The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาอัลอะกีดะห์ ม.2 เรียบเรียงโดย อ.ปริญญา (กุมบุ้ล) ใจดี กรรมสิทธิ์ของโรงเรียนอัรรอยยานพิทยานุสรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bul2jaidee, 2021-07-25 23:26:44

วิชาอัลอะกีดะห์ ม.2 เรียบเรียงโดย อ.ปริญญา (กุมบุ้ล) ใจดี

วิชาอัลอะกีดะห์ ม.2 เรียบเรียงโดย อ.ปริญญา (กุมบุ้ล) ใจดี กรรมสิทธิ์ของโรงเรียนอัรรอยยานพิทยานุสรณ์

‫دروس في التوحيد الريان فهام‬
‫على متن أم البراهي‬

‫السنوسية الصغرى للإمام أبي عبد الله محمد بن يوسف السنوسي‬
‫الحسسني‬

‫( قسم العقيدة )‬

‫‪2‬‬

‫لطلبة المرحلة الثانية الإعدادي‬
‫بمعهد الريانكرأب‬

‫قطاع مكتب التعليم الخاص‬

‫إعداد‬

‫أبو فهام قنبل برأرنيا بن الحاج أيوب بن الحاج عبد الوهاب الأزهري الريان‬

‫الطبعة الثانية‬
‫‪ 1442‬ه – ‪ 2021‬م‬

‫تقديم‬

‫لفضيلة الشيخ بابا الحاج أيوب بن الحاج عبد الوهاب جاي دي مؤسس معهد الريان‬

،‫الحمد لله رب العالمي والصلاة والسلام على أشرف الأنبياء والمرسلي‬

. ‫سيدنا محمد وعلى آله وصحبه أجمعي‬

: ‫أما بعد‬

‫ وشريعة وأخلاق وهذه العناصر الثلاثة هي الأساس‬،‫فإن الدين الإسلام عقيدة‬

‫ والاتصاف بها يحصل الإنسان على السعادة‬،‫التي ينبغى عليها هذا الدين وبعملها‬

‫في الدنيا والأخرة‬

คำนิยม
จำกท่ำนบำบอ ฮัจยอี ยั ยุบ ใจดี ผ้กู ่อต้ังโรงเรียนอรั รอยยำพทิ ยำนุสรณ์
มวลกำรสรรเสริญท้ังมวลเป็ นกรรมสิทธ์ิของอัลลอฮ์ผู้ทรงดูแลแห่งสำกลโลก ขอควำม
ศำนติสุ ขจงประสบแด่ บรรดำนำบีผู้ทรงเกียรติท่ีถูกส่ งลงมำนำยของเรำนำบีมูฮำหมัด
และตลอดจงบรรดำอคั รสำวกท้ังหมด.
แท้ท่ีจริงศำสนำแห่งอัลอิสลำม มีท้ังหลัก สำคัญต้ังอยู่บนแหล่งท่ีมำท้ังสำม อัน
ได้แก่ภำคศรัทธำธรรม ภำคปฏิบัติธรรม และภำคคุณธรรม น่ันคือพื้นฐำนแห่งกำรเรียนรู้
สู่กำรปฏิบัติของผู้ศึกษำ และหวังว่ำจะเป็ นประโยชน์แก่นักเรียนโรงเรียนอัรรอยพิทยำ
นุสรณ์ ที่ได้ทำกำรศึกษำจำกประโยชน์ของหนังสือเล่มนี้ให้ได้มำกท่ีสุด เพ่ือได้รับ
ควำมสุขท้ังดุนยำและอำคเี รำะห์ อำมนี

()
บำบอฮัจยอี ยั ยบุ (วนิ ยั ) ใจดี

‫مقدمة‬

،‫الحمد لله رب العالمي والصلاة والسلام على أشرف الأنبياء والمرسلي‬

‫ومن اهتدى بهداية إلى يوم الدين‬. ‫سيدنا محمد وعلى آله وصحبه أجمعي‬

: ‫أما بعد‬

กำรสรรเสริญท้ังมวลเป็ นสิทธ์ิแด่อลั ลอฮ์ ผู้ทรงจัดกำรดูแลทุก ๆ สรรพส่ิงท้ังหมด ขอควำม
จำเริญและควำมศำนติจงมแี ด่ท่ำนนำบีมูฮำหมดั (ซ.ล.) ตลอดจนวงศ์วำนรวมท้งั อคั รสำวกของท่ำน
และผู้เจริญรอยตำมแนวทำงของท่ำนด้วยควำมดงี ำมตรำบจนถึงวนั ตอบแทน

หนังสือ (อัตเตำฮีด อัรรอยยำน ฟี ฮำม) ท่ีไดบ้ รรจุลงในหลกั สูตรการเรียนการสอน นกั เรียน
ช้นั ม.2 ของโรงเรียนอรั รอยยานพิทยานุสรณ์ ในตาราท่ีไดด้ ึงใจความ ‫ متن أم البراهين‬จดั พิมพ์
คร้ังที่ 2 โดยมีการแกไ้ ขเพิ่มเติม และเพ่ิมเน้ือหาซ่ึงที่เป็ นหลกั สูตรใหแ้ ก่นกั เรียนช้นั ม.ตน้ ไดศ้ ึกษา
เล่าเรียน จากท่ีทางคณะผบู้ ริหารโรงเรียนอรั รอยยานพิทยาสุรณ์ ไดม้ ีมติตรงกนั ในการจดั ทาหนังสือ
เตาฮีดน้ีข้ึนมา เพือ่ ใหไ้ ดเ้ ขา้ ใจถึงการศึกษาผา่ นตวั บท มะตนั อมุ มลุ้ บารอฮีน และการใหค้ วามหมาย
ภาษาไทย ตามแนวทางอาชาอิเราะห์ ที่เราไดย้ ึดอยู่ในแนวทางแห่งอลั อิสลาม เพื่อการรับความรู้
ความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ งอยา่ งถ่องแท้ รวมถึงช้ินงานในคร้ังน้ีกระผม กุมบุล้ บิน ฮจั ยอี ยั ยบุ อลั อซั ฮารีย์
อรั รอยยานน่ีย์ จะไม่สามารถทาให้การรวบรวมใจความโดยสรุปเกิดผลสาเร็จลุล่วงไปไดเ้ ป็ นแน่
หากไมม่ ีบาบอฮจั ยอี ยั ยบุ มามาฮจั ยะห์ยไู วรียะหต์ ลอดจนครอบครัวใจดี และพ่ีนอ้ งทุก ๆ ทา่ นท่ีคอย
อุปการะ อนุเคราะห์ในทุก ๆ กิจการงาน ที่ทาใหข้ า้ พเจา้ ไดร้ ับการศึกษาเรียนรู้ ในเสน้ ทางการศึกษา
ตลอดชีวติ ที่ผา่ นมา

‫نسأل الله تعالى أن يتقبل هذا الجهد وينفع هذا الكتاب ونرجو ممن ينفع به أن يخصنا بدعوة‬

‫صالحة وصلى الله على سيدنا محمد وعلى آله وصحبه أجمعي والحمد لله رب العالمي‬

‫أبو فهام قنبل برأرنيا بن الحاج أيوب بن الحاج عبد الوهاب الأزهري الريان‬

(ปริญญำ (กุมบุ้ล) ใจดี)

30 เมษำยน 2564 ‫م‬/18 ‫ رمضان‬1442 ‫ه‬



‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬1 ~

บทนำ

คำนยิ ำมของวชิ ำเตำฮีด น้นั : (คือใจความจากการประมวลการยดึ มน่ั การเอี๊ยะอต์ ิกอด ทาง

ศาสนาที่นามาจากหลกั ฐานที่แน่นอน)

จุดประสงค์ในกำรเรียนรู้วชิ ำเตำฮีด น้นั : คือ

1.เพ่ือให้ไดเ้ กิดความเขา้ ใจเรื่องของ ซ๊าตของอลั ลอฮ์ ในเรื่องท่ีเกี่ยวกบั (วำยิบ) หรือ (ส่ิง
จาเป็นตอ้ งมี)

2.เพ่ือใหเ้ กิดความเขา้ ใจในการแยกแยะถึง (มุสตำฮีล) หรือ (ส่ิงที่สติปัญญาไม่ยอมรับว่ามี)
ตลอดจนส่ิงท่ีอาจมีหรือไมม่ ี (ยำอซิ ) ณ เบ้ืองอลั ลอฮแ์ ละรอซูล้ ของพระองค์

3.เพือ่ ศึกษาและสร้างความเขา้ ใจ ในรากฐานของการศรัทธาในคาสอนตา่ ง ๆ ท่ีรอซูล้ (ซ.ล.)
นามาสอนสัง่ เช่น เรื่องราวชีวิตหลงั ความตาย วนั กียามตั นรก สวรรค์ และอื่น ๆ

ประโยชน์ของวิชำเตำฮีด น้นั : คือผูท้ ่ีไดร้ ับการศึกษาเรียนรู้จะมีความสุข และประสบถึง

ความโชคดีตลอดกาล

ศำสนำคืออะไร ? ศาสนาน้นั : คือใจความจากการประมวล (ฮู่กุ่ม) ขอ้ ช้ีขาดทางศาสนา หรือ

