The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการความรู้ สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by doagenebank.thailand, 2021-10-03 09:26:18

การจัดการเชื้อพันธุกรรมพริกในธนาคารเชื้อพันธุ์พืช

เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการความรู้ สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร

Keywords: KM 2564

95


ขค
เมลด็ พันธ์พุ รกิ (ก) และบรรจุภัณฑ์ท่ใี ห้บริการ (ข และ ค)

แบบแจ้งการเกบ็ จดั หา หรอื รวบรวมพันธุ์พชื พื้นเมืองทัว่ ไปและพนั ธพ์ุ ืชป่าหรอื สว่ นหนึง่ ส่วนใดของพนั ธ์ุ
พชื ดงั กล่าว เพื่อการศึกษา ทดลอง หรอื วจิ ยั ที่มิไดม้ วี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื ประโยชนใ์ นการคา้ ตามมาตรา 53

แห่งพระราชบัญญตั คิ ุ้มครองพันธุ์พชื พ.ศ. 2542

96

กระบวนการให้บรกิ ารเมลด็ เชือ้ พันธ์ุของธนาคารเชอ้ื พันธ์ุพืช

ผู้ขอรบั บรกิ ารเมลด็ เช้อื
พันธ์ุ

บนั ทึกข้อความขอรับบริการเมลด็ เชอื้

อธบิ ดกี รมวิชาการเกษตรลงนาม สทช.* ส่งเอกสารไปยังสำนักคุ้มครองพันธุพ์ ชื
1. เอกสารท่ี 3 (แบบแจ้งมาตรา 53) ทกี่ รอก
ผูอ้ ำนวยการสำนักวจิ ยั พัฒนา
เทคโนโลยชี ีวภาพ ลงนามรบั ทราบ รายละเอียดครบถว้ น
2. สำเนาหนงั สอื ทา่ นอธบิ ดลี งนามอนุมัติ
ผูอ้ ำนวยการกลมุ่ วิจัยพัฒนาธนาคารเช้ือพันธ์ุพชื 3. สำเนาบัตรประชาชนผ้ขู อรบั บรกิ าร
และจลุ นิ ทรีย์ ลงนามรับทราบ 4. ระเบยี บงานวจิ ัยของผรู้ บั บรกิ าร

งานบริการธนาคารเช้ือพนั ธ์ุ ทำหนังสอื แจ้งผู้ขอรบั บริการ
และจดั ส่งเมล็ดเชื้อพนั ธ์ุ

รับเร่ือง ตรวจสอบข้อมลู และสง่ ไป สทช. ตรวจสอบเอกสาร
ยงั ฝ่ายจดั เกบ็

งานจัดเกบ็ ตรวจสอบ เมล็ดเชื้อพนั ธุ์มีปริมาณ ผู้ขอรับบริการกรอกรายละเอียดลงใน
มาก, เปอรเ์ ซน็ ความ เอกสารที่ 3 ส่งกลับมายัง ธนาคารฯ
เมล็ดเชอ้ื พนั ธ์มุ ปี ริมาณ งอกไมผ่ ่านเกณฑ์ พร้อมแนบสำเนาบัตรประชาชนและ
นอ้ ย, เปอรเ์ ซ็นความ ระเบยี บงานวิจยั
งอกผา่ นเกณฑ์

ไม่สามารถให้บริการ สามารถให้บริการเมล็ดเชื้อพันธ์ุ สทช. แจ้งผู้ขอรับบรกิ ารพร้อมจดั สง่
เมลด็ เช้อื พันธ์ุ จัดเก็บบรรจเุ มลด็ เชื้อพนั ธ์พุ ร้อมขอ้ มลู 1. รายชือ่ พันธ์ุที่สามารถให้บริการได้
2. ระเบยี บคณะกรรมการคมุ้ ครองพันธพ์ุ ชื ฯ

มาตรา 53
3. แบบแจ้งการเก็บ จดั หา หรอื รวบรวมพชื

พ้ืนเมอื งทั่วไป ตามมาตรา 53

สทช. ทำบนั ทกึ แจ้งอธิบดีกรมวชิ าการเกษตร อธบิ ดีกรมวิชาการเกษตรลงนามอนมุ ตั ิ

สทช.* สำนกั วิจัยพฒั นาเทคโนโลยีชีวภาพ

97

การให้บริการรับฝากเมล็ดเชื้อพันธุ์พริก: ธนาคารเชื้อพันธุ์พืชได้พัฒนาแนวทางการรับฝากเมล็ด

เชื้อพันธุ์พืช เพื่อให้เป็นหลักการในการถือปฏิบัติเป็นระเบียบเดียวกัน รองรับการเข้าถึงเพื่อการใช้ประโยชน์
จากธนาคารเชื้อพันธุ์พืชกรมวิชาการเกษตร ตามระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการให้บรกิ ารรับฝากเมล็ด
เชื้อพันธุ์พืชของธนาคารเชื้อพันธุพ์ ืชกรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2564 ที่สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา
ได้ประกาศร่างระเบียบฯ ลงในเว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 138 ตอนพิเศษ 45ง หน้า 12 ลงวันที่
25 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564

ระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการใหบ้ ริการรับฝากเมล็ดเชอ้ื พนั ธุ์พชื ของ
ธนาคารเช้ือพันธุพ์ ชื กรมวชิ าการเกษตร พ.ศ. 2564

98

โดยการบริการรับฝากเมล็ดเชอ้ื พันธุ์พืช แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทคอื
1. การรับฝากเมล็ดเชื้อพันธุ์พืชที่ผู้ฝากยินยอมให้ผู้รับฝากนำเมล็ดเชื้อพันธุ์พืชออกให้บริการ
ปรับปรุงพันธุ์ ศึกษา ทดลอง หรือวิจัย โดยขั้นตอนขอรับบริการเมล็ดเชื้อพันธุ์พริกสามารถปฏิบัติตาม
กระบวนการข้างต้น

ขนั้ ตอนการฝากเมล็ดแบบท่ีผ้ฝู ากยินยอมออกใหบ้ ริการได้
2. การรับฝากเมล็ดเชื้อพันธุ์พืชที่ผู้ฝากไม่ยินยอมให้ผู้รับฝากนำเมล็ดเชื้อพันธุ์พืชออกให้บริการ
ปรับปรงุ พันธุ์ ศึกษา ทดลอง หรอื วจิ ัย

ข้นั ตอนการฝากเมลด็ แบบที่ผ้ฝู ากไม่ยนิ ยอมออกให้บริการ

99

ขัน้ ตอนการขอรับคืนเมลด็ พันธ์ุ และการขยายเวลาการฝากเมื่อครบกำหนดการฝาก 10 ปี
ตวั อย่างกล่องบรรจุเมล็ดเช้อื พนั ธ์พุ ริกที่รบั ฝากแบบทีผ่ ฝู้ ากไมย่ ินยอมออกให้บริการ

