The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการความรู้ สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by doagenebank.thailand, 2022-03-16 23:49:25

ข้อมูลการวิจัยและพัฒนาเทคนิคการอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมพืช

เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการความรู้ สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร

0

ข้อมลู การวจิ ัยและพัฒนาเทคนคิ การอนุรักษเ์ ชื้อพนั ธุกรรมพชื

1

คำนำ
การอนุรักษ์เช้ือพันธุกรรมพืช ปัจจุบันเป็นหัวข้อสาคัญในระดับโลกสาหรับประเทศไทยให้ความสาคัญต่อการ
อนุรักษ์เชื้อพันธ์ุพืชทั้งในสภาพ in situ และ ex situ โดยเป็นความม่ันคงทางด้านอาหารของประเทศมีความสาคัญ
พื้นฐานต่อการพัฒนาประเทศท้ังทางเศรษฐกิจ สังคมและส่ิงแวดล้อม เนื่องจากพันธุกรรมพืชถือเป็นทรัพยากรที่มีค่า
และมีความสาคัญต่อการพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์พืชในอนาคต การอนุรักษ์ความหลากหลายทางพันธุกรรมของ
ทรัพยากรเหล่านี้จึงมีความสาคัญท่ีจะทาให้ลดการสูญเสียความหลากหลายอันเนื่องมาจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของ
มนษุ ยใ์ นการใชท้ รพั ยากรตลอดจนการปลูกพืชพันธ์ดุ ีทดแทนพนั ธพ์ุ ืชพื้นเมืองท้องถิ่น ด้วยเหตุน้ีการศึกษาวิทยาการใน
การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชให้มีความเหมาะสมต่อชนิดพืชนั้นจึงมีบทบาทสาคัญท่ีจะปกป้องและลดการสูญเสียดังกล่าว
ตลอดจนเป็นการจัดการฐานพันธุกรรมของประเทศต่อไป โดยโครงการวิจัยน้ีประกอบด้วย 2 กิจกรรม เป็นการศึกษา
การอนุรกั ษ์เชือ้ พันธุกรรมพืชในรูปแบบการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์สาหรับพืชประเภท orthodox seed หรือหรือเมล็ดท่ี
สามารถลดความช้ืนภายในเมล็ดให้ต่าได้โดยไม่มีผลต่อความมีชีวิตของเมล็ด ชนิดพืชประเภทน้ีจะทาการศึกษาการ
อนุรักษ์ในสภาพเมล็ดพันธ์ุ ส่วนพืชประเภท recalcitrant seed หรือ เมล็ดท่ีไม่สามารถทาให้แห้งและเก็บไว้ท่ี
อุณหภูมิต่าได้ นอกจากน้ีชิ้นส่วนเนื้อเย่ือเจริญอื่นๆ เช่น ตายอด ตาข้าง ที่สามารถทาการอนุรักษ์ในสภาพปลอดเช้ือ
เพือ่ การนามาใชต้ อ่ ยอดหรือใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรอย่างยั่งยนื ต่อไปในอนาคต

ขอ้ มลู การวิจัยและพฒั นาเทคนคิ การอนุรักษเ์ ช้ือพันธุกรรมพชื

2

กติ ตกิ รรมประกำศ
โครงการวิจัยและพัฒนาเทคนิคการอนุรักษ์เช้ือพันธุกรรมพืช ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญด้านอนุรักษ์พันธุกรรม
ผชช.ขนิษฐา วงศ์วัฒนารัตน์ หัวหน้าการทดลองทุกท่าน ผู้ร่วมวิจัย คณะทางาน และเจ้าหน้าท่ีทุกท่านของกลุ่มวิจัย
พัฒนาธนาคารเชื้อพันธ์ุพืชและจุลินทรีย์ สานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ ผู้อานวยการสานักวิจัยพัฒนา
เทคโนโลยีชีวภาพ และหน่วยงานภายนอกทุกหน่วยงาน ที่มีส่วนสนับสนุนในการดาเนินงานโครงการวิจัยนี้ให้สาเร็จ
ลุล่วงเป็นอย่างดีย่ิง คณะวิจัยหวังว่าโครงการวิจัยน้ีสามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการต่อยอดด้านอนุรักษ์
พันธกุ รรมพืชในสภาพนอกธรรมชาติ (ex situ condition) ต่อไป

กญั ญาภรณ์ พพิ ิธแสงจนั ทร์
หัวหนา้ โครงการวิจยั

ข้อมูลการวิจัยและพฒั นาเทคนิคการอนุรกั ษเ์ ชื้อพนั ธุกรรมพชื

สำรบญั 3

คานา หน้ำ
กิตติกรรมประกาศ 1
สารบัญ 2
โครงการวจิ ัยวจิ ยั และพัฒนาเทคนิคการอนรุ ักษเ์ ชื้อพนั ธุกรรมพชื 3
4
บทคัดยอ่ 5
บทนา (Introduction) 7
ระเบียบวิธกี ารวจิ ยั (Research Methodology) 11
ผลการวจิ ยั (Results) 13
ข้อเสนอแนะต่อผเู้ กย่ี วข้องสาหรบั การดาเนนิ งานในระยะต่อไป 30
บทคัดย่อการทดลองเทคนคิ การเก็บรักษาเมล็ดเชื้อพันธุ์ดาวอินคา(Plukenetia volubilis L.) 31
ในธนาคารเช้อื พนั ธุ์พืช
บทคดั ย่อการทดลองเทคนิคการเกบ็ รักษาเมล็ดพนั ธบ์ุ วบหอมในสภาพเยือกแขง็ 32
บทคัดยอ่ การทดลองเทคนคิ การอนรุ ักษ์เมล็ดพนั ธงุ์ าในสภาพเยอื กแข็ง 34
บทคัดย่อการทดลองเทคนิคการเก็บรักษาเมล็ดผักโขม (Amaranthus spp.) ในธนาคารเชื้อ 35
พนั ธ์พุ ชื
บทคัดยอ่ การทดลองการขยายพันธ์ุมันสาคู (Maranta arundinacea L.) ในสภาพปลอดเช้ือ 36
เพ่อื การอนุรกั ษ์
บทคดั ย่อการทดลองเทคนิคการขยายพนั ธมุ์ ันขี้หนูในสภาพปลอดเชื้อเพื่อการอนุรักษ์ 38
บทคัดย่อการทดลองเทคนิคการอนุรักษ์ขิงพระพุทธบาท (Zingiber tenuiscapus) และ 39
ตะไคร้พราน (Zingiber citriodorum) พชื ถิ่นเดียวของไทยในสภาพปลอดเชือ้
บทคัดย่อการทดลองเทคนิคการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช สมุนไพร: ระย่อมน้อย (Rauvolfia 41
serpentina (L.) Benth.exKurz) ในสภาพปลอดเชือ้
เอกสารอา้ งอิง 42

ข้อมูลการวิจยั และพฒั นาเทคนิคการอนุรกั ษเ์ ชื้อพนั ธุกรรมพชื

4

โครงกำรวิจยั
วจิ ยั และพัฒนาเทคนคิ การอนุรกั ษเ์ ชื้อพนั ธกุ รรมพืช
Research and Development of Technique on Plant Genetic Resources Conservation

ชือ่ ผู้วจิ ัย
กัญญาภรณ์ พิพิธแสงจันทร์, สพุ ินญา บุญมานพ, ปาริฉัตร สงั ข์สะอาด, อัญชลี แกว้ ดวง, พฒั น์นรี รักษ์คิด,
อสั นี ส่งเสริม, สกุ ัลยา ศริ ฟิ องนุกูล, พชั ร ปริ ิยะวนิ ิตร, เสาวณี เดชะคาภู, ชลลดา สามพันพวง, ภทั รียา สุทธเิ ชอ้ื นาค,

นิภาพร บวั อน่ิ , อภญิ ญา วงศ์เปี้ย, วรกจิ หอ้ งแซง, สมใจ โควสรุ ัตน์

Kunyaporn Pipithsangchan, Suphinya Bunmanop, Parichart Sangkasa-ad, Anchalee Kaewdoung,
Padnaree Rukkid, Assanee Songserm, Sukunlaya Sirifongnokul, Phatchara Piriyavinit,

Saowanee Dachakumpoo, Chollada Samphunphuang, Patreeya Sudhishurnark, Nipaporn Boain,
Aphinya Wongpia, Worrakit Hongsaeng, Somjai Kowasurat

คาสาคัญ (Key words)
คาสาคัญ (TH) ดาวอินคา ความแข็งแรง เมล็ดพันธุ์บวบหอม ความชื้นของเมล็ด การเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็ง

การอนุรกั ษ์ การใช้ประโยชน์ ธนาคารเชื้อพนั ธพ์ุ ืช เมลด็ เช้ือพันธุ์งา ปรมิ าณนา้ มนั ในเมล็ดงา กรดไขมัน
กรดโอเลอิค กรดลิโนเลอิค ความสามารถในการต้านสารอนุมูลอิสระ อายุการเก็บรักษา ความมีชีวิต
เปอร์เซ็นต์ความงอก พืชสกุลผักโขม มันสาคู การขยายพันธ์ุ สภาพปลอดเชื้อ การชะลอการ
เจริญเติบโต มันขห้ี นู การเพาะเลีย้ งเนอื้ เยือ่ พชื สกุลขิงการอนุรกั ษ์ ระยอ่ มนอ้ ย

คาสาคญั (EN) Plukenetia volubilis L., sacha inchi, Seed Vigor, Sponge gourd, Seed moisture
content, Cryopreservation, Conservation, Utilization, Genebank, Sesamum indicum L,
lipid content, fatty acids, oleic acid, linoleic acid, antioxidant capacity, seed
germplasm, seed longevity, viability, germination, Amaranthus L., storage, Arrowroot,
Micropropagation, Regeneration, Slow growth, Plectranthus rotundifolius, Tissue
Culture, Zingiberaceae, Micropropagation, Rauvolfia serpentina Benth.exKurz, In Vitro

ขอ้ มลู การวจิ ัยและพฒั นาเทคนคิ การอนรุ กั ษ์เช้ือพนั ธกุ รรมพืช

5

บทคัดย่อ
ประเทศไทยจัดอันดับให้อยู่ในพ้ืนที่ท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงเป็นอันดับ 8 ของโลก กรมวิชาการเกษตร
เล็งเห็นความสาคัญของการเก็บอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมพืชไว้ให้ได้ยาวนานเพ่ือการป้องกันการเส่ือมหรือการสูญหาย
พันธกุ รรมของพืชธนาคารเช้อื พันธ์ุพืชกรมวิชาการเกษตรจงึ เกิดข้ึน สาหรับโครงการวิจัยและพัฒนาเทคนิคการอนุรักษ์เช้ือ
พันธุกรรมพืช มีวัตถุประสงค์ 1. เพ่ือศึกษาเทคนิคท่ีเหมาะสมสาหรับเก็บรักษาเมล็ดดาวอินคา บวบหอม งา และผักโขม
ภายใต้อุณหภูมิในการเก็บรักษาต่างๆเพื่องานด้านการอนุรักษ์ของธนาคารเชื้อพันธุ์พืช 2. เพื่อศึกษาเทคนิคท่ีเหมาะสม
สาหรับการเก็บรักษาพันธุกรรมพืชในสภาพปลอดเช้ือ มันสาคู มันขี้หนูขิงพระพุทธบาท ตะไคร้พรานและระย่อมน้อย
แบ่งเป็น 2 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 1: เทคนิคการอนุรักษ์เมล็ดเช้ือพันธุกรรมพืช พบว่า เมล็ดพันธ์ุดาวอินคาท่ีลด
ความชื้นในระดับต่างๆ เก็บรักษาอุณหภูมิห้อง 5 และ -10 องศาเซลเซียส เมื่อระยะเวลาผ่านไปมีความงอกลดลง โดย
อณุ หภูมิ 5 องศาเซลเซียส เมื่อลดความช้ืนในเมล็ดเหลือ 6 เปอร์เซ็นต์ หรือต่ากว่ามีความงอกมากกว่าร้อยละ 50 นานถึง
28 เดือน เมล็ดพันธ์ุบวบหอมยาว บวบหอมสั้น และบวบหอมป่าลดความชื้นที่ 8 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ พบว่าทั้ง 3
ตัวอย่าง ท่ีระดับความช้ืน 6 - 8 เปอร์เซ็นต์ เหมาะสมท่ีสุดก่อนเก็บรักษา ในสภาพแปลงปลูก พบว่าบวบหอมยาวและ
บวบหอมส้ันเติบโตดีทุกระยะ แต่บวบหอมป่าเติบโตดีในระยะต้นกล้า งาทุกพันธุ์ไม่มีการเปลี่ยนแปลงความมีชีวิต ความ
แข็งแรง และปริมาณน้ามันงา สามารถเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งได้แต่ควรลดความช้ืนในเมล็ดพันธ์ุให้อยู่ที่ระดับ 6
เปอร์เซ็นต์ หรอื ต่ากว่าจะช่วยยืดอายุการเก็บรักษาให้ยาวนานข้ึน ผักโขมสามารถเก็บรักษาได้นานเกิน 18 เดือน เม่ือเก็บ
รักษาที่อุณหภูมิห้อง 5 องศาเซลเซียส และ -10 องศา โดยเปอร์เซ็นต์ความงอกและความแข็งแรงลดลงเล็กน้อยเมื่ออายุ
การเก็บรักษาเพ่ิมข้ึน กิจกรรมที่ 2 เทคนิคที่เหมาะสมสาหรับการเก็บรักษาในสภาพปลอดเชื้อ สูตรอาหารท่ีเหมาะสมใน
การชักนาการเกิดยอด อาหารสูตร MS ที่เติมสารเบนซิลอะดีนิน (BA) ความเข้มข้น 0, 1.5 และ 3.0 mg/l ภายใต้สภาพ
แสงปกติและสภาพมืดให้ผลไม่แตกต่างกัน แต่การเล้ียงบนอาหาร MS ที่เติมสาร BA มีแนวโน้มชักนาการเกิดยอดได้ และ
การศกึ ษาเพมิ่ ปรมิ าณต้น พบว่าอาหาร MS ท่ีเติมสาร BA ความเข้มข้น 6.0 mg/l อย่างเดียวชักนาให้เกิดยอดสูงสุดเฉล่ีย
5.5 ยอด สว่ นการเกิดรากพบว่าอาหาร MS ท่ีไม่เติมฮอร์โมนสามารถชักนาการเกิดรากสูงสุดเฉลี่ย 4.6 ราก และยาวเฉลี่ย
4.49 เซนติเมตร การย้ายออกปลูกในโรงเรือน พบว่ารอด 100 เปอร์เซ็นต์ การศึกษาการชะลอการเจริญเติบโตต้นมันสาคู
ใช้สตู รอาหาร ½ MS เพาะเล้ียงได้นานกว่าสูตรอื่นๆ เล้ียงเป็นเวลานาน 5 เดือน มันข้ีหนูสามารถขยายเพิ่มปริมาณได้โดย
การใช้ส่วนของยอดในอาหารสังเคราะห์สูตร MS + IAA 1 มก./ล. + BA 3 มก./ล. หลังจากน้ันชักนาให้เกิดรากบนอาหาร
สูตรสังเคราะห์ MS + IBA 2 มก./ล. (MSr) และสามารถเก็บรักษาได้นานสูงสุด 6 เดือน การเพาะเลี้ยงขิงพระพุทธบาทใน
อาหารเพอ่ื ชะลอการเจริญเติบโต พบว่าสูตรอาหารที่เหมาะสม คือ ½ MS หรือ ¼ MS ท่ีเติมน้าตาลซูโครส 15 ก./ล. และ
สตู รท่ีเหมาะสมสาหรับชะลอการเจริญเตบิ โตของตะไคร้พราน คือ ½ MS ที่เติมน้าตาลซูโครส 15 ก./ล. สามารถชะลอการ
เจริญเติบโตได้มากกว่า 8 เดือน สาหรับยอดระย่อมน้อยรอดชีวิตและเจริญเป็นต้นได้ 100% สูตรอาหารท่ีเหมาะสม
สาหรบั การชักนาให้เกิดยอด พบว่าเพาะเล้ียงนาน 4 เดือนสามารถชักนาให้เกิดยอดได้มากถึง 12.6 ยอดเมื่อเพาะเลี้ยงบน
อาหาร MS ท่ีเติม IAA 0.1 มก/ล และ BA 3 มก/ล สาหรับการชะลอการเจริญเติบโตในสภาพปลอดเช้ือของระย่อมน้อย
พบว่าสามารถเพาะเลี้ยงไดน้ านถึง 4 เดอื น โดยไม่ต้องเปลีย่ นถ่ายอาหารใหม่

ข้อมูลการวจิ ัยและพัฒนาเทคนคิ การอนรุ กั ษ์เชื้อพันธุกรรมพชื

6

Abstract
The Kingdom of Thailand is recorded as one of the area that the most biodiversity in the world
representing 8% of the world’s total. Department of Agriculture has concerned the significance of ex
situ condition as genebank. The conservation of plant genetic diversity particularly food crops is an
assurance for the national food security this project “Research and Development of Technology on
Plant Genetic Resources Conservation” was conducted in the year of 2019-2021. The project aimed to
study appropriate seed conservation techniques for plant germplasm as the follows: (1) Plukenetia
volubilis L., (2) Luffa aegyptiaca, (3) Sesamum indicum L., (4) Amaranthus spp. (5) Maranta
arundinacea L., (6) Plectranthus rotundifolius, (7) Zingiber tenuiscapus, (8) Zingiber citriodorum, and (9)
Rauvolfia serpentina (L.) Benth. Ex Kurz in DOA genebank. The result showed that the moisture content
(MC) of the Sacha Inchi seeds (1) conserved in 5 oC conservation room were 6% or lower and the
germination test of the seed appeared more than 50% through 28 months. The optimum seed
moisture content of all sponge gourd seeds (2) for cryopreservation was in the range of 6 – 8 %. The
growth of sponge gourd in the field after seeds being stored in cryopreservation showed that Buab
Hawm Yao and Buab Hawm San had good growth and showed normal morphological characteristics in
all stages. Sesame (3) showed the results of the germination test, the vigour and oil content did not
have any changes after being stored by cryopreservation technique. Seed MC should be reduced until
6 % or lower similarly to Amaranthus (4) which could preserved longer than in medium term storage
room (5° C) and long term storage (-10° C). For in vitro conservation, micropropagation technique of
Arrowroot (5), shoot cultures were successfully established from rhizome buds on MS medium with BA
in the dark and in the light condition and MS medium with 6.0 mg/L BA could induce highest shoot
(5.5). MS Medium with no hormone could induce highest root (4.6) and root length (4.49 cm.). After
being transplanted to the greenhouse, the survival rate was 100%. For slow growth technique, ½ MS
could take 5 months. Housa potato (6) were successfully established from the shoot and then the root
was induced and can be maintained for 6 months. For the zingibers, (7, 8) the optimum medium for (7)
and (8) were ½ MS both with 15 g/L sucrose which could prolong for more than 8 months. For the
medicinal plant, (9), the medium which could induce shoots was MS with 0.1 mg/L IAA and 3 mg/L BA.
For the slow growth, medium could prolong culture for 4 months.