(หลกั การ) ของอลั ลอฮ์ (ซ.บ.) ท่ีพระองคไ์ ดท้ รงส่งท่านรอซูล้ มายงั ปวงบ่าวของพระองค์ อนั ทาให้
เขาเหลา่ น้นั ประสับแต่คุณงามความดีอนั ถาวรสืบไป

เคร่ืองหมำยของศำสนำคืออะไร ? เคร่ืองหมายของศาสนาน้ัน: คือประกอบไปดว้ ย 4

ประการดว้ ยดงั ตอ่ ไปน้ี
1. การเชื่อมนั่ ท่ีถูกตอ้ ง กล่าวคือ การเชื่อมนั่ อย่างเด็ดขาดต่อส่ิงท่ีอะห์ลิซซุ้ลนะห์ว้ลั ญามาอะห์
เชื่อมนั่
2. การมีเจตนาที่ถูกตอ้ ง กล่าวคือ การทาอิบาดะห์ดว้ ยความ (อิคลาศ)บริสุทธ์ิใจ เพ่อื อลั ลอฮ์

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬2 ~

3. การปฏิบตั ิตามคาสัญญาใหส้ มบรู ณ์ กล่าวคือ ปฏิบตั ิตามในส่ิงที่อลั ลอฮใ์ ช้
4. การไม่ล่วงละเมิดขอบเขต กล่าวคือ ละทิ้งส่ิงท่ีอลั ลอฮ์ทรงหา้ ม อนั หมายถึงคือ การทาอิบาดะห์
ดว้ ยดว้ ยความอิคลาศความบริสุทธ์ิใจท่ีมีต่ออลั ลอฮ์ โดยไม่มีหุ่นส่วนใด ๆ ต่อพระองค์ นนั่ คือ การ
ปราศจากชีริกท้งั ปวง ดงั พระดารัสแห่งโองการของอลั ลอฮ์ (ซ.บ.) ไดท้ รงตรัส ไว้

‫َف َمن َكا َن َي ْر ُجو ِل َقا َء َرِب ِه َف ْل َي ْع َم ْل َع َم اًل َصا ِل احا َوََل ُي ْش ِر ْك ِب ِع َبا َد ِة َرِب ِه َأ َح ادا‬

110 : ‫سورة الكهف‬

ซึ่งมีใจควำมโดยสรุปว่ำ : ใครก็ตำมท่ีมุ่งหวังปรำรถนำที่จะพบกับพระผู้อภิบำลของเขำ ก็จง

หมัน่ ทำอำม้ัลท่ีดีโดยไม่มหี ุ่นส่วน(ชีริก) ใด ๆ กบั พระผู้อภิบำลของเขำในกำรกระทำอบิ ำดะห์

ทัศนะของนักวชิ ำกำรท่ีมีต่อผู้ที่ทำอิบำดะห์เพ่ืออัลลอฮ์และดุนยำ น้นั : คือตามปวง

ปราชญไ์ ดม้ ีทศั นะที่ต่างกนั เพ่อื อลั ลอฮแ์ ละดุนยาดว้ ย ดงั ตอ่ ไปน้ี
1.ตามทศั นะของท่านอิหม่ามอิบนุอบั ดิสสลาม และท่านอ่ืน ๆ ต่างมีทศั นะว่า ผูท้ ี่ทาอิบาดะห์ท่ีมี
เจตนาเช่นน้ีจะไม่ไดร้ ับกศุ ลใด ๆ เลย
2.ตามทศั นะของท่านอีหม่ามฆอซาลี วา่ ตอ้ งพิจารณาเหตุท่ีเป็ นส่ิงจูงใจใหท้ าอิบาดะห์น้นั กล่าวคือ
หากแรงจูงใจทางอาคีเราะห์มากกว่า ก็จะไดผ้ ลบุญตามจานวนท่ีมี แต่ถา้ หากแรงจูงใจทางดุนยามี
มากกวา่ กจ็ ะไม่ไดผ้ ลบญุ ใด ๆ เลย และหากมีเท่า ๆ กนั กจ็ ะไม่ไดร้ ับผลบญุ ใด ๆ เลยเช่นกนั
3.ตามทศั นะของท่านอีหม่ามอิบนุหะญรั ในซรั ห์อีฎอฮ์ ให้ความเขา้ ใจว่า จะไดร้ ับผลบุญตามที่มี
เจตนา เนื่องจากพระดารัสแห่งโองการของอลั ลอฮ์ ไดท้ รงตรัส ไว้

‫َف َمن َي ْع َم ْل ِم ْث َقا َل َذ َّرٍة َخ ْي ارا َي َرُه‬

7 : ‫سورة الزلزلة‬

ซ่ึงมีใจควำมโดยสรุปว่ำ : ใครกต็ ำมทท่ี ำควำมดี เพยี งผงธุลเี ดียวเขำก้จะได้เห็นมนั
องค์ประกอบของศำสนำ ศาสนาน้นั มีองคป์ ระกอบอยู่ 3 ประการคือ :

1.อิสลาม
2.อีหม่าน
3.เอ๊ียะหซ์ าน

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬3 ~

ต่อจำกนไี้ ปคือกำรเข้ำสู่เนื้อหำบทเรียนผ่ำนตัวมะตนั มะตนั คืออะไร ?

‫ الأص ُل الذي يُشَر ُح وتضاف إِليه الحواشي‬:‫َم نتُن الكتاب‬
คำนิยำมมะตัน น้นั :คือ (ตัวบท) ท่ีถูกถ่ายทอดออกมาจากบรรดาคาอรรถท่ีถูกอธิบายความหมาย

หรือคาท่ีถูกพาดพิงถ่ายทอดทางความหมาย ไปยงั ผปู้ ระพนั ธ์ (ผเู้ ขียนตารา) จากใจความที่นาเสนอ
มา
(มวั๊ ะญมั มาอานี)

ประวตั ิผู้ประพนั ธ์ ‫متن أم البرهين‬

ผูป้ ระพนั ธ์มีนามว่า ท่ำนอีหม่ำมมูฮำหมัด บิน ยูซุฟ บิน ชูไอบ์ อัซซูนูซีย์ โดยนามซูนูซีย์อนั
หมายถึง ชื่อเผ่าชนของท่าน และอีกฉายานามหน่ึงว่าอลั ฮุซนิย์ และตลิมซานีย์ ท่านเกิดท่ีเมือง ตลั มี
ซาน ประเทศโมร๊อกโค เม่ือปี ฮิจเราะห์ศกั ราช 830

ในช่วงที่ท่านเยาวว์ ยั ท่านไดร้ ับการอบรบส่ังสอนเป็ นอยา่ งดีจากบุพการีของท่าน ท้งั ทางดา้ น
การศึกษา และจริยธรรมอนั ดีงาม จนไดเ้ ป็นคนดีมีความรู้ และเป็นผทู้ ่ีไดร้ ับเกียรติ ทา่ นเป็นผทู้ ี่ใส่ใจ
ต่อการใฝ่ หาความรู้ ศึกษาวิชาการหลายศาสตร์แขนง อธิเช่นวิชาฟิ กห์ วิชามนั ติก วิชาคณิตศาสตร์
วิชาที่มีความเกี่ยวพนั กบั อลั กุรอาน ท้งั ตฟั ซีร และอื่น ๆอีกมากมาย เป็นตน้
บรรดาบรมจารยข์ องท่าน
1.- ‫الشيخ نصر الرواوي‬

2.- ‫الشيخ محمد توزت‬

3.- ‫الشيخ العالم المعدل أبي عبد الله الحباب‬

4.- ‫السيد الشريف أبو الحجاج يوسف بن أبي العباس بن محمد الشريف الحسني‬

5.- ‫الإمام محمد بن العباس‬

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬4 ~

ท่านเป็นผูท้ ่ีมีความสุขุมคาภีร์ภาพ มีความอ่อนโยน คร้ังเมื่อท่านพบกบั ความไม่พอใจ ท่านจะ
เป็ นผูท้ ่ีทาเป็ นไมเ้ ห็น และไม่เสียความรู้สึกต่อส่ิงเหล่าน้นั แต่กลบั ส่งยิ้มให้กบั ส่ิงน้นั ท่านเป้นผทู้ ่ี
โกรธยาก

ทา่ นเป็นผไู้ มข่ อ้ งเกี่ยวผใู้ ด ไม่อิจฉาผคู้ น ช่วยเหลือใหว้ ิชาการความรู้แก่ผอู้ ่ืน คร้ังหน่ึงสานุศิษย์
ท่าน มีนามว่า มูลำล่ีย์ หน่ึงไดเ้ ล่าว่า ท่านอาจารยส์ อนว่า มนุษยค์ วรจะเดินอย่างถ่อมตน มองไป
ขา้ งหนา้ เสมอ เดินอย่างสงบเสงี่ยม ระมดั ระวงั ไม่ควรเหยียบย้าสัตวท์ ี่กาลงั เล้ือยคลานอยู่ขา้ งหนา้
หรือถนนหนทาง เม่ือเห็นผูค้ นทุบตีสัตว์ ท่านจะพูดวา่ “ท่านผมู้ ีเกียรติเอ๋ยจงสงสารสัตวบ์ า้ ง เพราะ
พระองคอ์ ลั ลอฮเ์ ป็นผทู้ รงเมตตาธรรมหน่ึงรอยเทา่ ไมม่ ีผใู้ ดจะไดร้ ับความเมตตาสงสารจากอลั ลอฮ์
นอกจากผทู้ ี่เมตตาสงสารตอ่ ส่ิงที่มีชีวติ ท้งั หมดเทา่ น้นั

