เ พิ ม ขึ น ห รื อ ใ น รู ป ข อ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ที กิ จ ก า ร ไ ด้
รั บ เ ช่ น ป ร ะ โ ย ช น์ ที ไ ด้ รั บ จ า ก ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท า ง ก า ร ค้ า

ตั ว อ ย่ า ง

เ มื อ วั น ที 5 มี น า ค ม 2 5 X 4 บ ริ ษั ท บุ ณ ย ณั ฐ จาํ กั ด ซื อ
ห ลั ก ท รั พ ย์ เ ผื อ ข า ย 2 0 0 , 0 0 0 บ า ท ณ วั น ที 3 1 ธั น ว า
ม ค ม 2 5 X 4 มู ล ค่ า ยุ ติ ธ ร ร ม ข อ ง ห ลั ก ท รั พ ย์ เ ผื อ ข า ย
2 7 0 , 0 0 0 บ า ท ต่ อ ม า วั น ที 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 X 5
บ ริ ษั ท เ ป ลี ย น ค ว า ม ตั ง ใ จ โ ด ย จ ะ ถื อ ห ลั ก ท รั พ ย์ ไ ว้ เ พื อ
ค้ า แ ท น ณ วั น นี ห ลั ก ท รั พ ย์ ดั ง ก ล่ า ว มี มู ล ค่ า ยุ ติ ธ ร ร ม
250,000 บาท

การแสดงรายการเงนิ ลงทุน

1 . ก า ร แ ส ด ง ร า ย ก า ร เ งิ น ล ง ทุ น ใ น ล ง แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น
ณ วั น ที ใ น ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น กิ จ ก า ร ที ต้ อ ง แ ย ก

แ ส ด ง สิ น ท รั พ ย์ เ ป น ป ร ะ เ ภ ท ห มุ น เ วี ย น แ ล ะ ไ ม่ ห มุ น เ วี ย น
ใ น ง บ ก า ร เ งิ น กิ จ ก า ร ต้ อ ง จั ด ป ร ะ เ ภ ท เ งิ น ล ง ทุ น อ อ ก เ ป น
เ งิ น ล ง ทุ น ชั ว ค ร า ว ห รื อ เ งิ น ล ง ทุ น ร ะ ย ะ ย า ว

2. การแสดงรายการเงนิ ลงทนุ ในงบกาํ ไรขาดทนุ
รายการทตี ้องรวมอยู่ในงบกาํ ไรขาดทุนสําหรบั งวด มีดังนี

1) รายไดด้ อกเบยี คาสทิ ธิและเงินปนผลทีเกิดจากเงนิ ลงทุนชวั คราวและ
เงนิ ลงทนุ ระยะยาว
2) กาํ ไรหรอื ขาดทุนสทุ ธิจากการจาํ หน่ายเงนิ ลงทุนชวั คราวและเงนิ ลงทนุ
ระยะยาว
3) กาํ ไรหรอื ขาดทุนสทุ ธทิ เี กดิ จากการเปลียนแปลงมลู คา่ ยตุ ธิ รรมของ
เงนิ ลงทุนชวั คราว
4) กําไรหรอื ขาดทุนจากการโอนเปลยี นประเภทเงนิ ลงทนุ
5) ขาดทนุ จากการลดมูลค่าลงอย่างถาวร

การเปดเผยขอ้ มูลสําหรบั เงินลงทุน

T F R S F O R N P A E S กาํ ห น ด ใ ห้ เ ป ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี ย ว กั บ
เ งิ น ล ง ทุ น ไ ว้ ดั ง นี
1 . สํา ห รั บ เ งิ น ล ง ทุ น ใ น ต ร า ส า ร ห นี ที ไ ม่ ใ ช่ ห ลั ก ท รั พ ย์ ที
อ ยู่ ใ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ต ล า ด แ ล ะ เ งิ น ล ง ทุ น ใ น
ต ร า ส า ร ห นี ที เ ป น ห ลั ก ท รั พ ย์ ที อ ยู่ ใ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง
ต ล า ด ที กิ จ ก า ร ตั ง ใ จ ถื อ จ น ค ร บ กํา ห น ด ใ ห้ กิ จ ก า ร เ ป ด
เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี ย ว กั บ ร า ค า ทุ น ตั ด จาํ ห น่ า ย จาํ น ว น เ งิ น ต า ม
สั ญ ญ า แ ล ะ ร ะ ย ะ เ ว ล า ค ร บ กาํ ห น ด
2 . สาํ ห รั บ เ งิ น ล ง ทุ น ใ น ต ร า ส า ร ห นี ที เ ป น ห ลั ก ท รั พ ย์ ที อ ยู่
ใ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ต ล า ด ที กิ จ ก า ร ไ ม่ ไ ด้ ตั ง ใ จ ถื อ จ น
ค ร บ กํา ห น ด ใ ห้ กิ จ ก า ร เ ป ด เ ผ ย ข้ อ มู ล เ กี ย ว กั บ มู ล ค่ า
ยุ ติ ธ ร ร ม ร า ค า ทุ น ตั ด จํา ห น่ า ย จาํ น ว น เ งิ น ต า ม สั ญ ญ า
กํา ไ ร ( ข า ด ทุ น ) ที ยั ง ไ ม่ เ กิ ด ขึ น จ า ก ก า ร ป รั บ มู ล ค่ า เ งิ น
ล ง ทุ น แ ล ะ ร ะ ย ะ เ ว ล า ค ร บ กํา ห น ด
3 . สาํ ห รั บ เ งิ น ล ง ทุ น ใ น ต ร า ส า ร ทุ น ที ไ ม่ ใ ช่ ห ลั ก ท รั พ ย์ ที
อ ยู่ ใ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ต ล า ด ใ ห้ กิ จ ก า ร เ ป ด เ ผ ย ข้ อ มู ล
เ กี ย ว กั บ ร า ค า ทุ น แ ล ะ ข า ด ทุ น จ า ก ก า ร ป รั บ มู ล ค่ า เ งิ น
ล ง ทุ น ( ถ้ า มี )
4 . สาํ ห รั บ เ งิ น ล ง ทุ น ใ น ต ร า ส า ร ทุ น ที เ ป น ห ลั ก ท รั พ ย์ ที อ ยู่
ใ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ต ล า ด ใ ห้ กิ จ ก า ร เ ป ด เ ผ ย ข้ อ มู ล
เ กี ย ว กั บ มู ล ค่ า ยุ ติ ธ ร ร ม ร า ค า ทุ น แ ล ะ กาํ ไ ร ( ข า ด ทุ น ) ที
ยั ง ไ ม่ เ กิ ด ขึ น จ า ก ก า ร ป รั บ มู ล ค่ า เ งิ น ล ง ทุ น
5 . ใ ห้ เ ป ด เ ผ ย ข้ อ จํา กั ด ใ น ก า ร ข า ย เ งิ น ล ง ทุ น เ ช่ น
ก า ร นํา เ งิ น ล ง ทุ น ไ ป ใ ช้ เ ป น ห ลั ก ป ร ะ กั น เ ป น ต้ น ห า ก
เ งิ น ล ง ทุ น ข้ า ง ต้ น มี ข้ อ จํา กั ด ดั ง ก ล่ า ว