ข้อมลู การวิจยั และพัฒนาเทคนิคการอนุรกั ษเ์ ช้ือพันธกุ รรมพืช

7

บทนำ (Introduction)
ประเทศไทยได้รบั การจดั อนั ดบั ให้อยู่ในพื้นทที่ ีม่ คี วามหลากหลายทางชีวภาพสูงสุด 8 อันดับแรกของโลก เป็น
แหล่งรวมสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตประมาณ 10% ถือว่าเป็นโอกาสของประเทศไทยในการท่ีจะใช้ประโยชน์จากความ
หลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะความหลากหลายของพันธุ์และชนิดพืชต่างๆ ท้ังพืชเศรษฐกิจ พืชผัก สมุนไพร
จานวนมาก และมีการนามาใช้ประโยชน์ได้ตั้งแต่ส่วนใบ ผล เมล็ด และราก มาเป็นส่วนประกอบของอาหารหรือเป็น
ผักสดเพื่อรับประทานเป็นเครื่องเคียง เช่น ส่วนประกอบในเครื่องแกง ใช้แต่งรสชาติ แต่งกลิ่น แต่งสีสันให้อาหารมี
ความสวยงามและนา่ รับประทานนอกจากน้ันพืชผักและสมุนไพรที่ใช้ในอาหารไทยส่วนใหญ่ ยังมีสรรพคุณทางยาท่ีทา
ซ่ึงมีโอกาสทจ่ี ะนาไปพฒั นาต่อไป แตอ่ ย่างไรก็ตามการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้มีความจาเป็นอย่างย่ิง
เพ่ือไม่เช้ือพันธุกรรมสูญหายจากการทาเกษตรกรรมเชิงเดียว การปลูกพืชพันธุ์ดี หรือการเปล่ียนแปลงของภูมิอากาศ
โลก ปจั จัยของภาวะโลกร้อนที่ทวคี วามรุนแรงข้นึ เส่ยี งตอ่ การสญู หายของเชือ้ พนั ธุกรรมเหล่าน้ี
กรมวิชาการเกษตร เล็งเห็นความสาคัญของการเก็บอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมพืชไว้ให้ได้ยาวนานอันจะเป็นการ
ปอ้ งกันการเสื่อมพันธกุ รรมหรอื การสูญหายพันธุกรรมของพชื และเหมาะสาหรบั นาออกมาใช้ประโยชน์ในการวิจัยและ
พัฒนาทง้ั ในปัจจุบนั และอนาคตไดท้ นั ทีจึงได้มีการจัดตง้ั "ธนาคารเชอ้ื พนั ธุ์พชื " ภายใต้กลุ่มวิจัยพัฒนาธนาคารเชื้อพันธ์ุ
พชื และจุลนิ ทรีย์ สานักวจิ ยั พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพโดยเก็บรักษาในรูปเมล็ดพันธ์ุ (seed bank) ปัจจุบันอนุรักษ์เมล็ด
พันธุ์พืชจานวนมากกว่า 32,977 ตัวอย่างพันธ์ุ มีห้องอนุรักษ์ระยะปานกลาง (5๐C) ความชื้นสัมพัทธ์ 60% ขนาด 86
ตรม. สงู 24 เมตร มศี ักยภาพเกบ็ รักษา 150,000 ตัวอย่าง ห้องน้ีมีระบบจัดเก็บอัตโนมัติมีกาหนดในการปลูกฟื้นฟูทุก
5-10 ปี และห้องอนุรักษ์ระยะยาว (-10๐C) มีศักยภาพการเก็บรักษา 40,000 ตัวอย่าง ขนาดห้อง 76 ตรม. สามารถ
เกบ็ ไดน้ านกวา่ 50 ปี มหี ้องลดความชื้น (25๐C, %RH 15%) สามารถลดความชื้นโดยไม่ใช้ความร้อน ซ่ึงส่วนใหญ่เป็น
พืชเศรษฐกิจและพืชอาหาร ตัวอย่างเช่น ข้าว ข้าวโพด ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วเขียว ฝ้าย รวมถึงพันธุ์พืชไร่และไม้ดอก
ชนิดต่างๆ นอกจากน้ียังได้เก็บรวบรวมและอนุรักษ์พืชป่า พืชสายพันธุ์ใหม่ พืชหายาก และพืชสมุนไพรหลากหลาย
ชนิดด้วย เช่น ถั่วพ้ืนบ้าน มะเขือพ้ืนบ้าน พริกพ้ืนบ้าน ฝาง ชุมเห็ดเทศ ฟ้าทะลายโจร เป็นต้น ซ่ึงแสดงให้เห็น ถึง
ศักยภาพของธนาคารเช้ือพันธุ์พืชในการเป็นศูนย์กลางด้านการเก็บรวบรวมและอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมพืช เป็นการ
สะทอ้ นให้เหน็ ถงึ ความหลากหลายทางชีวภาพของทรพั ยากรพืชในประเทศไทยอันเป็นรากฐานท่ีสนับสนุนให้เกิดความ
มั่นคงทางอาหารและเป็นแหล่งทรัพยากรอันทรงคุณค่าสาหรับวิจั ยและพัฒนาเพ่ือนาไปใช้ประโยช น์ด้านต่างๆ
นอกจากนนั้ ยังมกี ารศึกษาการเก็บรักษาพันธุใ์ นสภาพปลอดเชื้อโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือ (in vitro culture) โดยการ
ลดการเจริญเติบโตให้ช้าลง (slow growth) ซึ่งจะช่วยยืดระยะเวลาการเปลี่ยนถ่ายอาหาร จัดเป็นการเก็บรักษาใน
ระยะปานกลาง และการเก็บในสภาพเยือกแข็ง (cryopreservation) ท่ีอุณหภูมิ -196 องศาเซลเซียสซ่ึงเป็นการเก็บ
รกั ษาเนอื้ เยอ่ื พืชในระยะยาว
ท้ังนี้วิธีการท่ีเหมาะสมสาหรับการอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมพืชข้ึนอยู่กับชนิดและประเภทของเช้ือพันธุกรรมพืช
น้ันๆ ได้แก่ เมล็ดทีส่ ามารถลดความช้ืนในเมล็ดได้ (orthodox seed) พืชประเภทนี้บางชนิดประสบปัญหาในเรื่องของ
การขาดข้อมลู ในการจัดการด้านการอนรุ ักษ์เชอื้ พันธุกรรมพืชให้สามารถเก็บรักษาได้ยาวนาน ซึ่งถ้าเก็บรักษาในสภาพ

ขอ้ มลู การวิจยั และพัฒนาเทคนิคการอนุรกั ษ์เชื้อพนั ธุกรรมพืช

8

ท่ีไม่เหมาะสมจะสญู เสียความงอก และเสือ่ มคณุ ภาพอยา่ งรวดเร็ว โดยปัจจัยหลกั ทีม่ ีผลต่ออายกุ ารเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์
ได้แก่ ความช้นื ในเมล็ดพนั ธุก์ อ่ นเก็บรักษา และอุณหภูมิในการเก็บรักษา ซึ่งระดับความชื้นในเมล็ดที่เหมาะสมสาหรับ
การเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุข้ึนอยู่กับชนิดของพืช ในพืชน้ามันระดับความช้ืนที่เหมาะสมค่อนข้างต่ากว่าพืชที่มีแป้งเป็น
องค์ประกอบ ดังน้ันงานวิจัยพื้นฐานด้านวิทยาการเมล็ดพันธ์ุยังคงมีความจาเป็นอย่างมาก เพื่อเติมเต็มและสนับสนุน
การอนรุ กั ษเ์ ชอื้ พันธุกรรมพชื ใหค้ งความมชี วี ติ ได้นานเพ่ือการใช้ประโยชน์ของธนาคารเชื้อพันธ์ุพืชในอนาคต

สาหรับเนื้อเย่ือพืชที่ลดความชื้นในเมล็ดให้ต่าลงไม่ได้ (recalcitrant seed) พืชประเภทนี้ท่ีไม่สามารถเก็บ
รักษาได้ในสภาพของเมล็ดพันธ์ุได้ โดยเฉพาะพืชหายากใกล้สูญพันธ์ุ พืชถิ่นเดิม เช่น มันพ้ืนเมือง พืชวงศ์ขิง และพืช
สมุนไพร เป็นต้น จึงจาเป็นต้องใช้ช้ินส่วนและเทคนิคอ่ืนๆ เช่น เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือ ซ่ึงเป็นเทคนิคหนึ่งท่ีมี
ความสาคัญในการอนุรักษ์และขยายพันธ์ุพืชในปริมาณมากภายในระยะเวลาสั้น ช่วยลดต้นทุนการผลิตเน่ืองจากใช้
พื้นท่ีน้อย และปลอดภัยจากสภาวะแวดล้อมจากธรรมชาติ ท้ังน้ีต้องมีการศึกษาวิธีการและสูตรอาหารเพาะเลี้ยงท่ี
เหมาะสมกับชนดิ พชื เพื่อการนาไปใชป้ ระโยชนแ์ ละพฒั นาต่อไป

วัตถุประสงค์
1) เพื่อศึกษาเทคนคิ ทเี่ หมาะสาหรับเก็บรักษาเมลด็ ดาวอินคา บวบหอม งา และผกั โขม ภายใต้อุณหภูมิในการ
เก็บรกั ษาต่างๆเพ่อื เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการจดั การงานดา้ นการอนุรักษ์ของธนาคารเชื้อพนั ธพ์ุ ชื
2) เพ่ือศึกษาเทคนิคท่ีเหมาะสมสาหรับการเก็บรักษาพันธุกรรมพืชในสภาพปลอดเชื้อ และวิธีชะลอการ
เจริญเติบโตในสภาพปลอดเชื้อ (slow growth techniques) ใน มันสาคู มันข้ีหนูขิงพระพุทธบาท ตะไคร้พราน และ
ระยอ่ มนอ้ ย

ข้อมลู การวจิ ยั และพัฒนาเทคนิคการอนรุ กั ษ์เช้ือพันธุกรรมพืช

9

กรอบแนวความคดิ ของโครงการวจิ ยั

ประเดน็ ประเดน็ วจิ ยั ผลผลติ ผลลพั ท์ ผลกระทบ
(output) (impact)
ปัญหา วจิ ยั และพฒั นา (outcome)
เทคนิคการอนุรักษ์ 1. ไดเ้ ทคนิคในการ 1.ธนาคารเชื้อพันธุ์พชื ได้ประโยชนใ์ น
ประเทศไทยมี เช้ือพนั ธุกรรมพืช อนุรักษเ์ ช้ือพนั ธุกรรม 1.ธนาคารเช้ือพนั ธุ์พชื การเพมิ่ ประสิทธิภาพการอนรุ ักษ์
ความหลากหลาย พืชในสภาพเมลด็ (ดาว กรมวชิ าการเกษตร ได้ เชอ้ื พนั ธกุ รรมพชื โดยลดต้นทุนจาก
ของเช้ือ 1.เทคนิคการ อินคา บวบหอม งา และ เทคนิคอนุรักษเ์ ช้ือ การเก็บรักษาเช้ือพันธุกรรมพชื
พนั ธุกรรมพชื อนุรักษเ์ มลด็ เช้ือ ผกั โขม) 4 เทคนิค และ พนั ธุกรรมพืชในสภาพ
ประกอบกบั พนั ธุกรรมพืช ไดเ้ ทคนิคในการอนุรักษ์ เมลด็ (ดาวอินคา บวบ 2.เชือ้ พันธุกรรมพชื ท่ี
ธนาคารเช้ือพนั ธุ์ สาหรับพชื ที่ เช้ือพนั ธุกรรมพชื ใน หอม งา และ ผกั โขม) เพื่อ อนรุ ักษใ์ นธนาคารเช้ือ
พชื กรมวชิ าการ สามารถลด สภาพปลอดเช้ือ (มนั อนุรักษใ์ นธนาคารเช้ือ พนั ธพ์ุ ชื สามารถนามาใช้
เกษตรมหี นา้ ที่ ความช้ืนในเมลด็ ได้ สาคู มนั ข้ีหนู ขิงพระ พนั ธุพ์ ชื 4 เทคนิค และได้ ประโยชน์ และเปน็ ฐาน
สาคญั ในการเกบ็ พทุ ธบาท ตะไคร้พราน เทคนิคในการเกบ็ รักษาใน พันธุกรรมในการปรับปรงุ
รวบรวมและ 2. เทคนิคการการ และระยอ่ มนอ้ ย) 4 สภาพปลอดเช้ือที่ พันธ์ุ หรอื สร้างนวัตกรรม
รักษาพนั ธุกรรม อนุรักษเ์ ช้ือ เทคนิค เหมาะสมกบั พชื แตล่ ะ เพื่อสรา้ งมลู คา่ เพ่มิ ใหก้ ับ
พืชเพ่ือป้ องกนั พนั ธุกรรมพชื ใน 2. ไดข้ อ้ มูลการอนุรักษ์ ชนิด (มนั สาคู มนั ข้ีหนู ขิง ชมุ ชน และเพอ่ื ให้
ไม่ใหส้ ูญหาย ซ่ึง สภาพปลอดเช้ือ เช้ือพนั ธุกรรมพชื ใน พระพทุ ธบาท ตะไคร้ ตระหนกั ถึงความสาคญั
ยงั ขาดขอ้ มูลการ สาหรับพืชที่ไม่ สภาพเมลด็ 4 ขอ้ มูล พราน และระยอ่ มนอ้ ย) 4 ของการอนรุ ักษ์และ
เกบ็ รักษาเช้ือ สามารถเก็บรักษา และในสภาพปลอดเช้ือ เทคนิคเพอื่ เก็บอนุรักษ์ ปกป้องคุ้มครองความ
พนั ธุ์ให้ ดว้ ยเมลด็ พนั ธุไ์ ด้ 4 ขอ้ มลู และรักษาไวใ้ นธนาคาร หลากหลายทางพันธุกรรม
เหมาะสมกบั พืช เช้ือพนั ธุพ์ ชื สามารถ พชื ในประเทศไทยมาก
แต่ละชนิด นาไปพฒั นาเพ่ือการใช้ ย่ิงข้นึ
รวมท้งั ยงั ขาด ประโยชนต์ อ่ ไป 3.ต่อยอดเชิงธุรกิจชีวภาพ
ขอ้ มูลเชิงวชิ าการ 2. ธนาคารเช้ือพนั ธุ์พชื มี นาไปสู่เป้ าหมายท่ี 1 และ
ของพชื เพื่อ ขอ้ มูลการอนุรักษเ์ ช้ือ 2 ตอ่ ไป
นาไปใช้ พนั ธุกรรมพืชในสภาพ
ประโยชน์ในการ เมลด็ 4 เทคนิค และใน
อนุรักษเ์ ช้ือ สภาพปลอดเช้ือ 4 เทคนิค
พนั ธุกรรมพชื

ขอ้ มูลการวจิ ัยและพัฒนาเทคนิคการอนุรกั ษเ์ ช้ือพันธุกรรมพชื

10

ขอบเขตกำรศึกษำ
เป็นงานวิจัยท่ีเน้นการศึกษาเทคนิคการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุดาวอินคา บวบหอม และผักโขม ซึ่งเป็นเมล็ดพันธ์ุพืช
ท่ีสามารถลดความชื้นภายในเมล็ดพันธ์ุโดยยังคงความงอกและความมีชีวิต (Orthodox seed) โดยอาศัยพื้นฐานด้าน
เทคโนโลยีเมล็ดพันธ์ุ เพ่ือการอนุรักษ์ภายใต้ระบบการจัดเก็บเมล็ดพันธ์ุปัจจุบันของธนาคารเชื้อพันธุ์พืชในห้องอนุรักษ์
ระยะปานกลางและระยะยาวตลอดจนวิธีการอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์ในสภาพเยือกแข็ง (Cryopreservation) ส่วนเมล็ดงามี
ปริมาณไขมันในเมล็ดเป็นองค์ประกอบสูง จะส่งผลต่อเสื่อมสภาพเร็วกว่าเมล็ดที่มีแป้งเป็นองค์ประกอบหลัก ทาให้อายุการ
เกบ็ รกั ษาเมล็ดพันธ์ุค่อนข้างส้ัน โดยแต่ละสายพันธุ์มีองค์ประกอบของปริมาณไขมัน กรดไขมันที่สาคัญ และสารต้านอนุมูล
อิสระต่างกัน ส่งผลต่อระยะเวลาในเก็บรักษาเพื่อการอนุรักษ์ในธนาคารเช้ือพันธ์ุพืช นอกจากนี้ยังมีการศึกษาเทคนิคการ
เก็บรักษาพืชที่ไม่สามารถเก็บรักษาด้วยเมล็ดพันธุ์ได้ (recalcitrant seed) ได้แก่ มันสาคู มันขี้หนู ขิงพระพุทธบาท ตะไคร้
พราน และระย่อมน้อย โดยนาเทคโนโลยีการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือพืชในสภาพปลอดเช้ือและเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ประโยชน์
ในการขยายพันธุ์ และอนุรักษ์เช้ือพันธุกรรมพืช ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างย่ิงต่องานอนุรักษ์เชื้อพันธุ์พืชในธนาคารเชื้อพันธุ์พืช
กรมวชิ าการเกษตร ใหค้ งความมชี วี ิตอยู่ไดย้ าวนานและเพิ่มโอกาสในการนาไปพัฒนาสาหรบั ใชป้ ระโยชน์ต่อไป

ข้อมลู การวจิ ยั และพฒั นาเทคนิคการอนุรักษเ์ ชื้อพันธุกรรมพืช

11

ระเบยี บวธิ กี ำรวจิ ัย (Research Methodology)
โครงกำรวิจัยและพัฒนำเทคนิคกำรอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมพืช ได้ดาเนินการวิจัยตั้งแต่ปี 2562 -2564
ประกอบด้วย 2 กิจกรรม ได้แก่
กิจกรรมท่ี 1 เทคนิคกำรอนุรักษ์เมล็ดเช้ือพันธุกรรมพืช มี 4 กำรทดลอง ได้แก่ การทดลองที่ 1 เทคนิคการเก็บ
รักษาเมล็ดเชื้อพันธุ์ดาวอินคาเพ่ือการอนุรักษ์ (ดาเนินการปี 2562-2564) การทดลองท่ี 2 เทคนิคการเก็บรักษาเมล็ด
พันธุ์บวบหอมในสภาพเยือกแข็งเพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ในธนาคารเช้ือพันธุ์พืช (ดาเนินการปี 2562-
2564) การทดลองที่ 3 ความมชี ีวติ และการเปล่ียนแปลงปรมิ าณนา้ มันของเมล็ดพันธ์ุงาภายหลังการเก็บรักษาในสภาพ
เยือกแขง็ (ดาเนนิ การปี 2562-2564) การทดลองท่ี 4 เทคนิคการเกบ็ รักษาเมล็ดพันธุ์ผักโขม (Amaranthus spp.) ใน
ธนาคารเชือ้ พันธุพ์ ชื (ดาเนนิ การปี 2563-2564)
กิจกรรมท่ี 2 เทคนิคกำรอนุรักษ์เช้ือพันธุกรรมพืชในสภำพปลอดเช้ือ มี 4 กำรทดลอง ได้แก่ การทดลองท่ี 1 การ
ขยายพนั ธ์ุมันสาคู (Maranta arundinacea L.) ในสภาพปลอดเชื้อเพ่ือการอนุรักษ์ (ดาเนินการปี 2562-2564) การ
ทดลองท่ี 2 การขยายพนั ธุ์มนั ขห้ี นใู นสภาพปลอดเชอ้ื เพ่ือการอนุรกั ษ์ (ดาเนินการปี 2562-2564) การทดลองที่ 3 การ
อนรุ กั ษข์ ิงพระพุทธบาท (Zingiber tenuiscapus) และตะไคร้พราน (Zingiber citriodorum) พืชถิ่นเดียวของไทยใน
สภาพปลอดเช้ือ (ดาเนินการปี 2562-2564) การทดลองที่ 4 การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชสมุนไพร : ระย่อมน้อย
(Rauvolfia serpentina (L.) Benth.exKurz) ในสภาพปลอดเชอ้ื (ดาเนนิ การปี 2562-2564)
วิธกี ำรดำเนินงำนวิจัยกจิ กรรมท่ี 1 (ดาวอนิ คา, บวบหอม, งา, ผกั โขม)
1. การเกบ็ และรวบรวมตัวอย่างพชื และการเตรียมเมลด็ พันธุ์
เก็บรวบรวมเมล็ดเชื้อพันธ์ุพืช จานวน 4 พืช ได้แก่ เมล็ดดาวอินคา บวบหอม งา ผักโขม จากแหล่งกระจายพันธ์ุ
ธรรมชาติ แปลงรวบรวมพันธุ์ ศูนย์วิจัยพืชสวนต่าง ๆ ตัวอย่างพืชที่ได้รวบรวมมาจาก แปลงเกษตรกร จ.ประจวบคีรีขันธ์
(ดาวอินคา) อ.ถลาง จ.ภูเก็ต อ.นาแก จ. นครพนม อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว (บวบหอม) ศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี จ.
อบุ ลราชธานี (งา) แปลงเกษตรกร จ.นครปฐม (ผักโขม)
2. นาเข้าห้องปฏิบัติการเมล็ดพันธุ์โดยทาการทาความสะอาด ลดความช้ืน ทดสอบความช้ืนระดับต่างๆ
ทดสอบความชื้นก่อนการบรรจุ การบรรจุ (packing) การบรรจุใส่ในขวดPET ในห้องอุณหภูมิ 5๐C และในห้อง -10๐C
เปน็ ซองอลมู เิ นยี มฟลอยด์
3. การเกบ็ รกั ษาในห้องอนุรกั ษร์ ะยะปานกลาง (5๐C), ระยะยาว (-10๐C) ได้แก่ ดาวอินคา, บวบหอม และผัก
โขม เกบ็ รักษาในสภาพเยอื กแขง็ (Cryopreservation) ได้แก่ บวบหอม และงา
4. การนาออกมาทดสอบความงอก ความชนื้ ภายหลังจากการเกบ็ รักษาในช่วงเวลาต่างๆ ทดสอบความมีชีวิต
และความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ สาหรับงาศึกษาความมีชีวิตและการเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้ามันของเมล็ดงา ก่อน
และภายหลงั การเกบ็ รกั ษาในสภาพเยือกแขง็ ดาวอนิ คาและผกั โขมทดสอบหาความงอกและความแข็งแรงทุก 2 เดอื น
5. การทดสอบการเปลีย่ นแปลงของลักษณะการเจรญิ เติบโตและลักษณะประจาพันธุ์ (งา)
6. บันทึกผลและสรุปรายการผล

ข้อมลู การวจิ ยั และพัฒนาเทคนคิ การอนรุ ักษ์เชื้อพันธุกรรมพืช

12

วิธีกำรดำเนนิ งำนวิจยั กิจกรรมท่ี 2 (มนั สาคู, มนั ขห้ี นู, ขิงพระพุทธบาท ตะไครพ้ ราน และระยอ่ มนอ้ ย)
1. การสารวจ เก็บรวบรวมจากแหลง่ ปลูกธรรมชาติ
มนั สาคู – จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด อบุ ลราชธานี และจงั หวัดศรีสะเกษ มันขี้หนู – อ.ลือเสาะ จ.นราธิวาส ขิงพระพุทธ

บาทและตะไคร้พราน ขงิ พระพุทธบาทจากถนิ่ ที่สารวจอาเภอแม่สอด ตะไครพ้ รานรวบรวมจากพนื้ ที่บริเวณอาเภอเวียง
แหง จ.เชยี งใหม่ และ และระยอ่ มน้อย อ.เมอื งปาน จ.ลาปาง อ.แมร่ ะมาด จ.ตาก

2. นาตัวอย่างพชื ทไ่ี ดม้ าอนบุ าลขยายตน้ พชื ในโรงเรอื น เช่น ตะไคร้พรานและขิงพระพุทธบาท
3. นามาเข้าหอ้ งปฏบิ ัติการสภาพปลอดเช้ือของธนาคารเช้ือพันธุ์พืช เข้าสู่กระบวนการ ได้แก่ การฟอกฆ่าเชื้อ
โดยเลือกเป็นส่วนพืชท่ีเหมาะสมในการฟอกฆ่าเช้ือหาวิธีที่เหมาะสมในการฟอกฆ่าเชื้อ ศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสม
เพอ่ื ชกั นาใหเ้ กดิ ยอดการชักนาใหเ้ กดิ ราก และศึกษาสตู รอาหารที่เหมาะสมในการชะลอการเจริญเติบโต การบันทึกผล
การวเิ คราะห์ผล สาหรับในมันขี้หนูมีการศึกษาปริมาณ mannitol และสูตรอาหารในการชะลอการเติบโต ในมันข้ีหนู
มีการศึกษาลักษณะเบอ้ื งต้น และทาพรรณไม้อา้ งองิ
4. บนั ทกึ และวิเคราะห์ผลการทดลอง สรุป รายงานผล

ข้อมูลการวิจัยและพฒั นาเทคนคิ การอนรุ ักษเ์ ชื้อพนั ธุกรรมพชื

13

ผลกำรวิจยั (Results)
กจิ กรรมที่ 1 เทคนิคกำรอนุรักษเ์ มล็ดเช้ือพนั ธกุ์ รรมพืช
กำรทดลองที่ 1 เทคนคิ กำรเก็บรกั ษำเมล็ดเชือ้ พนั ธดุ์ ำวอนิ คำเพื่อกำรอนรุ กั ษ์