ลักษณะของซองและกล่องบรรจุภัณฑ์สำหรับการฝากเมล็ดแบบทผ่ี ้ฝู ากไม่ยินยอมออกให้บริการ

100

ตัวอย่างการใช้ประโยชน์เช้ือพันธกุ รรมพริกจากจากธนาคารเช้อื พันธพุ์ ชื กรมวิชาการเกษตร
การนำเชื้อพันธุกรรมพริกจากธนาคารเชื้อพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตรไปใช้ประโยชน์ในการทำงาน

วิจัยต่าง ๆ แลว้ นำความร้หู รอื ขอ้ มูลท่ไี ด้ไปเผยแพร่ในรปู แบบต่าง ๆ ดังนี้
กข

- งานวิจัยเรื่อง Cryopreservation technique of chilli seeds by vitrification by K. Pipithsangchan,
P.P. Chareonsap, K. Reanhatthakam, P. Jutamas, D. Narkprasert and K. Thammasiri ใ น ห น ั ง สื อ
Acta Hortic. 1234. ISHS 2019. DOI 10.17660 /Acta Hortic. 2019. 1234. 19. Proc. III International
Symposium on Plant Cryopreservation (ก)

- งานวิจัยเรื่อง Molecular phylogeny and DNA barcode regions efficacy for identification
the variety of Capsicum annuum L. in Thailand by T. Luangsuphabool, A. Wongpia, P. Sangkasa-ad,
T. N Nan, K. Pipithsangchan and K. Thammasiri ใ น ก า ร ป ร ะ ช ุ ม IX International Scientific and
Practical Conference on Biotechnology as an Instrument for Plant Biodiversity Conservation (ข)

คง 101



- หนังสือ เรื่อง “Integrated Management System of Plant Genetic Resources (IMPGR) in
Thailand. Project Activities on Collection, Regeneration, Conservation and Characterization of
Cucurbitaceae and Solanaceae, 2012-2014” โครงการ Integrated Management System of Plant
Genetic Resources (IMPGR) (ค)

- Booklets เรื่อง AFACI project “Collection and Characterization for Effective between
Conservation of Local Capsicum, Solanum and Lycopersicon in Thailand (2 0 1 5 ) ” on IMPGR
Project Thailand, 36 p. โครงการ Integrated Management System of Plant Genetic Resources
(IMPGR) (ง)

- Poster “Conserved Plant to Thai Kitchen Capsicum Frutescence ‘Phrik khi Nu Hom’”
โครงการ Integrated Management System of Plant Genetic Resources (IMPGR), 2017 (จ)

การให้บริการเพื่อการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์จากเชื้อพันธุกรรมพริก และเชื้อพันธุกรรมพืชอื่น ๆ
ในดา้ นต่าง ๆ ไม่วา่ จะเปน็ การฝากเชอื้ พนั ธุ์พืช การขอเช้ือพันธพ์ุ ืชเพื่อการใชป้ ระโยชน์ การขอขอ้ มูลเชื้อพันธ์ุพืช
หรือการขอเป็นท่ีศกึ ษาดงู าน ฯลฯ สามารถติดต่อได้ดังน้ี

เว็ปไซด์ : www.doa.go.th/genebankthailand

สถานท่ีตดิ ต่อ :

สำนักวิจยั พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ

กลุม่ วจิ ัยพฒั นาธนาคารเช้อื พนั ธ์พุ ชื และจุลินทรีย์

85 หม1ู่ ถ.รงั สิต-นครนายก อ.ธญั บุรี จ.ปทมุ ธานี

โทรศพั ท์ : 02-9046885-6 ตอ่ 127

โทรสาร : 02-9046885-6 ต่อ 555

102

บทที่ 5
การเกบ็ รักษาเชื้อพนั ธกุ รรมพรกิ ในหนว่ ยงานตา่ งประเทศ

ของธนาคารเชอื้ พันธพุ์ ชื กรมวชิ าการเกษตร

“พริก” เป็นหน่ึงในพืชอนุรักษ์ที่สำคัญของธนาคารเช้ือพันธุ์พืชกรมวิชาการเกษตร ปัจจุบันมีจำนวน
47 ตัวอย่างพันธ์ุและมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นในอนาคต โดยเช้ือพันธุกรรมพริกดังกล่าวถูกเก็บรักษาไว้ในห้องอนุรักษ์
เมลด็ พนั ธ์รุ ะยะปานกลาง (5 องศาเซลเซยี ส) และระยะยาว (-10 องศาเซลเซยี ส)

ธนาคารเชอื้ พันธุพ์ ืชกรมวิชาการเกษตร เป็นศนู ย์กลางการรวบรวมและอนุรักษพ์ ันธุกรรมพืชของประเทศ
ท้ังพืชป่า พืชพ้ืนเมือง พืชเศรษฐกิจ และพืชแนะนำรับรองที่สำคัญ ภารกิจการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
ประกอบด้วยฝ่ายงานต่างๆ ท่ีบูรณาการอย่างเป็นระบบต้ังแต่กระบวนการเริ่มต้นในการรวบรวมเมล็ดพันธุ์
จนกระท่ังการเก็บรักษา นอกเหนือจากการเก็บรักษาพันธุกรรมพืชท่ีธนาคารฯ ได้ดำเนินการเก็บรักษาในห้อง
อนุรักษ์เมล็ดพันธุ์ท้ัง 2 ระยะ ดังที่ได้กล่าวข้างต้นแล้วน้ัน ธนาคารเช้ือพันธุ์พืชกรมวิชาการเกษตร ยัง
ดำเนินการฝากเกบ็ รกั ษาพันธกุ รรมพชื เพอ่ื ความมน่ั คงปลอดภัย (safety duplication) ณ หนว่ ยงานอ่ืนอีกด้วย

วัตถุประสงค์ในการฝากเก็บรักษาพันธุกรรมพืชเพ่ือความมนั่ คงปลอดภยั (safety duplication) ได้แก่
1. เพ่อื เป็นพนั ธกุ รรมสำรองสำหรับใชป้ ระโยชน์ในกรณเี กิดเหตสุ ดุ วิสยั และเกิดผลเสียตอ่ ตัวอย่าง

หลักทเ่ี กบ็ รักษาในธนาคารเชือ้ พันธุ์พชื กรมวิชาการเกษตร เช่น การเกดิ ภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ
สงคราม ตลอดจนการสญู เสยี ความมชี วี ติ ของเมลด็ พนั ธุ์ เป็นต้น
2. เพื่อสรา้ งเครือข่ายและเสรมิ สรา้ งความสมั พันธ์ระหว่างธนาคารเชื้อพันธ์ุพืชกรมวชิ าการเกษตร
และองคก์ ร/หนว่ ยงานต่างประเทศทดี่ ำเนินงานดา้ นอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพชื ภายใตโ้ ครงการความ
รว่ มมอื ระหว่างประเทศ