TFRS FOR NPAEs

ทีดิน อาคารและอุปกรณ์

(Property Plant and Equipment)

มาตรฐานการรายงานทางการเงินของประเทศไทย
สาํ หรบั กิจการทีไมม่ สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ

ทีดินอาคารและอุ ปกรณ์
(PROPERTY PLANT AND
EQUIPMENT)

คือสนิ ทรพั ยท์ ีมตี ัวตนทีกิจการมไี วเ้ พอื ใช้
ประโยชนใ์ นการผลิตในการจาํ หนา่ ยสนิ ค้า
ใหบ้ รกิ ารใหเ้ ชา่ หรอื ใชใ้ นการบรหิ ารงาน
ซงึ กิจการคาดวา่ จะใชป้ ระโยชนม์ ากกวา่
หนงึ รอบระยะเวลาบญั ชี

ก า ร ร ับ รู ้ร า ย ก า ร ที ดิ น อ า ค า ร
และอุ ปกรณ์

สาํ หรับการรับรู้รายการเมือเริมแรกและเมือ
ภายหลังเช่น ซ่อมบาํ รุง ต่อเติม ดัดแปลง
ปรับปรุง เปลียนแทน ต้องเข้าเงือนไขต่อไป
1 . มี ค ว า ม เ ป น ไ ป ไ ด้ ค่ อ น ข้ า ง แ น่ ที กิ จ ก า ร จ ะ ไ ด้
รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจาก
รายการนัน
2 . กิ จ ก า ร ส า ม า ร ถ วั ด มู ล ค่ า ต้ น ทุ น ข อ ง ร า ย ก า ร
นั น ไ ด้ อ ย่ า ง น่ า เ ชื อ ถื อ
ตามปกติชินส่วนอะไหล่และอุ ปกรณ์ทีใช้ในการ
ซ่อมบาํ รุงจะจัดประเภทเปนสินค้าคงเหลือและ
รับรู้ในงบกําไรขาดทุนเมือนาํ มาใช้อย่างไร
ก็ตามชินส่วนอะไหล่ทีสาํ คัญและอุ ปกรณ์ที
สาํ รองไว้ใช้งานทีกิจการคาดว่าจะใช้ประโยชน์
ได้มากกว่าหนึงรอบระยะเวลาการรายงานให้
ถือเปนทีดินอาคารและอุ ปกรณ์

ก า ร เ ป ด เ ผ ย ข้ อ มู ล

เกณฑ์การวดั มูลค่าทีใชก้ ําหนดมูลค่าตามบญั ชกี ่อนหกั ค่าเสอื ม
ราคาสะสมของสนิ ทรพั ยแ์ ละค่าเผอื การลดมูลค่า
วธิ กี ารคิดค่าเสอื มราคา
อายุการใหป้ ระโยชน์หรอื อัตราค่าเสอื มราคาทีใช้
มูลค่าตามบญั ชกี ่อนหกั ค่าเสอื มราคาสะสมและค่าเพอื การดอ้ ยค่า
ณ ต้นงวดและสนิ งวด รวมทังกระทบยอดทีแสดงถึง มูลค่า
สนิ ทรพั ยท์ ีเพมิ ขนึ ค่าเสอื มราคาและการเปลียนแปลงอืน
ขอ้ บง่ ชวี า่ รายการทีดินอาคารและอุปกรณ์มมี ูลค่าลดลงอยา่ ง
ถาวร
จาํ นวนและขอ้ จาํ กัดในกรรมสทิ ธขิ องทีดนิ อาคารและอุปกรณ์ทีใช้
เปนหลักประกันหนสี นิ
จาํ นวนเงินภาระผกู พนั ตามสญั ญาทีตกลงไวเ้ พอื ใหไ้ ดม้ าซงึ ทีดนิ
อาคารและอุปกรณ์

ตั ว อ ย่ า ง

กิจการซอื อาคารและไดว้ า่ จา้ งผรู้ บั เหมาใหต้ ิดตังระบบท่อนาํ ประปาโดยใชท้ ่อ
เหล็กเปนเงิน300,000บาทประมาณอายุการใหป้ ระโยชนข์ องท่อประปาไว1้ 5ป
ในปที10กิจการตัดสนิ ใจเปลียนระบบท่อนาํ ประปาจากท่อเหล็กเปนท่อพวี ซี โี ดย
ลงทนุ 150,000บาทในการนกี ิจการไมต่ ้องจา่ ยค่ารอื ถอนท่อเหล็กเนอื งจาก
ยกท่อเหล็กใหผ้ รู้ อื ถอน