พบวา่ ระดับความชน้ื ในเมลด็ เช้อื พันธก์ุ ่อนการเก็บรักษาและอุณหภูมิในการเก็บรักษามีผลต่อความมีชีวิตและความ
แข็งแรงของเมล็ดเชื้อพันธุ์ดาวอินคาสามารถเก็บรักษาได้ภายในระยะเวลา 28 เดือน โดยเมล็ดที่มีความชื้น 18 เปอร์เซ็นต์
เก็บที่อุณหภูมิห้องมีความความงอกเพียงร้อยละ 19 และเมล็ดที่มีความชื้น 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ เก็บท่ีอุณหภูมิห้องยังมี
ความความงอกสูงกว่าแต่เหลือไม่ถึงร้อยละ50 จากผลการทดลองที่ได้อัตราเปอร์เซ็นต์ความงอกจากการทดสอบความมีชีวิต
และเปอร์เซ็นต์ความงอกจากการทดสอบความแข็งแรงของเมล็ดเชื้อพันธุ์ดาวอินคา น้ันมีอัตราลดลงเมื่ออายุการเก็บรักษา
เพ่ิมขั้นอาจเนื่องจาก ในเมล็ดดาวอินคาด้วยมีปริมาณน้ามันสูงถึง 54 เปอร์เซ็นต์ และโปรตีนสูงถึง 27 เปอร์เซ็นต์
(Hamaker et al., 1992. Follegatti-Romero et al., 2009) โดยพืชน้ามันที่มีส่วนประกอบของน้ามันสูง ไขมันจะถูก
ออกซิไดซ์เป็นกรดไขมันอิสระได้ง่าย (Clark, 1975) ดังนั้นในการเก็บรักษาเมล็ดเช้ือพันธุ์ดาวอินคาให้มีอายุการเก็บรักษาที่
ยาวนาน หรือในกรณีที่เกษตรกรต้องการเก็บรักษาไว้เพ่ือทาพันธ์ุในฤดูปลูกถัดไปและเก็บรักษาพันธุ์ในสภาพอุณหภูมิห้อง
ควรลดความชื้นของเมล็ดให้เหลือ 8 เปอร์เซ็นต์ ก่อนการเก็บรักษาและเก็บไว้ในห้องที่มีอุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส เพื่อ
รักษาคุณภาพของเมล็ดเช้ือพันธุ์ ก่อนการนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป เมล็ดพันธ์ุดาวอินคาท่ีเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง (25±2
°C, ความช้ืนสัมพัทธ์ 80±5 %) ถ้าไม่ผ่านกระบวนการลดความช้ืน พบว่าสามารถเก็บได้ถึง 28 เดือน แต่มีความงอกเหลือ
เพียง 30 เปอร์เซ็นต์ เมล็ดเชื้อพันธุ์ท่ีผ่านการลดความชื้นเหลือ 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ ภายในระยะเวลา 28 เดือน ยังคง
เปอร์เซ็นต์ โดยมีเปอร์เซ็นต์ความงอก 41, 49 และ 57 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เม่ือเปรียบเทียบกับการเก็บรักษาในสภาพ
อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส เมล็ดเชื้อพันธุ์ดาวอินคาที่ยังไม่ผ่านกระบวนการลดความชื้นกลับมีความมีชีวิตอยู่ได้นานถึง 28
เดือน แต่มีความงอก 38 เปอร์เซ็นต์ ส่วนเมล็ดเช้ือพันธ์ุที่ผ่านการลดความชื้นที่ระดับ 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ ยังคงมี
แนวโนม้ รักษาระดับเปอรเ์ ซ็นต์ความงอกไว้ได้โดยเมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลา 28 เดือน ยังมีความงอกอยู่ท่ี 55, 58 และ 61
เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ สาหรับการเก็บรักษาในสภาพอุณหภูมิ -10 องศาเซลเซียส ทุกระดับความชื้นในเมล็ดเช้ือพันธุ์
สามารถเก็บรักษาได้ หลังผ่านการเร่งอายุเมล็ดเชื้อพันธุ์เพ่ือทดสอบความแข็งแรงยังคงความงอก 49, 60, 69 และ 72
เปอร์เซ็นต์ ภายในระยะเวลาการเก็บรักษา 28 เดือน แต่ท่ีระดับความช้ืนในเมล็ดเชื้อพันธุ์ 18, 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ มี
แนวโนม้ การลดลงของเปอร์เซน็ ต์ความงอกต่ากวา่ ทุกระดบั ความช้ืนในเมลด็ เชื้อพันธ์ุ (ตารางท่ี 1.1)

ขอ้ มูลการวจิ ัยและพฒั นาเทคนิคการอนรุ ักษเ์ ชื้อพนั ธุกรรมพชื

14

ตำรำงท่ี 3.1.1.1 เปรียบเทียบค่าเฉล่ียความแข็งแรงของเมล็ดเชื้อพันธุ์ดาวอินคา หลังผ่านการลดความช้ืนในเมล็ดเชื้อ
พนั ธุใ์ หอ้ ยู่ทร่ี ะดับ 4-18 เปอร์เซ็นต์ กอ่ นเก็บรกั ษาที่สภาพอณุ หภูมิต่าง ๆ เปน็ ระยะเวลา 28 เดือน

สภำพกำรเกบ็ รกั ษำ ระยะเวลำกำรเก็บรักษำ (เดือน) 4% 6% 8% 18%(เริม่ ตน้ )
อณุ หภูมหิ อ้ ง
0 94.00a 94.00a 94.00a 94.00a
5 องศำเซลเซยี ส 2 88.67 b 88.00b 88.00b 79.33b
4 86.67bc 84.67c 86.67b 76.67bc
6 84.00cd 81.33d 82.67c 74.67cd
8 82.00de 77.33e 77.33d 72.00d
10 80.00ef 73.33f 72.00e 66.00 e
12 78.67f 72.67f 68.00 f 63.33e
14 74.67g 72.67f 65.33fg 58.00f
16 72.00g 66.67g 63.33gh 53.33g
18 68.67h 64.00gh 60.67h 49.33h
20 66.67hi 62.67 hi 57.33 i 47.33 hi
22 64.67ij 60.67ij 54.67ij 46.67hi
24 64.67ij 58.00j 54.00j 45.3 i
26 63.33j 53.33k 50.67 k 42.00j
28 57.33k 48.6l7 41.33l 30.67k

0 94.00a 94.00a 94.00a 94.00a
2 89.33b 90.00b 89.33b 88.00b
4 88.67b 89.33b 88.00bc 86.67b
6 86.00c 84.67c 86.00c 81.33c
8 85.33c 83.33c 82.00d 73.33d
10 82.67d 80.67d 76.67e 70.00e
12 79.33e 77.33e 74.67e 64.67f
14 77.33e 75.33e 67.33f 58.67g
16 72.67f 68.00f 65.33fg 56.67gh
18 67.33g 64.67g 64.00gh 54.00 hi
20 66.00gh 64.67g 61.33hi 52.67ij
22 66.00gh 64.00g 59.33ij 50.67jk
24 64.67hi 63.33g 58.67ij 48.00kl
26 62.67ij 60.67h 56.67jk 46.67l
28 60.67j 58.00i 55.33k 38.00m

ขอ้ มูลการวจิ ยั และพฒั นาเทคนคิ การอนรุ กั ษ์เชื้อพนั ธกุ รรมพืช

15

สภำพกำรเกบ็ รักษำ ระยะเวลำกำรเก็บรักษำ (เดอื น) 4% 6% 8% 18%(เรม่ิ ต้น)

-10 องศำเซลเซียส

0 94.00a 94.00a 94.00a 94.00a

2 88.67b 90.00b 88.67b 85.33b

4 86.67 b 88.67b 88.00b 80.00 c

6 83.33c 84.67c 85.33c 79.33c

8 82.67cd 82.67c 80.67d 76.00d

10 80.67cd 79.33d 78.67d 74.67de

12 80.00d 78.00d 73.33e 72.67e

14 76.00e 74.67e 72.00e 66.67f

16 76.00e 72.67ef 68.67f 65.33g

18 75.33e 72.67ef 67.33fg 64.00gh

20 75.33e 72.67ef 66.67fg 62.67h

22 74.67ef 71.33fg 65.33gh 59.33i

24 74.00ef 71.33fg 64.00 hi 58.67ij

26 74.00ef 70.00fg 62.67i 56.67j

28 72.00 f 69.33g 60.00 j 48.67k

CV(a)=2.87 %, CV(b)=1.88%

(1) เปรียบเทยี บทางดา้ นสดมภ์ คา่ เฉล่ียเปอร์เซ็นต์ความงอกท่รี ะดบั ความชื้นในเมล็ดเช้ือพันธุ์ผักโขมเดียวกัน และอายุการเก็บรักษา 0

- 28 เดอื น ท่ตี ามดว้ ยอกั ษรเหมอื นกนั ไม่แตกต่างกนั ทางสถติ โิ ดยวิธี LSD Test ที่ความเชอ่ื ม่นั 95%

กำรทดลองท่ี 2 เทคนิคกำรเก็บรักษำเมล็ดพันธบุ์ วบหอมในสภำพเยอื กแข็งเพ่ือกำรอนุรักษ์และกำรใช้ประโยชน์ใน
ธนำคำรเชื้อพันธุ์พืช

เม่ือลดความช้ืนของเมล็ดพันธ์ุบวบหอมยาว บวบหอมส้ัน และบวบหอมป่าให้มีระดับความช้ืนที่ 8 6 และ 4
เปอร์เซ็นต์ น้ัน เมล็ดพันธุ์บวบหอมยาวและบวบหอมสั้นท่ีมีระดับความชื้นของเมล็ดเริ่มต้น 8 และ 6 เปอร์เซ็นต์ เม่ือ
เก็บรกั ษาในสภาพเยอื กแข็งเปน็ เวลา 0 7 และ 180 วนั พบวา่ ความงอกของเมล็ดพนั ธ์ุไม่เปลี่ยนแปลง แต่เมล็ดพันธ์ุที่
มรี ะดับความชื้นของเมล็ด 4 เปอร์เซ็นต์ พบว่า ความงอกของเมล็ดพันธ์ุมีแนวโน้มลดลง ในขณะท่ีเมล็ดพันธุ์บวบหอม
ป่าที่มีระดับความช้ืนของเมล็ดท่ี 8 และ 6 เปอร์เซ็นต์ เม่ือเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน
ความงอกของเมล็ดพันธ์ุไม่เปลี่ยนแปลง แต่เมล็ดพันธ์ุท่ีมีระดับความช้ืนของเมล็ดเริ่มต้นและ 4 เปอร์เซ็นต์ ความงอก
ของเมล็ดพันธุ์มีแนวโน้มลดลง สาหรับความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ พบว่า เมล็ดพันธุ์บวบหอมยาว บวบหอมส้ัน และ
บวบหอมป่าท่ีมีระดับความช้ืนของเมล็ดที่ระดับเร่ิมต้น 8 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ เม่ือเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็น
เวลา 0 7 และ 180 วัน พบว่าความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ลดลง จากการทดลอง พบว่า ระดับความช้ืนของเมล็ดท่ี
เหมาะสมต่อการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุบวบหอมทั้ง 3 ตัวอย่าง ในสภาพเยือกแข็ง ได้แก่ ระดับความช้ืนในช่วง 6 - 8
เปอร์เซ็นต์ เน่ืองจากบวบหอมมีความแข็งแรงมากกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีระดับความช้ืนเร่ิมต้น และ 4 เปอร์เซ็นต์ เมื่อนา

ข้อมลู การวจิ ัยและพัฒนาเทคนคิ การอนุรักษเ์ ชื้อพันธกุ รรมพืช

16

เมล็ดบวบหอมยาว บวบหอมสั้น และบวบหอมป่า ไปปลูกทดสอบในสภาพแปลงปลูก พบว่า บวบหอมยาว และบวบ
หอมสั้นมีการเจริญเติบโตได้ดีทุกระยะ ตั้งแต่ ระยะต้นกล้า ระยะเจริญเติบโตด้านลาต้น ระยะออกดอก ระยะติดผล
จนถึงระยะเกบ็ เกยี่ ว ลักษณะทางสัณฐานวิทยาเบื้องต้นสอดคล้องกับข้อมูลที่ปรากฏในคาบรรยายลักษณะพืช ในขณะ
ท่ี บวบหอมป่า มีการเจริญเติบโตได้ดีในระยะต้นกล้า และระยะเจริญเติบโตด้านลาต้น แต่เมื่อเข้าสู่ระยะออกดอก
จนถงึ ระยะติดผลและเก็บเก่ียว พบว่า มีการเจริญเตบิ โตท่ีล่าช้า ให้ผลผลติ น้อย และผลผลิตมคี ุณภาพต่า

ภาพท่ี 1: การเตรียมเพาะกล้าเมล็ดพันธุ์บวบหอม

ภาพที่ 2: การเตรยี มแปลงสาหรับปลูกขยายเมลด็ พนั ธ์บุ วบหอม
การทดสอบความแข็งแรงโดยวิธีเร่งอายุ (Accelerated Aging Test –AA test) ของเมล็ดพันธุ์บวบหอมยาว บวบ
หอมส้ัน และบวบหอมป่า ภายหลังการเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็ง เป็นระยะเวลา 0 7 และ 180 วัน เมื่อนามาทดสอบ
ความงอกด้วยวิธี between paper ตากหลัก ISTA พบว่า เมล็ดพันธ์ุบวบหอมยาวที่มีระดับความชื้นของเมล็ดที่ระดับ
เร่ิมต้น (control) เม่ือเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกที่ 85.494 81.740
และ 79.998 ตามลาดับ เมล็ดพันธุ์บวบหอมยาวที่มีระดับความชื้นของเมล็ดท่ีระดับ 8% เม่ือเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็ง
เป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกที่ 84.994 83.246 และ 82.496 ตามลาดับ เมล็ดพันธ์ุบวบหอมยาวที่มี
ระดับความชื้นของเมล็ดท่ีระดับ 6% เมื่อเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกท่ี

ข้อมูลการวจิ ัยและพัฒนาเทคนิคการอนุรักษเ์ ชื้อพนั ธุกรรมพืช

17

85.492 82.739 และ 83.246 ตามลาดับ และเมล็ดพันธ์ุบวบหอมยาวท่ีมีระดับความช้ืนของเมล็ดท่ี 4 เปอร์เซ็นต์ เม่ือเก็บ
รกั ษาในสภาพเยือกแขง็ เป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน มเี ปอรเ์ ซ็นตค์ วามงอกท่ี 79.496 74.998 และ 73.992 ตามลาดบั

เมล็ดพันธ์ุบวบหอมส้ันที่มีระดับความช้ืนของเมล็ดท่ีระดับเร่ิมต้น (control) เม่ือเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็น
เวลา 0 7 และ 180 วัน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกท่ี 80.496 74.743 และ 72.746 ตามลาดับ เมล็ดพันธุ์บวบหอมสั้นท่ีมีระดับ
ความชนื้ ของเมล็ดที่ระดับ 8% เมื่อเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกท่ี 82.744
80.496 และ 72.746 ตามลาดับ เมล็ดพันธ์ุบวบหอมส้ันท่ีมีระดับความช้ืนของเมล็ดท่ีระดับ 6% เมื่อเก็บรักษาในสภาพ
เยือกแข็งเป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกท่ี 81.496 79.743 และ 80.243 ตามลาดับ และเมล็ดพันธุ์บวบ
หอมส้ันท่ีมีระดับความช้ืนของเมล็ดท่ี 4 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน มี
เปอรเ์ ซ็นต์ความงอกที่ 80.496 75.496 และ 74.740 ตามลาดบั

เมล็ดพันธ์ุบวบหอมป่าท่ีมีระดับความชื้นของเมล็ดที่ระดับเริ่มต้น (control) เมื่อเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็น
เวลา 0 7 และ 180 วัน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกท่ี 70.242 64.491 และ 62.998 ตามลาดับ เมล็ดพันธุ์บวบหอมป่าท่ีมีระดับ
ความชืน้ ของเมลด็ ทรี่ ะดับ 8% เม่ือเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกท่ี 72.496
69.496 และ 67.495 ตามลาดับ เมล็ดพันธุ์บวบหอมป่าที่มีระดับความชื้นของเมล็ดที่ระดับ 6% เมื่อเก็บรักษาในสภาพ
เยือกแข็งเป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกท่ี 70.496 66.742 และ 68.247 ตามลาดับ และเมล็ดพันธ์ุบวบ
หอมป่าท่ีมีระดับความช้ืนของเมล็ดที่ 4 เปอร์เซ็นต์ เม่ือเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน มี
เปอร์เซ็นต์ความงอกท่ี 65.246 59.992 และ 60.245 ตามลาดับ จากผลการทดลอง เม่ือทดสอบความแข็งแรงโดยวิธีเร่ง
อายุ (Accelerated Aging Test –AA test) ของเมล็ดพันธ์ุบวบหอมยาว บวบหอมสั้น และบวบหอมป่า ภายหลังการ
เก็บรักษาในสภาพเยือกแข็ง เป็นระยะเวลา 0 7 และ 180 วัน โดยนามาทดสอบความงอกด้วยวิธี between paper
ตากหลัก ISTA พบว่า เมล็ดพันธุ์บวบหอมยาว เมล็ดพันธุ์บวบหอมส้ัน และเมล็ดพันธุ์บวบหอมป่าท่ีระดับความช้ืน
เริ่มต้น (control) 8 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน พบว่าความ
แขง็ แรงของเมลด็ พันธ์ุมแี นวโนม้ ลดลงทร่ี ะดบั ความเช่อื มั่น 95%

การปลูกทดสอบเพอ่ื ศกึ ษาการเจริญเติบโตและการรอดชีวิตของเมล็ดพันธ์ุบวบหอมท่ีเก็บรักษาในสภาพเยือก
แข็ง เพ่ือศึกษาเจริญเติบโตและการรอดชีวิตของเมล็ดพันธ์ุบวบหอมท่ีเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็ง โดยศึกษาลักษณะ
ทางสัณฐานวทิ ยาเบื้องต้น

ข้อมลู การวิจยั และพฒั นาเทคนิคการอนรุ ักษ์เช้ือพันธกุ รรมพชื

18

กำรทดลองที่ 3 ควำมมีชีวิตและกำรเปลี่ยนแปลงปริมำณน้ำมันของเมล็ดพันธ์ุงำภำยหลังกำรเก็บรักษำในสภำพ
เยอื กแข็ง

เมล็ดพันธุ์งาจานวน 6 พันธ์ุ ได้แก่ งาขาวพันธ์ุร้อยเอ็ด งาขาวพันธ์ุมหาสารคาม 60 และงาขาวพันธุ์
อุบลราชธานี 2 งาดาพันธ์ุอุบลราชธานี 3 งาแดงอุบลราชธานี 1 และงาแดงอุบลราชธานี 2 มีระดับความชื้นในเมล็ด
เร่ิมต้น 9.2, 7.9, 8.0, 8.8, 7.5 และ 7.7 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ และเมื่อลดความช้ืนโดยใช้ห้องลดความช้ืนของ
ธนาคารเชื้อพันธ์ุพืช กรมวิชาการเกษตร ท่ีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 15 เปอร์เซ็นต์ ได้ระดับ
ความชน้ื ในเมล็ดในระดับท่ตี อ้ งการ

กำรทดสอบกำรเปลี่ยนแปลงปริมำณน้ำมันในเมลด็ พันธ์ุ
จากการศึกษาผลการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์งาจานวน 6 พันธุ์ เมื่อผ่านการลดความช้ืนในเมล็ดพันธุ์จากความช้ินใน
เมล็ดพันธ์ุเริ่มต้น 8 เปอร์เซ็นต์ เป็น 6, 4 และ 2 เปอร์เซ็นต์ และนาเข้าเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นระยะเวลา 1 เดือน
และตรวจสอบปริมาณน้ามันในเมล็ดพบว่าปริมาณน้ามันในเมล็ดงาทุกสายพันธ์ุ และท่ีทุกระดับความช้ืนในเมล็ดพันธ์ุไม่
แตกตา่ งกันทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบระหว่างปริมาณน้ามันงาก่อนและหลังการเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นระยะเวลา 1
เดือน โดยงาขาวพันธ์ุร้อยเอ็ด 1 ที่ระดับ 8 เปอร์เซ็นต์ (ความช้ืนเร่ิมต้น), 6, 4 และ 2 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาณน้ามันในเมล็ด
ก่อนการเก็บรักษา 37.91, 42.58, 42.78, และ 42.34 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เม่ือเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นเวลา 1
เดือน ยังคงมีปริมาณน้ามันในเมล็ด 38.29, 45.89, 46.53 และ 46.33 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ งาขาวพันธุ์มหาสารคาม 60
มีปริมาณน้ามันในเมล็ดก่อนการเก็บรักษา 38.00, 41.44,39.86 และ 38.62 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เม่ือเก็บรักษาในสภาพ
เยือกแข็งเป็นเวลา 1 เดือน ยังคงมีปริมาณน้ามันในเมล็ด 38.65, 42.30, 43.20 และ 43.20 ตามลาดับ งาขาวพันธุ์
อุบลราชธานี 2 มีปริมาณน้ามันในเมล็ดก่อนการเก็บรักษา 38.75, 41.96,40.80 และ 41.13 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เม่ือ
เก็บรกั ษาในสภาพเยอื กแขง็ เป็นเวลา 1 เดอื น ยงั คงมีปรมิ าณน้ามันในเมล็ด 39.36, 43.52, 43.30 และ 43.58 ตามลาดับ งา
ดาพันธ์ุ 3 มปี ริมาณนา้ มนั ในเมลด็ กอ่ นการเก็บรักษา 38.40, 40.94,41.31 และ 43.01 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เม่ือเก็บรักษา
ในสภาพเยอื กแข็งเป็นเวลา 1 เดอื น ยงั คงมปี ริมาณนา้ มนั ในเมล็ด 40.31, 43.49, 42.78 และ 43.79 ตามลาดับ งาแดงพันธุ์
อบุ ลราชธานี 1 มีปรมิ าณน้ามนั ในเมล็ดก่อนการเก็บรักษา 31.98, 44.06,44.44 และ 45.30 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เมื่อเก็บ
รักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นเวลา 1 เดือน ยังคงมีปริมาณน้ามันในเมล็ด 44.46, 46.62, 43.77 และ 45.31 ตามลาดับ งา
แดงพันธุอ์ บุ ลราชธานี 2 มปี รมิ าณนา้ มันในเมล็ดก่อนการเก็บรักษา 40.84, 46.74,47.38 และ 46.82 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ
เม่ือเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นเวลา 1 เดือน ยังคงมีปริมาณน้ามันในเมล็ด 42.39, 46.72, 46.29 และ 46.95
ตามลาดับส่วนการเก็บรักษาในสภาพอุณหภูมิห้อง ผลการทดลองไม่พบความแตกต่างทางสถิติเช่นกันเม่ือเปรียบเทียบ
ระหว่างก่อนและหลังการเก็บรักษาเป็นระยะเวลา 1 เดือน โดยงาขาวพันธุ์ร้อยเอ็ด 1 ท่ีระดับความช้ืนในเมล็ดพันธุ์ 8
เปอร์เซ็นต์ (ความช้ืนเริ่มต้น), 6, 4 และ 2 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาณน้ามันในเมล็ดก่อนการเก็บรักษา 37.77, 42.85, 44.22,
และ 42.84 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เมื่อเก็บรักษาในสภาพอุณหภูมิห้องเป็นเวลา 1 เดือน ยังคงมีปริมาณน้ามันในเมล็ด
38.47, 44.15, 45.23 และ45.75 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ งาขาวพันธ์ุ มหาสารคาม 60 มีปริมาณน้ามันในเมล็ดก่อนการเก็บ
รักษา 36.62, 40.94,40.62 และ 41.88 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เมื่อเก็บรักษาในสภาพ อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 1 เดือน ยังคง