วาระสุดทา้ ยแห่งชีวติ ของท่าน คร้ังป่ วยหนกั ท่านไม่สามารถเดินทางไปมสั ยดิ อยา่ งท่ีเคยปฏิบตั ิ
เป็นประจา ขณะท่ีท่านป่ วยหนกั หลานชายของท่านคนหน่ึงพยายามกล่าวนาดว้ ยคาปฏิญาณตนสอง
คา ท่านถามหลานชายว่า ไม่มีเร่ืองอื่นอีกแลว้ หรือ ท่านกล่าวบ่อยในขระป่ วยวา่ อลั ฮาดุลิ้ลล่าห์ ลูก
สาวของท่านถามว่า ท่านจะทิ้งเราไปแลว้ หรือ ท่านตอบว่าในไม่ชา้ ขอต่ออลั ลอฮใ์ หเ้ ราไดพ้ บกนั ใน
สรวงสวรรค์ ขอต่ออลั ลอฮ์ให้เราไดก้ ล่าวคาปฏิญาณตนสองคาก่อนสิ้นชีวิต ดว้ ยความซาบซ้ึงถึง
ความหมายของคาปฏิญาณ ท่านไดป้ ่ วยหนักเป็ นระยะเวลา 10 วนั ก่อนถึงแก่อสัจกรรม ในวนั
อาทิตยท์ ่ี 18 เดือน ญามาดิ้ลอาเคร ฮ.ศ.895

ขออลั ลอฮท์ รงใหท้ ่านและครอบครัวของท่านไดร้ ับความเมตตาและไดร้ ับอภยั โทษจากอลั ลอฮ์
ดว้ ยเถิด

‫~ ‪ ~ 5‬أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬

‫الدرس الأول‬

‫البرهان وج وب القدم والبقاء له تعالى‬

‫)‪َ (81‬وأََّما بُنرَها ُن ُو ُجو ِب النِق َدِم لَهُ تَ َعالَى‬
‫)‪ (82‬فَلأََنّهُ لَنو لَمن يَ ُك نن قَديمًا‪ ،‬لَ َكا َن َحا ِدًث‬
‫)‪ (83‬فَيَ نفِقُر إِلَى مُحن ِد ٍث‪ ،‬فَيَ نلَزُم ال َّدنوُر‪ ،‬أ ِو الَتّ َسنل ُسلُ‬
‫)‪َ (84‬وأََّما بُنرَها ُن َو َجو ِب النبَ َقاِء لَهُ تَ َعالَى‬

‫)‪ (85‬فَلأََنّهُ لَنو أَنم َك َن أَ نن يَنل َحَقهُ النَع َدمُ‪،‬‬
‫)‪ (86‬لاَنتَ َفى َعنهُ النق َدمُ‬

‫)‪ (87‬لِ َكنوِن ُو ُجوِدِه ِحينَئِ ٍذ َجائًِزا لاَ َوا ِجبًا‬
‫)‪َ (88‬والجَائُِز لاَ يَ ُكو ُن ُو ُجوُدهُ إِلَاّ َحا ِدًث‪،‬‬
‫)‪َ ! (89‬كني َف َسبَ َق قَِريبًا ُو ُجو ُب ِق َدِمِه تَ َعالَى َوبََقائِه‬

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬6 ~

ซ่ึงมใี จควำมโดยสรุปว่ำ

(81) ส่วนหลกั ฐานยนื ยนั ที่จะตอ้ งมีคุณลกั ษณะ บรรพกาลของอลั ลอฮค์ ือ

(82) เหตผุ ลท่ีวา่ พระองคไ์ มเ่ คยมีมาต้งั แต่บรรพกาลแลว้ พระองคก์ ็จะตอ้ งเป็ นสิ่งหน่ึงที่ถูกปรากฎ
ข้ึนใหม่

(83) พระองคจ์ ึงตอ้ งการผูท้ ่ีทาใหเ้ กิดข้ึนใหม่ และจาเป็นตอ้ งเขา้ สู่วงจรหมุนเวียน แลว้ เรียบเรียง
ตามลาดบั อยา่ งไม่มีที่ส้ินสุด

(84) ส่วนหลกั ฐานในการยนื ยนั ความถาวรคงกระพนั ของพระองคค์ ือ

(85) ดงั น้นั เหตผุ ลที่วา่ “หากพระผเู้ ป็นเจา้ มีคุณลกั ษณะแห่งความวา่ งเปล่าไม่มีอะไรเลย ๆ เป็น
คุณลกั ษณะที่เกิดข้ึนกบั พระผเู้ ป็นเจา้ แลว้

(86) คุณลกั ษณะท่ีมีความด้งั เดิมต้งั แตบ่ รรพกาลแห่งพระผเู้ ป็นเจา้ ยอ่ มตกไป

(87) ดว้ ยเหตุท่ีการมีอยขู่ องพระผเู้ ป็นเจา้ ในขณะน้นั เป็นเรื่องยาอิซ หรืออนุมาน เทา่ น้นั มีใช่กฎ
แห่งขอ้ บงั คบั (วายบิ )

(88) สิ่งท่ีอนุมานยอ่ มเป็นสิ่งท่ีมีไมไ่ ด้ นอกจากเป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนใหม่

(89) เป็นเช่นน้นั ไดอ้ ยา่ งไรกนั เลา่ ในเม่ือไดต้ ระหนกั แลว้ วา่ ก่อนหนา้ น้ีวา่ พระองคจ์ าเป็นตอ้ งมี
คุณลกั ษณะ ความดง่ั เดิมต้งั แต่บรรพกาล และคงกระพนั ถาวรนิรันดร์กาล

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬7 ~

‫تعليق‬

สาหรับการเรียนรู้ในหลกั ฐานท่ียืนยนั ถึงการมีของอลั ลอฮ์ต้งั แต่เดิม คาว่า “กิดัม” หมายถึง
(เดิม) จุดมุ่งหมายของคาว่า เดิม ณ ท่ีอลั ลอฮ์ (เดิมท่ีเก่ียวกบั ซ๊าต) แปลไดค้ วามว่า “ไม่มีจุดเริ่มต้น
แห่งกำรมี กล่ำวคือ อลั ลอฮ์ไม่มี ไม่มมี ำก่อน”

สำหรับหลักฐำนท่ีว่ำ อัลลอฮ์ทรงมีคุณลักษณะ (‫ )ِق َدم‬น้ันคือ (“หากอลั ลอฮ์เป็ นของใหม่

อลั ลอฮท์ ่านกจ็ าเป็นตอ้ งมีสิ่งที่ทาใหพ้ ระองคใ์ หม่ ซ่ึงดงั กล่าวน้นั เป็นเรื่องมุสตาฮีล

เพราะเป็น (‫ ) ُد نور‬คือ “กำรวนเวียนไม่มีทสี่ ิ้นสุด” และ (‫ )تَ َسلن ُسل‬คือ “กำรต่อเนื่องกันโดยไม่มีที่

สิ้นสุด” ซ่ึงท้งั สองอยา่ งน้ีเป็นส่ิงที่สติปัญญาไมย่ อมรับหรือไม่กินกบั สติปัญญา”)

สำหรับหลักฐำนที่ว่ำ อัลลอฮ์ทรงมีคุณลักษณะ (‫ )بَقاَء‬น้ันคือ “หากพระองค์เสียหาย (พินาศ

ดบั สูญ) แน่แทเ้ หลือเกิน พระองคต์ อ้ งเป็ นของใหม่ เพราะส่ิงท่ีเสียหายไดน้ ้ัน อาจมีและอาจไม่มีก็
ไดซ้ ่ึงนั่นคือลกั ษณะท่ีเป็ นของใหม่ และการที่เขา้ ใจว่าอลั ลอฮ์ (ซ.บ.) เป็ นส่ิงใหม่น้นั จึงเป็ นเรื่อง
มสุ ตาฮีล”

คำถำมท้ำยบทเรียนท่ี 1

1.ใหน้ กั เรียนอธิบายถึงหลกั ฐานในการใหเ้ หตผุ ลถึงคุณลกั ษณะอลั ลอฮท์ รงเดิมใหช้ ดั เจน
2.จงบอกถึงคุณลกั ษณะท่ีตรงกนั ขา้ มกบั อลั ลอฮท์ รงเดิม
3.เพราะเหตใุ ดอลั ลอฮ์ จึงไมม่ ีผทู้ าใหม่ จากคากลา่ วน้ี ควรอธิบายอยา่ งไร
4.ใหน้ กั เรียนอธิบายถึงหลกั ฐานในการใหเ้ หตุผลถึงคุณลกั ษณะอลั ลอฮท์ รงถาวรใหถ้ ูกตอ้ ง
5.จงกล่าวถึงหลกั ฐานในคุณลกั ษณะในการความถาวรของอลั ลอฮ์ (ซ.บ.)