ปัจจบุ นั ธนาคารเชือ้ พนั ธุพ์ ชื กรมวชิ าการเกษตร มีพันธมติ รดา้ นงานอนุรักษ์และวิจยั เก่ยี วกบั
พนั ธกุ รรมพืชทีเ่ ป็นหนว่ ยงานตา่ งประเทศหลายหนว่ ยงาน อาทิ

1. Svalbard Global Seed Vault (SGSV), Nordic Genetic Resource Center (NordGen)
ราชอาณาจกั รสวีเดน

2. The World Seed Vault, National Agrobiodiversity Center (NAC) สาธารณรัฐเกาหลี
3. NIAS Genebank, National Agriculture and Food Research Organization (NARO) ญี่ปนุ่

103

สำหรับเช้ือพันธุกรรมพริกน้ัน ธนาคารเชื้อพันธุ์พืชกรมวิชาการเกษตร มีดำเนินการฝากเก็บรักษา
พนั ธกุ รรมพืชเพอ่ื ความม่นั คงปลอดภยั (safety duplication) ณ หนว่ ยงานตา่ งประเทศ ดงั น้ี

ลำ หนว่ ยงาน ประเทศ ช่ือพันธุ์ รหัส ปรมิ าณ วนั ที่ หนว่ ยงาน
ดบั ที่ ประจำ ฝากเกบ็ เจา้ ของ
พริกข้หี นูผลใหญ่ ตัวอยา่ ง 1000 เมล็ด เชื้อพนั ธ์ุ
1 Svalbard ราชอาณาจกั ร ศรสี ะเกษ1 R03524 (4 กรมั ) 21 สถาบนั วิจยั
Global สวีเดน สิงหาคม พืชสวน
Seed 2561 กรมวชิ าการ
Vault เกษตร
(SGSV)
พรกิ ห้วยสที น DOAVG 1000 เมลด็ 21 สถาบนั วจิ ัย
2 Svalbard ราชอาณาจักร ศรีสะเกษ1 00010 (6.19 กรัม) สิงหาคม พชื สวน
Global สวเี ดน กรมวิชาการ
Seed 2561 เกษตร
Vault
(SGSV)

การฝากเกบ็ เมลด็ พันธ์ุเพื่อความมัน่ คงปลอดภัยของพนั ธุกรรมพรกิ ที่ Svalbard Global Seed Vault
(SGSV) นี้ เป็นการฝากเก็บรักษาในกล่องดำ หรือ Black Box System โดยปฏิบัติตามข้ันตอนและเงื่อนไขที่
กำหนดภายใต้ข้อตกลงการฝากเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ท่ีร่วมลงนามระหว่างกรมวิชาการเกษตรและศูนย์ทรัพยากร
พันธุกรรมแห่งนอร์ดิก หรือ NordGen (Agreement between Department of Agriculture, Ministry of
Agriculture and Cooperatives, The Kingdom of Thailand and The Royal Norwegian Ministry of
Agriculture and Food Concerning The Deposit of Seeds in The Svalbard Global Seed Vault)

ขอ้ ตกลงการฝากเกบ็ รักษาเมล็ดพนั ธท์ุ ่รี ว่ มลงนาม
ระหว่างกรมวิชาการเกษตร และ ศูนยท์ รัพยากรพนั ธุกรรม

แห่งนอร์ดกิ

104

ขัน้ ตอนเตรียมเมลด็ เชือ้ พนั ธุ์พืชเพอื่ การฝากเก็บรักษาในลกั ษณะ Black Box System* ท่ี Svalbard
Global Seed Vault ของธนาคารเชือ้ พันธพ์ุ ืชกรมวิชาการเกษตร
1. เตรียมความพร้อมตวั อยา่ งเมล็ดเช้อื พันธุ์พชื ทจ่ี ะนำไปฝาก

1.1 ตรวจสอบรายชอื่ ตัวอย่างพชื ท่จี ะนำไปฝาก
1.2 ตรวจสอบคุณภาพเมล็ดเช้ือพันธ์ุพืช ได้แก่ ความงอกและความชื้นของเมล็ด สามารถดำเนินการ
ตรวจสอบได้ทกุ หนว่ ยงานท่ีห้องปฏิบตั กิ าร
1.3 บรรจุเมล็ดเช้ือพันธุ์พืชที่จะนำฝากเก็บ (จำนวนเมล็ดตามบันทึกข้อตกลง ข้ันต่ำ 300 เมล็ด ใน
กรณีท่ีเป็นพันธ์ุบริสุทธิ์ และ จำนวน 500 เมล็ด ในกรณีท่ีเป็นพันธ์ุลูกผสม) ในถุงอลูมินัมฟอยล์ ใส่ป้ายข้อมูล
รายละเอียดตัวอย่างพันธ์ุ จากน้ันผนึกถุงด้วยเคร่ืองบรรจุเมล็ดพันธ์ุสุญญากาศ ติดสติ๊กเกอร์บนถุง โดยแบ่ง
เมลด็ พันธพ์ุ ชื ฝากเกบ็ ประมาณ 200-300 เมล็ดต่อตัวอยา่ งสำหรับตรวจโรคถ้าต้องดำเนินการตรวจโรค
1.4 บันทึกข้อมูลเบ้ืองต้น เช่น ช่ือวิทยาศาสตร์ ช่ือสามัญ จำนวนตัวอย่าง (accession) ปริมาณ
ตัวอย่าง (จำนวนเมล็ดต่อตัวอย่าง) น้ำหนักตัวอย่างต่อหน่ึงบรรจุภัณฑ์ (กรัม/กิโลกรัม) แหล่งท่ีมาของเมล็ด
พนั ธ์ุ เปอร์เซน็ ตค์ วามงอก วันท่ีเก็บตวั อยา่ ง
ตวั อย่าง ข้อมูลสรปุ ของเมลด็ เชอื้ พนั ธพ์ุ ชื ทีจ่ ะนำไปฝาก

*การฝากเก็บรักษาเมล็ดเช้ือพันธุ์พืชในลกั ษณะ Black Box System ผรู้ ับฝากไมม่ ีสิทธิใ์ หห้ รือแจกจ่ายเชอ้ื

พนั ธกุ รรมท่รี บั ฝากโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผ้ฝู าก