กิ จ ก า ร บั น ทึ ก บั ญ ชี ดั ง นี

เดบติ ท่อนาํ ประปา (ใหม)่ 150,000

ค่าเสอื มราคาสะสม-ท่อนาํ ประปา (เก่า) *200,000

ผลขาดทนุ จากการจาํ หนา่ ยสนิ ทรพั ย์ 100,000

เครดติ เงินสด 150,000

ท่อนาํ ประปา (เก่า) 300,000

บนั ทึกการยกเลิกการใชท้ ่อเหล็กและติดตังท่อพวี ซี ี

*การคิดค่าเสอื ม
300,000/15 ป = 20,000 บาทต่อป
จากโจทยก์ ิจการใชท้ ่อประปาเก่าเพยี ง 10 ป
ดงั นนั ค่าเสอื มราคาสะสม = 20,000*10 ป = 200,000 บาท

TFRS FOR NPAEs

สนิ ทรพั ยไ์ มม่ ี
ตัวตน

INTANGIBLE ASSETS

ม า ต ร ฐ า น ก า ร ร า ย ง า น ท า ง ก า ร เ งิ น ข อ ง
ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย สาํ ห รั บ กิ จ ก า ร ที ไ ม่ มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย

สาธารณะ

สนิ ทรัพย์ไม่มตี วั ตน
INTANGIBLE ASSETS

สินทรพั ย์ไม่มีตัวตน

หมายถงึ สินทรพั ยท์ ไี มเ่ ปนตวั เงนิ ที
สามารถระบไุ ดแ้ ละไมม่ ลี กั ษณะทางกายภาพ
ตวั อยา่ งเชน่ สินทรพั ยท์ างปญญา โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ เครอื งหมายการค้า ลขิ สิทธิ สิทธิ
บตั ร สัมปทาน และฟลม์ ภาพยนตรเ์ ปนตน้

การรบั ร้สู ินทรพั ย์ไม่มตี ัวตน

กจิ การรบั รูส้ ินทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตนไดก้ ต็ อ่ เมอื เขา้ เกณฑท์ กุ ขอ้ ตอ่ ไปนี
1.มคี วามเปนไปไดค้ ่อนขา้ งแน่ ทกี จิ การจะไดร้ บั ประโยชน์ เชงิ เศรษฐกจิ ในอนาคตทจี ะ

เกดิ จากสินทรพั ยน์ ั น
2.ราคาทนุ ของสินทรพั ยส์ ามารถวดั มลู ค่าไดอ้ ยา่ งน่ าเชอื ถอื

ในบางกรณี กจิ การกอ่ ให้เกดิ รายจา่ ยเพือให้ไดม้ าซงึ ประโยชน์ เชงิ เศรษฐกจิ ใน
อนาคต แต่ ไมส่ ามารถรบั รูร้ ายจา่ ยดงั กลา่ วเปนสินทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตนหรอื สินทรพั ยอ์ นื ได้
เชน่

รายจา่ ยเกยี วกบั กจิ กรรมกอ่ นการดําเนิ นงาน เชน่ ค่าทปี รกึ ษากฎหมายและค่าใชจ้ า่ ย
ดา้ น เลขานกุ าร ทเี กดิ ขนึ ในการจดั ตงั กจิ การให้เปนนิ ตบิ คุ คล รายจา่ ยในการเปด
โรงงานหรอื ธุรกจิ ใหม่ หรอื รายจา่ ยสําหรบั เรมิ การดําเนิ นงานใหม่ หรอื การเปดตวั
ผลติ ภณั ฑใ์ หมห่ รอื กรรมวธิ ใี หม่
รายจา่ ยในกจิ กรรมการอบรมบคุ ลากรตา่ ง ๆ
รายจา่ ยในกจิ กรรมการโฆษณาและการส่งเสรมิ การขาย
รายจา่ ยในการยา้ ยสถานทหี รอื รายจา่ ยในการจดั องค์กรใหม่ ไมว่ า่ จะเปนการยา้ ยสถาน
ทหี รอื จดั องค์กรใหมท่ งั หมดหรอื บางส่วน

ตัวอย่างการบนั ทึกบญั ชี

บรษิ ัท ก ซอื สิทธบิ ตั รในราคา 1,000 บาทใน 1 ป
บรษิ ัทใชว้ ธิ กี ารตรี าคาใหมท่ กุ ป (ในตวั อยา่ งนี ไมพ่ ิจารณ่ผลกระทบของค่าตดั จําหน่ าย)
มลู ค่ายตุ ธิ รรมของสิทธบิ ตั รในแตล่ ะปเปนดงั นี

การแสดงรายการและการเปดเผยขอ้ มลู

กจิ การตอ้ งเปดเผยขอ้ มลู ทกุ ขอ้ ตอ่ ไปนี ในงบการเงนิ สําหรบั สินทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตน
แตล่ ะประเภท
อายกุ ารให้ประโยชน์ หรอื อตั ราการตดั จําหน่ ายของสินทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตน
วธิ กี ารตดั จําหน่ ายสําหรบั สินทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตน
มลู ค่าตามบญั ชกี อ่ นหักค่าตดั จําหน่ ายสะสม ค่าตดั จําหน่ ายสะสม และค่าเพือการ
ลดมลู ค่า (ถา้ ม)ี
การกระทบยอดระหวา่ งมลู ค่าตามบญั ชี ณ วนั ตน้ งวดกบั มลู ค่าตามบญั ชี ณ วนั สิน
งวดทแี สดงถงึ รายการตอ่ ไปนี
- จํานวนเงนิ ของสินทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตนทเี พิมขนึ
- ค่าตดั จําหน่ ายทรี บั รูใ้ นระหวา่ งงวด