ข้อมูลการวิจัยและพัฒนาเทคนิคการอนรุ กั ษเ์ ชื้อพนั ธุกรรมพชื

19

มปี รมิ าณน้ามันในเมล็ด 36.70, 41.84, 41.75 และ 41.12 เปอร์เซ็นต์ตามลาดับ งาขาวพันธุ์อุบลราชธานี 2 มีปริมาณน้ามัน
ในเมล็ดก่อนการเก็บรักษา 36.85, 41.00, 42.31 และ 43.21 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เม่ือเก็บรักษาในสภาพอุณหภูมิห้อง
เป็นเวลา 1 เดือน ยังคงมีปริมาณน้ามันในเมล็ด 38.80, 42.68, 42.58 และ 43.08 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ งาดาพันธ์ุ
อบุ ลราชธานี 3 มีปริมาณน้ามันในเมล็ดก่อนการเก็บรักษา 37.66, 40.24,40.62 และ 41.67 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เม่ือเก็บ
รักษาในสภาพอุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 1 เดือน ยังคงมีปริมาณน้ามันในเมล็ด 40.36, 43.21, 42.87 และ 44.13 เปอร์เซ็นต์
ตามลาดับ งาแดงพันธุ์ อุบลราชธานี 1 มีปริมาณน้ามันในเมล็ดก่อนการเก็บรักษา 40.50, 43.25, 44.11 และ 44.91
เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เม่ือเก็บรักษาในสภาพ อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 1 เดือน ยังคงมีปริมาณน้ามันในเมล็ด 44.90, 46.75,
44.57 และ 45.05 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ งาแดงพันธ์ุอุบลราชธานี มีปริมาณน้ามันในเมล็ดก่อนการเก็บรักษา 40.95,
46.75,47.31 และ 45.45 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เม่ือเก็บรักษาในสภาพอุณหภูมิห้องเป็นเวลา 1 เดือน ยังคงมีปริมาณน้ามัน
ในเมลด็ 43.34, 46.77, 46.66 และ 47.71 เปอร์เซ็นต์ตามลาดับ นอกจากน้ีจากผลการการตรวจสอบเปอร์เซ็นต์ของปริมาณ
น้ามันในเมล็ดพันธ์ุงาในทุกพันธุ์และที่ทุกระดับความชื้นในเมล็ดพันธ์ุ การเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งไม่มีผลทาให้ปริมาณ
น้ามันในเมลด็ พนั ธุ์เปลี่ยนแปลงเมื่อเปรียบเทียบกับการเก็บรักษาท่ีอุณหภูมิห้องเป็นระยะเวลา 1 เดือน (ภาพที่ 1) แสดงให้
เห็นถึงการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุในสภาพเยือกแข็งสามารถหยุดปฏิกิริยาทางชีวเคมี การย่อยสลาย และการแบ่งเซลล์ ซ่ึงใน
ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เช่ือว่าสาเหตุหลักของการเส่ือมสภาพเมล็ดพันธ์ุเกิดจากปฏิกิริยา lipid peroxidation และการ
แพร่กระจายของอนุมูลอิสระซ่ึงจะเข้าทาปฏิกิริยากับกรดไขมันไม่อ่ิมตัว ส่งผลให้เมมเบรนสูญเสียคุณสมบัติในการควบคุม
การเข้าออกของสารต่างๆภายในเซลล์และสะสมสารพิษทาให้ความแข็งแรงของเมล็ดพันธ์ุลดลง และยับยั้งกิจกรรมของ
เอนไซม์ท่ีเก่ียวข้องกับการกาจัดอนุมูลอิสระ (Qun et al., 2007) การเพ่ิมขึ้นของปฏิกิริยา lipid peroxidation และ
ปริมาณกรดไขมนั ระหว่างการเก็บรักษา เป็นปัจจัยท่ีมีผลต่อการเส่ือมคุณภาพของเมล็ดพันธ์ุ (Reuzeau et al., 1992) ปกติ
ไขมนั ท่สี ะสมในเมล็ดจะลดลงในระหว่างการเก็บรักษา เน่ืองจากเมตาโบลึซึมหรือปฏิกิริยา peroxidation ของเมล็ดเกิดการ
ย่อยทาลายของเอนไซม์ ทาให้เกิดกรดไขมันอิสระ (free fatty acid) ซ่ึงสะสมมากข้ึนตามอายุการเก็บรักษาของเมล็ดพันธ์ุ
ซ่ึงการเพิ่มข้ึนของกรดไขมันอิสระซ่ึงเป็นพิษต่อเซลล์และมีความสัมพันธ์กับการลดลงของความงอกของเมล็ดอุณหภูมิห้อง
ของแต่ละระดบั ของความชน้ื ในเมล็ดพันธุ์หลังเก็บรักษาเป็นระยะเวลา 1 เดอื น

กำรทดสอบกำรเปล่ียนแปลงควำมมีชีวิตของเมล็ดพันธง์ุ ำ
กำรเก็บรกั ษำในสภำพเยือกแข็ง
จากผลการทดลองงาทุกสายพันธ์ุสามารถมีชีวิตรอดได้ภายใต้การเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็ง และอิทธิพลของระดับ
ความชื้นในเมล็ดพันธ์ุมีผลต่ออายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุงาในสภาพเยือกแข็ง การลดความชื้นในเมล็ดพันธุ์ให้เหลือต่ากว่า
8 เปอรเ์ ซ็นต์ เปน็ การรักษาความมีชวี ิตและปริมาณน้ามันในเมล็ดให้ได้ยาวนานขึ้น ตามการศึกษาของ Standwood (1987)
พบว่า งาจานวน 6 สายพันธุ์ สามารถทนต่อการแช่ไนโตรเจนเหลวได้ และการอยู่รอดของเมล็ดงานั้นนอกจากจะข้ึนอยู่กับ
อัตราการลดอุณหภูมิ (cooling rate) ยังข้ึนอยู่กับความชื้นของเมล็ด การศึกษานี้ช้ีให้เห็นว่าเมล็ดงาสามารถทนต่อการ
สมั ผัสกับไนโตรเจนเหลวหรืออยู่รอดได้หากความชื้นต่ากว่า 6 เปอร์เซ็นต์ ท่ีอัตราการลดอุณหภูมิ 1 และ 30 องศาเซลเซียส
ต่อนาที นอกจากน้ีในประเทศไทยยังมีการทดลองเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พืชในสภาพเยือกแข็งอีกหลายชนิด โดยภาณี และ

ขอ้ มูลการวจิ ัยและพฒั นาเทคนิคการอนรุ ักษเ์ ช้ือพนั ธกุ รรมพชื

20

คณะ (2543) ได้ศึกษาในเมล็ดพันธุ์พืชผัก พืชพื้นบ้าน และพืชไร่ต่าง ๆ เช่น พริก มะเขือเทศ ผักกวางตุ้ง ข้าวโพดหวาน
ถ่ัวเขียว ถั่วเหลือง เป็นต้น พบว่าเมล็ดพันธ์ุต่าง ๆข้างต้นมีเปอร์เซ็นต์การอยู่รอดหลังการเก็บรักษาใกล้เคียงหรือสูงกว่า
เมล็ดพันธุ์ปกติ บัวหลวง และคณะ (2542) ได้ศึกษาเทคนิคและวิธีการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พืชผักท่ีสาคัญทางเศรษฐกิจ
ได้แก่ แมงลกั พริก มะเขือเทศ ข้าวโพดหวาน กระเจ๊ียบเขียว แตงกวา กวางตุ้ง ผักคะน้า และถ่ัวฝักยาว ในสภาพเย็นยิ่งยวด
ในไนโตรเจนเหลว พบว่าสามารถเก็บรักษาโดยวิธีง่ายๆ คือ ทาการปรับความช้ืนในเมล็ดให้ต่ากว่าปกติเล็กน้อยข้ึนอยู่กับ
ชนิดพืช บรรจุเมล็ดลงในหลอดท่ีทนต่อสภาพใต้จุดเยือกแข็ง แล้วจึงเก็บในไนโตรเจนเหลว เมล็ดต่าง ๆ มีเปอร์เซ็นต์การ
รอดชีวติ ต่ากว่าเมลด็ เปรียบเทียบ 5-17 เปอร์เซ็นต์

กำรเก็บรักษำในสภำพอุณหภูมหิ ้อง
จากผลการทดลองงาทุกพนั ธย์ุ ังคงเปอรเ์ ซ็นตค์ วามงอกไมเ่ ปลีย่ นแปลงจากเรมิ่ ต้น แสดงใหเ้ ห็นถงึ ภายในระยะเวลา 1
เดอื น ยงั สามารถเกบ็ รักษาเมล็ดพนั ธุง์ าในสภาพอณุ หภูมิห้องได้ ซ่ึงผลจากการทดลองของ Denise et al. (2014) พบว่าการ
เก็บรกั ษาในสภาพอุณหภมู โิ ดยธรรมซาตซิ ง่ึ มีอณุ หภมู อิ ยรู่ ะหว่าง 30-32 องศาเซลเซียส และความชื้นสัมพัทธ์ 75 เปอร์เซ็นต์
เมล็ดพันธุ์งายังคงความมีชีวิตอยู่ได้ภายในระยะเวลา 6 เดือน แต่จากการศึกษาครั้งน้ีพบว่าระดับความช้ืนในเมล็ดพันธ์ุมีผล
ต่ออายกุ ารเก็บรักษาเมลด็ พนั ธ์ุ การลดความชื้นในเมลด็ พนั ธ์ุให้เหลอื ต่ากว่า 8 เปอร์เซ็นต์ เป็นการรักษาความมีชีวิตให้คงอยู่
ได้ภายในระยะเวลา 1 เดือน Jianfang et al. (1998) เสนอระดับความช้ืนเมล็ดงาท่ีเหมาะสมที่สุดเพ่ือความอยู่รอดสูงสุด ใน
สภาวะการเก็บรักษาที่อณุ หภมู หิ อ้ งระหว่าง 0-35 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉล่ีย 18 องศาเซลเซียส อยู่ที่ 1.8-2.5 เปอร์เซ็นต์
สาหรับแนวทางการจัดการคลังเมล็ดพันธ์ุ แนะนาให้ลดความชื้นของเมล็ดให้น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์สาหรับพืชท่ีมีปริมาณ
ไขมันสูง (FAO/IPGRI, 1994) นอกจากน้ี Zadorazhna et al. (2014) ศึกษาระดับความช้ืนในเมล็ดพันธ์ุที่เหมาะสมสาหรับ
การเก็บรกั ษาเมลด็ พืชน้ามนั หลายชนดิ พบว่าเมล็ดงาต้องมคี ่านอ้ ยกว่าหรอื เท่ากับ 4 เปอรเ์ ซ็นต์

ข้อมลู การวิจยั และพัฒนาเทคนคิ การอนุรกั ษเ์ ช้ือพันธุกรรมพืช

21

ภำพท่ี 4 เปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์ความงอกจากการเร่งอายุเมล็ดพันธ์ุของงาจานวน 6 พันธุ์ เพื่อทดสอบความแข็งแรง
ระหวา่ งการเกบ็ รกั ษาในสภาพเยือกแขง็ (LN) และสภาพอณุ หภูมหิ อ้ ง (RT) ท่ีระยะเวลา 0, 7 วัน และ 1 เดือน ในแต่
ละระดบั เปอร์เซ็นต์ความชน้ื ในเมลด็ ก่อนทาการเกบ็ รักษา

กำรทดสอบกำรเปล่ียนแปลงควำมแข็งแรงของเมลด็ พนั ธ์ุงำ
จากผลการทดลองเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุงาในสภาพเยือกแข็งดังกล่าวเป็นระยะเวลา 1 เดือน งาแต่ละพันธ์ุแสดงการ
ตอบสนองของค่าความแข็งแรงต่อการเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งแตกต่างกัน โดยในงาขาวพันธุ์มหาสารคาม 60 ที่ระดับ
ความช้ืนในเมล็ดพันธุ์ 6 เปอร์เซ็นต์และต่ากว่ายังสามารถเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งได้โดยไม่มีการเปลี่ยนความแข็งแรง
ส่วนงาขาวพันธุ์ร้อยเอ็ด 1 และอุบลราชธานี 2 สามารถคงความแข็งแรงไว้ได้ที่ระดับความชื้นในเมล็ดพันธ์ุ 4 เปอร์เซ็นต์
งาแดงพันธุ์อุบลราชธานีคงความแข็งแรงไว้ได้ที่ระดับความชื้นในเมล็ดพันธุ์ 2 เปอร์เซ็นต์ แต่ในงาดาอุบลราชธานี 3 และ
งาแดงอุบลราชธานี 2 สภาพเยือกแข็งสง่ ผลให้ความแข็งแรงทุกระดับความชนื้ ในเมล็ดพันธ์ุลดลง

กำรทดสอบกำรเปลี่ยนแปลงกำรเจริญเติบโตของเมล็ดพนั ธ์ุงำภำยหลังกำรเก็บรักษำในสภำพเยือกแข็ง
จากการปลูกเปรยี บเทียบเมล็ดพนั ธงุ์ าจานวน 6 พนั ธุ์ ระหวา่ งการเกบ็ รักษาในสภาพเยอื กแข็ง และอุณหภูมิห้อง
เปน็ ระยะเวลา 1 เดือน เพื่อศึกษาอิทธิพลของการเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งต่อการเจริญเติบโตของพืช พบว่างาทุก
พนั ธุแ์ ละทุกระดบั ความชื้นในเมล็ดพันธ์ุมีการเจริญเติบโตไม่แตกต่างจากลักษณะประจาพันธ์ุเดิมหรืองาท่ีเก็บรักษาใน
สภาพอุณหภูมิหอ้ งปกติ ไดแ้ ก่ การเจริญเติบโตของตน้ กล้า ลกั ษณะของลาต้น ใบ ดอก และฝัก (ภาพท่ี5-10) และจาก
การทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยน้าหนัก 1,000 เมล็ด ตามระดับความชื้นในเมล็ดพันธุ์ต่าง ๆของงาในแต่ละพันธุ์
เปรียบเทียบระหว่างทผี่ ่านการเก็บรักษาในสภาพอุณหภูมิห้องและเยือกแข็ง พบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติในงา

ขอ้ มูลการวจิ ยั และพัฒนาเทคนคิ การอนุรักษ์เชื้อพนั ธกุ รรมพชื

22

ทุกพันธุ์ตามตารางที่ 3 สอดคล้องกับงานทดลองของ ภาณีและคณะ (2543) ได้ทดลองเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุพื้นบ้าน
และสมุนไพรหลายชนิด และได้ทดสอบสมมติฐานท่ีว่าทันทีที่เมล็ดถูกหย่อนลงไปสัมผัสกับไนโตรเจนเหลวในถังบรรจุ
ทกุ ส่วนจะแขง็ ตวั เปน็ น้าแข็งทนั ทแี ละไมม่ ีการเปล่ียนแปลงใดๆทางสรีระและซีวเคมี เมอ่ื เมล็ดนั้นไปลูกสามารถงอกป็น
ต้นกล้าปกติได้ โดยได้ทดสอบปลูกถ่ัวฝักยาวจานวน 50 พันธุ์ ที่เก็บรักษาไว้ในไนโตรเจนเหลวเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน
แปลงทดลองพบว่าไม่มีความแตกต่างของการเจริญเติบโตของต้นกล้า และช่วงเวลาการออกดอก สีของดอก คุณภาพ
และความแข็งแรงของเมล็ดหลงั การเก็บเกยี่ ว

กำรทดลองที่ 4 เทคนิคกำรเก็บรักษำเมลด็ พันธผุ์ กั โขม (Amaranthus spp.) ในธนำคำรเชอ้ื พันธ์ุพืช
เปอร์เซ็นต์ควำมงอกของเมล็ดเช้ือพนั ธ์ุผักโขม
ผลการทดลองพบว่า ในแตล่ ะสภาพอณุ หภูมิการเก็บรกั ษา (อุณหภูมิห้อง 5 องศาเซลเซียส และ-10 องศาเซลเซียส)

เปอรเ์ ซน็ ตค์ วามชน้ื ของเมล็ดเชอื้ พนั ธุ์เริ่มตน้ กอ่ นการเกบ็ รักษา (10, 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์) และระยะเวลาในการเก็บรักษา
(0-18 เดอื น) มปี ฏสิ มั พันธ์ (Interaction) กนั อยา่ งมีนยั สาคญั ต่อเปอรเ์ ซ็นตค์ วามงอกของเมล็ดเชือ้ พันธ์ผุ กั โขม

กำรเกบ็ รกั ษำที่อุณหภูมิห้อง
เมล็ดเชือ้ พันธผุ์ กั โขมทเ่ี กบ็ รกั ษาทีอ่ ุณหภูมิห้อง (25±2 °C, ความชื้นสัมพัทธ์ 80±5 %) ถ้าเมล็ดเช้ือพันธุ์ยังไม่
ผ่านกระบวนการลดความช้ืน ซ่ึงในการทดลองมีความช้ืนในเมล็ดเช้ือพันธุ์ 10 เปอร์เซ็นต์ สามารถเก็บรักษาเมล็ดเช้ือ
พนั ธไุ์ ดถ้ งึ 18 เดือน โดยเมล็ดเช้ือพันธุ์ยังคงความมีชีวิตอยู่ได้ มีความงอกเหลือเพียง 82 เปอร์เซ็นต์ ขณะท่ีเมล็ดเชื้อ
พันธุ์ที่ผ่านการลดความช้ืนเหลือ 8, 6, และ 4 เปอร์เซ็นต์ พบว่าสามารถเก็บได้ถึง 18 เดือน แต่มีความงอก 83, 86
และ 87 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ดังนั้น เมล็ดเช้ือพันธ์ุผักโขมมีความช้ืนสูงคือ 4-10 เปอร์เซ็นต์ บรรจุในภาชนะท่ีปิด
สนิทก่อนนามาเก็บรักษาจะทาให้สามารถเก็บท่ีอุณหภูมิห้องได้นานขึ้น การเก็บรักษาไว้ท่ีอุณหภูมิห้อง สอดคล้อง วัน
ชัย (2542) พบว่าอณุ หภมู ิเป็นปัจจัยท่ีสาคัญต่ออายุการเก็บรักษาของเมล็ดเช้ือพันธุ์เช่นเดียวกับความชื้นแต่มีบทบาท
น้อยกว่าความชืน้ ในการเกบ็ รักษาเมล็ดเช้อื พนั ธุ์
กำรเกบ็ รกั ษำทีอ่ ุณหภูมิ 5 องศำเซลเซยี ส
เมล็ดเช้ือพันธุ์ผักโขมท่ีเก็บรักษาท่ีอุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส ถ้าเมล็ดเช้ือพันธ์ุยังไม่ผ่านกระบวนการลด
ความชื้น ซึง่ ในการทดลองมีความชืน้ ในเมลด็ เช้ือพนั ธ์ุ 10 เปอร์เซ็นต์ สามารถเกบ็ รักษาเมล็ดเชอื้ พนั ธุ์ภายในระยะเวลา
18 เดือน จากความงอกเริ่มต้น 98 เปอร์เซ็นต์ เหลือความงอก 86 เปอร์เซ็นต์ และมีแนวโน้มลดลง ขณะท่ีเมล็ดเช้ือ
พนั ธท์ุ ่ีผ่านการลดความชน้ื ทุกระดบั พบว่าภายในระยะเวลาการเกบ็ รักษา 18 เดือน ยังคงเปอร์เซ็นต์ความงอกเกิน 50
เปอร์เซ็นต์ โดยที่ระดับความชื้นในเมล็ดเชื้อพันธ์ุ 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ ยังคงเหลือความงอก 88 เปอร์เซ็นต์ ทุก
ระดับ และมีแนวโน้มลดลง ดังน้ันการเก็บรักษาเมล็ดเช้ือพันธุ์ผักโขม ที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส ก่อนการเก็บรักษา
ควรลดความชืน้ ในเมลด็ เช้อื พนั ธ์ใุ หต้ ่าลงต้ังแต่ 10 เปอร์เซ็นต์ลงไป จะทาให้การเก็บรักษาไดย้ าวนานข้นึ