105

ตัวอยา่ ง ขอ้ มูลรายละเอยี ดแต่ละสายพนั ธ์ุ

2. ตดิ ตอ่ ประสานงานกบั หน่วยงานปลายทาง

ตัวอย่าง หน่วยงาน NordGen (The Nordic Genetic
Resource Center) เป็นหน่วยงานของ Nordic Organization
ซึ่ ง ก ำ กั บ ดู แ ล ธ น า ค า ร เม ล็ ด พั น ธุ์ พื ช โ ล ก แ ห่ ง ส ว า ล์ บ า ร์ ด
(Svalbard Global Seed Vault-SGSV) ท่ี ร า ช อ า ณ า จั ก ร
นอร์เวย์ สามารถติดต่อประสานงานเรื่องการฝากเมล็ดพันธ์ุที่
SGSV ต า ม เว็ บ ไซ ต์ https://www.nordgen.org/en/ โด ย
ดำเนินการผา่ นผู้มอี ำนาจและความรบั ผดิ ชอบ

หลังจากมีการติดต่อประสานงานเบื้องต้นกับ NordGen
เร่ืองการฝากเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พืชระยะยาวในลักษณะ Black
Box System กับ SGSV น้ัน ทาง SGSV จะส่งหนังสือเชิญเพ่ือ
ฝากเมลด็ พนั ธ์อุ ยา่ งเปน็ ทางการ

ทง้ั นี้ ต้องแจ้งรายละเอยี ดเช้ือพันธพุ์ ชื ทจี่ ะฝากเกบ็ รกั ษาตามแบบฟอรม์ ทหี่ นว่ ยงานปลายทางกำหนด

106

ตัวอยา่ ง จดหมายเชญิ ท่ไี ดร้ บั การตอบกลับ

ตวั อยา่ ง จดั เตรยี มขอ้ มูลเมล็ดลงในแบบฟอร์มของ Svalbard Global Seed Vault
รหสั ของกล่องที่หน่วยงาน NordGen แจ้งกลับมา

107

ขั้นตอนการตดิ ตอ่ หน่วยงานภายใต้กรมวิชาการเกษตร เพอื่ การนำเมล็ดเชอ้ื พันธ์ุออกนอกราชอาณาจักร
สำหรับการอนุรกั ษ์ระยะยาวในลกั ษณะ Black Box System ซง่ึ มิใชเ่ พ่อื ผลประโยชน์ทางการคา้
1. ตรวจสอบพืชควบคุม

ตดิ ต่อศูนยร์ าชการสะดวกกรมวิชาการเกษตร สว่ นงานกลุ่มควบคุมพันธพ์ุ ืช พร้อมนำข้อมูลพืชท่จี ะ
นำออกนอกประเทศไปตรวจสอบชนิดพืชว่า มีพืชรายการใดท่ีจัดอยู่ในกลุ่มพืชท่ีต้องมีการควบคุม หรือ
ตรวจสอบผา่ นทาง website ของสำนกั ควบคมุ พันธพุ์ ชื

ข้อมลู ท่ีตอ้ งเตรียม: ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ชอื่ พนั ธุ์ น้ำหนัก (กก.)
หนังสือเชิญไปฝากเมลด็ พนั ธุ์
ตดิ ตอ่ : กลุ่มควบคมุ พนั ธุ์พชื สำนักควบคุมพืชและวัสดกุ ารเกษตร
กรมวชิ าการเกษตร แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900
เบอร์โทรศัพท์ 02-579-3635 หรอื 02-579-7991
Email: [email protected]

ขน้ั ตอนการดำเนนิ งานตรวจสอบพืชควบคุม
1.1 เข้าหน้า website กรมวิชาการเกษตร เลือกข้อมูลบริการ ระบบงานบริการ NSW เลือก เมล็ด

พันธพุ์ ชื ระบบการย่นื คำขอและออกใบรบั รอง

108

จะเข้าสู่หน้าระบบการยื่นคำขออนุญาต/หนังสือรับรองเมล็ดพันธ์ุควบคุมเพ่ือการค้า จากน้ันให้เลือก “เข้าสู่
ระบบ” เมอ่ื เข้าสูร่ ะบบสามารถตรวจสอบชนิดพชื ทต่ี อ้ งมีการควบคุมได้

เขา้ สู่ระบบด้วยหมายเลขบัตรประชาชน
ทั้ง user name และ password
โทรสอบถาม ไดท้ ่ี 02-579-3635 หรอื
02-579-7991

ให้ดำเนินการกรอกขอ้ มลู ชนิดพชื และนำ้ หนักแตล่ ะตัวอยา่ ง (ย่ืนข้อมูลส่งออกเพอ่ื มิใชก่ ารคา้ )

109

หน้า website เมื่อลงทะเบียนเข้าระบบเรียบร้อยแล้ว ให้เลือกพืชท่ีอยู่ในรายการควบคุมลงระบบ แล้ว
ดำเนินการยน่ื คำขอผา่ นชอ่ งทางนี้

พร้อม Print ใบหนงั สือขอนำออกเรียนถงึ ผูอ้ ำนวยการกลมุ่ ควบคุมพนั ธพ์ุ ชื จากระบบ online จำนวน 2 ชดุ
1.2 ลงนามในหนังสือขอส่งออกเมล็ดพันธ์คุ วบคุม
1.3 โดยผู้ย่ืนคำขอต้องไปติดต่อด้วยตนเอง ณ ศูนย์ราชการสะดวกกรมวิชาการเกษตร เพ่ือออก

ใบรบั รองและเซ็นต์รบั ใบรบั รอง
ตวั อย่าง ใบหนงั สือขอสง่ ออกเมล็ดพันธุ์ควบคุม เรียนถงึ ผู้อำนวยการกลุม่ ควบคุมพนั ธ์ุพชื

110

ตัวอยา่ ง ใบรับรองส่งออกเมลด็ พันธ์พุ ืชควบคุม

2. ตรวจสอบโรคและแมลงและออกใบรบั รองสุขอนามัยพชื
ติดต่อกลุ่มบริการส่งออกสินค้าเกษตร สังกัดสำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร* เตรียมกรอกข้อมูล

ในคำขอใบรับรองสุขอนามัยพืช แบบ พ.ก.7 เพื่อให้ตรวจสอบชนิดพืชและสถานทีป่ ลายทาง และตรวจสอบความ
ถกู ตอ้ งของข้อมูล

สามารถติดต่อสอบถามเพื่อตรวจสอบเงื่อนไขของประเทศปลายทางท่ีนำฝาก เพราะแต่ละประเทศ
ปลายทาง มีข้อกำหนดสำหรับพืชที่แตกต่างกัน เช่น พืชบางชนิด อาจมีข้อกำหนดเพ่ิมเติมให้มีการตรวจสอบ
โรคและแมลง ซง่ึ ในกรณีนี้ ตอ้ งมกี ารตรวจสอบโรคและแมลงต้อง ผ่านการดำเนินการในข้อ 3

111

ขอ้ มลู ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ชื่อพันธ์ุ
น้ำหนัก (กก.) หนังสอื เชิญไปฝาก
เมล็ดพนั ธุ์
e-mail: [email protected]
(กบส.)
โทร 02-940-7400
ดำเนินการตรวจสอบชนดิ พชื และ
ประเทศปลายทางวา่ จะมกี ารตรวจ
โรคในพืชใดบา้ ง

*กลุ่มบริการส่งออกสินค้าเกษตร เป็นอาคารชั้นเดียว ตั้งอยู่หลังตึกกองวิจัยและพัฒนาหลังการเก็บเก่ียวและแปรรูป
ผลติ ผลเกษตร (กวป.)