นอกจากนี กจิ การตอ้ งเปดเผยขอ้ มลู ทกุ ขอ้ ตอ่ ไปนี ในงบการเงนิ
มลู ค่าตามบญั ชี และระยะเวลาการตดั จําหน่ ายทเี หลอื อยสู่ ําหรบั สินทรพั ยไ์ มม่ ี
ตวั ตนแตล่ ะรายการทมี สี าระสําคัญตอ่ งบการเงนิ ของกจิ การ
มลู ค่าตามบญั ชขี องสินทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตนทมี ขี อ้ จํากดั ในการใช้ และมลู ค่าตาม
บญั ชขี องสินทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตนทนี ํ าไปวางเปนประกนั หนี สินไว้
จํานวนเงนิ ทกี จิ การผกู มดั ตามสัญญาวา่ จะซอื สินทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตน
ขอ้ บง่ ชวี า่ รายการสินทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตนมมี ลู ค่าลดลงอยา่ งถาวร



TFRS FOR NPAES

อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์
เพื อการลงทุน

INVESTMENT PROPERTY

ม า ต ร ฐ า น ก า ร ร า ย ง า น ก า ร เ งิ น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
สํา ห รั บ กิ จ ก า ร ที ไ ม่ มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย ส า ธ า ร ณ ะ

อสังหารมิ ทรัพยเ์ พือการลงทนุ

ความหมาย

อสังหาริมทรัพยเพ่อื การลงทนุ หมายถึง อสังหารมิ ทรัพย (ที่ ดนิ หรืออาคาร หรือสว นของอาคาร หรือทงั้ ท่ี
ดินและอาคาร) ท่ีถือครองโดยเจาของหรือโดยผเู ชา ภายใตสัญญาเชา การเงิน เพ่ือหาประโยชนจากรายไดค าเชา
หรอื จากการเพม่ิ ข้ึนของมูลคา ของสินทรัพย หรือทัง้ สองอยาง ทงั้ นี้ไมไ ดมไี วเพ่อื ใชใ นการผลติ หรือจดั หาสนิ คา
หรอื ใหบ ริการ หรือใชใ นการบริหารงานของกจิ การหรือขายตามลักษณะการประกอบธรุ กิจตามปกติ

การรบั รรู้ ายการและการวัดมูลค่าเมือเริมแรกของอสงั หารมิ ทรัพยเ์ พือการลงทนุ

กิจการตอ้ งรบั ร้อู สังหาริมทรัพยเ์ พือการลงทุนเปนสินทรพั ย์ เมอื เปนไปตามเงือนไขทกุ ข้อตอ่ ไปนี
1. มคี วามเปนไปไดค้ อ่ นข้างแนท่ กี จิ การจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกจิ ในอนาคต จากอสงั หาริมทรพั ยเ์ พือการลงทุน
2. วดั ราคาทุนของอสงั หารมิ ทรัพยเ์ พือการลงทนุ ได้อย่างน่าเชอื ถือ
กจิ การต้องวดั มลู คา่ เมือเริมแรกของอสงั หาริมทรัพย์เพือการลงทนุ ด้วยราคาทุน ซึงรวมถงึ ต้นทนุ ในการ
ทํารายการ

การวดั มูลค่าภายหลังการรบั ร้รู ายการอสังหารมิ ทรพั ยเ์ พือการลงทุน

กิจการต้องวัดมูลคา่ ภายหลังการรบั รรู้ ายการ โดยใชวธิ ีราคาทนุ โดยแสดงรายการอสังหาริมทรัพยเ์ พือ
การลงทนุ นนั ดว้ ยราคาทนุ หกั คา่ เสอื มราคาสะสม และค่าเผอื การลดลงของมูลค่า (ถ้ามี) ไม่อนุญาตใหใ้ ชว้ ธิ ีมูลค่า
ยุติธรรม

หากสามารถวัดมลู คา่ ยตุ ธิ รรมไดอ้ ย่างนา่ เชอื ถอื กจิ การอาจเปดเผยมลู ค่ายตุ ิธรรมและเกณฑ์ในการกาํ หนด
มูลค่ายตุ ิธรรมในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน

การโอนเปลยี นประเภทอสงั หาริมทรพั ย์เพือการลงทนุ

การโอนระหว่างอสงั หาริมทรพั ยเ์ พือการลงทนุ อสังหารมิ ทรพั ย์ทีมไี วเ้ พือใช้งานกบั สินคา้ คงเหลอื จะไม่
ทาํ ใหม้ ูลคา่ ตามบญั ชขี องอสังหารมิ ทรัพยน์ นั เปลียนแปลง และจะไม่ทาํ ให้ราคาทุนของอสงั หาริมทรพั ยท์ ีใช้ในการ
วดั มลู คา่ หรอื การเปดเผยข้อมูลเปลียนแปลง

การจาํ หน่ายอสงั หารมิ ทรัพยเ์ พือการลงทนุ

กิจการตอ้ งตัดรายการอสังหาริมทรพั ย์เพือการลงทุนออกจากงบแสดงฐานะการเงินเมือกจิ การ จาํ หนา่ ย
หรือเลิกใช้ อสังหาริมทรพั ย์เพือการลงทนุ นันอย่างถาวร และคาดวา่ จะไม่ได้รบั ประโยชน์ เชงิ เศรษฐกจิ ในอนาคต
จากการจาํ หน่ายอกี

ผลกําไรหรอื ขาดทุนที เกดิ จากการเลกิ ใช้ หรือจาํ หนา่ ยอสงั หารมิ ทรพั ย์เพือการลงทุนตอ้ ง พิจารณาจาก
ผลต่างระหว่างจํานวนเงินที ได้รบั สทุ ธิจากการจาํ หน่ายกับมลู ค่าตามบญั ชี ของสินทรัพยน์ ัน และตอ้ งรบั ร้กู ําไร
หรอื ขาดทนุ ในงวดทเี ลกิ ใช้ หรือจาํ หน่ายสนิ ทรพั ยน์ นั