ขอ้ มลู การวจิ ยั และพัฒนาเทคนิคการอนุรกั ษ์เช้ือพนั ธุกรรมพชื

23

กำรเก็บรกั ษำท่ีอุณหภูมิ -10 องศำเซลเซียส
ที่อุณหภูมิ -10 องศาเซลเซียส เม่ือเก็บรักษาเมล็ดเช้ือพันธุ์ผักโขมท่ีระดับความช้ืนเมล็ดเช้ือพันธุ์ 10, 8, 6
และ 4 เปอร์เซ็นต์ สามารถเก็บรักษาเมล็ดเชื้อพันธ์ุได้นาน 18 เดือน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดเช้ือพันธุ์ไม่
แตกต่างกันคอื 88, 89, 90 และ 90 ตามลาดับ และมแี นวโนม้ ลดลง
ควำมแข็งแรงของเมล็ดเชือ้ พันธผุ์ ักโขม
ผลการทดลองพบว่า เปอร์เซ็นต์ความช้ืนของเมล็ดเช้ือพันธ์ุเริ่มต้นก่อนการเก็บรักษา (10, 8, 6 และ 4
เปอร์เซ็นต์) อุณหภูมิการเก็บรักษา (อุณหภูมิห้อง 5 องศาเซลเซียส -10 องศาเซลเซียส) และระยะเวลาการเก็บรักษา
(0-18 เดือน) มปี ฏิสมั พันธ์ (Interaction) กนั อยา่ งมนี ัยสาคัญตอ่ ความแขง็ แรงของเมลด็ เช้ือพันธผุ์ กั โขม
เมล็ดเช้ือพันธุ์ผักโขมท่ีเก็บรักษาท่ีอุณหภูมิห้อง (25±2 °C, ความช้ืนสัมพัทธ์ 80±5 %) ถ้าไม่ผ่านกระบวนการลด
ความชื้น พบว่าสามารถเก็บได้ถึง 18 เดือน แต่มีความงอกเหลือเพียง 8ค เปอร์เซ็นต์ เมล็ดเช้ือพันธ์ุท่ีผ่านการลดความช้ืน
เหลือ 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ ภายในระยะเวลา 18 เดือน ยังคงเปอร์เซ็นต์ โดยมีเปอร์เซ็นต์ความงอก 88, 90 และ 90
เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ (ตารางที่ 1.4.5) เมื่อเปรียบเทียบกับการเก็บรักษาในสภาพอุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส เมล็ดเช้ือพันธุ์
ผักโขมท่ียังไม่ผ่านกระบวนการลดความชื้นมีความมีชีวิตอยู่ได้นานถึง 18 เดือน มีความงอก 87.33 เปอร์เซ็นต์ ส่วนเมล็ด
เช้ือพันธ์ุท่ีผ่านการลดความชื้นที่ระดับ 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ ยังรักษาระดับเปอร์เซ็นต์ความงอกไว้ได้โดยเม่ือเก็บรักษา
เปน็ ระยะเวลา 18 เดือน ยังมีความงอกอยู่ท่ี 89.3, 90.67 และ 90.67 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ สาหรับการเก็บรักษาในสภาพ
อณุ หภมู ิ -10 องศาเซลเซียส ทุกระดับความชื้นในเมล็ดเช้ือพันธุ์สามารถเก็บรักษาได้ หลังผ่านการเร่งอายุเมล็ดเชื้อพันธุ์เพ่ือ
ทดสอบความแข็งแรงยังคงความงอก 83.33, 88, 90 และ 92 เปอร์เซ็นต์ โดยภายในระยะเวลาการเก็บรักษา 18 เดือน โดย
ท่ีระดับความชื้นในเมล็ดเชื้อพันธ์ุ 10, 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ มีแนวโน้มการลดลงของเปอร์เซ็นต์ความงอกต่ากว่าทุกระดับ
ความช้นื ในเมล็ดเชือ้ พันธุ์ สอดคล้องกับงานวิจัยของ Berjark and Pammenter (2008) เมล็ดผักโขมมีขนาดเล็ก มันวาวมัก
เปน็ สดี าและมีสองเหลีย่ ม (Norman, 1992) เมล็ดผักโขมเป็นพวก orthodox เมล็ดแห้งมีความชื้น 10-12% และเก็บรักษา
ไวใ้ นท่ีภายใตส้ ภาวะที่เหมาะ เมลด็ จะมชี ีวิตอยู่ได้เปน็ ปี

กิจกรรมที่ 2 เทคนคิ กำรอนรุ กั ษ์เชอื้ พนั ธุกรรมพืชในสภำพปลอดเช้ือ
กำรทดลองที่ 1 กำรขยำยพันธม์ุ ันสำคู (Maranta arundinacea L.) ในสภำพปลอดเช้อื เพอ่ื กำรอนรุ กั ษ์

1. กำรศึกษำภำคสนำม พบตัวอย่างมันสาคูบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด
อบุ ลราชธานี และศรสี ะเกษ

2. กำรฟอกฆ่ำเช้ือ เตรียมมันสาคูตัวอย่างโดยใช้ช้ินส่วนเหง้าเพาะด้วยกระดาษให้ตาท่ีเจริญเล็กน้อยสาหรับ
มาฟอกฆ่าเช้ือ ฟอกฆ่าเช้ือ โดยใช้เหง้าที่มีตาฟอกด้วยคลอรอกซ์ความเข้มข้น 20 และ 30 เปอร์เซ็นต์ ระยะเวลานาน
15 และ 20 นาที นาชิ้นส่วนพืชมาเพาะบนอาหารสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) เพาะเล้ียงภายใต้การ
ควบคุมสภาพแวดล้อม อุณหภูมิ 25±2 องศาเซลเซียส ชั้นติดต้ังไฟสาหรับวางขวดเลี้ยงเนื้อเยื่อ ความสว่างประมาณ
2,000 ลกั ซ์ ควบคุมเวลาปิดเปิดไฟกาหนดระยะเวลาการใหค้ วามสวา่ ง 16 ชั่วโมง พบหน่อต้นสาคทู ่ีไม่พบการปนเปื้อน

ข้อมลู การวิจัยและพัฒนาเทคนิคการอนรุ ักษเ์ ชื้อพันธกุ รรมพืช

24

ของเชอ้ื และเจริญเติบโตได้ เมื่อฟอก 2 ครงั้ ด้วยคลอรอกซ์ความเข้มข้น 20 เปอร์เซ็นต์ นาน 15 นาที และ คลอรอกซ์
ความเข้มขน้ 25 เปอร์เซ็นต์ นาน 5 นาทคี ดิ เปน็ 16.7 เปอร์เซ็นต์

ภำพท่ี 2 เตรยี มตัวอย่างมนั สาคใู ห้ได้ตาทีเ่ จรญิ เล็กน้อยหน่อสาหรบั นามาฟอกฆ่าเช้ือ
3. กำรชกั นำให้เกดิ ต้นมนั สำคใู นสภำพปลอดเช้อื
3.1 การทดลองพบว่ามันสาคูมีการเจริญเติบโตทางลาต้นทุกกรรมวิธี โดยความสูงของยอดเฉล่ียไม่แตกต่าง
ทางสถิติ ส่วนการเติมสารละลาย BA ความเข้มข้น 3 mg/l สามารถชักนาการเกิดยอดได้อย่างมีนัยสาคัญ แต่พบว่า
การแตกยอดบางครั้งยังไม่สามารถเจริญเติบโตเป็นต้นท่ีสมบูรณ์ได้ ทั้งน้ีอาจต้องมีการพัฒนาโดยการปรับเพิ่มเติมการ
ใช้สารควบคุมการเจรญิ เติบโตทัง้ กลุ่มไซโตไคนินและสารกล่มุ ออกซินเพื่อให้ไดย้ อดท่สี มบรู ณ์
คาดวา่ น่าจะต้องเลย้ี งบนอาหาร MS ท่เี ตมิ สารควบคุมการเจริญเตบิ โตสาร BA ความเข้มขน้ ทีส่ งู ข้ึน หรอื การ
เตมิ สารทัง้ กลุ่มไซโตไคนินและสารกลุ่มออกซนิ รว่ มกัน

กรรมวิธีท่ี 5 สตู รอาหาร MS + BA ความเขม้ ขน้ 3 mg/l เลี้ยง
ภายใตส้ ภาพแสงปกติ จะพบการแตกยอด
แต่ยอดทไ่ี ดไ้ มส่ ามารถพัฒนาเป็นตน้ ทสี่ มบรู ณ์
พบการเหลืองและเน่าตายในทส่ี ดุ

ภำพที่ 5 ลักษณะของมนั สาคูท่เี พาะเลี้ยงบนอาหาร MS ร่วมกับ BA ระดับความเข้มข้น 3 mg/l เพาะเลี้ยงภายใตส้ ภาพ
แสงปกติ

3.2 ศึกษำกำรชักนำกำรเกิดยอดและรำก มันสาคูท่ีเลี้ยงบนอาหาร MS ท่ีเติมสาร BA ความเข้มข้น 6.0 mg/l
สามารถชกั นาให้เกดิ ยอดสงู สดุ เฉล่ีย 5.5 ยอด ส่วนการเกิดรากพบว่ามันสาคูเล้ียงบนอาหาร MS ท่ีไม่เติมฮอร์โมนช่วยชักนา
การเกดิ รากสูงสุดเฉลี่ย 4.6 ราก และพบการแตกรากฝอยได้ดีกว่ามันสาคูเล้ียงบนอาหาร MS ท่ีเตมิ ฮอรโ์ มน

4. กำรทดสอบปลูกในสภำพโรงเรือน โดยการย้ายปลูกต้นมันสาคูที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือเลือกใช้ต้นที่มี
ความสมบรู ณ์แข็งแรงและมรี ากจานวนมาก นามาปรับสภาพ โดยการนาออกจากห้องเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ คลายฝาขวดเพื่อลด
ความชน้ื สมั พทั ธ์ในขวดและมกี ารถา่ ยเทอากาศมากขึน้ ประมาณ 5 - 7 วัน หลังจากน้ัน ล้างวุ้นออกจากรากให้สะอาด จุ่มยา
กันเชื้อรา แล้วปลูกโดยใช้วัสดุปลูกดินผสม: กาบมะพร้าวสับ:ทราย อัตราส่วน 4:1:1 นาต้นท่ีปลูกลงในกระถางคลุมด้วย

ข้อมลู การวิจยั และพัฒนาเทคนคิ การอนุรักษ์เชื้อพนั ธกุ รรมพืช

25

ถุงพลาสติกเพ่ือรักษาความชื้นระวังไม่ให้ใบสัมผัสถุง ปรับความช้ืนโดยเปิดปากถุงท่ีละน้อย วางไว้ในที่ร่ม เป็นเวลา 1 เดือน
พบว่ามนั สาคมู อี ัตราการรอดชีวติ 100 เปอร์เซ็นต์

5. กำรชะลอกำรเจริญเติบโตของต้นมันสำคูในสภำพปลอดเช้ือ โดยเมื่อเล้ียงต้นมันสาคูนาน 3 เดือน มันสาคูท่ี
เลี้ยงบนอาหารลดปริมาณอาหาร MS ได้แก่ ¼MS และ ½MS สามารถเจริญเติบโตได้ดี แต่ต้นมันสาคูท่ีเล้ียงบนอาหาร MS
ปกติ ต้นมันสาคูไม่สามารถเจริญได้ อาจเน่ืองมาจากชิ้นส่วนที่ใช้ไม่ใช้หน่ออ่อนซ่ึงทาให้ไม่เหมาะสมท่ีจะนามาเลี้ยงบน
อาหาร MS ปกติ ต้องมกี ารปรบั ลดปริมาณอาหารจะทาให้ต้นสามารถรอดชีวิตได้ และหลังจากเล้ียงนาน 3 เดือน ต้นท่ีเลี้ยง
บน อาหาร ¼MS เริ่มมีอาการเหลืองซีด โดยเมื่อเลี้ยงนาน 5 เดือน พบว่า ต้นมันสาคูท่ีเลี้ยงบนอาหาร ½MS ยังคงมีการ
ลักษณะต้นที่แข็งแรงและ มีการเจรญิ เตบิ โตแตกหน่ออ่อนได้

6. กำรจัดทำหลกั ฐำนอ้ำงอิงเชอ้ื พนั ธม์ุ นั สำคู โดยวธิ ีการอดั แห้งเป็นการนาตัวอย่างช้ินส่วนพืชท่ีใช้ในการประเมิน
มาอัดแล้วนาไปอบให้แห้ง ท่ีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส หลังจากน้ันนาส่งพิพิธภัณฑ์พืชกรุงเทพฯ กรมวิชาการเกษตร เพ่ือ
เขา้ กระบวนการ นาไปตดิ บนกระดาษสาหรับตดิ พรรณไม้และเกบ็ รักษาในพิพิธภัณฑพ์ ืชกรุงเทพฯ ต่อไป ซ่ึงได้ดาเนินการเก็บ
ตวั อยา่ งพรรณไม้อ้างองิ ในพิพิธภณั ฑ์พืชกรงุ เทพฯ กรมวชิ าการเกษตร (Bangkok Herbarium, BK) จานวน 3 ตัวอยา่ ง

ภำพท่ี 9 ตัวอย่างพรรณไม้อ้างอิงในพิพิธภัณฑ์พืชกรุงเทพฯ กรมวิชาการเกษตร (Bangkok Herbarium, BK)

กำรทดลองที่ 2 กำรขยำยพนั ธม์ุ ันขหี้ นใู นสภำพปลอดเชอื้ เพื่อกำรอนุรักษ์
ข้นั ตอนท่ี 1 กำรขยำยช้ินสว่ นมันข้ีหนูในสภำพปลอดเชื้อ (2562-2563)

ตัวอย่างมันขี้หนูในสภาพปลอดเชื้อท่ีอายุ 150 วัน (รูปท่ี 2.1) และเพิ่มปริมาณตัวอย่างเพื่อนาเข้าการทดลองการ
ชะลอการเจริญเตบิ โตในสภาพปลอดเชื้อ (รูปท่ี 2.2) และการเกิดราก เพ่ือการเตรียมต้นในการทดสอบการออกปลูกในสภาพ
โรงเรือนทดลอง และเตรียมความพร้อมช้ินส่วนเนื้อเยื่อนาเข้าการทดลองการชะลอการเจริญเติบโตในสภาพปลอดเชื้อ (รูปที่
2.3) เตรียมตัวอยา่ งมันข้ีหนใู นสภาพปลอดเชื้อเพื่อเข้าขั้นตอนการชะลอการเจริญเติบโต (รปู ที่ 2.4)

ข้อมูลการวจิ ัยและพฒั นาเทคนคิ การอนุรกั ษเ์ ช้ือพนั ธุกรรมพชื

26

รปู ท่ี 2.1 มนั ข้ีหนใู นสภาพปลอดเชอื้ (150วัน) รปู ที่ 2.2 มันขหี้ นูในสภาพปลอดเช้ือเตรียมสาหรับการนาเขา้ การ
ทดลองการชะลอการเจรญิ เตบิ โต (เมษายน2563)

รปู ท่ี 2.3 มันขี้หนูในสภาพปลอดเชื้อและการเกดิ ราก รูปท่ี 2.5 เตรยี มตวั อยา่ งมนั ข้ีหนใู นสภาพปลอดเชอ้ื เพ่ือ
เข้าขั้นตอนการชะลอการเจรญิ เตบิ โต

ขนั้ ตอนที่ 2 กำรเกบ็ รกั ษำมันขห้ี นูในสภำพปลอดเชอ้ื (ทำกำรทดลองปี 2563-2564)
การเก็บรักษามันข้ีหนูในสภาพปลอดเช้ือ พบว่า การนายอดและข้อของมันข้ีหนู ฟอกฆ่าเชื้อและนาเข้าเพาะเล้ียง

ในสภาพปลอดเชื้อ เพื่อดาเนินการขยายชิ้นส่วนเนื้อเย่ือ สาหรับการทดลองการเก็บรักษามันขี้หนูในสภาพปลอดเชื้อตาม
กรรมวิธีที่กาหนด พบว่า ในระยะเวลา 2 เดือน ทั้ง 9 กรรมวิธี เน้ือเย่ือของมันข้ีหนูยังมีสีเขียว และการเจริญเติบโตปกติใน
กรรมวิธีที่ไม่เติม mannitol (กรรมวิธีท่ี 1, 4 และ7) ดังแสดงในภาพที่ 2.6 ในกรรมวิธีที่เติม mannitol 10 g/l (กรรมวิธีท่ี
2, 5 และ8) มีลกั ษณะใบอวบ สเี ขม้ และการเจริญเติบโตช้ากว่ากรรมวิธีที่ไม่เติม mannitol และพบว่า มันขี้หนูสามารถเก็บ
รกั ษาในสภาพปลอดเชอื้ (ชะลอการเจริญเติบโต) ก่อนยอดเหลืองเกินร้อยละ50 ท่ีอายุ 6 เดือน แม้ไม่มีการ subculture คือ
กรรมวิธีท่ี 8 (¼ MS + mannitol 10 g/l) ซ่ึงมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญย่ิงทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบท้ัง 9 กรรมวิธี
ดังแสดงในภาพท่ี 2.7 และตารางที่ 2.1 ทั้งนี้กรรมวิธีที่ 7 และ 9 (¼ MS และ ¼ MS + mannitol 20 g/l ตามลาดับ)
สามารถชะลอการเจริญเติบโตได้ท่ีอายุ 5 เดือน ส่วนกรรมวิธีที่ 1-6 (MS, MS + mannitol 10g /l, MS + mannitol 20g
/l, ½ MS , ½ MS + mannitol 10g /l และ ½ MS + mannitol 20 g/l ตามลาดับ) สามารถชะลอการเจริญเติบโตได้ที่
อายุ 4 เดือน และในเดือนท่ี 6 ต้นและใบมีสีน้าตาลซึ่งหมายถึงไม่มีชีวิต และในกรรมวิธีที่ 8 เม่ือนาชิ้นส่วนสีเขียวกลับมา
ทดสอบอัตราการรอดชวี ติ บนอาหารสูตรสังเคราะห์ MS และสามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ

ข้อมูลการวิจยั และพฒั นาเทคนคิ การอนรุ ักษเ์ ช้ือพันธุกรรมพืช

27

รูปที่ 2.6 มันขหี้ นูในสภาพปลอดเชอ้ื ท่ีอายุ 2 เดือน

รูปท่ี 2.7 มนั ข้หี นใู นสภาพปลอดเช้ือท่ีอายุ 6 เดือน
กำรทดลองท่ี 3 กำรอนุรักษ์ขิงพระพุทธบำท (Zingiber tenuiscapus) และตะไคร้พรำน (Zingiber
citriodorum) พืชถ่ินเดยี วของไทยในสภำพปลอดเชื้อ

1. กำรรวบรวมตัวอย่ำงเชื้อพันธุ์ ได้ตัวอย่างต้นขิงพระพุทธบาทจากการรวบรวมที่บริเวณเขาหินปูน จังหวัด
สระบรุ ี และตวั อย่างตน้ ตะไครพ้ รานจากจงั หวัดตาก

2. กำรฟอกฆ่ำเช้ือชิ้นส่วนต้นขิงพระพุทธบำทและตะไคร้พรำน พบว่ายอดต้นขิงพระพุทธบาทมีอัตราการรอด
ชีวิตและเจริญเป็นต้นได้ 46.67% (ภาพที่ 2) และตะไคร้พราน 33.33% (ภาพที่ 3) สอดคล้องกันกับการทดลองของ
Tan (2016) เพาะเล้ียงพืชสกุล Curcuma ที่เป็น Threatened Medicinal Plant โดยฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วน rhizome
bud .ด้วยสาร NaClO 1.2% นาน 15 นาทีและ 1% นาน 10 นาที พบอัตราการรอดชีวิตถึง 67% และการทดลอง
ของ Yusuf et al (2011) ได้ทาการฟอกฆ่าเช้ือส้ินส่วนตายอดของ Boesenbergia rotunda ที่เป็นพืชสมุนไพรโดย
จมุ่ ในเอทานอล 70% นาน 2 นาทแี ละสารละลายคลอรอกซ์ 20% นาน 15 นาที พบว่ามีอัตราการรอดชีวิตและเจริญ
เป็นต้นได้ 48 %

ภาพที่ 2 ชน้ิ ส่วนและต้นขงิ พระพุทธบาททปี่ ลอดจากการปนเปื้อนของเชอื้ จลุ ินทรยี ์
3. กำรชักนำให้เกิดยอดในสภำพปลอดเช้ือ พบว่ายอดท่ีเลี้ยงบนอาหาร MS ท่ีไม่ใส่สารควบคุมการ
เจรญิ เติบโต (Control) มกี ารเจริญเติบโตและเกดิ ยอดเฉล่ยี 0.8 ยอด/ช้นิ ส่วน ซ่ึงการเติมสารควบคุมการเจริญมีผลต่อ
ข้อมลู การวจิ ยั และพัฒนาเทคนคิ การอนรุ ักษเ์ ช้ือพันธกุ รรมพชื

28

การเกิดยอดอย่างมีนัยสาคัญ โดยยอดอ่อนที่เล้ียงบนอาหาร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 3 มก./ล. สามารถชักนาให้
เกิดยอดเฉลี่ยได้สูงสุด 20.9 ยอด/ชิ้นส่วน มีความสูงของยอดเฉล่ีย 3.38 ซม. ต้นท่ีได้มีลักษณะสมบูรณ์ สีเขียว ลาต้น
ไมย่ ืดยาว และไม่แตกตา่ งกบั สตู รท่ไี ม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต (Control) ซ่ึงทุกสูตรอาหารที่ใช้เพาะเลี้ยงทาให้
ตน้ เกดิ รากขนาดยาว สขี าวและมีขนรากจานวนมาก

4. กำรชะลอกำรเจริญเติบโตในสภำพปลอดเช้ือ พบว่า สูตรที่เหมาะสมต่อการชะลอการเจริญเติบโตเพ่ือการ
อนุรักษ์ต้นขิงพระพุทธบาท คืออาหารท่ีปรับลดปริมาณน้าตาลซูโครสเพียง 15 กรัม/ลิตร และปรับลดความเข้มข้นของ MS
เป็น ½ MS และ ¼ MS จะทาให้ต้นขิงพระพุทธบาทมีการแตกยอดน้อยลงและต้นท่ีได้มีลักษณะแข็งแรงสีเขียวเข้มและ
ความสูงของต้นไม่แตกต่างกับอาหาร MS สูตรมาตรฐานท่ีใช้อาหาร MS full-strength ท่ีเติมซูโครส 30 กรัม/ลิตร เม่ือ
เพาะเลี้ยงนาน 8 เดือน โดยไม่ต้องเปล่ียนถ่ายอาหารเพาะเลี้ยงใหม่ ซึ่งการปรับลดความเข้มข้นของอาหาร MS ที่ใช้
เพาะเลยี้ งลง เป็นการลดปริมาณธาตุอาหารหลักทาให้พืชดึงสารอาหารไปใชเ้ พื่อการเจรญิ เติบโตไดน้ ้อยลง
กำรทดลองที่ 4 กำรอนุรักษ์พันธุกรรมพืชสมุนไพร : ระย่อมน้อย (Rauvolfiaserpentina (L.) Benth.exKurz)
ในสภำพปลอดเชื้อ