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬8 ~

‫الدرس الثاني‬
‫البرهان مخالفته تعالى للحوادث‬

‫( َوأََّما بُنرَها ُن َو َجو ِب ُُمَالََفتِِه تَ َعالَى لِنل َحَواِد ِث‬90)
،‫( فَلأََنّهُ لَنو َمائَ َل َشينئًا ِمن َها‬91)
،‫( لَكا َن َحا ِدًث ِمثنلََها‬92)
‫( َوذلِ َك مُحَال‬93)

‫( لِما َعَرفن َت قَنب ُل ِم نن ُو ُجو ِب ِق َدِمِه تَ َعالَى َوبََقائِِه‬94)

ซึ่งมีใจควำมโดยสรุปว่ำ
(90) ส่วนหลกั ฐานที่ยนื ยนั ถึงความจาเป็นที่พระองคจ์ ะตอ้ งแตกต่างจากส่ิงท่ีเกิดข้ึนใหมน่ ้นั คือ
(91) เหตผุ ลที่วา่ “หากพระองคเ์ สมอเหมือนสิ่งใดที่เกิดข้ึนใหมแ่ ลว้ ”
(92) แน่นอนพระองคย์ อ่ มเป็นสิ่งท่ีใหมด่ ว้ ย
(93) และนน่ั เป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้
(94) เพราะทา่ นไดต้ ระหนกั รู้แลว้ วา่ พระผเู้ ป็นเจา้ ทรงมีก่อนจุดเริ่มตน้ ของการมีในบรรพกาลเสีย
อีก และคงกระพนั ถาวรนิรันดร์กาล

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬9 ~

‫تعليق‬

สำหรับหลักฐำนที่ว่ำ อัลลอฮ์ทรงมีคุณลักษณะ (‫ )ُُماَلََفتُهُ لِلن َحَوا ِد ِث‬แปลไดค้ วามว่าอลั ลอฮ์

(ซ.บ.) ไม่เหมือนกบั ของใหม่ ความวา่ พระองค์ไม่เหมือนกบั มัคล๊กู ใด ๆ ไม่ว่ำจะในทำงใดทำงหนึ่งก็
ตำม เพรำะบรรดำของใหม่น้ัน ไม่ว่ำ จะเป็ น สสำร (คือ ส่ิงท่ีมีตวั ตน มีน้าหนกั ลว้ นแลว้ แต่ตอ้ งการ
ที่อยู่ และสัมผสั ได)้ เช่น คุณลกั ษณะของสีต่าง ๆ หรือการกระดิก การนิ่ง ตลอดจนใกลห้ รือไกล
เป็นตน้ ) ซ่ึงอลั ลอฮ์ (ซ.บ.) มิใช่ สสารดว้ ย และกม็ ิใช่ คุณลกั ษณะดว้ ย อลั ลอฮ์ (ซ.บ.) กไ็ ม่เหมือนกบั
สิ่งใด ๆ จากมคั ลู๊กเลย

เน่ืองจากพระดารัสแห่งโองการของอลั ลอฮ์ ไดท้ รงตรัส ไว้

‫َل ْي َس َك ِم ْث ِل ِه َش ْي ٌء َو ُه َوال َّس ِمي ُع ا ْل َب ِصي ُر‬

11 : ‫سورة الشورى‬

ซึ่งมีใจควำมโดยสรุปว่ำ : “ไม่มีส่ิงใดเสมอเหมือนกับพระองค์ พระองค์คือผู้ทรงได้ยิน และผู้ทรง
เห็น”
พงึ ทรำบเถิดว่ำ อลั กุรอานและอลั ฮาดิษไดอ้ ธิบายความเขา้ ใจว่า อลั ลอฮ์เหมือนกบั ของใหม่น้ัน ซ่ึง
แบ่งออกเป็นสองแนวทางในการใหค้ วามหมาย อนั ไดแ้ ก่
1. มัสฮับ อัสซะลัฟ (‫ )َم نذ َه ُب ال َّسلَ ِف‬แนวทางในการให้ความหมาย (มอบจุดมุ่งหมำยน้ัน
ต่ออลั ลอฮ์)

2. มสั ฮบั อลั คอ่ ลฟั (‫ )َم نذ َه ُب النخَلَ ِف‬แนวทางในการใหค้ วามหมาย (จะตคี วำมเช่นอลั กรุ อำน)

‫ال َّر ْح َٰم ُن َع َلى ا ْل َع ْر ِش ا ْس َت َو َٰى‬

5 : ‫سورة طه‬

ซึ่งมใี จควำมโดยสรุปว่ำ : “อลั ลอฮ์ (ซ.บ.) ผู้ทรงเมตตำน้นั อยู่เหนืออะรัชอนั สูงส่ง”

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬10 ~
1. มสั ฮบั อสั ซะลฟั (‫ ) َم نذ َه ُب ال َّسلَ ِف‬อธิบายคาว่า (เหนือ) ว่า “เป็ นเบื้องบนท่ีเรำไม่อำจรู้

สถำนภำพได้” ดว้ ยเหตนุ ้ีเองจึงไดม้ อบจุดม่งุ อนั ดีต่ออลั ลอฮ์ (ซ.บ.)
2. . มสั ฮบั อลั ค่อลฟั (‫ )َم نذ َه ُب النخَلَ ِف‬อธิบายคาว่า (เหนือ) ณ ที่น้ีว่า “อำนำจกำรปกครอง

หรือกำรมกี รรมสิทธ์ิ”
สำหรับหลกั ฐำนท่ีว่ำ อลั ลอฮ์ไม่เหมือนของใหม่ น้นั คือ “หากอลั ลอฮ์ (ซ.บ.) เหมือนกบั ของใหม่
อลั ลอฮ์ (ซ.บ.) ก็ตอ้ งเป็ นของใหม่ดว้ ย” ซ่ึงนบั วา่ เป็ นเรื่องมุสตาฮีล ท้งั น้ีเพราะเป็ นที่จกั ษช์ ดั แลว้ วา่
อลั ลอฮ์ (ซ.บ.) ท่านทรงมีมาแต่เดิม ตามหลกั ฐานที่ไดก้ ล่าวมาแลว้ ดว้ ยเหตุน้ีเอง อลั ลอฮ์ท่านจึงไม่
เหมือนกบั ของใหม่ และเม่ือเป็นเช่นน้ี กเ็ ป็นไปไมไ่ ด้ ที่พระองคจ์ ะเหมือนกบั ของใหม่”

คำถำมท้ำยบทเรียนท่ี 2

1.ใหน้ กั เรียนอธิบายหลกั ฐานถึงคุณลกั ษณะวา่ อลั ลอฮ์ (ซ.บ.) ไม่เหมือนกบั ของใหม่
2.จงบอกหลกั ฐานจากอลั กุรอาน ที่ไดท้ าการยนื ยนั ถึงคุณลกั ษณะอลั ลอฮท์ รงไมม่ ีสิ่งใดเหมือน
3.จงบอกแนวทางการใหค้ วามหมายตามทศั นะของอสั ซะลฟั
4.จงบอกแนวทางการใหค้ วามหมายตามทศั นะของอลั คอ่ ลฟั
5.เร่ืองน้ีเป็นเร่ืองละเอียดอ่อนในการใหค้ วามหมายของอลั กุรอานตามแนวทางท้งั สอง ใหน้ กั เรียน
บอกถึงประโยชน์ท่ีไดร้ ับจากการเรียนรู้

‫~ ‪ ~ 11‬أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬

‫الدرس الثالث‬

‫برهان وجوب قيامه تعالى بنفسه‬

‫)‪َ (95‬وأََّما بُنرَها ُن َو َجوب ِقيَاِمِه تَ َعالَى بِنَ نف ِسِه‬
‫)‪ (96‬فَلأََنّهُ تَ َعالَى لَ ِو ا نحتَا َج إِلَى مَحَ ٍل‬
‫)‪ (97‬لَ َكا َن صَفةً‪،‬‬

‫)‪َ (98‬وال ِصَفةُ لاَ تََتّ ِص ُف بِ ِصَفا ِت المََعاِن‪،‬‬
‫)‪َ (99‬ولاَ المَنعنوَيِّة‪،‬‬

‫)‪َ (100‬وَمنولِانَا َج َّل َو َعَّز َِيب اتِ َصافُهُ بِهَِما‬
‫)‪ (101‬فَلَين َس بِ ِصَفٍة‪.‬‬

‫)‪َ (102‬ولَو ا نحتَا َج إِلَى ُُمَ ِص ٍص‬
‫)‪ (103‬لَكا َن َحا ِدًث‪،‬‬

‫)‪َ (104‬كين َف َوقَ ند قا َم النبُنرَها ُن َعلَى ُو ُجو ِب قِ َدِمِه تَ َعالَى‬
‫)‪َ (105‬وبَقائِِه‬

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬12 ~

ซ่ึงมใี จควำมโดยสรุปว่ำ

(95) ส่วนหลกั ฐานยนื ยนั พระองคท์ รงดารงดว้ ยพระองคเ์ อง

(96) แทท้ ี่จริง “หากพระองคต์ อ้ งการสถานท่ีแลว้ ”