การเปดเผยขอ้ มูล

จํานวนเงนิ ที รบั รใู้ นงบกําไรขาดทนุ สาํ หรบั
รายไดค้ ่าเช่าจากอสังหารมิ ทรัพยเ์ พือการลงทุน
คา่ ใชจ้ ่ายในการดาํ เนินงานทางตรง รวมทังค่าซ่อมแซมบํารุงรักษาอสงั หาริมทรัพย์เพือการ
ลงทุนทกี อ่ ใหเ้ กดิ รายได้
คา่ ใช้จา่ ยในการดําเนินงานทางตรง รวมทังค่าซอ่ มแซมบาํ รุงรักษาอสังหารมิ ทรัพยเ์ พือการ
ลงทุนซึงไม่ก่อให้เกิดรายได้
มูลค่าของอสงั หาริมทรพั ย์เพือการลงทนุ ทีลดลงระหวา่ งงวด

ขอ้ จาํ กัดและจํานวนเงินของอสังหาริมทรัพยเ์ พือการลงทุน
ข้อตกลงสําคัญในการซือ กอ่ สร้าง หรือพัฒนาอสงั หาริมทรพั ย์เพือการลงทุน
วธิ คี ดิ ค่าเสือมราคาอายุการใชง้ านหรืออัตราคา่ เสือมทใี ช้
ราคาทุนและคา่ เสอื มราคาสะสม ณ วนั ต้นงวดและสนิ งวด กระทบยอดระหวา่ งมูลคา่ ตามบญั ชขี อง
อสงั หารมิ ทรัพยเ์ พือการลงทุน ณ วันตน้ งวดและสินงวด

ตัวอย่างการบันทึกบญั ชีอสงั หาริมทรัพย์เพือการลงทุน

บรษิ ทั เชญิ ตะวนั จาํ กดั มีขอ้ มูลเกียวกบั ทีดิน อาคารและอปุ กรณ์ (PPE) และ อสงั หาริมทรัพยเ์ พือการลงทุน (IP) ดงั นี

ทีดนิ อาคารและอปุ กรณ์ (PPE) ณ วนั ที 1 มกราคม 25x4 ประกอบดว้ ย

ราคาทุน ทีดนิ ทดี ินและอาคาร หนว่ ย : บาท
500,000 330,000 รวม
หกั ค่าเสือมราคาสะสม - (24,000)
500,000 306,000 830,000
ราคาตามบัญชี ณ วันที 1 มกราคม 25x4 (24,000)
800,000

บรษิ ัทซอื ทดี ินมาเมอื วันที 1 มิถนุ ายน 25x1 และใหบ้ คุ คลภายนอกเช่าในอตั ราเดอื นละ 8,000 บาท กาํ หนด
จ่ายค่าเช่าทุกสนิ ป ส่วนทดี นิ และอาคารนันซือมาเมอื วนั ที 1 มกราคม 25x2 เปนอาคารพาณชิ ย์ จาํ นวน 3 คูหา
คหู าละ 110,000 บาท มอี ายกุ ารให้ประโยชน์ 25 ป คาดวา่ เมอื เลกิ ใชง้ านจะมมี ลู ค่าคงเหลืออาคารละ 10,000 บาท
โดยใชเ้ ปนทีทําการของบรษิ ทั 2 คูหา ส่วนอกี 1 คูหา ใหบ้ ุคคลภายนอกเชา่ ในอตั ราเดอื นละ 3,000 บาท
กําหนดจา่ ยคา่ เช่าทุกสนิ ป

วนั ที 1 ม.ิ ย. 25x4 ฝายบรหิ ารมมี ติให้ปรับปรุงบญั ชีทเี กยี วกบั ทดี ินและอาคารทีเปนไปตามคํานยิ ามของ
อสงั หารมิ ทรพั ยเ์ พือการลงทุนให้ถกู ต้อง เนอื งจากมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สําหรบั กิจการทีไมม่ สี ่วน
ไดเ้ สียสาธารณะมีผลบงั คับใช้

1 ก.ค. 25x4

เดบิต อสงั หารมิ ทรัพยเ์ พือการลงทุน – ทีดิน 500,000

อสังหารมิ ทรัพยเ์ พือการลงทุน - ทดี นิ และอาคาร 110,000

คา่ เสือมราคาสะสม - PPE – ทีดินและอาคาร 2ป 8,000

เครดติ ทดี ิน อาคารและอปุ กรณ์ – ทดี ิน 500,000

ทีดิน อาคารและอปุ กรณ์ – ทีดินและอาคาร 110,000

คา่ เสอื มราคาสะสม - IP ทีดนิ และอาคาร 8,000

บนั ทึกการปรบั ปรงุ บญั ชที ีเกียวกบั ทดี ินและอาคารเปนไปตามคาํ นยิ ามของอสงั หาริมทรัพยเ์ พือการลงทนุ ให้ถูกตอ้ ง

วนั ที 1 ต.ค. 25x4 ฝายบรหิ ารมีมติให้โอนเปลยี นประเภทอาคารทใี ชเ้ ปนทที าํ การของบรษิ ัทจาํ นวน 1 คูหา ไปเปน
อสงั หาริมทรพั ย์เพือการลงทุน เนอื งจากมีผตู้ ้องการเช่า และเริมเชา่ ตังแต่วนั ที 1ตุลาคม 25x4 ในอตั ราเดือนละ
4,000 บาท กําหนดจา่ ยค่าเช่าทุกสินป

1 ต.ค. 25x4

เดบิต คา่ เสือมราคา - PPE – ทีดินและอาคาร 3,000

เครดติ ค่าเสอื มราคาสะสม - PPE - ทีดนิ และอาคาร 3,000

บนั ทึกคา่ เสอื มราคาของอาคารทที าํ การกอ่ นทีจะโอนไปเปนอสังหารมิ ทรัพยเ์ พือการลงทนุ 110,000
11,000
เดบติ อสังหารมิ ทรพั ยเ์ พือการลงทนุ – ทีดนิ และอาคาร 110,000