ข้ันตอนการดำเนนิ งานตรวจสอบโรคและแมลงและออกใบรบั รองสขุ อนามยั พืช
2.1 ชั่งน้ำหนักตัวอย่างแต่ละตัวอย่างโดยบันทึกข้อมูลเป็นกรัมและข้อมูลน้ำหนักรวมแบ่งเป็นแต่ละ

ชนิดพืช เช่น น้ำหนักรวมของถ่ัวเขียวทุกตัวอย่าง น้ำหนักรวมของถั่วเหลืองทุกตัวอย่าง เป็นต้น (เป็นข้อมูล
ตง้ั แตก่ ารเตรียมเมล็ดพนั ธุ)์

2.2 กรอกข้อมูลในระบบทำรายการพืชท่ีจะนำออกผ่านทาง web for plant and plant product
ข้อมูลท่ีกรอกจากการ save มีอายุใช้งาน 2 วัน หรือ 48 ชั่วโมง สามารถตรวจสอบได้ที่กลุ่มบริการส่งออก
สินค้าเกษตร www.facebook.com/ExprtPlantQuarantineServiceGroup หรอื โทร 02-940-7400

112

เว็บไซต์ท่เี ก่ยี วข้อง:
https://96.30.117.20/phyto_item/item.aspx หรือ
https://1.179.221.200/phyto_item/items.aspx
Login name: knickers3
Password: knickers4
หมายเหตุ: ต้องใช้ Internet Explorer เท่าน้ันในการใช้
งานเวบ็ ไซต์ดงั กลา่ ว

2.3 นำเมล็ดที่บรรจุเรียบร้อยแล้วพร้อมกล่องบรรจุภัณฑ์มาตรวจสอบและยื่นคำขอใบรับรอง
สุขอนามัยพืช แบบ พ.ก.7 ท่ีลงนามโดยผู้บังคับบัญชาหน่วยงาน (ผอ. สทช.) โดยยื่นคำขอฯ ณ กลุ่มบริการ
ส่งออกสินค้าเกษตร ซ่ึงต้องเตรียมเอกสารข้อมูลรายการพืชที่จะนำออกที่ลงทะเบียนผ่าน web เป็นเอกสาร
แนบในการยืน่ คำขอดังกลา่ ว ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 100 บาทตอ่ หนง่ึ คำขอ

ตวั อยา่ ง ใบรบั รองสขุ อนามยั พืช แบบ พ.ก.7

113

3. ในกรณีทต่ี อ้ งมกี ารตรวจโรคและแมลง
ตดิ ตอ่ กลุ่มวจิ ัยการกกั กนั พืช สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพชื
ข้นั ตอนการดำเนินงานการตรวจโรคและแมลง

3.1 ถ้าต้องมีการตรวจโรค ต้องนำเมล็ดพันธ์บุ างส่วนแบ่งมาเพ่ือตรวจสอบโรคและแมลง (จำนวนเมล็ด
แล้วแต่ชนดิ และข้อกำหนดพชื ) ณ อาคารศูนย์ตรวจวินิจฉัยศัตรูพชื กักกนั อาคารปฏิบัติการวิเคราะหค์ วามเส่ียง
ศัตรพู ืช กลุ่มวิจัยการกกั กนั พชื สำนกั วิจัยพัฒนาการอารักขาพืช

3.2 รับผลการตรวจโรคเมื่อครบกำหนดวนั ท่ที างกลมุ่ วิจยั การกักกันพืช สำนักวิจยั พัฒนาการอารกั ขาพชื แจง้
3.3 นำผลการตรวจโรคเพ่ือใช้สำหรับประกอบการย่ืนขอใบสุขอนามัยพืช แบบ พ.ก.7 ณ กลุ่มบริการ
สง่ ออกสินคา้ เกษตร

114

บรรณานุกรม

กมล เลิศรตั น.์ 2560. การผลติ การปลูก การแปรรปู และการตลาดของพรกิ และผลติ ภัณฑพ์ ริกในประเทศ
ไทย. ประชาคมวิจัย จดหมายข่าวราย 2 เดือน. ฉบับพเิ ศษ (สงิ หาคม 2560), 75: หนา้ 15.
http://rescom.trf.or.th/display/keydefault.aspx?id_colum=1936 [ออนไลน์ สงิ หาคม 2560]

กรกิจ ดิษฐาน. 2561. การเดินทางของพริกมายังสยาม. แหลง่ ทีม่ า:
https://www.gypzyworld.com/article/view/1154, 28 กรกฎาคม 2564.

คลังผลงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร. 2559. การจดั การโรคเหี่ยวของพริกท่ีเกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย. สบื คน้ จาก:
https://www.doa.go.th/research/showthread.php?tid=1747, 20 กรกฎาคม 2564.

จานุลักษณ์ ขนบด.ี 2564. ความผกู พันของคนกับพริก ตอน พริกกระเหรยี่ ง ‘คีรีราษฎร์’ ผลเล็ก รสรอ้ นแรง.
โลกของพืชผกั . 45(1): 118-122.

ฐานเศรษฐกิจ. 2563. พรกิ เขยี วมัน สนิ คา้ ดาวรุ่งตัวใหม่.
https://www.thansettakij.com/content/Macro_econ/451099 [ออนไลน์ 30 กนั ยายน 2563]

เดชรตั สุขกำเนิด. 2562. ประวตั ิศาสตรพ์ ริก (ตอนท่ี 1): พรกิ และการแฮ็คชือ่ ท่ีเงยี บและดงั ทสี่ ุดใน
ประวัตศิ าสตร์ไทย. แหลง่ ท่ีมา: https://www.ageconstory.com/2019/03/08/chillies-history/,
28 กรกฎาคม 2564.

เทคโนโลยีชาวบา้ น (ออนไลน์). 2562. ปลกู พริกทำไดไ้ ม่ยาก...แต่ตอ้ งเรยี นร้.ู สืบคน้ จาก:
https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_117944,
20 กรกฎาคม 2564.

นฤมล อศั วเกศมณี. 2549. บทท่ี 11 การวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการอาหารสตั ว์. หนา้ 327-352. ใน :
อาหารและการให้อาหารปลา. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา.

บปุ ผารัฐ รอดภยั . 2559. การศึกษาสมรรถนะการผสมของพรกิ พนั ธ์ุผลใหญ่ โดยการผสมแบบพบกนั หมด.
วทิ ยานพิ นธว์ ทิ ยาศาสตรม์ หาบณั ฑิต สาขาการปรบั ปรุงพันธ์ุพืช. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ภาควิชาเภสัชวนิ ิจฉัย มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. 2546. ข้ันตอนการสกดั สารสำคัญจากพืช. หนา้ 1-28.

มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ มกอช. 2502-2548 THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND
FOOD STANDARD TACFS 2502-2005 การปฏบิ ัติทางการเกษตรท่ีดสี ำหรับพริก GOOD
AGRICULTURAL PRACTICES FOR PEPPERS สำนกั งานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ICS 65.020.20 ISBN 974-403-318-5

ราณี สุรกาญจนก์ ุล. 2554. การวิเคราะห์อาหาร (Food Analysis). ภาควชิ าเทคโนโลยอี าหาร คณะ
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. กรุงเทพฯ. 275 หนา้ .

115

วรรณิศา ปทั มะภูษิต. 2559. ผลของไคโตซานต่อการเจรญิ เตบิ โต ผลผลติ ปรมิ าณสารทุติยภูมิ และคุณภาพ
เมล็ดพนั ธข์ุ องพริกข้ีหนู (Capsicum annuum L.) วทิ ยานพิ นธ์วิทยาศาสตรม์ หาบัณทติ สาขา
วิทยาการพืช. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.

ศักดด์ิ า เสือประสงค์. ม.ป.ป. เอกสารวชิ าการเร่ือง การผลติ พรกิ . กลมุ่ วชิ าการ สำนักวิจัยและพฒั นาการ
เกษตรเขตท่ี 5 กรมวชิ าการเกษตร.

ศูนย์วจิ ยั พืชสวนศรสี ะเกษ. 2564. พรกิ ขีห้ นหู ัวเรือ ศก.25
http://sisakethort.blogspot.com/2010/03/25.html [ออนไลน์ 13 มนี าคม 2553]

สุชลี า เตชะวงศเ์ สถยี ร. 2549. พรกิ : การผลติ การจดั การ และการปรับปรุงพนั ธ์ุ. บรษิ ทั เพรสมีเดีย จำกดั ,
กรงุ เทพฯ.

สรุ นิ ทร์ ปยิ ะโชคณากลุ . 2545. จีโนมและเคร่ืองหมายดเี อ็นเอ ปฏิบัตกิ ารอาร์เอพดี แี ละเอเอฟแอลพ.ี
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 115 หนา้ .

สุรนิ ทร์ ปิยะโชคณากุล. 2552. เครื่องหมายดีเอ็นเอ: จากพ้นื ฐานสกู่ ารประยุกต.์ สำนักพมิ พ์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 269 หนา้ .

สรุ ีย์ ภมู ิภมร. 2548. พรรณพืชในประวตั ิศาสตรไ์ ทย ตอน พริก. กรงุ เทพฯ: คณะวนศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ พิมพโ์ ดย สำนักพิมพ์มติชน. 239 หนา้ .

สำนกั คุ้มครองพันธ์ุพชื . 2561. รายละเอยี ดในการตรวจสอบลักษณะของพันธพ์ุ ืชท่ขี อจดทะเบียนเปน็ พันธใ์ุ ห
ตามชนดิ พชื ทไดป้ ระกาศใหเ้ ป็นพนั ธ์ุพืชใหม่ ทจ่ี ะได้รบั การคุม้ ครองตามมาตรา 14 แห่ง
พระราชบัญญัติ

คุม้ ครองพนั ธ์ุพชื พ.ศ. 2542 ชนดิ พืช พริกเผด็ และพรกิ ยักษห์ รือพริกหวาน (Capsicum annuum L.). 108-
131 p. เลม่ ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๑๔ ง ราชกจิ จานุเบกษา ๔ กันยายน ๒๕๖๑. สืบคน้ จาก:
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/214/T1.PDF, 23 กรกฎาคม 2564.

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ. 2560. มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 1502-2560 : พริก.
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ, กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ 17 หน้า.

ออลล์เกษตร(ALLKASET) (ออนไลน์). ม.ม.ป. การปลกู พริกและการดูแลรักษา. สืบคน้ จาก:
https://www.allkaset.com/contents/การปลูกพริกและการดูแลรักษา-70.php, 20 กรกฎาคม 2564

เอกรินทร์ สขุ แก้ว. 2559. ผลของแคลเซยี มซิลเิ กตต่อการเจริญเติบโต ผลผลติ ของพริกข้ีหนู และสมบตั ิบาง
ประการของดิน. วทิ ยานิพนธว์ ทิ ยาศาสตรม์ หาบณั ฑติ สาขาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการจกั ารทาง
ดิน มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.

เอ็มกรุป๊ (M-Group : Article). 2561. การดูแลพริกหลังการปลกู . สืบค้นจาก: http://www.m-
group.in.th/article/บทความ/การดูแลพริกหลังการปลกู .html, 20 กรกฎาคม 2564.

116

Agrawal, G.K., Pandey, R.N. and Agrawal, V.P., 1992, Isolation of DNA from Choerospondias
asillaris leaves, Biotech. Biodiversity Letters. 2: 19-24.

Antonio, A.S.; L.S.M. Wiedemann and V.F.V. Junior. 2018. The genus Capsicum: A
phytochemical review of bioactive secondary metabolites. RSC. Adv. 8:25767-25784.

AOAC. 2019. Official Methods of Analysis of AOAC International. 21st Ed. Gaithersburg. Maryland.

Aye, M.M.; Aung, H.T.; Sein, M.M. and Armijos, C. 2019. A review on the phytochemistry,
medicinal properties and pharmacological activities of 15 selected Myanmar
medicinal plants. Molecules. 24(2):293.

Bachheti, A.; Sharma, A.; Bachheti, R.K.; Husen, A. and Pandey, D.P. 2019. Plant
allelochemicals and their various applications. pp. 441-465. In: Mérillon, J.M. and
Ramawat, K.G. (Eds.). Co-Evolution of Secondary Metabolites. Switzerland, AG:
Springer Nature.

Bag, G.C.; Grihanjali Devi, P. and Bhaigyabati, Th. 2015. Assessment of total flavonoid content
and antioxidant activity of methanolic rhizome extract of three Hedychium species of
Manipur valley. Int. J. Pharm. Sci. Rev. Res. 30:154-159.

Basith, S.; Cui, M.; Hong, S. and Choi, S. 2016. Harnessing the therapeutic potential of
capsaicin and its analogues in pain and other diseases. Molecules. 21(8):966.

Berke, T.G. and Shieh, S.C. 2012. Capsicum cultivars. pp.116-130. In: Peter, K.V. (Ed.). Handbook
of Herbs and Spices Volume 1. Cambridge, UK: Woodhead Publishing.