(97) เร่ืองสถานที่เป็นคุณลกั ษณะหน่ึง

(98) และคุณลกั ษณะน้นั ไมใ่ ช่คุณลกั ษณะของความหมาย
(99) และไม่มคี วามหมายดว้ ย
(100) แต่พระเป็นเจา้ พระผทู้ รงยงิ่ ใหญแ่ ละผทู้ รงเกียรติและผทู้ รงเกรียงไกรของเราจาเป็น
คุณลกั ษณะท้งั สองขอ้
(101) มิใช่มีเพยี งคุณลกั ษณะเดียว
(102) และ “หากพระองคท์ รงตอ้ งการผสู้ ร้างท่ีเชี่ยวชาญคนหน่ึง”
(103) พระองคย์ อ่ มเป็นผทู้ ี่เกิดข้ึนมาใหม่
(104) เป็นเช่นน้นั ไดอ้ ยา่ งไรกนั เลา่ ในเม่ือมีหลกั ฐานยนื ยนั วา่ พระองคจ์ าเป็นตอ้ ง
(105) มีคุณลกั ษณะความดง่ั เดิมต้งั แตบ่ รรพกาล ก่อนทกุ สรรพส่ิงต่าง ๆ และพระผทู้ รงถาวรนิรันดร์
กาล

‫تعليق‬

สำหรับหลกั ฐำนทวี่ ่ำ อลั ลอฮ์ทรงมคี ณุ ลักษณะ (‫ )قِيَاِمِه تَ َعالَى بِنَ نف ِسِه‬หรือ ดารงดว้ ยพระองคเ์ อง
ความวา่ พระองคท์ รงยนื ดว้ ยพระองคเ์ อง ซ่ึงดงั กล่าวมิใช่ หมายความวา่ พระองคท์ รงยนื ตรงไดโ้ ดย
ไมม่ ีผใู้ ดช่วย อนั เป็นความเขา้ ใจท่ีเกิดข้ึน ในทนั ทีท่ีไดย้ นิ คาน้ี

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬13 ~
ดงั น้นั ความหมายที่แทจ้ ริงของคาวา่ (ยนื ดว้ ยพระองคเ์ อง) ณ ท่ีน้ี ก็คือ “กำรมีอยู่ของพระองค์
กม็ ิได้อำศัยตัวตนเหมือนกับกำรมีอยู่ของคุณลักษณะท่ีต้องอำศัยตัวตน อีกท้ังมิได้มีสิ่งใดให้บังเกิด
พระองค์อกี ด้วย หำกแต่พระองค์เท่ำน้ัน ที่เป็ นผ้ทู ่ีให้บังเกดิ สิ่งต่ำง ๆ”
สำหรับหลักฐำนที่ว่ำ พระองค์ดำรงด้วยพระองค์เองน้ัน คือ “หากพระองค์มิไดด้ ารงดว้ ย
พระองค์เอง แต่ต้องอาศยั ตวั ตน แน่แทเ้ หลือเกิน พระองค์ก็เป็ นซีฟัต (คุณลกั ษณะ) ซ่ึงการที่ว่า
พระองคซ์ ีฟัตน้นั เป็นเรื่องที่ปัญญาไม่ยอมรับ มสุ ตาฮีล เพราะหากพระองคเ์ ป็นซีฟัต พระองคก์ ต็ อ้ ง
ไม่มี ซีฟัตมะอำนี และซีฟัตมะนำวียะห์

ดงั กล่าวน้ีเป็ นสิ่งท่ีเช่ือไม่ได้ เพราะมีหลกั ฐานมากมายแสดงใหเ้ ห็นวา่ พระองคท์ รงซีฟัตมะ
อานี และซีฟัต มะนาวียะห”์

คำถำมท้ำยบทเรียนท่ี 3

1.ให้นักเรียนอธิบายหลกั ฐานถึงคุณลกั ษณะว่าอลั ลอฮ์ทรงดารงดว้ ยพระองค์เองในความหมายที่
ถกู ตอ้ ง
2. ใหน้ กั เรียนกลา่ วถึง รายละเอียดของซีฟัตมะอานี ใหถ้ ูกตอ้ ง
3.จงแสดงจุดยนื ในการใหค้ วามหมาย จากคาจากดั ความวา่ พระองคท์ รงดารง หมายถึงอะไร
4.เพราะเหตใุ ด พระองคถ์ ึงไม่เหมือนกบั ซีฟัต (คุณลกั ษณะ)
5.จงกล่าวถึงประโยชน์ท่ีไดร้ ับจากการศึกษาในคุณลกั ษณะของพระองคท์ รงดารงดว้ ยพระองคเ์ อง

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬14 ~

‫الدرس الرابع‬
‫برهان وجوب الوحدانية له تعالى‬

‫( َوأََّما بُنرَها ُن ُو ُجو ِب النَو نح َدانَِيِّة لَهُ تَ َعالَى‬106)
‫( فَلأََنّهُ لَنو لَمن يَ ُك نن َوا ِح ًدا‬107)

‫( أَ نن لاَ يُو َج َد َش نيء ِم َن النَعالَِم‬108)
‫( لِلََزوِم َع نج ِزِه ِحينَئِ ٍذ‬109)

ซึ่งมใี จควำมโดยสรุปว่ำ
(106) ส่วนหลกั ฐานที่ยนื ยนั วา่ จาเป็นท่ีพระองคจ์ ะตอ้ งมีลกั ษณะแห่งเอกภาพคือ
(107) เหตผุ ลที่วา่ “ หากพระองคม์ ิใช่พระเจา้ องคเ์ ดียวแลว้ ”
(108) จะตอ้ งไม่มีส่ิงใดในโลกน้ีเกิดข้ึน
(109) เนื่องจากขณะน้นั พระองคท์ รงไร้ความสามารถ

‫تعليق‬
สำหรับหลกั ฐำนท่ีว่ำ อลั ลอฮ์ทรงมีคุณลักษณะ(ُ‫ )النَو نح َدانَِيّة‬อนั หมายถึง ทรงเอกะใน (ซ๊าต) ใน
(ซีฟาต) และใน (อฟั อาล) ของพระองคอ์ ลั ลอฮ์ (ซ.บ.) ซ่ึงซ๊าตของพระองคน์ ้นั มิไดป้ ระกอบมาจาก

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬15 ~

สองซ๊าตหรือมากกวา่ ซ่ึงผิดกบั สิ่งท่ีเป็ นมคั ลู๊ก สิ่งเหล่าน้ีลว้ นแลว้ แต่ประกอบข้ึนมาจากหลายซ๊าต
หมายถึง หลำยส่วนมำประกอบกนั ถกู เรียกวา่ (‫) َك نم ُمَتّ ِص ُل ال َّذا ِت‬

และอลั ลอฮไ์ มม่ ีองคท์ ่ีสอง ซ่ึงจะทาใหน้ บั จานวนได้ ซ่ึงลกั ษณะเช่นน้ี ไม่ปรำกฏในซ๊ำตของ
พระองค์ กล่าวคือ ถูกปฏิเสธ ถูกเรียกวา่ (‫) َك نم ُمن َف ِص ُل ال َّذا ِت‬

อลั ลอฮ์ (ซ.บ.) น้นั ไม่มีสองซีฟัตหรือมำกกว่ำ ท้งั น้ีหมายถึง ในชนิดเดียวกนั เช่น กุดรัตสอง
หรือสาม เป็นตน้ ลกั ษณะน้ี ถูกเรียกวา่ (‫) َك نم ُمَتّ ِص ُل ال ِصفاَ ِت‬

และอลั ลอฮ์ไม่มีส่ิงอ่ืนจากอัลลอฮ์ (ซ.บ.) ท่ีมีคุณลกั ษณะใด ๆ เหมือนคุณลกั ษณะของ
พระองค์ ซ่ึงกำรมซี ีฟัตของส่ิงอ่ืนเหมือนกบั พระองค์ ถูกเรียกว่ (‫) َك نم ُمن َف ِص ُل ال ِصفاَ ِت‬

อลั ลอฮ์ (ซ.บ.) น้ัน ก็ไม่มีส่ิงอ่ืนใดร่วมให้ผลลพั ธ์หรือร่วมสร้างร่วมทาลาย พร้อม ๆกบั
พระองค์ ซ่ึงกำรมีสิ่งอ่ืนมำเป็ นส่วนร่วมดงั กล่าว ถูกเรียกวา่ (‫) َك نم ُمَتّ ِص ُل أَفن َعا ِل‬

และแทจ้ ริงแลว้ ไม่มีส่ิงอ่ืนใดจากพระองคม์ ีพลงั สร้างหรือทาลายได้ แต่พาดพิงการกระทา
ไปหาสิ่งอื่นจากอลั ลอฮ์ โดยการพิจารณาถึงการกระทาและเลือก ซ่ึงกำรมีสิ่งอื่นจำกพระองค์
สำมำรถทำได้โดยสันโดษ ท้งั สองลกั ษณะดงั กล่าวน้ี ไมม่ ีปรากฎ ในอฟั อาลของพระองค์
ถกู เรียกวา่ (‫) َك نم ُمن َف ِص ُل أَفن َعا ِل‬