ค่าเสอื มราคาสะสม - PPE - ทดี นิ และอาคาร 11,000

เครดิต ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ – ทีดินและอาคาร

คา่ เสือมราคาสะสม – IP - ทดี นิ และอาคาร

บันทึกการโอนรายการทดี ินและอาคารไปเปนอสังหาริมทรัพยต์ ามมตขิ องผบู้ รหิ าร

วันที 31 ธ.ค. 25x4 บริษัทได้รับคา่ เช่าจากผู้เชา่ ทกุ รายตามทตี กลง และฝายบริหารได้พิจารณาแลว้ คาดว่าอายกุ าร

ใหป้ ระโยชน์ มลู ค่าคงเหลือ และรปู แบบการเสือมมูลค่าของอาคารไม่เปลียนแปลง ไปจากเดมิ

31 ธ.ค. 25x4

เดบติ เงินฝากธนาคาร 144,000

เครดิต รายไดค้ ่าเช่า 144,000

บนั ทกึ รายการรับรายได้ค่าเช่า

เดบติ ค่าเสือมราคา - PPE – ทีดินและอาคาร 4,000 4,000
เครดติ คา่ เสอื มราคาสะสม - PPE - ทดี ินและอาคาร 5,000 5,000

บนั ทกึ ค่าเสือมราคาของอาคารทีทาํ การ

เดบติ ค่าเสือมราคา - IP – ทดี ินและอาคาร
เครดิต ค่าเสือมราคาสะสม - IP ทีดนิ และอาคาร

บนั ทกึ ค่าเสือมราคาของอสงั หารมิ ทรัพยเ์ พือการลงทนุ

การแสดงรายการ หนวย : บาท

บรษิ ัท เชญิ ตะวนั จาํ กดั 696,000
งบแสดงฐานะการเงิน (บางสว่ น) 98,000

ณ วนั ที 31 ธนั วาคม 25x4

สนิ ทรพั ยไมห มุนเวียน
อสังหาริมทรัพยเ พ่ือการลงทนุ
ทด่ี ิน อาคารและอปุ กรณ

บรษิ ทั เชิญตะวนั จาํ กัด หน่วย : บาท
งบกาํ ไรขาดทนุ (บางสว่ น)
ณ วนั ที 31 ธนั วาคม 25X4 144,000

รายได้ 5,000
รายไดค้ ่าเช่า 7,000

ค่าใชจ้ ่าย
ค่าเสือมราคา - อสังหาริมทรัพยเ์ พือการลงทนุ
ค่าเสอื มราคา - ทดี ิน อาคารและอุปกรณ์



BORROWING COSTS

ตน้ ทุนการกยู้ มื

BORROWING COSTS

ตน้ ทุนการกยู้ ืม

TFRS FOR NPAES กําหนดคํานิยามของ
ต้นทุนการกูย้ ืม ดงั นี

ต้นทนุ การกู้ยมื หมายถงึ ดอกเบียและตน้ ทนุ อืนทีเกิด
ขนึ จากการกยู้ มื ของกจิ การโดยตน้ ทนุ การกู้ยมื อาจรวม
ถงึ ดอกเบยี ทีเกิดจากการเงนิ เบกิ เกินบญั ชีธนาคารและ
จากเงินก้ยู มื ระยะสนั และระยะยาว รวมทังภาษที ี
เกยี วข้องกับดอกเบียดังกลา่ วทีผ้กู ้ตู อ้ งรับภาระ จาํ นวนที
ตัดบญั ชีของส่วนลดหรือสว่ นเกินทีเกยี วกบั การกยู้ ืม
จาํ นวนทีตดั บัญชขี องรายจ่ายทีเกียวกบั การจัดการกู้ยมื
และผลต่างจากอตั ราแลกเปลียนทเี กิดจากการกู้ยืมเงนิ
ตราตา่ งประเทศส่วนทีนํามาปรับปรุงกับต้นทุนของ
ดอกเบยี

การรบั รู้รายการตน้ ทุนการกู้ยมื

ต้นทนุ การกยู้ มื แบ่งออกไดเ้ ปน 2 ประเภทตามความ
เกียวข้องกบั สนิ ทรพั ยท์ ีเขา้ เงอื นไขคือ

1) ต้นทนุ การกยู้ มื ทีเกียวขอ้ งโดยตรงกบั สนิ ทรัพย์ทีเขา้ เงอื นไข
หมายถงึ ตน้ ทนุ การกยู้ ืมทีเกดิ ขึนและเกยี วขอ้ งกับการไดม้ า การ
กอ่ สรา้ ง หรอื การผลิตเพือเตรยี มสภาพใหส้ นิ ทรัพยท์ ีเขา้ เงือนไข
พรอ้ มทีจะใชง้ านได้ตามประสงคห์ รือพรอ้ มทีจะขาย
เดบติ สนิ ทรัพยร์ ะหว่างกอ่ สร้าง XX

เครดิต เงินสด / ดอกเบียค้างจ่าย XX
2) ต้นทนุ การกู้ยมื อนื หมายถงึ ตน้ ทนุ การกยู้ มื ทีไมเ่ กียวข้องโดยตรง
กบั สินทรัพย์ทีเขา้ เงือนไขหรือตน้ ทุนทีเกิดขึนกอ่ นหรือหลังการไดม้ า
การก่อสร้างหรือการผลิตสนิ ทรัพย์ทีเขา้ เงอื นไขใหอ้ ยู่ในสภาพพรอ้ ม
ทีจะใชง้ านไดต้ ามประสงค์หรอื พร้อมทีจะขาย

เดบิต ดอกเบียจ่าย XX
เครดติ เงนิ สด / ดอกเบียคา้ งจา่ ย XX

การเปดเผยขอ้ มูลเกยี วกับต้นทนุ การกยู้ มื

กจิ การต้องเปดเผยขอ้ มลู ทกุ ขอ้ ต่อไปนี
1.จาํ นวนต้นทุนการกยู้ มื ทีรวมเปนราคาทุนของ