1. ทาการสารวจและรวบรวมพันธ์ุระย่อมน้อยทางภาคเหนือ บริเวณที่พบต้นระย่อมน้อย จะเป็นบริเวณท่ีมี
ความชน้ื คอ่ นข้างสูง มอี นิ ทรยี วตั ถุทเี่ กิดจากใบไมผ้ คุ ่อนขา้ งมาก ดนิ เป็นดินทราย มีแสงราไร ต้นไม้ใหญ่ไม่หนาทึบ โดย
ต้นระย่อมน้อยจะข้ึนอยเู่ ปน็ กลุ่มๆ เน่อื งจากระยอ่ มน้อยนอกจากจะขยายพันธุ์โดยเมล็ดแล้ว ยังสามารถขยายพันธ์ุโดย
แตกต้นใหมจ่ ากแขนงรากได้อีกด้วย ดังน้นั ในการเก็บตวั อยา่ ง จงึ เลือกเกบ็ ตน้ ท่ีแตกจากแขนงราก และเหลือต้นหลักไว้
ในพื้นทเ่ี พื่อให้ไม่สญู พนั ธแุ์ ละสามารถขยายพนั ธ์ุไดต้ ่อไป

ภาพท่ี 2.4.1 การรวบรวมพนั ธร์ุ ะย่อมน้อยจากแหล่งตา่ งๆ
2. นาต้นระยอ่ มนอ้ ยทีเ่ กบ็ ไดม้ าปลกู ในกระถางในเรือนเพาะชา สานักวิจัยพฒั นาเทคโนโลยชี วี ภาพ(บางเขน)
3. การฟอกฆ่าเชื้อระย่อมน้อย ในไตรมาสท่ี 2 ประมาณปลายเดือนมกราคม ระย่อมน้อยเริ่มมีการแตกยอดใหม่ จึง
เลือกตัดยอดระย่อมท่ีเพ่ิงแตกใหม่ยาวประมาณ 1 ซม.ซ่ึงยังไม่มีท่อน้ายาง มาฟอกฆ่าเชื้อด้วย Clorox ความเข้มข้น 15
เปอร์เซ็นต์ 10นาที พบว่า ไม่มีการปนเป้ือนแบคทีเรียและเช้ือราเลย ย้ายลงเล้ียงในอาหารสังเคราะห์สูตรต่างๆ เพ่ือหาสูตร
อาหารทเ่ี หมาะสม เมื่อต้นระย่อมใบสีเขียวเจริญเติบโตได้พอประมาณ ทาการตัดเป็นท่อนๆเพ่ือลงเล้ียงในอาหารสูตร MS +

ขอ้ มลู การวิจัยและพัฒนาเทคนคิ การอนรุ กั ษเ์ ช้ือพันธุกรรมพชื

29

IAA 0.1ml/l +BA 3ml/l และ MS + IAA 0.5ml/l +BA 4ml/l พบว่าต้นที่เลี้ยงในสูตร MS + IAA 0.1ml/l +BA 3ml/l มี
การแตกยอดมากกวา่ โดยชักนาใหเ้ กิดยอดเฉลยี่ ถึง 12.6 ยอด/ชิ้นสว่ น

4. subculture ต้นระย่อมน้อย โดยตัดส่วนข้อเลี้ยง MS + IAA 0.1ml/l +BA 3ml/l เพื่อให้ได้ต้นระย่อมน้อยท่ีมี
ขนาดใกล้เคียงกัน พบว่ามีความแตกต่างกันเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีใบสีเขียว กับ กลุ่มที่มีใบสีเขียวอมเหลือง ซ่ึงจากการ
ทดลองเล้ียงต้นที่มีใบสีเขียว และต้นที่มีใบสีเขียวอมเหลือง MS + IAA 0.1ml/l +BA 3ml/l โดยไม่subcultureเป็นเวลา 4
เดือน พบว่าต้นทมี่ ใี บสเี ขียวจะแตกกอมากกวา่ และไม่เกดิ ราก สว่ นตน้ ทมี่ ีใบสีเขียวอมเหลืองแตกกอน้อยแต่จะเกิดรากดังน้ัน
การเลือกต้นระย่อมน้อย เพ่ือทาการทดลองชะลอการเจริญเติบโต ควรใช้ต้นท่ีมีคุณสมบัติเหมือนกัน มีการเจริญเติบโต
ใกลเ้ คยี งกนั มากที่สดุ ซงึ่ กลุ่มทม่ี ีใบสีเขียวนา่ จะเหมาะสมสาหรับใช้ในการทดลองการชะลอการเจรญิ เตบิ โตมากกว่า

ภาพที่ 2.4.6 ตน้ ระย่อมน้อยท่ีsubcultureโดยตัดสว่ นขอ้ เลีย้ งในอาหารสูตร MS + IAA 0.1ml/l +BA 3ml/l

ab
ภาพที่ 2.4.7 ต้นระย่อมน้อยท่เี ล้ยี งในอาหารสตู ร MS + IAA 0.1ml/l +BA 3ml/l หลังsubculture 40วัน

พบมตี ้นที่แตกต่างกัน 2 กลมุ่ คอื a ตน้ ทมี่ ีใบสีเขียว b ตน้ ที่มีใบสีเขียวอมเหลอื ง
5. ศึกษาการชะลอการเจริญเติบโตของระย่อมน้อยในสภาพปลอดเชื้อ ตัดยอดระย่อมน้อย (กลุ่มใบสีเขียว)
ความยาวประมาณ 1 ซม. มใี บ 2-5 ใบ ลงเลย้ี งในอาหาร 16 สูตร

ข้อมูลการวจิ ัยและพฒั นาเทคนิคการอนุรักษ์เชื้อพันธกุ รรมพืช

30

ข้อเสนอแนะต่อผเู้ กี่ยวขอ้ งสำหรับกำรดำเนินงำนในระยะตอ่ ไป
1. เทคนิคการอนุรักษ์เมล็ดพันธุกรรมพืช ดาวอินคา บวบหอม งา และผักโขม ภายใต้อุณหภูมิในการเก็บ
รักษาต่างๆ ในห้องอนุรักษ์ระยะปานกลาง (5๐C) ห้องอนุรักษ์ระยะยาว (-10๐C) และในสภาพเยือกแข็ง มีเทคนิคการ
ลดความช้ืนก่อนเก็บรักษาในแต่ละพืชต่างกันไป เพ่ือให้พืชคงความมีชีวิตได้นานสูงสุด สามารถนามาปรับใช้ให้เป็น
ประโยชนใ์ นงานอนรุ กั ษ์ของธนาคารเชอ้ื พนั ธุ์พืชต่อไป
2. เทคนิคการเก็บรักษาพันธุกรรมพืชในสภาพปลอดเช้ือ การฟอกฆ่าเชื้อ การชักนาให้เกิดยอด การชักนาให้
เกิดราก และเทคนิคการชะลอการเจริญเติบโตในสภาพปลอดเช้ือของมันสาคู มันข้ีหนู ขิงพระพุทธบาท ตะไคร้พราน
และระย่อมน้อย อาจศึกษาเพิ่มเติมองค์ความรู้ในเร่ืองของสารสาคัญที่มีอยู่ในเชื้อพันธุ์ เพื่อต่อยอดและเพิ่มมูลค่าทาง
เศรษฐกิจทัง้ ทางด้านโภชนเภสชั ความเป็นประโยชนต์ อ่ ยอดเปน็ ผลิตภณั ฑค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพต่อไป

ข้อมลู การวิจยั และพัฒนาเทคนิคการอนุรักษเ์ ชื้อพันธกุ รรมพืช

31

เทคนคิ การเก็บรักษาเมลด็ เช้อื พันธุด์ าวอนิ คา (Plukenetia volubilis L.) ในธนาคารเช้ือพนั ธพุ์ ืช
Seed Conservation of Plukenetia volubilis L.

บทคดั ย่อ
การศึกษาเทคนิคการเก็บรักษาเมล็ดเช้ือพันธุ์ดาวอินคาในธนาคารเช้ือพันธุ์พืช ได้ทาการทดลองใน
ห้องปฏิบัติการและเก็บรักษาเมล็ดเช้ือพันธ์ุของกลุ่มวิจัยและพัฒนาธนาคารเชื้อพันธ์ุพืช สานักวิจัยพัฒนา
เทคโนโลยชี วี ภาพ ระหว่างเดือนตุลาคม 2561 - กันยายน 2564 โดยศึกษาระดับเปอร์เซ็นต์ความช้ืนในเมล็ดเช้ือพันธ์ุ
ดาวอินคาซง่ึ เป็นปัจจัยหลักท่ีมีผลต่ออายุการเก็บรักษา แบ่งเป็น 3 การทดลอง ตามอุณหภูมิการเก็บรักษา คือ สภาพ
อุณหภูมิห้อง 5 องศาเซลเซียส และ -10 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 28 เดือน แต่ละการทดลองวางแผนการ
ทดลองแบบ Split plot design จานวน 3 ซ้า main plot คือ ระดับความชื้นในเมล็ดเชื้อพันธุ์ 4 ระดับ ได้แก่ 18
(เริ่มต้น), 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ และ sub plot คือ ระยะเวลาในการเก็บรักษา 28 เดือน โดยเก็บข้อมูลความมีชีวิต
และความแข็งแรงทุก 2 เดือน รวม 15 ระดับ พบว่า อัตราเปอร์เซ็นต์ความงอกจากการทดสอบความมีชีวิตของเมล็ด
เชื้อพันธุ์ดาวอินคา และเปอร์เซ็นต์ความงอกจากการทดสอบความแข็งแรงของเมล็ดเช้ือพันธุ์ดาวอินคาที่ผ่านการลด
ความช้นื เมลด็ พนั ธใุ์ นระดับตา่ งๆ เพือ่ เกบ็ รักษาในท่ีสภาพอุณหภูมิห้อง 5 องศาเซลเซียส และ -10 องศาเซลเซียส น้ัน
มีอัตราลดลงเม่ืออายุการเก็บรักษาเพ่ิมขั้น โดยการเก็บรักษาในสภาพอุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส สามารถลดความช้ืน
ในเมลด็ เชอื้ พันธุ์ใหเ้ หลอื 6 เปอรเ์ ซน็ ต์ หรือตา่ กวา่ ไดโ้ ดยยงั คงเก็บรักษาความมชี ีวิตเกินร้อยละ50 ได้ภายในระยะเวลา
28 เดอื น

Abstract
Conservation of Plukenetia Volubilis L. Seed was studied from October 2019 to September
2021. This research was studied on seed moisture content (%) and storage temperature which
divided into three experiments according to storage condition; room temperature (25±2 °C), 5 °C
and -10 °C by using Split plot design with 3 replications. The Main plot was seed moisture content
(%) at different levels; 18 (initial) 8, 6, and 4. The sub plot was 15 levels of storage period (months)
and checked the seeds viability and vigor. The findings indicated that the longer storage time
caused the decrease in viability and vigor of Plukenetia Volubilis L. seeds after being kept in in 5 °C
and -10 °C storage room. It was also revealed that the seed moisture content can be reduced to
6% or lower for 5 °C storage. It can still remain over 50% of the seed viability and vigor after
storage for 28 months.

ข้อมลู การวจิ ยั และพฒั นาเทคนิคการอนุรักษ์เช้ือพนั ธุกรรมพชื

32

เทคนคิ การเกบ็ รักษาเมลด็ พันธบ์ุ วบหอมในสภาพเยือกแข็งเพอื่ การอนรุ ักษ์และการใชป้ ระโยชนใ์ นธนาคารเชื้อพนั ธ์ุพืช
Cryopreservation Technique of Sponge Gourd (Luffa aegyptiaca) Seed Storage for Conservation and

Utilization in Genebank

บทคดั ยอ่
การเกบ็ รกั ษาเมลด็ พันธุ์ในสภาพเยือกแข็งเป็นทางเลือกหนึ่งในการอนุรักษ์เช้ือพันธุกรรมพืชท่ีช่วยลดข้ันตอน
การนาเมลด็ ออกปลกู ฟน้ื ฟเู พอื่ ตอ่ อายแุ ละเพ่ิมปรมิ าณ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อได้ข้อมูลระดับความชื้นของเมล็ดท่ี
เหมาะสมและเทคนิคการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุบวบหอมในสภาพเยือกแข็ง (-196 องศาเซลเซียส) สาหรับเป็นแนวทาง
ในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชสกุลบวบและเป็นข้อมูลบันทึกในระบบฐานข้อมูลเช้ือพันธุกรรมพืช ทาการทดลองที่
ห้องปฏิบัติการและแปลงปลูกฟื้นฟูพันธุกรรมพืชของกลุ่มวิจัยพัฒนาธนาคารเชื้อพันธุ์พืชและจุลินทรีย์ สานักวิจัย
พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ ปทุมธานี ระหวา่ งเดอื นตุลาคม 2561 - กนั ยายน 2564 วางแผนการทดลองแบบ Split split
plot design จานวน 4 ซ้า Main plot เป็นพันธ์ุบวบหอม จานวน 3 ตัวอย่างพันธุ์ คือ บวบหอมยาว บวบหอมสั้น
และบวบหอมป่า Sub plot เป็นระดับความชื้นในเมล็ด คือ ความชื้นเร่ิมต้น(Control) 8 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ Sub-
subplot เป็นระยะเวลาในการเก็บรักษา คือ 0(Control) 7 และ 180 วัน ผลการทดลอง พบว่า เม่ือลดความชื้นของ
เมลด็ พนั ธบ์ุ วบหอมยาว บวบหอมสัน้ และบวบหอมปา่ ให้มรี ะดับความชน้ื ที่ 8 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ น้ัน เมล็ดพันธุ์บวบ
หอมยาวและบวบหอมสัน้ ท่มี รี ะดบั ความชื้นของเมลด็ เร่ิมตน้ 8 และ 6 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็น
เวลา 0 7 และ 180 วัน พบว่า ความงอกของเมล็ดพันธุ์ไม่เปล่ียนแปลง แต่เมล็ดพันธุ์ที่มีระดับความช้ืนของเมล็ด 4
เปอร์เซ็นต์ พบวา่ ความงอกของเมลด็ พนั ธุ์มีแนวโน้มลดลง ในขณะท่ีเมล็ดพันธุ์บวบหอมป่าที่มีระดับความช้ืนของเมล็ด
ท่ี 8 และ 6 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน ความงอกของเมล็ดพันธุ์ไม่
เปล่ียนแปลง แต่เมล็ดพันธุ์ท่ีมีระดับความชื้นของเมล็ดเร่ิมต้นและ 4 เปอร์เซ็นต์ ความงอกของเมล็ดพันธ์ุมีแนวโน้ม
ลดลง สาหรับความแข็งแรงของเมล็ดพันธ์ุ พบว่า เมล็ดพันธุ์บวบหอมยาว บวบหอมสั้น และบวบหอมป่าท่ีมีระดับ
ความชื้นของเมล็ดท่ีระดับเริ่มต้น 8 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ เม่ือเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเป็นเวลา 0 7 และ 180 วัน
พบว่าความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ลดลง จากการทดลอง พบว่า ระดับความช้ืนของเมล็ดท่ีเหมาะสมต่อการเก็บรักษา
เมล็ดพันธุ์บวบหอมท้ัง 3 ตัวอย่าง ในสภาพเยือกแข็ง ได้แก่ ระดับความชื้นในช่วง 6 - 8 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากบวบหอมมี
ความแข็งแรงมากกว่าเมล็ดพันธุ์ท่ีมีระดับความชื้นเร่ิมต้น และ 4 เปอร์เซ็นต์ เม่ือนาเมล็ดบวบหอมยาว บวบหอมส้ัน และ
บวบหอมป่า ไปปลูกทดสอบในสภาพแปลงปลูก พบว่า บวบหอมยาว และบวบหอมส้ันมีการเจริญเติบโตได้ดีทุกระยะ
ตัง้ แต่ ระยะต้นกล้า ระยะเจรญิ เติบโตดา้ นลาตน้ ระยะออกดอก ระยะติดผล จนถงึ ระยะเก็บเกี่ยว ลักษณะทางสัณฐาน
วิทยาเบ้ืองต้นสอดคล้องกับข้อมูลที่ปรากฏในคาบรรยายลักษณะพืช ในขณะท่ี บวบหอมป่า มีการเจริญเติบโตได้ดีใน
ระยะต้นกลา้ และระยะเจรญิ เติบโตด้านลาตน้ แต่เมื่อเข้าส่รู ะยะออกดอก จนถึงระยะติดผลและเก็บเก่ียว พบว่า มีการ
เจรญิ เติบโตท่ลี า่ ช้า ให้ผลผลิตน้อย และผลผลิตมีคณุ ภาพตา่

ขอ้ มูลการวจิ ยั และพัฒนาเทคนคิ การอนุรักษเ์ ชื้อพันธุกรรมพชื

33

Abstract
Cryopreservation is an alternative technique for plant germplasm conservation that can
lessen field regeneration process. This research aimed to investigate the optimum moisture content
of sponge gourd seed for cryopreservation (-196 C) that can be used as practical guideline in luffa
spp. seed storage and as basic data for database recording. This research was conducted at
laboratory section and regeneration field of Genebank and Microorganism Research and
Development Group, Biotechnology Research and Development Office, Pathumthani from October
2018 to September 2021. Split split plot design with 4 replicates was applied in this study. Main
plot was the sample of sponge gourd (Luffa aegyptica) comprising Buab Hawm Yao, Buab Hawm
San and Buab Hawm Pah. Sub plot was the percent of Seed Moisture Content (MC): (1) Initial MC%
(Control), (2) 8%, (3) 6 % and (4) 4%. Sub-subplot was the storage time, namely 0 day, 7 days and
180 days. It was revealed that when stored all seeds in liquid nitrogen for 0, 7 and 180 days, Buab
Hawm Yao and Buab Hawm San seeds with MC at Control 8 and 6 % showed no changes
germination but their seeds with 4% of MC had declination of germination, meanwhile seed
germination of Buab Hawm Pah seeds with MC at Control and 4% decreased. The findings indicated
that seed vigor of all samples decreased after storing in liquid nitrogen for 0, 7 and 180 days. Due
to the data of seed vigor, it can be assumed in this study that the optimum seed moisture content
of all sponge gourd seeds was in the range of 6 – 8 %. The study about the growth of Buab Hawm
Yao, Buab Hawm San and Buab Hawm Pah in the field after being stored in cryopreservation
showed that Buab Hawm Yao and Buab Hawm San had good growth and showed normal
morphological characteristics in all stages. On the other hand, Buab Hawm Pah had normal growth
only from seedling stage to vegetative stage. It was found that Buab Hawm Pah showed reduction
in plant growth, lower yield and inferior product quality in flowering and harvesting stages.

ขอ้ มลู การวิจยั และพฒั นาเทคนิคการอนรุ ักษเ์ ช้ือพันธกุ รรมพืช

34

ความมชี วี ิตและการเปลีย่ นแปลงปรมิ าณน้ามันของเมลด็ พันธุง์ าภายหลังการเกบ็ รักษาในสภาพเยือกแข็ง
Viability and Oil Content of Sesame (Sesamum indicum L.) Seeds under Cryopreservation

บทคดั ยอ่
การศกึ ษาความมชี วี ิตระหว่างการเกบ็ รักษาและการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ามันงาภายหลังการเก็บรักษาเมล็ด
พันธุ์งาในสภาพเยือกแข็ง ได้ทาการทดลองในห้องปฏิบัติการและเก็บรักษาเมล็ดเชื้อพันธ์ุของกลุ่มวิจัยและพัฒนา
ธนาคารเชื้อพันธุ์พืช สานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ ระหว่างเดือนตุลาคม 2562-กันยายน 2563 โดยศึกษาระดับ
เปอร์เซ็นต์ความชน้ื ในเมลด็ พนั ธุง์ าก่อนเกบ็ รักษา ซงึ่ เปน็ ปจั จยั หลักท่มี ผี ลตอ่ การรกั ษาความมีชวี ติ และปริมาณน้ามันงา
และส่งผลต่ออายุการเก็บรักษา โดยเปรียบเทียบกับการเก็บรักษาในสภาพอุณหภูมิห้องเป็นระยะเวลา 1 เดือน วาง
แผนการทดลองแบบ Split Split plot design จานวน 4 ซ้า main plot คือ งาพันธ์ุรับรองของกรมวิชาการเกษตร 6
พันธุ์ ไดแ้ ก่ งาขาวพนั ธรุ์ อ้ ยเอด็ 1 งาขาวพนั ธ์ุมหาสารคาม 60 งาขาวพันธ์ุอบุ ลราชธานี 2 งาดาพันธ์ุอุบลราชธานี 3 งา
แดงพนั ธอุ์ บุ ลราชธานี 1 และ งาแดงพนั ธุ์อบุ ลราชธานี 2 sub plot คอื ระดบั ความชน้ื ในเมล็ดเชอ้ื พันธุ์ 4 ระดับ ได้แก่
8 (เริ่มต้น), 6, 4 และ 2 เปอร์เซ็นต์ และ sub sub plot เป็นระยะเวลาในการเก็บรักษา จานวน 3 ระดับ คือ 0 วัน,
7 วัน และ 1 เดือน พบว่างาทกุ พนั ธุไ์ ม่มกี ารเปลี่ยนแปลงความมชี วี ิต ความแข็งแรง และปริมาณน้ามันงา สามารถเก็บ
รักษาในสภาพเยือกแข็งได้แต่ควรลดความชื้นในเมล็ดพันธุ์ให้อยู่ที่ระดับ 6 เปอร์เซ็นต์ หรือต่ากว่าจะช่วยยืดอายุการ
เก็บรกั ษาให้ยาวนานขน้ึ

Abstract
The study on cryopreservation of Sesamum indicum L. seed was carried out at
Biotechnology Research and Development Office from October 2018 to September 2020. This
research was conducted to study seed moisture content (%) which is the main factor affecting seed
storage by comparison with ambient conditions for a period of 1 month. Split split plot design was
laid out with 4 replicates of each condition. The main plot consisted of 6 certified sesame varieties
of Department of Agriculture: 1) White-seeded cultivar “Roi et 1”, 2) White-seeded cultivar
“Mahasarakhram 60”, 3) White-seeded cultivar “Ubonratchathani 2”, 4) Black-seeded cultivar
“Ubonratchathani 3”, 5) Red-seeded cultivar “Ubonratchathani 1” and 6) Red-seeded cultivar
“Ubonratchathani 2”. The sub plot consisted of 4 levels of seed moisture content (%): 8 (initial), 6,
4 and 2 and the sub sub plot consisted of 3 storage periods: 0 day, 7 days and 1 month. Seed
viability by monitoring changes in percent of seed germination, seed vigor and oil content were
recorded. The result showed that all varieties of sesame could be kept in cryopreservation but the
seed moisture content should be reduced to 6 percent or lower to maintain seed viability and oil
content of sesame seeds.