สาหรับหลกั ฐานที่วา่ “หำกพระเจ้ำมีหลำยองค์ แน่นอน พระเจ้ำทุกองค์ต้องไร้ควำมสำรถ และ

เม่ือไร้ควำมสำมำรถ โลกนีก้ ม็ ีไม่ได้” ซ่ึงดงั กล่าวเป็นเร่ืองไม่ถูกตอ้ งเพราะเราเห็นไดว้ า่ โลกน้ีมีอยู่
แลว้ ดว้ ยตาของเรา ดงั น้นั พระเจา้ ไม่ไดม้ ีหลายองค์ จาเป็ นที่พระเจา้ มีองคเ์ ดียว และเม่ือมีองคเ์ ดียว
คาอา้ งท่ีวา่ หลายองคจ์ ึงเป็นอนั ตกไป

คำถำมท้ำยบทเรียนที่ 4
1. ใหน้ กั เรียนทาการแยกรายละเอียดถึงหลกั ฐานในซ๊าต ซีฟาต และอฟั อาล แต่ละประเภท
2. จงทาการอธิบายดว้ ยเหตผุ ลตา่ ง ๆ วา่ ทาไมอ่ ลั ลอฮผ์ ทู้ รงเอกะเดียว
3.จงยกหลกั ฐานทางสติปัญญา ท่ีวา่ “หากพระเจา้ มีหลายองคโ์ ลกน้ีจะเกิดอะไรข้ึน”
4.เพราะเหตใุ ด ถึงจาเป้นตอ้ งใหค้ วามเขา้ ใจกบั คุณลกั ษณะของอลั ลอฮท์ รงเอกะน้ี
5.จงกล่าวถึงประโยชนท์ ี่ไดร้ ับในการศึกษาเร่ืองราวคุณลกั ษณะของอลั ลอฮท์ รงเอกะ

‫~ ‪ ~ 16‬أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬

‫الدرس الخامس‬
‫البرهان وجوب اتصافه تعالى‬

‫)‪َ (110‬وأََّما بُنرَها ُن َو َجو ِب اتِ َصاِفِه تَعالَى بِالنُق ندَرِة َوانلِإَرا َدِة َوالنِعنلم َوالحَيَاِة‬
‫)‪ (111‬فَلأََنّهُ لَ ِو انتَفى َش نيء ِمن َها لََما َوِج َد َش نيء ِم َن الحََواِد ِث‬
‫)‪َ (112‬وأََّما بُنرَها ُن َو َجو ِب ال َّس نم ِع لَهُ تَ َعالَى َوالنبَ َص ِر َوالن َكلاَِم‬
‫)‪ (113‬فَالن ِكتَا ُب وال ُّسنة َوالِإجنمَاعُ‪،‬‬
‫)‪َ (114‬وأَين ًضا لَنو لَمن يَتّ ِص َف بِهَا‬
‫)‪ (115‬لَِزَم أَ نن يََتّ ِص َف ِبَ نض َداِد َها‪،‬‬
‫)‪َ (116‬وِه َي نََقائِ ُص‪،‬‬
‫)‪َ (117‬والَنّ نق ُص َعلَنيِه تَ َعالَى مُحَال‬

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬17 ~

ซึ่งมีใจควำมโดยสรุปว่ำ

(110) ส่วนหลกั ฐานที่ยนื ยนั ถึงความจาเป็นต่อคุณลกั ษณะอลั ลอฮท์ รงสามารถ อลั ลอฮท์ รงเจตนา
อลั ลอฮท์ รงรอบรู้ และอลั ลอฮท์ รงเป็น

(111) เหตุผลที่วา่ “หากพระองคท์ รงปราศจากขอ้ ใดขอ้ หน่ึงที่กล่าวมาแลว้ ก็จะไม่มีอะไรเลยท่ีเป็น
สิ่งใหม่ ๆ ยอ่ มเกิดข้ึนมาได”้

(112) หลกั ฐานที่ยนื ยนั ถึงความจาเป็น ที่พระองคจ์ ะตอ้ งมีคุณลกั ษณะท่ีพระองคท์ รงไดย้ นิ ผทู้ รง
เห็น ผทู้ รงพูดน้นั คือ
(113) หลกั ฐานที่ไดป้ รากฏจากอลั กรุ อาน ซุนนะห์ มติปวงปราชญ์

(114) และเหตผุ ลที่วา่ พระองคไ์ ม่มีคุณลกั ษณะดงั กลา่ ว

(115) แน่นอนจาเป็นท่ีพระองคจ์ ะตอ้ งมีคุณลกั ษณะท่ีตรงกนั ขา้ ม

(116) นนั่ คือเป็นเรื่องท่ีบกพร่องสาหรับพระองค์
(117) ซ่ึงความบกพร่องน้นั เป็นเรื่องท่ีเป็นไปไมไ่ ดส้ าหรับพระองค์

‫تعليق‬

สำหรับหลักฐำนท่ีว่ำ อัลลอฮ์ทรงมีคุณลักษณะ( ُ‫ )الن ُق ندَرة‬อัลลอฮ์ผู้ทรงสามารถ (คือเป็ น
คุณลกั ษณะท่ีมีแตเ่ ดิม เป็นซ๊าตของอลั ลอฮ์ (ซ.บ.) ซ่ึงมีหนา้ ที่ใหบ้ งั เกิดของมมุ กิน หรือใหม้ ุมกินไม่
เกิด ท้งั น้ีโดยสอดคลอ้ งกับอิรอดะฮ์ คุณลกั ษณะน้ีมี (‫ )تَ َعُلّق‬หรือ หน้าท่ี จาแนกออกไดเ้ ป็ น 7
ลกั ษณะ
คาว่า (‫ )تَ َعُلّق‬หมายถึง (งานอ่ืนจากการสถิตอยู่กบั ซ๊าต) ซ่ึงซีฟัตที่มี (‫ )تَ َعُلّق‬น้ีคือ ซีฟัตมะอานีย์

เทา่ น้นั (และก็ไม่ใช่มีทุกซีฟัต เช่น ซีฟัต (ُ‫ )اَلنحَيَاء‬ก็ไม่มี (‫ )تَ َعُلّق‬ซ่ึงซีฟัตน้ีเป็นซีฟัตมะอานีย์

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬18 ~
คนมูกลั ลฟั ทุกคนไม่จำเป็ นต้องรู้ (‫ )تَ َعُلّق‬ดงั กล่ำว เพรำะเหล่ำนีล้ ่วนแล้วแต่เป็ นข้อมูลเชิงลกึ
ทล่ี กึ ซึง้

1.(‫ )تَ َعُلّق‬ที่หน่ึงจากเจ็ด ท่ีมีช่ือว่า (‫ )تَ َعُلّق ُصلُنو ِح ٌّي قَ ِد ني‬คืออนั หมายถึง (ควำมสำมำรถ ควำม

พร้อมของกุดรัตท่ีมีต้งั แต่บรรพกำล ซ่ึงสำมำรถสร้ำงสรรค์หรือทำลำยส่ิงใด ๆ ได้ต้ังแต่เวลำอมิ กำล
คือ ช่วงเวลำท่ีอลั ลอฮ์ทรงสร้ำงรัศมขี องท่ำนนำบี (ซ.ล.) จนถงึ ปัจจบุ ันและอนำคตต่อไป)

2. (‫ )تَ َعُلّق تَن ِجني ِزي َحا ِدث‬ความหมายของคาว่า (‫ )تَن ِجني ِزي‬ก็คือ (บรรลุ สาเร็จ) เพราะดว้ ยกุตรัต
ทาใหเ้ กิด เป็นผลสาเร็จ ตามความมุ่งหมายหรือเจตนาของ (‫ )إَِرا َدة‬มาต้งั แต่บรรพกาล (‫ )أََزل‬ซ่ึงมี

อยดู่ ว้ ยกนั สามรูปแบบ
1. (‫ )تَ َعُلّق‬แบบที่ใหเ้ กิดของมุมกินที่ไมเ่ คยมีมาก่อน
2. (‫ )تَ َعُلّق‬แบบท่ีใหไ้ มม่ ีของมุมกิน ท่ีเคยมีมาแลว้
3. (‫ )تَ َعُلّق‬แบบที่ใหม้ ีข้ึนมาอีก คือฟ้ื นข้ึนมาจากกโุ บร์

3. (‫ )تَ َعُلّق قُنب َضٍة‬ความหมายของคาว่า (‫ )قُنب َضٍة‬น้นั คือ (กำหรือในอุ้งมือ) จุดมุ่งหมาย ณ ท่ีน้ีคือของ

มุมกินน้ัน อยู่ในอุง้ พระหัตถ์แห่งความตอ้ งการของพระองค์ ซ่ึงหากพระประสงค์ให้มนั คงไม่มี
ต่อไป มันก็จะไม่มี หรือเป็ นความพระประสงค์จะให้มันมี มนั ก็คงมีข้ึนมา และหากเป็ นพระ