Biodiversity for Food and Nutrition. 2020. Capsicum chinense Jacq. [Online] Available:
http://www. b4fn.org/resources/species-database/detail/capsicum-chinense-jacq/ (28
May 2021)

Campos-Vega, R. and Oomah, B.D. 2013. Chemistry and classification of phytochemicals. pp.
7-48. In: Tiwari, B.K.; Brunton, N.P. and Brennan, C.S. (Eds.). Handbook of Plant Food
Phytochemicals: Sources, Stability and Extraction. UK: John Wiley & Sons.

Carvalho Lemos, V.; Reimer, J.J. and Wormit, A. 2019. Color for life: Biosynthesis and
distribution of phenolic compounds in pepper (Capsicum annuum). Agriculture.
9(4):81.

117

Collins, M.D.; Wasmund, L.M. and Bosland, P.W. 1995. Improved method for quantifying
capsaicinoids in Capsicum using high-performance liquid chromatography. Hort. Sci.
30(1):137-139.

Cubero, O. F. and Crespo, A. 2002. Isolation of Nucleic Acid form Lichens. In: Protocol in
Lichenology. Springer Lab Mannual. Kranner I, Beckett R and Verma A. (eds). Springer
Verleg, Heideberg: New York. p. 381-391.

David, A.V.A.; Arulmoli, R. and Parasuraman, S. 2016. Overviews of biological importance of
quercetin: A bioactive flavonoid. Pharmacogn. Rev. 10(20): 84-89.

Echave, J.; Pereira, A.G.; Carpena, M.; Prieto, M.A. and Simal-Gandara, J. 2020. Capsicum Seeds
as a source of bioactive compounds: Biological properties, extraction systems, and
industrial application. IntechOpen. 36p.

Guil-Guerrero, J.L.; Martínez-Guirado, C.; Del Mar Rebolloso-Fuentes, M. and Carrique-Pérez, A.
2006. Nutrient composition and antioxidant activity of 10 pepper (Capsicum annuum)
varieties. Eur. Food Res. Technol. 224(1):1-9.

Hallman, C. 2020. Peppers ranked by Scoville Heat Units. [Online] Available:
https://www.titlemax. com/discovery-center/lifestyle/peppers-ranked-by-scoville-heat-
units/ (26 May 2021).

Hasler, C.M. and Blumberg, J.B. 1999. Symposium on phytochemicals: Biochemistry and
physiology - Introduction. J. Nutr. 129(3):756S-757S.

Hassan, N.M.; Yusof, N.A.; Yahaya, A.F.; Rozali, N.N.M. and Othman, R. 2019. Carotenoids of
Capsicum fruits: Pigment profile and health-promoting functional attributes.
Antioxidants. 8:469.

Hornero-Méndez, D.; Gómez-Ladrón De Guevara, R. and Mínguez-Mosquera, M.I. 2000.
Carotenoid biosynthesis changes in five red pepper (Capsicum annuum L.) cultivars
during ripening. Cultivar selection for breeding. J. Agric. Food Chem. 48(9):3857-3864.

Hwang, D.; Kim, M.; Park, H.; Jeong, M.I.; Jung, W. and Kim, B. 2019. Natural products and
acute myeloid leukemia: A review highlighting mechanisms of action. Nutrients.
11:1010.

118

Ingle, K.P.; Padole, D.A. and Khelurkar, V.C. 2017. Preliminary phytochemical screening of
methanolic extract from different parts of Jatropha curcas (L.). Multilogic Sci.
6(19):111-115.

IPGRI, 1995 IPGRI, AVRDC and CATIE.“Descriptor for Capsicum (Capsicum spp.).”International
Plant Genetic Resources Institute, Rome, Italy; The Asia Vegetable Research and
Development Center, Taipei, Taiwan, and the Centro Agronomico Tropical de
InvestitativeEnsenanza, Turrialba, Costarica,1995, 49 p.

Judprasong, K.; Puwastien, P.; Rojroongwasinkul, N.; Nitithamyong, A.; Sridonpai, P. and
Somjai., A. 2018. Thai Food Composition Database (online version). Institute of
Nutrition, Mahidol University.

Koche, D.; Shirsat, R. and Kawale, M. 2016. An Over review of major classes of
phytochemicals: Their types and role in disease prevention. Hislopia J. 9(1/2):1-11.

Kumar, R.S.; Venkateshwar, C.; Samuel, G. and Rao, S.G. 2013. Phytochemical screening of
some compounds from plant leaf extracts of Holoptelea integrifolia (Planch.) and
Celestrus emarginata (Grah.) used by Gondu tribes at Adilabad District,
Andhrapradesh, India. Int. J. Eng. Sci. Invent. 2(8):65-70.

Kumar, S. and Pandey, A.K. 2013. Chemistry and biological activities of flavonoids: An
overview. Sci. World J. 2013:162750.

Kumar, S., Steche,r G. and Tamura, K. 2018. MEGA7: Molecular Evolutionary Genetics Analysis
version 7.0 for bigger datasets Molecular Biology and Evolution 33:1870-1874.

Lagua, R.T. and V.S. Claudio. 1996. Nutrition and Diet Therapy Reference Dictionary. Chapman
and Hall. N.Y. 491 pp.

López-Lázaro, M. 2009. Distribution and biological activities of the flavonoid luteolin. Mini
Rev. Med. Chem. 9(1):31-59.

Machmudah, S. and Goto, M. 2013. Methods for extraction and analysis of carotenoids. pp.
3367-3411. In: Ramawat, K.G. and Mérillon, J-M. (Eds.) Natural Products:
Phytochemistry, Botany and Metabolism of Alkaloids, Phenolics and Terpenes. Berlin
Heidelberg: Springer-Verlag. 4242pp.

Maoka, T. 2020. Carotenoids as natural functional pigments. J. Nat. Med. 74:1-16.

119

María, R.; Shirley, M.; Xavier, C.; Jaime, S.; David, V.; Rosa, S. and Jodie, D. 2018. Preliminary
phytochemical screening, total phenolic content and antibacterial activity of thirteen
native species from Guayas province Ecuador. J. King Saud Univ. Sci. 30:500-505.

Mattila, P.; Astola, J. and Kumpulainen, J. 2000. Determination of flavonoids in plant material
by HPLC with diode-array and electro-array detections. J. Agric. Food Chem. 48:5834-5841.

Mendoza, N. and Silva, E.M.E. 2018. Introduction to phytochemicals: Secondary metabolites
from plants with active principles for pharmacological importance. pp. 25-47. In: Asao,
T. and Asaduzzaman, M. (Eds.) Phytochemicals - Source of Antioxidants and Role in
Disease Prevention. IntechOpen. 24p.

Mera, I.F.G.; Falconí, D.E.G. and Córdova, V.M. 2019. Secondary metabolites in plants: Main
classes, phytochemical analysis and pharmacological activities. Revista Bionatura.
4(4):1000-1009.