ขอ้ มลู การวจิ ยั และพัฒนาเทคนิคการอนุรกั ษเ์ ชื้อพนั ธกุ รรมพชื

35

เทคนคิ การเกบ็ รักษาเมลด็ พนั ธ์ผุ ักโขม(Amaranthus spp.)ในธนาคารเช้อื พันธุ์พชื
Seed Conservation of Amaranthus spp.

บทคดั ยอ่
การศึกษาเทคนคิ การเก็บรกั ษาเมล็ดเชื้อพันธผ์ุ ักโขมในธนาคารเชอ้ื พันธพุ์ ชื ได้ทาการทดลองในห้องปฏิบัติการ
และเก็บรักษาเมล็ดเช้ือพันธุ์ของกลุ่มวิจัยและพัฒนาธนาคารเช้ือพันธุ์พืช สานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ ระหว่าง
เดือนตุลาคม 2562 - กนั ยายน 2564 โดยศกึ ษาระดบั เปอรเ์ ซ็นต์ความชื้นในเมล็ดเชื้อพันธ์ุผักโขมซ่ึงเป็นปัจจัยหลักท่ีมี
ผลตอ่ อายุการเก็บรักษา แบ่งเป็น 4 การทดลอง ตามอุณหภูมิการเก็บรักษา คือ สภาพอุณหภูมิห้อง 5 องศาเซลเซียส
และ -10 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 18 เดือน แต่ละการทดลองวางแผนการทดลองแบบ Split plot design
จานวน 3 ซ้า main plot คือ ระดับความช้ืนในเมล็ดเชื้อพันธุ์ 4 ระดับ ได้แก่ 10 (เริ่มต้น), 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์
และ sub plot คอื ระยะเวลาในการเกบ็ รกั ษา 18 เดอื น โดยเก็บข้อมูลความมีชีวิตและความแข็งแรงทุก 2 เดือน รวม
10 ระดับ พบว่าระดับความช้ืนในเมล็ดเชื้อพันธ์ุก่อนการเก็บรักษาและอุณหภูมิในการเก็บรักษามีผลต่อความมีชีวิต
และความแข็งแรงของเมล็ดเชื้อพันธ์ุผักโขม สามารถเก็บรักษาได้นานเกิน 18 เดือน เม่ือเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง 5
องศาเซลเซียส และ -10 องศา โดยเปอร์เซ็นต์ความงอกจากการทดสอบความมีชีวิตและความแข็งแรงของเมล็ดเช้ือ
พันธ์ุผักโขมน้นั มอี ตั ราลดลงเล็กน้อยเมอ่ื อายุการเก็บรกั ษาเพิ่มข้ึน

Abstract
Conservation of Amaranthus L. Seed was studied from October 2019 to September 2021.
This research was studied on seed moisture content (%) and storage temperature which divided
into three experiments according to storage condition; room temperature (25±2 °C), 5 °C and -10 °C
by using Split plot design with 3 replications. The Main plot was seed moisture content (%) at
different levels; 10 (initial) 8, 6, and 4. The sub plot was 10 levels of storage period (months) and
checked the seeds viability and vigor. The result showed that seed moisture content before storage
and storage temperature affected the amaranthus seed viability and seed vigor. It was also
revealed that after being stored in 5 °C and -10 °C storage room, the seeds can be conserved for
more than 18 months with a slight decrease of seed vigor and seed viability.

ขอ้ มลู การวิจัยและพฒั นาเทคนคิ การอนุรักษเ์ ชื้อพนั ธกุ รรมพืช

36

การขยายพันธ์ุมันสาคู (Maranta arundinacea L.) ในสภาพปลอดเชอื้ เพอ่ื การอนุรกั ษ์
Micropropagation Technique of Maranta arundinacea for Conservation
บทคัดย่อ

มนั สาคเู ปน็ พชื ทม่ี ศี กั ยภาพสามารถพัฒนาเปน็ พืชเศรษฐกิจได้เน่ืองจากแป้งที่ผลิตได้จากเหง้ามันสาคูเป็นแป้ง
ที่มีค่าดชั นนี า้ ตาลตา่ เหมาะสาหรบั ทาเปน็ อาหารเพ่ือสขุ ภาพ ปัจจบุ นั มีการเพาะปลูกมันสาคูในพ้ืนท่ีค่อนข้างจากัดและ
พบเห็นได้น้อยลง จึงได้นาเทคนิคการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือมาพัฒนาการขยายพันธุ์มันสาคูเพ่ือเป็นการสนับสนุนและ
ส่งเสริมการปลูกมันสาคู โดยศึกษาเทคนิคการฟอกฆ่าเช้ือโดยใช้หน่อต้นมันสาคูฟอกฆ่าเช้ือด้วยเอทานอล 70% นาน
10 วินาที และคลอรอกซ์ความเข้มข้น 20 เปอร์เซ็นต์ นาน 15 นาที ตามด้วยการฟอกด้วยคลอรอกซ์ความเข้มข้น 25
เปอร์เซ็นต์ นาน 5 นาที พบเนื้อเย่ือที่ปลอดการปนเป้ือนของเช้ือ 16.7 เปอร์เซ็นต์ แล้วทาการศึกษาสูตรอาหารท่ี
เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อเพ่ือชักนาการเกิดยอด โดยนาช้ินส่วนหน่ออ่อนที่มียอดความสูงประมาณ 2 ซม.
เล้ยี งบนอาหารสตู ร MS ที่เติมสารสารเบนซิลอะดนี ิน (BA) ความเข้มข้น 0, 1.5 และ 3.0 mg/l เล้ียงภายใต้สภาพแสง
ปกติและเลี้ยงภายใต้สภาพมืด พบว่ามันสาคูท่ีเลี้ยงภายใต้สภาพแสงปกติและสภาพมืดให้ผลไม่แตกต่างกัน แต่การ
เล้ียงบนอาหาร MS ที่เติมสาร BA มีแนวโน้มชักนาการเกิดยอดได้ และทาการศึกษาเพ่ิมปริมาณต้น โดยนาชิ้นส่วน
หน่ออ่อนท่ีมียอดความสูงประมาณ 2 ซม. เลี้ยงบนอาหารสูตร MS ท่ีเติมสารกรดแนพทาลีนแอซิติก (NAA) ความ
เข้มขน้ 0, 0.5 และ 1 mg/l ร่วมกับสารเบนซิลอะดีนิน (BA) ความเข้มข้น 0, 3.0 และ 6.0 mg/l พบว่ามันสาคูที่เลี้ยง
บนอาหาร MS ที่เติมสาร BA ความเข้มข้น 6.0 mg/l เพียงอย่างเดียวสามารถชักนาให้เกิดยอดสูงสุดเฉล่ีย 5.5 ยอด
ส่วนการเกิดรากพบว่ามนั สาคเู ล้ียงบนอาหาร MS ทไ่ี ม่เติมฮอรโ์ มนช่วยชักนาการเกิดรากสูงสุดเฉลี่ย 4.6 ราก และยาว
เฉลี่ย 4.49 เซนติเมตร นอกจากนี้ยังมีการศึกษาการย้ายออกปลูกในสภาพโรงเรือนโดยนาต้นมันสาคูท่ีมีการราก
สมบรู ณ์ปลูกในวัสดุปลูกดินผสม:กาบมะพร้าวสับ:ทราย อัตราส่วน 4:1:1 แล้วคลุมด้วยถุงพลาสติกเพ่ือรักษาความชื้น
ระวังไม่ให้ใบสัมผัสถุง ปรับความชื้นโดยเปิดปากถุงท่ีละน้อยวางไว้ในที่ร่ม พบว่าอัตราการรอด 100 เปอร์เซ็นต์
การศึกษาการชะลอการเจริญเติบโตต้นมันสาคู โดยใช้สูตรอาหารลดปริมาณ MS ได้แก่ MS, ½ MS และ ¼ MS
ร่วมกับการปรับปริมาณน้าตาลซูโครส (sucrose) 30, 45 และ 60 g/l พบว่าต้นมันสาคูใช้สูตรอาหาร ½ MS
เพาะเล้ยี งไดน้ านกว่าสูตรอ่ืนๆจะทาให้มีรอ้ ยละการรอดชวี ิตสงู ขึ้นเมื่อเล้ยี งเปน็ เวลานาน 5 เดอื น

ข้อมูลการวิจัยและพัฒนาเทคนิคการอนรุ กั ษ์เชื้อพันธุกรรมพืช

37

Abstract
Arrowroot is alternative crop with potential to be developed into an economic crop. Starch
produced from rhizomes of arrowroot is low glycemic index starch suitable for healthy food.
Currently, arrowroot was cultivated in a quite limited area. The study on shoot multiplication by in
vitro propagation technique was done in this research. The result showed that appropriate
sterilization for rhizome buds of arrowroot with 70% ethanol for 10 sec and 20% Clorox for 15 min
followed by 25% Clorox for 5 min. It was found that this sterilization method can prevent explants
from contamination up to 16.7%. Apart from sterilization technique, shoot multiplication was also
conducted in this research. The microplants from rhizome buds (~2 cm) were transferred to MS
medium supplemented with 0, 1.5 and 3.0 mg/l Benzyladenine (BA) in light and dark conditions.
Arrowroot cultured in light condition showed no difference with dark condition. In this study, MS
medium supplemented with BA tended to induced shoots. The micropropagation was also
conducted in this research. The microplants from rhizome buds (~2 cm) were transferred to MS
medium supplemented with 0, 0.5 and 1 mg/l Naphthalene acetic acid (NAA) and 0, 3.0, 6.0 mg/l
BA. The results showed that addition of 6.0 mg/l BA alone could induce the average number of
shoots of 5.5. The results demonstrated that MS alone could induce the number of root and root
length. They also suggested the MS without NAA and BA was the better medium for root induction.
It provided the average root number of 4.6 and average root length of 4.49 cm. The acclimatized
plants to healthy vigorous and get domesticated in greenhouse with soil: coconut husk chips: sand
(4: 1: 1) gave high survival rate up to 100%. Slow growth treatment improved percent survival and
extended subculture time without any effect on the tissue or plant viability. In vitro slow growth
was attempted by culturing on MS, ½ MS, and ¼ MS supplemented with 30, 45 and 60 g/l sucrose.
The plants could survive on ½ MS until 5 month and were still vigorous.

ขอ้ มลู การวิจัยและพัฒนาเทคนคิ การอนรุ ักษ์เช้ือพันธุกรรมพืช

38

การขยายพันธม์ุ นั ขีห้ นใู นสภาพปลอดเชื้อเพ่ือการอนุรกั ษ์
In Vitro Propagotion of Plectranthus rotundifolius for Conservation

บทคัดยอ่
มันข้ีหนูเป็นพืชท้องถิ่นทางภาพใต้ของประเทศไทย และเป็นล้มลุกฤดูเดียว นิยมนามาใช้ประกอบอาหาร
พ้ืนบ้านทางภาคใต้ และขยายพันธุ์โดยใช้หัว หัวถูกทาลายด้วยไส้เดือนฝอยในแปลงปลูก จึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือ
การศึกษาวิธกี ารขยายพันธ์ุ และการอนุรักษ์ในสภาพปลอดเชื้อ พบว่า มันข้ีหนูสามารถขยายเพิ่มปริมาณได้โดยการใช้
สว่ นของยอดมันขีห้ นใู นสภาพปลอดเชือ้ ได้ในอาหารสงั เคราะห์สตู ร MS+ IAA1มก./ล. + BA3มก./ล. หลังจากน้ันชักนาให้
เกดิ รากบนอาหารสตู รสงั เคราะห์ MS + IBA 2 มก./ล. (MSr) และการเก็บรกั ษามนั ข้ีหนูในสภาพปลอดเชื้อ (การชะลอ
การเจริญเติบโต) สามารถเก็บรักษาได้นานสูงสุด 6 เดือน อย่างมีนัยสาคัญย่ิงทางสถิติ แม้ไม่มีการ subculture เม่ือ
เล้ยี งบนอาหารสตู รสงั เคราะห์ ¼ MS + mannitol 10 ก./ล. และเม่ือนาช้ินส่วนสีเขียวกลับมาทดสอบอัตราการรอด
ชีวิตบนอาหารสูตรสังเคราะห์ MS + IAA 1 mg/l + BA 3 mg/l. ก่อนย้ายลงบนอาหารสูตรสังเคราะห์ MSr สามารถ
เจริญเติบโตไดต้ ามปกติ สามารถเจริญเติบโตได้

Abstract
Plectranthus rotundifolius is a plant native to southern Thailand, and a biennial for one
season. It is commonly used for cooking local dishes in the south and propagated by tubers. The
head being destroyed by nematodes, so this be the cause in propagated and the conservation. It
was found that the apex plant could be propagated by in vitro method with MS + IAA 1 mg/l + BA
3 mg/l. The roots induction were achieved in MS + IBA 2 mg/l (MSr). The result revealed that the
plants cultured on ¼ MS + mannitol 10 g/l could be conserved by in vitro for 6 months without a
subculture had the significantly highest. The green parts of those plantlets were tested their
survival rate to MS + IAA 1 mg/l + BA 3 mg/l followed on MSr. It showed that they were able to
grow normally.

ขอ้ มลู การวจิ ัยและพัฒนาเทคนิคการอนุรกั ษ์เชื้อพันธกุ รรมพชื

39

การอนุรักษ์ขิงพระพุทธบาท (Zingiber tenuiscapus) และตะไคร้พราน (Zingiber citriodorum) พืชถ่นิ เดียวของ
ไทยในสภาพปลอดเช้อื

In vitro conservation of Zingiber tenuiscapus and Zingiber citriodorum; an Endemic Species in
Thailand
บทคดั ยอ่

ขิงพระพุทธบาท (Zingiber tenuiscapus) และตะไคร้พราน (Zingiber citriodorum) เป็นพืชถิ่นเดียวของ
ไทยจัดอยู่ในวงศ์ขิง ซ่ึงท่ีมีขอบเขตการกระจายพันธ์ุจากัดในพื้นท่ีที่มีลักษณะเฉพาะ ในธรรมชาติขยายพันธ์ุโดยไม่
อาศัยเพศ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรพืชถน่ิ เดยี วจึงมคี วามจาเป็นอยา่ งย่งิ เพือ่ เก็บรกั ษาพรรณพืชท่ีหายากที่อาจมีศักยภาพ
ในเชิงเศรษฐกิจในอนาคต งานวิจัยน้ีได้ทาการศึกษาเพิ่มปริมาณต้นขิงพระพุทธบาทและตะไคร้พราน และการอนุรักษ์
ในสภาพปลอดเชอ้ื โดยใชส้ ารควบคุมการเจริญเติบโต (ออกซนิ และไซโตไคนนิ ) อาหารเพาะเลี้ยง (MS medium) และ
น้าตาลซูโครส ท่ีระดับความเข้มข้นต่างๆ พบว่าอาหารสูตร MS ท่ีสามารถชักนาให้เกิดยอดได้มากท่ีสุดสาหรับขิงพระ
พุทธบาทและตะไคร้พราน คือ อาหาร MS ที่เติม BA 3 มก./ล. และ อาหาร MS ที่เติม BA 3 มก./ล. ร่วมกับ NAA 1
มก./ล ตามลาดบั โดยสามารถชักนาให้เกิดยอดได้เฉลี่ย 20.9 และ 9ยอด/ช้ินส่วน ตามลาดับ เมื่อทาการเพาะเลื้ยงใน
อาหารเพื่อชะลอการเจริญเติบโต 12 สูตร พบว่าสูตรอาหารที่เหมาะสมสาหรับการชะลอการเจริญเติบโตของขิงพระ
พทุ ธบาท คอื ½ MS หรอื ¼ MS ทเ่ี ตมิ น้าตาลซูโครส 15 ก./ล. และสูตรท่ีเหมาะสมสาหรับชะลอการเจริญเติบโตของ
ตะไคร้พราน คือ ½ MS ท่ีเติมน้าตาลซูโครส 15 ก./ล. สามารถชะลอการเจริญเติบโตในสภาพปลอดเชื้อได้นาน
มากกวา่ 8 เดือน โดยไม่ต้องเปลยี่ นถ่ายอาหารใหม่

ข้อมลู การวิจัยและพฒั นาเทคนิคการอนรุ กั ษ์เช้ือพนั ธกุ รรมพชื

40

Abstract
Zingiber tenuiscapus and Zinigiber citriodorum are endemic species of Thailand, classified in
Zingiberaceae Family. Which found a limited distribution in a specific area. These species are
asexually propagated in the natural conditions. The conservation of endemic plant is therefore
essential to the preservation of rare plant that may have future economic viability. Therefore, this
research tried to apply tissue culture techniques to multiply and conserve these species. In vitro
multiplication and growth minimization of Z. tenuiscapus and Z. citriodorum were used various
concentrations of factors such as plant growth regulators (auxin and cytokinin), MS media and
sucrose. The results indicated that the highest shoot number of Z. tenuiscapus and Z. citriodorum
(20.9 and 9 shoots per explant) was obtained from MS medium supplemented with 3 mg/l BA and
MS medium supplemented with 3 mg/l BA and 1 mg/l NAA, respectively. ½ MS and ¼ MS, both
contained 15 g/l sucrose, were found as suitable media for in vitro growth minimization of Z.
tenuiscapus. And the suitable Medium for minimal growth of Z. citriodorum was ½ MS contained
15 g/l sucrose as they can be conserved for more than 8 months without subculture.

ขอ้ มูลการวิจยั และพฒั นาเทคนคิ การอนรุ ักษเ์ ชื้อพนั ธกุ รรมพืช

41

การอนุรักษ์พนั ธกุ รรมพืชสมุนไพร : ระย่อมน้อย (Rauvolfia serpentina (L.) Benth. Ex Kurz) ในสภาพปลอดเช้ือ
Conservation of Medicinal Plant : (Rauvolfia serpentina (L.) Benth.exKurz) on In Vitro
บทคดั ยอ่
ระย่อมน้อย (Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex Kurz) เป็นหน่ึงในพืชสมุนไพรที่สาคัญท่ีถูกจัดอยู่ใน

ประเภทที่ใกล้สูญพันธ์ุ เน่ืองจากส่วนรากของระย่อมน้อยมีสารสาคัญคือ reserpine และ phenolic compounds ที่
ช่วยในการรักษาโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น จึงมีการขุดต้นและรากเพ่ือนามาขายเป็น
สมุนไพรพื้นบ้าน ในขณะท่ีการขยายพันธ์ุในธรรมชาติค่อนข้างต่า ประกอบกับมีการเจริญเติบโตได้ในสภาพนิเวศน์ที่
ค่อนข้างจากัด งานวิจัยนี้จึงได้ทาการศึกษาการเพ่ิมปริมาณ และการอนุรักษ์ในสภาพปลอดเช้ือ พบว่าอาหารสูตร
MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l ยอดระยอ่ มน้อยจะเจรญิ เติบโตและแตกยอดดีที่สุดโดยชักนาใหเ้ กิดยอดเฉล่ีย 12.6
ยอด/ช้นิ ส่วน จากนัน้ ศึกษาการชะลอการเจริญเติบโตของระย่อมน้อยในสภาพปลอดเชื้อโดยใช้อาหารสูตร MS + IAA
0.1 ml/l + BA 3 ml/l เติมสารชะลอการเจริญเติบโตได้แก่ สารพาโคลบิวทราโซล (paclobutrazol, PBZ) และ
น้าตาลแมนนิทอล (mannitol) โดยวางแผนการทดลองแบบ 4x 4 factorial in CRD จานวน 3 ซ้า โดยปัจจัย A คือ
สาร PBZ 4 ความเขม้ ขน้ ได้แก่ 0, 5, 10 และ 15 มลิ ลิกรัมต่อลติ ร ปจั จัย Bคือ สาร mannitol 4 ความเข้มข้น คือ 0,
10, 20 และ 30 กรัมต่อลิตร รวม 16 กรรมวิธี สาหรับการชะลอการเจริญเติบโตในสภาพปลอดเช้ือของระย่อมน้อย
พบวา่ สามารถเพาะเลี้ยงไดน้ านถึง 4 เดอื น โดยไมต่ ้องเปลยี่ นถา่ ยอาหารใหม่

ขอ้ มลู การวจิ ยั และพัฒนาเทคนิคการอนรุ ักษ์เช้ือพนั ธกุ รรมพชื

42

บรรณำนกุ รม
กรมพัฒนาท่ดี นิ . มปป. ประวัตแิ ละความสาคญั ของถัว่ เหลือง สบื ค้นจาก

www.ldd.go.th/Lddwebsite/web_ord/Technical//P_Technical06028.pdf [2 พฤษภาคม2557]
กรมวิชาการเกษตร. 2548. กวาวเครือขาว-พืชมหัศจรรย์. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กรงุ เทพฯ. 41 หนา้ .
กรมวิชาการเกษตร. 2550. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ : โครงการวิจัยและพัฒนาการผลิตกวาวเครือขาว. กองทุน