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬19 ~

ประสงคใ์ หม้ นั ไม่เหมือนสภาพเดิมของมนั พระองคก์ ็จะทดแทนคือเปลี่ยนสภาพมนั ซ่ึงมีอยดู่ ว้ ยกนั
สามรูปแบบคือ

1. (‫ )تَ َعُلّق‬แบบที่ใหค้ งไม่มีมุมกิน ในเวลาอิมกาน (เวลาท่ีมีไดห้ ลงั จากไมม่ ี)
2. (‫ )تَ َعُلّق‬แบบที่ใหค้ งมีตอ่ ไป หลงั จากที่เคยไม่มีมาก่อน
3. (‫ )تَ َعُلّق‬แบบที่ใหค้ งไม่มี หลงั จากที่เคยมี
สำหรับหลกั ฐำนท่ีวา่ (ُ‫ )النُق ندَرة‬น้นั คือ “หำกพระองค์ไร้ควำมสำมำรถ แน่แท้เหลือเกนิ ไม่มีส่ิงใด
เกิดขึน้ ในโลกนี้ ซึ่งมันจะเป็ นเร่ืองเป็ นไปไม่ได้ เนื่องจำกโลกนี้เป็ นส่ิงท่ีมี เป็ นสิ่งที่เห็นด้วยตำเปล่ำ

อยู่แล้ว จึงเป็ นกำรยืนยันได้ว่ำ พระองค์น้ันทรงพลัง (ُ‫ )الن ُق ندَرة‬น้ันและเม่ือพระองค์ทรงพลัง

ควำมสำมำรถ กเ็ ป็ นไปไม่ได้ มุสตำฮีล ทพ่ี ระองค์จะทรงไร้ควำมสำมำรถ ไร้กุดรัต”

สำหรับหลักฐำนท่ีว่ำ อัลลอฮ์ทรงมีคุณลักษณะ ( ‫ )إِ َرا َدة‬อัลลอฮ์ผู้ทรงเจตนา ต้องการ

(ความหมายของคาว่า ตอ้ งการ หรือเจตนา ณ ท่ีน้ี คือ ทุกสิ่งทุกประการเกิดข้ึน สอดคลอ้ งกบั ความ
ตอ้ งการหรือเจตนา ตามอานาจของพระองค์

(‫ )إَِرا َدة‬เป็นซีฟัตท่ีมีมาแต่เดิม สถิตอยทู่ ี่ ซ๊าตของอลั ลอฮ์ มีหนา้ ที่ในการเจาะจง สิ่งที่เป็นไป

ไดข้ องมุมกิน เช่น เจาะจงให้ (มี) หรือใหเ้ ป็นสี (ขาว) (ดา) หรือ (ยาว) หรือ (ส้นั ) เป็นตน้

(‫ )إَِرا َدة‬น้ี (‫ )تَ َعُلّق‬หรือ (สัมพนั ธ์) กบั ของมมุ กินทกุ อยา่ ง เหมือนกบั กุดรัต
ต่างเพียง (ٍ‫ )تَ َعُلّق قُ ندَرة‬หรือความสัมพนั ธ์ของกุดรัต หรือพลงั น้ันมีหนา้ ที่หรือมีงานดา้ นการให้
บงั เกิด ส่วน (‫ )تَ َعُلّق إَِرا َدٍة‬หรือความสัมพนั ธ์ของเจตนา น้นั มีหนา้ ที่งานดา้ น การเจาะจง ดว้ ยเหตุน้ี
เองจึงไม่ (‫ )تَ َعُلّق‬กบั ของวายบิ และมุสตาฮีล

สำหรับหลักฐำนท่ีว่า (‫ )إِ َرا َدة‬น้ันคือ “หำกพระองค์ไม่มีเจตนำ (‫ )إِ َرا َدة‬น้ันพระองค์ก็ไม่มี
ควำมสำมำรถ เพรำะ (‫)قُ ندَرة‬หรือ พลงั ควำมสำมำรถ น้นั จะไม่ปฏิบัตหิ น้ำที่ นอกจำกต้องมี (‫)إَِرا َدة‬

น้นั อยู่ก่อน ซึ่งกำรลำดบั เช่นนี้ เป็ นไปตำมกฎเกณฑ์ทำงปัญญำ

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬20 ~

ดังน้ัน หำกพระองค์ไร้ซึ่งพลังควำมสำมำรถ พระองค์กไ็ ม่สำมำรถให้บังเกิดสิ่งใด ๆในโลกนี้
ได้ ควำมเข้ำใจดังกล่ำวนี้ จึงเป็ นอันตกไป เน่ืองจำกตำของเรำได้เห็นผลงำนของพระองค์แล้ว
ผลลพั ธ์จึงเป็ นทีแ่ น่นอนว่ำ พระองค์ผ้ทู รงพลงั ควำมสำมำรถ

และเม่ือพระองค์ทรงพลัง (‫ )قُ ندَرة‬พระองค์ก็ต้องทรงเจตนำ (‫ )إَِرا َدة‬และเมื่อพระองค์มี

เจตนำกเ็ ป็ นไปไม่ได้ทีจ่ ะมีบำงอย่ำงเกดิ ขนึ้ ได้โดยทพี่ ระองค์มิได้เจตนำให้บังเกดิ ”

สำหรับหลักฐำนท่ีวา่ (‫) ِعنلم‬น้นั คือ อลั ลอฮ์ทรงรอบรู้ “หำกพระองค์โง่ พระองค์ก็ไม่รู้ ซึ่งเป็ น

เร่ืองมุสตำฮีล (สติปัญญำไม่ยอมรับ) เพรำะได้เป็ นที่ยืนยันแล้วว่ำ พระองค์ทรงมีเจตนำ ตำม
หลักฐำนท่ีได้กล่ำวมำแล้ว ด้วยเหตุนี้เอง พระองค์จึงเป็ นผู้ทรงรอบรู้ และเม่ือเป็ นท่ีชัดเจนแล้วว่ำ
(ควำมไม่รู้หรือโง่) กต็ ้องไม่เป็ นคณุ ลกั ษณะของพระองค์”

สำหรับหลักฐำนที่ว่า (‫) َحيَاة‬น้ันคือ อลั ลอฮ์ทรงเป็ น “หำกพระองค์ทรงตำย พระองค์ก็ไม่มี

ควำมสำมำรถ ไม่มีเจตนำ ไม่มคี วำมรู้ ซ่ึงเป็ นเรื่องท่ีเป็ นไปไม่ได้ (มสุ ตำฮีล) เพรำะเป็ นทแี่ น่ชัดแล้ว

ว่ำ พระองค์ทรงมชี ีวิต (‫ ) َحيَاة‬เมื่อเป็ นดงั น้นั จึงเป็ นไปไม่ได้ทพี่ ระองค์จะไม่มีชีวิต (ตำย)”

คำถำมท้ำยบทเรียนที่ 5

1. ใหน้ กั เรียนอธิบายหลกั ฐานอลั ลอฮท์ รงสามารถ
2. จงกล่าวพอสงั เขปจากความเขา้ ใจในเรื่อง (‫ )تَ َعُلّق‬พร้อมแบ่งประเภทหลกั ๆ
3.จงยกหลกั ฐานและขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งอลั ลอฮท์ รงสามารถและอลั ลอฮท์ รงเจตนาจากที่ศึกษามา
4.ใหน้ กั เรียนอธิบายหลกั ฐานอลั ลอฮท์ รงรอบรู้สังเขป
5.จงกล่าวถึงประโยชน์ท่ีไดร้ ับในการศึกษาเร่ืองราวคุณลกั ษณะของอลั ลอฮ์ทรงเป็ น พร้อมดว้ ย
หลกั ฐาน

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬21 ~

‫الدرس السادس‬

‫البرهان وجوب السمع البصر الكلام له تعالى‬

‫( َوأََّما بُنرَها ُن َكنوِن ِف نعل المُنم ِكنَا ِت أَنو تَ نركَِها َجائًِزا ِفي َحِقِه تَ َعالَى‬118)

،ً‫( فَلأََنّهُ لَنو َو َج َب َعلَنيِه تَ َعالَى َش نيء ِمن َها َعنقلا‬119)

َ‫( أَِو ا نستَحا َل َعنقلا‬120)

،ً‫( لاَنَقلَ َب المَنم ِك ُن َوا ِجبًا أَنو ُم نستَ ِحيلا‬121)

‫( وذلِ َك لاَ يُ نعَق ُل‬122)

ซึ่งมใี จควำมโดยสรุปว่ำ
(118) และหลกั ฐานที่ยนื ยนั วา่ “การกระทาสิ่งท่ีเป็นไปไดห้ รือการละเวน้ การปฏิบตั ิส่ิงน้นั ยนื ยนั วา่
เป็นการอนุมาน ในเร่ืองสิทธิแห่งพระผเู้ ป็นเจา้ คือ
(119) เพราะถา้ หากวา่ พระองคจ์ าเป็นตอ้ งมีตามสติปัญญา ตามขอ้ ใดขอ้ หน่ึงดงั กลา่ วแลว้
(120) หรือเป็นไปไมไ่ ดโ้ ดยสติปัญญาแลว้
(121) ส่ิงที่เป็นไปไดจ้ ะกลายเป็นส่ิงที่บงั คบั หรือกลายเป็นสิ่งที่เป็นไปไมไ่ ด้
(122) และนน่ั เป็นสิ่งที่ไมม่ ีเหตุผล