สินทรัพยใ์ นระหวา่ งงวด
2.อัตราการตังขึนเปนทนุ ทีใช้คํานวณตน้ ทนุ การกู้

ยืมทีอนญุ าตให้รวมเปนราคาทุนของสินทรพั ย์

ตัวอยา่ ง

บรษิ ัท ได้ชําระคา่ ก่อสรา้ งโรงงานไปบางส่วนแลว้ จาํ นวน 20 ล้านบาท
ตน้ ทนุ การกู้ยมื ทีอนญุ าตให้เปนราคาทนุ ของสินทรพั ยค์ ํานวณได้ดงั นี
งวดที วนั ทีได้รับเงินกู้ จาํ นวนเงนิ ก(ู้ บาท) ดอกเบียจ่าย(บาท)
1 1 ม.ิ ย. 25X1 8,000,000 8,000,000 X 12%
X 7/12 = 560,000

2 1 ก.ย. 25X1 20,000,000 20,000,000 X 12%
X 4/12 = 800,000

3 1 ธ.ค. 25X1 12,000,000 12,000,000 X 12%
X 1/12 = 120,000
รวม 40,000,000 1,480,000
กิจการสามารถรวมตน้ ทุนการกู้ยืม 1,480,000 บาทเปนราคาทุนของ
สนิ ทรพั ย์ไดเ้ นืองจากโรงงานเปนสินทรัพย์ทีเข้าเงอื นไขรายจ่ายเกียว
กบั โรงงานได้เกดิ ขนึ ตงั แต่ 1 มิ.ย. 25X1 และโรงงานอยู่ระหว่างการ
ดําเนินการทจี ําเปนในการเตรยี มความพรอ้ มใหโ้ รงงานอย่ใู นสภาพที
พรอ้ มจะใชง้ านได้ตามประสงค์
การบันทึกบญั ชเี ปนดังนี
เดบติ โรงงานระหวา่ งกอ่ สรา้ ง 1,480,000
เครดิต ดอกเบียค้างจ่าย / เงนิ สด 1,480,000



TFRS FOR NPAES

สัญญาเชา่

Áҵðҹ¡ÒÃÃÒ§ҹ·Ò§à§Ô¹¢Í§»ÃÐà·Èä·Â
ÊÒí ËÃºÑ ¡¨Ô ¡Ò÷èäÕ Á‹ÁÕÊǹ䴌àÊÂÕ ÊÒ¸ÒóÐ

สัญญาเชา หมายถึง สัญญาหรอื ขอ ตกลงท่ใี หเ ชา ที่ไดส ิทธแิ กผูเชา ในการใชสินทรพั ยส าํ หรบั ชว งเวลาท่ตี กลงกันเพ่อื
แลกเปล่ยี นกับคาตอบแทนซึ่งไดร บั ชําระในงวดเดยี วหรือหลายงวด
ประเภทสญั ญาเชา มี2ประเภทดงั นี้

1. สญั ญาเชาการเงิน -สญั ญาเชาที่ทําใหเ กิดการโอนความเสีย่ งและผลตอบแทนทั้งหมดหรอื เกอื บทงั้ หมดที่ผูเ ปน
เจา ของจึงไดรับจากสินทรพั ยใ หแกผเู ชา ไมวา ในท่ีสดุ การโอนกรรมสทิ ธิ์จะเกิดขน้ึ หรือไม
2. สัญญาเชาดําเนนิ งาน -สัญญาเชาที่มิใชส ัญญาเชา การเงนิ
สัญญาเชาการเงิน
ดา นผูเชา การรบั รูรายการ

ณ วนั ทสี่ ัญญาเชาเริม่ มีผลผูเชา ตองรบั รสู ญั ญาเชาเปนสินทรพั ยและหนสี้ นิ ในงบแสดงฐานะการเงินของผเู ชาดวย
มลู คา ยุติธรรม หรอื มลู คาปจจบุ นั ของจํานวนเงินขน้ั ต่าํ ตอ งจา ย แลว แตจ ํานวนใดจะต่าํ กวา
การแสดงรายการ : ดานผเู ชา

สินทรัพยตามสญั ญาเชา จะแสดงเปน รายการแยกตางหากในงบแสดงฐานะการเงนิ โดยแสดงภายใตห วั ขอ ทีด่ ิน
อาคาร และอปุ กรณ สําหรับหนสี้ ินตามสัญญาเชาใหแ ยกสว นเปนหนี้สินหมุนเวยี น (สาํ หรับหน้ีสนิ ทจี่ ะถงึ กาํ หนด
ชาํ ระภายในหนงึ่ ป) ออกจากหนี้สินไมหมุนเวยี น
การเปดเผยขอมลู : ดา นผเู ชา

การกระทบยอด ณ วันส้ินรอบระยะเวลารายงานระหวางจํานวนเงนิ ขน้ั ต่ําทต่ี องจายท้ังสิ้นกบั มลู คาปจจุบันของ
จํานวนเงนิ ข้นั ตํ่าที่ตองจายท้ังสน้ิ นอกจากน้ัน ณ วันส้ินรอบระยะเวลารายงานกิจการตองเปด เผยจํานวนเงินขนั้ ตาํ่
ท่ีตองจายทงั้ สนิ้ และมูลคาปจจบุ ันของจาํ นวนเงินชน้ั ต่าํ ท่ีตองจายท้ังสิน้ สาํ หรับระยะเวลาแตล ะชว ง
ดานผใู หเ ชา การรบั รรู ายการ

ผใู หเชาตอ งรบั รสู ินทรัพยภ ายใตส ญั ญาเชาการเงินเปนลูกหน้ใี นงบแสดงฐานะการเงนิ ดวยจาํ นวนเทากับเงนิ ลงทุน
สุทธใิ นสญั ญาเชา
การแสดงรายการ : ผใู หเชา