Molyneux, R.J.; S.T. Lee; D.R. Gardner; K.E. Panter and L.F. James. 2007. Phytochemicals: The
goods, the bad and the ugly? Phytochemistry. 68:2973-2985.

Mutha, R.E.; Tatiya, A.U. and Surana, S.J. 2021. Flavonoids as natural phenolic compounds
and their role in therapeutics: An overview. Future J. Pharm. Sci. 7:25.

Nwokem, C.O.; Agbaji, E.B.; Kagbu, J.A. and Ekanem, E.J. 2010. Determination of capsaicin
content and pungency level of five different peppers grown in Nigeria. N.Y. Sci. J.
3(9):17-21.

Olatunji, T.L. and Afolayan, A.J. 2017. Comparison of nutritional, antioxidant vitamins and
capsaicin contents in Capsicum annuum and C. frutescens. Int. J. Veg. Sci. 26(2):190-207.

Olatunji, T. L. and Afolayan, A. J. 2019. Evaluation of genetic relationship among varieties of
Capsicum annuum L. and Capsicum frutescens L. in West Africa using ISSR markers.
Heliyon 5: e01700.

Popelka, P.; Jevinová, P.; Šmejkal, K. and Roba, P. 2017. Determination of capsaicin content
and pungency level of different fresh and dried chili peppers. Folia Vet. 61(2):11-16.

Ponder, A.; Kulik, K. and Hallmann, E. 2021. Occurrence and determination of carotenoids
and polyphenols in different paprika powders from organic and conventional
production. Molecules. 26:2980.

120

Reeves, C. 2008. How the chili pepper got to China, World History Bulletin. Available source:
https://www.thefreelibrary.com/How+the+chili+pepper+got+to+China.-a0250579383,
28 กรกฎาคม 2564.

Rodriguez-Amaya, D.B. and Kimura, M. 2004. HarvestPlus Handbook for Carotenoid Analysis.
Washington DC: HarvestPlus. 58pp.

Sarveswaran, R.; Jayasuriya, W.J.A.B.N. and Suresh, T.S. 2017. In vitro assays to investigate the
anti-inflammatory activity of herbal extracts: A review. World J. Pharm. Res. 6(17):131-141.

Saxena, M.; Saxena, J.; Nema, R.; Singh, D. and Gupta, A. 2013. Phytochemistry of medicinal
plants. J. Pharmacogn. Phytochem. 1(6):168-182.

Sauer, J. D. 1993. Historical Geography of Crop Plants: A Select Roster. 1st Edition. Boca
Raton: CRC Press. 320p.

Scott, 2021. Pepper varieties: Pepper X. [Online] Available: https://thechilliexpert.com/pepper-x/
(26 May 2021)

Scoville, W.L. 1912. Note on capsicums. J. Am. Pharm. Assoc. 1(5):453-454.

Shaimaa, G.A.; Mahmoud, M.S.; Mohamed, M.R. and Emam, A.A. 2016. Effect of heat
treatment on phenolic and flavonoid compounds and antioxidant activities of some
Egyptian sweet and chilli pepper. Nat. Prod. Chem. Res. 4(3):1000218.

Sricharoen, P.; N. Lamaiphan; P. Patthawaro; N. Limchoowong; S. Techawongstien and S.
Chanthai. 2017. Phytochemicals in Capsicum oleoresin from different varieties of hot
chilli peppers with their antidiabetic and antioxidant activities due to some phenolic
compounds. Ultrason. Sonochem. 38:629-639.

Tacouri, D.D.; Ramful-Baboolall, D. and Puchooa, D. 2013. In vitro bioactivity and
phytochemical screening of selected spices used in Mauritian foods. Asian Pac. J.
Trop. Dis. 3(4):253-261.

Thakur, A. and Sharma, R. 2018. Health promoting phytochemicals in vegetables: A mini
review. Intl. J. Food. Ferment. Technol. 8(2):107-117.

Thul, S. T., Darokar, M. P., Shasany, A. K. and Khanuja, S. A. K. 2012. Molecular profiling for
Genetic variability in Capsicum species based on ISSR and RAPD markers. Molecular
Biotechnology 51(2): 137-147.

121

Tiwari, P.; Kumar, B.; Kaur, M.; Kaur, G. and Kaur, H. 2011. Phytochemicals screening and
extraction: A review. Int. Pharm. Sci. 1(1):98-106.

Usman, M.G.; Rafii, M.Y.; Ismail, M.R.; Malek, M.A. and Latif, M.A. 2014. Capsaicin and
dihydrocapsaicin determination in chili pepper genotypes using ultra-fast liquid
chromatography. Molecules. 19:6474-6488.

Villa-Rivera, M.G. and Ochoa-Alejo, N.O. 2020. Chili pepper carotenoids: Nutraceutical
properties and mechanisms of action. Molecules. 25:5573.

Wahyuni, Y.; Ballester, A.R.; Sudarmonowati, E.; Bino, R.J. and Bovy, A.G. 2011. Metabolite
biodiversity in pepper (Capsicum) fruits of thirty-two diverse accessions: Variation in
health-related compounds and implications for breeding. Phytochemistry. 72:1358-1370.

Zimmerman, M. and B. Snow. 2012. Chapter 1 Nutrition and You. Pages 9-64. In: An
Introduction to Nutrition. Creative Commons.

ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ

ดร.กฤษณ์ ลนิ วฒั นา

คณะทำงำนจดั กำรควำมรู้
สำนักวิจยั พฒั นำเทคโนโลยีชีวภำพ

(KM Teams สทช.)

นายดนยั นาคประเสรฐิ ทป่ี รกึ ษาคณะทางาน
นางกญั ญาภรณ์ พพิ ธิ แสงจนั ทร์ ประธานคณะทางาน
นางสาวสุพนิ ญา บุญมานพ คณะทางาน
นางสาวปารฉิ ตั ร สงั ขส์ ะอาด คณะทางาน
นายพทิ ยา วงษช์ า้ ง คณะทางาน
นางอญั ชลี แกว้ ดวง คณะทางาน
นางสาวพฒั น์นรี รกั ษค์ ดิ คณะทางาน
นางสาวอสั นี สง่ เสรมิ คณะทางาน
นางสาวพชั ร ปิรยิ ะวนิ ติ ร คณะทางาน
นางสาวเสาวณี เดชะคาภู คณะทางาน
นางสาวสกุ ลั ยา ศริ ฟิ องนุกลู คณะทางาน
นางสาวชลลดา สามพนั พวง คณะทางาน
นางสาวภทั รยี า สุทธเิ ชอ้ื นาค คณะทางาน
นางสาวนิภาพร บวั อน่ิ คณะทางาน
นายธรี ภทั ร เหลอื งศุภบลู ย์ คณะทางาน
นายวรกจิ หอ้ งแซง คณะทางาน
นายเอกณฏั ฐ์ ศรวี ชิ ยั คณะทางาน


Click to View FlipBook Version