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬22 ~

‫تعليق‬

คุณลกั ษณะอลั ลอฮท์ รงไดย้ ิน และพระองคท์ รงเห็นน้นั เป็ นซีฟัตที่มีมาแต่เดิม ต่างก็สถิตอยู่
ท่ีซ๊าตของอลั ลอฮ์ มีหน้าท่ีเปิ ดเผยให้พระองคท์ รงไดย้ ิน และเห็นของที่มี ไม่ว่าจะเป็ นซ๊าต เป็ นสี

เป็ นเสียง หรืออื่นๆ ท้งั สองซีฟัตน้ี มีหน้าที่เปิ ดเผย (‫ )إِن ِك َشاف‬เช่น (หน้าที่) หรือ (‫ )تَ َعُلّق‬ของ
(‫ ) ِعنلم‬เป็นตน้

และสาหรับเราจาเป็ นต้องเอ๊ียะอ์ติกอดว่า (‫ )إِن ِك َشاف‬ที่ได้จาก (‫ )ََسنع‬น้ัน ไม่ใช่หรือ

เหมือนกบั (‫ )إِن ِك َشاف‬ท่ีไดจ้ าก (‫ )بَ َصر‬และ (‫ )إِن ِك َشاف‬ท่ีไดจ้ าก (‫ ) ِعنلم‬และ (‫ )إِن ِك َشاف‬ท้งั สาม

น้ี จะเป็นเช่นไรน้นั เป็นสภาพที่เราจะตอ้ งมอบหมายแด่พระองคอ์ ลั ลอฮ์

สำหรับ (‫ )ََسنع‬และ (‫ )بَ َصر‬นมี้ สี ำมหน้ำท่ี คือ
1. (‫ )تَ َعُلّق تَن ِجني ِزي قَ ِد ني‬คือ (‫ )تَ َعُلّق‬หรือ (หนา้ ท่ี) ของท้งั สอง (‫ )ََسنع‬และ (‫ )بَ َصر‬ที่มีต่อซ๊า

ตของพระองคแ์ ละบรรดาซีฟัตของพระองค์

2. (‫ )َ قَ ِد ني ُصلُنوِحي تَ َعُلّق‬คือ (‫ )تَ َعُلّق‬หรือ (หนา้ ท่ี) ของท้งั สอง (‫ )ََسنع‬และ (‫ )بَ َصر‬ท่ีมีต่อพวก

เรา ก่อนจากท่ีมีพวกเรา

3. (‫ )تَ َعُلّق تَن ِجني ِزي َحا ِدث‬คือ (‫ )تَ َعُلّق‬หรือ (หนา้ ท่ี) ของท้งั สอง (‫ )ََسنع‬และ (‫ )بَ َصر‬ท่ีมีต่อ

พวกเรา หลงั จากที่มีพวกเราแลว้

ซีฟัตมุสตาฮีลท่ีตรงกนั ขา้ มกับ (‫ )ََسنع‬คือ (หนวก) และท่ีตรงกนั ขา้ มกับ (‫ )بَ َصر‬คือ (บอด)

สาหรับหลกั ฐาน (‫ )ََسنع‬และ (‫ )بَ َصر‬ดงั พระมหาคาภีร์อลั กรุ อาน
(‫)َوُهَوال َّس ِمني ُع البَ ِصنُي‬

11 : ‫سورة الشورى‬

ซ่ึงมีใจควำมโดยสรุปว่ำ : “และพระองคเ์ ป็นผทู้ รงไดย้ นิ และผทู้ รงเห็น”

และหลกั ฐานของ (‫ )ََسنع‬และ (‫ )بَ َصر‬น้นั หากพระองคไ์ มท่ รงคุณลกั ษณะท้งั สองน้ี แน่แท้ พระองค์

ก็ตอ้ ง หนวกและบอด ซ่ึงเป็นเรื่องที่เป็นไปไมไ่ ด้

‫ ~ أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬23 ~

สำหรับหลักฐำนที่ว่า (‫) َكلَام‬น้ันคือ อลั ลอฮ์ทรงพูด (พูด) เป็ นซีฟัตที่มีมาแต่เดิม ซ่ึงสถิตอยทู่ ่ี

ซ๊าตของพระองค์ ท่ีแสดงออกหรือสื่อควำมหมำยในทุกประกำร ไม่ว่ำจะเป็ นวำยิบ มุสตำฮีล หรือ
ยำอิซ คำพูดของพระองค์ ไม่มีเสียง ไม่มีอักษร และตลอดจนคุณลักษณะใดๆที่เหมือนกับคำพูด
ของมัคล๊กู

คาพดู ของพระองคน์ ้ีมี (‫( )تَ َعُلّق‬หนา้ ท่ีหรือความสามารถพูดไดท้ กุ เรื่อง) เหมือนหนา้ ท่ีของ

(‫ ) ِعنلم‬น้นั เป็น (‫ )تَ َعُلّق إِن ِك َشا ٍف‬หรือ(หนา้ ท่ีในการรับรู้) และ (‫ )تَ َعُلّق‬ของ (‫ ) َكلَام‬จะเป็น

(‫( )تَ َعُلّق ِدلاَلَة‬การแสดงออกหรือส่ือความเขา้ ใจ อนั หมายถึง ทาใหเ้ ขา้ ใจ) นน่ั เอง

ซีฟัตมุสตาฮีลท่ีตรงกนั ขา้ มกบั (‫ ) َكلَام‬น้ันคือ (ใบ)้ หรือมีเสียง มีอกั ษร ฯลฯ อย่ใู นคาพูด

ของพระองค์ จากหลกั ฐาน ดงั พระมหาคาภีร์อลั กุรอาน

(‫)َوَكَلّ َم اََّّللُ ُمو َس ٰى تَ نكلِي ًما‬

164 : ‫سورة النساء‬

ซึ่งมใี จควำมโดยสรุปว่ำ : “และพระองคอ์ ลั ลอฮไ์ ดท้ รงพูดกบั มซู าอยา่ งแทจ้ ริง”
หมายความว่า อลั ลอฮ์ไดท้ รงเปิ ดม่านให้ท่านนาบีมูซา และทาให้นาบีมูซาไดย้ นิ คาพูดของ

พระองคท์ ี่มีอยแู่ ต่เดิม มิไดห้ มายความว่า พระองคเ์ พิ่งพูด แลว้ นิ่งหลงั จากพูดเสร็จ เพราะพระองค์
น้นั ทรงพูดอยเู่ สมอ (“จงทาความเขา้ ใจในคาพูดของอลั ลอฮ์ พูดอยเู่ สมอ เพื่อไดไ้ ม่ประหลาดใจใน
คาที่วา่ พระองคท์ รงพดู อยเู่ สมอน้ี”)

คำถำมท้ำยบทเรียนท่ี 6

1. ใหน้ กั เรียนอธิบายหลกั ฐานอลั ลอฮท์ รงไดย้ นิ และทรงเห็น
2. จงกลา่ วพอสังเขปจากความเขา้ ใจในเร่ือง (‫ )تَ َعُلّق‬ระหวา่ งอลั ลอฮท์ รงไดย้ นิ และทรงเห็น
3.จงยกกลา่ วถึงความเขา้ ใจในคุณลกั ษณะอลั ลอฮท์ รงพูด ใหช้ ดั เจน
4.หนา้ ที่ (‫ )تَ َعُلّق‬ของคุณลกั ษณะอลั ลอฮท์ รงพูดหมายถึงอะไร จงอธิบายใหถ้ กู ตอ้ ง
5.จากการศึกษาถึงคุณอลั ลอฮท์ รงพูดจากหลกั ฐานอลั กุรอาน ใหน้ กั เรียน คุณลกั ษณะน้ีใหถ้ กู ตอ้ ง

‫~ ‪ ~ 24‬أم ال رباهي التوحيد الريان فهام‬

‫فهرس أهم المصادر والمراجع‬

‫‪ -.1‬متن أم البرهي‬
‫‪ -.2‬علم التوحيد منكتاب فرض عي في الجمعية الإسلامية للعالمي بتايلاند طبع فصل‬

‫خامسة‬
‫‪ -.3‬كتاب قول السيد في علم التوحيد منكلية أصول الدين بجامعة الأزهر الشريف‬

‫بالقاهرة تأليف الأستاذ الدكتور محمود أبودقيقة‬

‫‪http://ahlelsuna.blogspot.com/2011/12/blog-post_2903.html -.4‬‬

‫البحث في التاريخ ‪ /13‬شوال ‪1441 /‬‬
‫‪-.5‬انيلة عقيدة بك سنوسية متن ام البرهي ترجمة لغة تايلاند ترتيب أبو فوزي‬
‫‪ -.6‬فريدة الفرائد في علم العقائد تراجم فضيلة الشيخ حبيب عبد الكري وأنئيلوق عبد‬

‫الحميد‬
‫‪ -.7‬معجم المعان قاموس لغة العربية معان مفرادات‬


Click to View FlipBook Version