1) รายไดด อกเบย้ี ตามสัญญาเชา และคา ภาษีทรพั ยสนิ จะแสดงในงบกําไรขาดทนุ
2) เงินลงทุนสุทธใิ นงบแสดงฐานะการเงนิ โดยแยกแสดงสว นทถี่ งึ กําหนดชาํ ระภายใน 1 ระยะเวลา บญั ชีภายใต
หวั ขอสนิ ทรัพยหมุนเวยี นสว นทีเ่ หลือแสดงในสินทรัพยไมห มนุ เวยี น
การเปด เผยขอ มลู :ผใู หเชา
การกระทบยอด ณ วันสน้ิ รอบระยะเวลารายงานระหวางผลรวมของเงินลงทุนขนั้ ตนท้ังสน้ิ ตามสญั ญาเชา กับมูลคา
ปจ จุบนั ของจํานวนเงนิ ขัน้ ตา่ํ ทล่ี กู หนี้ตอ งจายตามสญั ญาเชานอกจากนัน้ ณ วันสิน้ รอบระยะเวลารายงานกิจการ
ตอ งเปดเผยผลรวมของเงินลงทุนขัน้ ตนตามสญั ญาเชาและมลู คา ปจ จบุ ันของจาํ นวนเงนิ ขั้นตา่ํ ที่ลูกหนตี้ อ งจายตาม
สญั ญาเชา สําหรับระยะเวลาแตล ะชวง

สัญญาเชา ดําเนินงาน
ดานผูเชา
ผเู ชา จะรบั รูจํานวนเงินทจี่ า ยตามสัญญาเชาดําเนนิ งานเปนคา เชาจา ยในงบกําไรขาดทุนตามวิธเี สนตรงนอกจากวา จะมี
เกณฑอื่นทเ่ี ปน ระบบซงึ่ สะทอ นใหเห็นถงึ ประโยชนท ่ีผูเชาไดรบั ในชวงเวลา และผูเชายงั คงใชเกณฑค งคา งในการบันทกึ บัญชี
การเปดเผยขอ มูล : ดา นผเู ชา
1. จํานวนเงนิ ข้ันตํ่าทต่ี อ งจา ยในอนาคตทัง้ สิ้นภายใตสญั ญาเชา ดาํ เนนิ งานทีบ่ อกเลกิ ไมไ ดสําหรบั ระยะเวลาแตละชว ง
2. จํานวนเงนิ ขนั้ ตา่ํ ทัง้ สน้ิ ทค่ี าดวา จะไดร ับในอนาคตจากการเชาชว งท่ีบอกเลกิ ไมได ณ วนั สน้ิ รอบ ระยะเวลารายงาน
3. จาํ นวนเงนิ ท่ตี องจา ยตามสญั ญาเชาและจํานวนเงนิ ที่จะไดร ับตามสญั ญาใหเชาชวงท่รี บั รูทจ่ี ะไดร ับ จากสัญญาใหเ ชา
ชวง
ดา นผใู หเ ชา
สนิ ทรพั ยท ใ่ี หเชา : ยงั คงถือเปน สนิ ทรัพยของผูใหเ ชา ซ่งึ ผูใหเ ชา จะคดิ คา เสือ่ มราคาโดยทัว่ ไปผใู หเชาจะคดิ คาเส่อื มราคา
ตามอายุการใชป ระโยชนเ ชิงเศรษฐกจิ ของสินทรัพย คาเชา : ผูใ หเชา ตองรบั รรู ายไดคา เชา จากสัญญาเชา ดําเนินงานตาม
เกณฑเสน ตรงตลอดอายสุ ญั ญาเชา งนอกจากวาจะมีเกณฑอ่ืนทเี่ ปน ระบบซ่ึงแสดงถงึ รูปแบบของการไดร ับประโยชนท ่ี
ลดลงจากสินทรพั ยท ใี่ หเ ชา ตน ทุนทางตรงเร่ิมแรก ของผูใ หเชา จะรับรเู ปนสวนหนึง่ ของมลู คา ตามญชรี องสินทรพั ยท ่ี
ใหเชา และรบั รูเ ปน คาใชจา ยตลอดอายุของสญั ญาเชา ในแตล ะงวด
การเปดเผยขอมลู : ดานผใู หเ ชา
จาํ นวนเงินข้นั ตาํ่ ท่ีตองจายในอนาคตทัง้ สน้ิ ภายใตสญั ญาเชาดําเนนิ งานที่บอกเลิกไมไดโ ทกแสดงจํานวนรวมสาํ หรบั
ระยะเวลาแตล ะชวง คาเชา ท่อี าจเกิดขนึ้ ท่รี บั รูเปน รายได คาํ อธบิ ายโดยทั่วไปของขอ ตกลงทีส่ าํ คญั ตามสัญญาเชา
สาํ หรับผูใ หเ ชา
ตัวอยาง การบนั ทึกบัญชีสญั ญาเชา ดําเนินงาน : กรณดี า นผูเชา
เมอื่ วนั ที่ 1 ธันวาคม 25X1 ผเู ชาทาํ สญั ญาเชา อาคารเปน เวลา 4 ปโดยการเชา เร่ิมตัง้ แตป 25x2 เปนตนไปผูเชา ตอ ง
จา ยเงิน ณ วนั ทาํ สัญญาจํานวน 400,000 บาทเปนคาเชาจา ยลวงหนา ผูเชาบันทกึ บัญชี ณ วันทาํ สัญญาเชา ดงั นี้
1 ธ.ค. 25X1
เดบติ คา เชา จายลว งหนา – อาคาร 400,000

เครดิต เงนิ สด 400,000
บันทกึ คาเชา จา ยลวงหนา ณ วันทําสัญญา
31 ธ.ค. 25X2
เดบติ คา เชาอาคาร 100,000

เครดิต คาเชา จายลวงหนาอาคาร 100,000
ปรับปรุงบญั ชคี า เชา จายลว งหนาเปนคา เชาจาย



From San Dias Books

SMART
NOTE-
TAKING
STYLE

LEARN HOW TO TAKE NOTES
LIKE A PRO.

ALEXANDER
ARONOWITZ


Click to View FlipBook Version