สนบั สนุนงานวิจยั กรงุ เทพฯ. 166 หน้า.
กญั จนา ดีวิเศษ. 2542. ผกั พ้นื บา้ นภาคกลาง. โรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก, กรุงเทพฯ 280 หนา้ .
กาญจนา รุ่งรัชกานนท์ และอริยาภรณ์ พงษ์รัตน์. 2551. การเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือหนอนตายหยาก (Stemona

collinsae Craib.). วารสารวชิ าการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 10(2):1-13.
กุหลาบ สทิ ธสิ วนจกิ . 2553. แป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์: แป้งเพ่อื สขุ ภาพ. กา้ วทันโลกวิทยาศาสตร์, 10(2):70-77.
จวงจนั ทร์ ดวงพตั รา. 2521. เทคโนโลยขี องเมลด็ พนั ธุ์. กลุ่มหนังสอื เกษตร, กรุงเทพฯ. 210 น.
จวงจนั ทร์ ดวงพัตรา. 2529. การตรวจสอบและวเิ คราะห์คุณภาพเมล็ดพันธุ์. กลุ่มหนงั สือเกษตรกรุงเทพฯ. 9 น.
จวงจันทร์ ดวงพัตรา. 2529. เทคโนโลยเี มล็ดพันธ.์ุ กล่มุ หนังสือเกษตร. กรงุ เทพฯ.
ชนวัตร พึ่งนนทสกุล. 2554. คุณค่าของสมุนไพรไทยเพื่อชีวิตที่มีคุณค่า. สืบค้นจาก: http://www.yodsunthon

network.com. [22 ม.ี ค. 2562]
ชานิ (นามแฝง). 2556. การปลูกสาคู. นานาสาระเกษตร สืบค้นจาก: http://nanasarakaset.blogspot

.com/2013/04/blog-post.html. [20 เมษายน 2560].
ฎายิน ทัศนเสถียร. 2543. คุณสมบัติและการนาไปใช้ประโยชน์ของแป้งมันขี้หนู. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์

มหาบัณฑติ , บณั ฑิตวิทยาลยั ,มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
ธนากร วงษศา หนึ่งฤทัย จักรศรี และอนพุ ันธ์ กงบังเกดิ . 2564. ผลของความเข้มข้นสูตรอาหารร่วมกับน้าตาลซูโครส

ต่อการเก็บรักษาหน่ออ่อนกล้วยไข่กาแพงเพชรในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวยิ าลยั ราชภฏั อุดรธานี. 9(2) : 139-151.
ธนาภร รตธิ รรมธร. 2560. แปง้ ตา้ นทานการยอ่ ย. วารสารวทิ ยาศาสตรบ์ รู พา, 22(1): หน้า 166-176.
ธิดารัตน์ ทองแผ่ ทัศนี ขาวเนียม และ สมปอง เตชะโต. (2558). ผลของสูตรอาหารและสภาพวางเล้ียงต่อการชักนา
เอ็มบรโิ อเจนิคแคลลสั จากคัพภะอ่อนของปาล์มน้ามันพิสิเฟอรา (Elaeis guineensis Jacq. var. Pisifera).
วารสารพชื ศาสตร์สงขลานครินทร์. 2(2): 41-45.
นชุ จรี สงิ หพ์ นั ธ์ และ สรุ ีภรณ์ ยอดดี. 2563. การเจริญเติบโตของมันจาวพรา้ วในสภาพทาเทยี มความเข้มข้นของแมน
นทิ อลแตกตา่ งกนั . วารสารนเรศวรพะเยา 13(1) : 21-25.
บัวหลวง จ้อยปอย มณฑา วงศม์ ณีโรจน์ และภาณี ทองพานัก. 2542. เทคนิคการเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรมท่ีสาคัญของ
พชื ผัก และไม้ผลที่สาคัญทางเศรษฐกจิ ภายใต้สภาพเยน็ ยง่ิ ยวด.

ขอ้ มูลการวิจยั และพัฒนาเทคนิคการอนุรักษ์เช้ือพนั ธุกรรมพืช

43

บัวหลวง จ้อยปอย, ประเทือง ดอนสมไพร, มณฑา วงศ์มณีโรจน์ และภาณี ทองพานัก. 2542. การเก็บรักษาพันธุกรรม
พืชผักที่สาคัญทางเศรษฐกิจในสภาพเย็นย่ิงยวดในไนโตรเจนเหลว -196 องศาเซลเซียส. หน้า 240-241. ในรวม
บทคดั ย่อผลงานวิจัยของคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาไทย ในระหว่างปี 2540-2542. สานักงานปลัดกระทรวง
ทบวงมหาวทิ ยาลัย.

ปรชั ญา คงทวีเลิศ. 2560. มหศั จรรยง์ าดา. แหล่งที่มา:, 8 มิถนุ ายน 2560.
ปราณี แสนวงศ์. 2550. วิธีการทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธ์ุบวบหอม. แหล่งท่ีมา: www.agri.ubu.ac.th/

masterstu/docs/20080430-Pranee.doc, 15 มิ.ย. 2560
ปราโมทย์ ทิพย์ดวงตา, สุวรรณา เวชอภิกุล, สุนีย์ จันทร์สกาว และวิสินี จันทร์มหเสถียร. 2548. การศึกษา

เปรียบเทียบปริมาณสารองค์ประกอบสาคัญจากกวาวเครือขาวในช่วงเวลาต่างๆ. คณะเภสัชศาสตร์.
มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่: เชียงใหม.่
ปาจารีย์ อินทชุบ. 2551. พืชสกุลหนอนตายหยาก (Stemona Lour.) บางชนิดในประเทศไทย. วารสารข่าวศูนย์
ปฏิบตั ิการวจิ ยั และเรือนปลูกพชื ทดลอง. 22(2): 20-23.
แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564. 2560. สืบค้นจาก:
https://www.dtam.moph.go.th/images/download/dl0021/MasterPlanThaiherb.pdf. [22 ม.ี ค. 2562]
พนมกร ขุนอ่อน. 2550. การใช้น้าสกัดชีวภาพสมุนไพรหนอนตายหยากควบคุมหนอนแมลงวันบ้าน. วิทยานิพนธ์
ปริญญาโท. คณะพฒั นาสังคมและสิง่ แวดลอ้ ม, สถาบันบญั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร.์
พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ สุนทร ดุริยะประพันธ์ ทักษิณ อาชวาคม สายันต์ ตันพานิช ชลธิชา นิวาสประกฤติ และปรียา
นันท์ ศรสูงเนิน. 2544. PROSEA ทรพั ยากรพืชในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 9 พืชท่ีให้คาร์โบไฮเดรต
ที่ไม่ใช้เมล็ด. สถาบันวจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กรงุ เทพฯ. 299 หนา้ .
พืชเกษตร.คอม เว็บเพ่ือพืชเกษตรไทย. 2557. ต้นสาคู/สาคูไทย/ปาล์มสาคู/สาคูพุทธรักษา ประโยชน์ และสรรพคุณ
ตน้ สาค.ู พืชผัก/สมนุ ไพร. สืบคนจาก: http://puechkaset.com/ตน้ สาค/ู . [25 เมษายน 2560].
เพญ็ ศริ ิ วงษ์อาท. 2558. ถ่ัวดาวอินคา ปลูก 1 ไร่ ได้ 1 แสน. วารสารเศรษฐกิจการเกษตร. ปที ี่ 61 ฉบับท่ี 706. 60 น.
ไพบูลย์ ปะนาเส. 2551. ผลของสารกาจัดแมลงชีวภาพจากหนอนตายหยาก (Stemona curtisii Hook.f.) และสารภี
(Mammea siamensis Miq. T.) ต่อระดับอะซิทิลโคลีนเอสเทอเรสและกิจกรรมไลโซไซม์ในปลานิล
(Oreochromis niloticus). วทิ ยานพิ นธป์ ริญญาโท ภาคชวี วิทยา มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่.
ภัทร์พชิ ชา รจุ ิระพงศ์ชยั , ศริ พิ ร ซึงสนธพิ ร และ กาญจนา พฤกษพันธ์ .2556. สัณฐานวิทยาของเมล็ดวัชพืชวงศ์ผักโขม
Amaranthaceae (Seed Morphology of Amaranthaceae Weed). รายงานผลงานวิจัยประจาปี
๒๕๕๖ สานักวิจัยพฒั นาการอารกั ขาพชื . กรมวชิ าการเกษตร. น. 2083-2105.
ภาณี เตมีศักด์ิ, มณฑา วงศมณีโรจน, บัวหลวง ผันแปร และประเทือง ดอนสมไพร. 2542. การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์
และคพั ภะพชื ผักในสภาพเย็นยง่ิ ยวด. การประชมุ พันธศุ าสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 10 ณ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี
สุรนารี จ.นครราชสมี า.

ข้อมลู การวิจยั และพัฒนาเทคนิคการอนรุ กั ษเ์ ช้ือพันธกุ รรมพืช

44

ภาณี ทองพานัก, มณฑา วงศมณโี รจน, บัวหลวง จอยปอย และ พีระศักด์ิ ศรีนิเวศน. 2543. การเก็บรักษาพันธุกรรม
พืชพื้นบานในระยะยาวนานภายใตสภาพเย็นยิ่งยวด. ในการประชุมวิช าการเมล็ดพันธุแหงช าติ คร้ังท่ี 5.
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ กรงเทพฯ.

ภาณี ทองพานัก, มณฑา วงศมณีโรจน, บัวหลวง จอยปอย และพีระศักด์ิ ศรีนิเวศน. 2540ก. การเก็บรักษาเมล็ด
พันธุ์พืชภายใต้สภาพเย็นย่ิงยวด. รายงานวิจัยเบื้องต้น โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี งานเก็บรักษาพันธุกรรมพืช กิจกรรมปลูก
รักษา. ธนั วาคม 2540.

ภาณี ทองพานัก, มณฑา วงศมณีโรจน, บัวหลวง จอยปอย และพีระศักด์ิ ศรีนิเวศน. 2540ข. การเก็บรักษาเมล็ด
พันธุ์พืชภายใต้สภาพเย็นย่ิงยวด. การประชุมวิชาการครั้งท่ี 14 เร่ืองเทคนิคและวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ชีวภาพ. ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารวิจยั และเรอื นปลูกทดลอง, มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ นครปฐม.

ภาณี ทองพานัก, มณฑา วงศมณีโรจน, บัวหลวง จอยปอย และพีระศักดิ์ ศรีนิเวศน. 2541. การเก็บรักษาเมล็ด
พันธุ์ถ่ัวเหลืองและถ่ัวเหลืองฝักสดภายใต้สภาพเย็นยิ่งยวด. การประชุมถ่ัวเหลืองแห่งชาติ คร้ังที่ 7 ณ
มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช จ.นนทบุรี.

ภาณี ทองพานกั ประเทือง ดอนสมไพร มานะชัย ทองบญุ รอด เนตรชนก นุ้ยสี รุ่งอาสาฬหะ พัฒนธารา บัวหลวง พันแปร
และสุดใจ ลอ้ เจรญิ . 2549. ธนาคารพันธกุ รรมพชื 50 ปี แห่งการวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. การ
ประชมุ วิชาการทรพั ยากรไทย : สรรพสิ่งล้วนพนั เก่ยี ว (ภาคบรรยาย หนา้ 167 - 172)

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง. กรุงเทพฯ. 2540. 28
หน้า

เมฆ จันทรป์ ระยูร. 2541. ผักสวนครัว. โรงพมิ พไ์ ททรรศน,์ กรงุ เทพฯ. 144 หนา้ .
ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ และอัญชลี จาละ. 2557. อิทธิพลของ BA และ NAA ท่ีมีต่อการเพ่ิมจานวนยอดต้นพรมมิ โดยการ

เพาะเลย้ี งเนอื้ เยื่อ. Thai Journal of Science and Technology. 3 (1):7–14.
รังสฤษฎดิ์ กาวีต๊ะ. (2541). การเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือพืช: หลักการและเทคนิค . กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์

มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ 219 หน้า.
รงั สฤษดิ์ กาวีตะ๊ . 2540. การเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือพืช หลักการและเทคนิค. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 219

หน้า.
รุจน์ สุทธิศรี. 2547. สารเอสโตรเจนจากพืช (phyoestrogen). ภาควิชาเภสัชวิทยา. คณะเภสัชศาสตร์.จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลยั . กรงุ เทพมหานคร.
วราภรณ์ ภตู ะลุน. 2551. การเพาะเลีย้ งเนอ้ื เยอื่ พชื สมุนไพร: แนวทางการศึกษาเพื่อผลิตสารทุติยภูมิท่ีมีฤทธ์ิทางเภสัช

วิทยา, สานกั พิมพข์ อนแก่นพิมพ์พฒั นา, ขอนแก่น, 120 หนา้ .

ข้อมลู การวจิ ยั และพฒั นาเทคนคิ การอนุรักษเ์ ชื้อพันธุกรรมพชื

45

วันชัย จันทร์ประเสริฐ และ เสาวรี ตังสกุล. 2544. การเปลี่ยนแปลงความชื้นและความงอกในระหว่างเก็บรักษาของ

เมล็ดงา 3 พันธุ์ ภายใต้สภาพความช้ืนสัมพัทธ์ 4 ระดับ. หน้า 250-263. ใน : รายงานการประชุมวิชาการ

งา ทานตะวัน ละหุง่ และคาฝอยแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์

วนั ชัย จนั ทร์ประเสริฐ. 2538. สรรี วิทยาเมล็ดพนั ธ.ุ์ ภาควิชาพืชไรน่ า คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร,์ กรุงเทพฯ.

วนั ชัย จนั ทรป์ ระเสริฐ. 2542. เทคโนโลยีเมล็ดเชื้อพนั ธ์ุพชื ไร่. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์

วันดี กฤษณพันธ์, เอมอร โสมนะพันธุ์ และเสาวณี สุริยาภณานนท์. 2541. สมุนไพรในสวนครัว. เมดิคัล มีเดีย, กรุงเทพฯ.

295 หน้า.

วันดี รังสีวิจิตรประภา, ไชยวัฒน์ ไชยสุต, จินตนา นภาพร, นัทที พัชราวนิช และจารุวรรณ ธนวิรุฬห์. มปป. การ

พั ฒ น า ส า ร ส กั ด ถั่ ว เ ห ลื อ ง บ ร ร จุ แ ค ป ซู ล แ ล ะ ก า ร ก า ห น ด ข น า ด รั บ ป ร ะ ท า น สื บ ค้ น จ า ก

http://www.arda.or.th/kasetinfo/north/research_soybean/research_soybean 39.pdf

[3 พฤษภาคม 2557]

วัลลภ สันติประชา. 2550. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์. สงขลา: ภาควิชาพืชสาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่.

วิทย์ เทย่ี งบรู ณธรรม. 2542. พิมพ์ครง้ั ที่ 5. พจนานกุ รมสมุนไพรไทย. โรงพมิ พอ์ ักษรพิทยา, กรงุ เทพฯ. 880 หน้า.

วิทิต วัณนาวิบูล. 2552. หมอชาวบ้าน. บวบหอม. แหล่งท่ีมา: http://www.doctor. or.th/taxonomy/

term/4270, 4 ก.ย. 2552

วีระพล จันทร์สวรรค์ สถาพร จิตตปาลพงศ์ และนงนุช จันทราช. 2536. ประสิทธิภาพของสารสกัดจากหนอนตายห

ยากตอ่ เหบ็ โค. ว.เกษตรศาสตร์ (วทิ ย์.). 27:336-340.

วุฒิ วฒุ ธิ รรมเวช. 2552. ยอ่ เภสัชกรรมไทยและสรรพคุณสมุนไพร. พิมพ์คร้ังท่ี 3. ศิลป์สยายบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์,

กรุงเทพฯ. 224 น.

ศศิวิมล จันทร์สุเทพ. 2553. การผลิตสาร plumbagin จากการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือ hairy root ของเจตมูลเพลิงแดง

(Plumbago indica Linn.) ในฟลาสก์และถังปฏิกรณ์ชีวภาพ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท,

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศลั ยา คงสมบูรณเ์ วช. 2547. เซซามินกับสุขภาพ. วารสารโภชนบาบดั . 15(2). 98-105.

สนธิชัย จันทร์เปรม. 2548 การเก็บรักษาพืชวงศ์ขิงบางชนิดโดยการลดการเจริญเติบโตในสภาพปลอดเชื้อ. การ

ประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพส่ิงล้วนพันเกี่ยว ในการประชุมวิชาการประจาปี คร้ังท่ี 3. ณ อาคาร

ประชมุ 2 ศนู ยอ์ นุรกั ษพ์ ันธุกรรมพชื ฯ คลองไผ่. นครราชสีมา, 20-22 ตุลาคม พ.ศ. 2548 : 384-389.

สาวิตรี ณ นคร และรุจิพร จาระพงศ์. 2541. การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ (ออนไลน์ 18 มีนาคม 2541) สืบค้นจาก:

http://www.doea.go.th/LIBRARY/html/detail/Seed/MainSeed.html. [ส.ค.2562]

สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2558. สถิติการค้าสินค้าเกษตรไทยกับต่างประเทศปี 2558. สืบค้นจาก :

http://www.oae.go.th/main.php?filename=journal_all [เม.ย. 2560].

ขอ้ มลู การวจิ ยั และพฒั นาเทคนคิ การอนรุ กั ษ์เช้ือพันธุกรรมพชื

46

สุชาดา บุญญเลิศนิรันตร์. 2542. เอกสารประกอบการสอนวิชา 03-43-302 พืชน้ามัน (oil crop). สถาบันวิจัยและ
ฝกึ อบรมการเกษตรลาปาง. สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคลกระทรวงศึกษาธกิ าร. ลาปาง. 211 น.

สุภาณี พิมพ์สมาน, รัตนาภรณ์ พรหมศรัทธา และสังวาล สมบูรณ์. 2546. สารสกัดจากหนอนตายหยาก (Stemona
spp.) เพ่ือการควบคุมแมลงศัตรูพืช. สืบค้นจาก : http://plantpro.doae.go.th/insectpest_ research/A-
14-pdf.

สภุ าภรณ์ ภัทรสุทธิ, นพรัตน์ หยดี จันทร์ และ ดวงจันทร์ ภูเขียวศักดิ์. 2546ก. การศึกษาส่วนประกอบทางโภชนาการ
และลักษณะกายภาพบางประการของพืชหัวพ้ืนเมือง. การประชุมวิชาการ กองพฤกษศาสตร์และวัชพืช
กรมวิชาการเกษตร ประจาปี 2542 เรื่อง ความก้าวหน้าด้านพฤกษศาสตร์สมุนไพร และวัชพืช: 9-10
มนี าคม 2542 : หน้า 17-18.

สมุ นา นีระ, ปรชี า นีระ และ วชริ ะ เกตุเพชร. 2548. การขยายพนั ธ์ุสมุนไพรหนอนตายหยากโดยเทคนิคการเพาะเลี้ยง
เน้ือเยื่อ. ใน การประชุมวชิ าการทรพั ยากรไทย: สรรพสง่ิ ลว้ นพนั เก่ียว (ภาคโปสเตอร์) ระหว่างวันท่ี 20-22
ตุลาคม 2548, หนา้ 289-294.

สุมติ รา จนั ทร์เงา. 2556. หวนคืนสวู่ ัยเยาว์ กับ “สาควู ลิ าส”. คนรกั ผัก. มติชนเทคโนโลยีชาวบ้าน 26(563) : 78.
สุรพล นธการกิจกุล. 2556. การพัฒนาห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมสมุนไพรไทย เพื่อเตรียมการรวมตัวเป็นประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC). วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
1(2):13-24.
ไสว พงษ์เก่า และโสภณ สินธุประมา. 2523. สาคู. ใน: สารนุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ใน
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั . เลม่ ที่ 5 เรอื่ งท่ี 5 พชื หัว.: 177-181.
อนุพันธ์ กงบงั เกดิ และ วรี ะชน ยานะฝ่นั . 2005. ผลของแสง นา้ ตาล และสารชะลอการเจริญเติบโตต่อการชักนาการ
เกดิ เหงา้ จว๋ิ ของขมนิ้ ชนั ในหลอดทดลอง. NU Science Journal 2(1): 73-86.
อภฤิ ทธิ์ จิตใจงาม. 2551. ผลของสารสกดั จากหนอนตายหยาก (Stemona curtisii Hook. F.) ต่อการสืบพันธ์ุของหนู
ขาวเพศผ.ู้ วิทยานพิ นธ์ปริญญาโท สาขาชวี วทิ ยา มหาวิทยาลยั เชียงใหม.่
อรดี สหวัชรินทร์. 2539. หลักการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:
กรุงเทพฯ . 73 หนา้ .
อาพล ไมตรีเวช. 2548. โครงการวิจัยและพัฒนานโยบายและกลยุทธ์ในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์สมุนไพรในเชิงพาณิชย์.
เอกสารประกอบการนาเสนอตอ่ คณะกรรมการ สภาวจิ ัยแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช นาเสนอ
วันที่ 4 ตุลาคม 2548. สืบค้นจาก: http://www1.nrct.go.th/downloads/041005 ampol.pp. [22
มี.ค. 2562]
อุดมวิทย์ ไวทยการ กัญญารัตน์ จาปาทอง และเถลิงศักด์ วีระวุฒิ. 2557. ดาวอินคาพืชมหัสจรรย์สุดยอดโภชนาการ
ใน จดหมายข่าวผลใิ บ ปีที่ 11 เดอื นพฤศจกิ ายน 2557

ข้อมูลการวจิ ัยและพัฒนาเทคนิคการอนรุ ักษเ์ ช้ือพันธุกรรมพชื

47

Abdelmageed, A.H.A., Q.Z. Faridah, F.M.A. Norhana, A.A. Julia and A.K. Midhzar. 2011.
Micropropagation of Etlingera elatior (Zingiberaceae) by using axillary bud explants.
Journal of Medicinal Plants Research. 5(18): 4465-4469.

Adebisi, M.A., J.A. Ola, D.A.C. Zkintabi and O. Daniel. 2008. Storage life sesame (Sesamum indicum L.)
seeds under humid tropical conditions. Seed Science and Technology. 36: 379-387.

Alla, B. and M. Nina. 2012. Seed Cryopreservation of Some Medicinal Legumes. Jounal of
Botany.V.2012, Article ID 186891, 7 p.

Amanda Ávila Cardoso, Amana de Magalhães Matos Obolari, Eduardo Euclydes de Lima e Borges,
Cristiane Jovelina da Silva and Haroldo Silva Rodrigues. 2015. Environmental factors on
seed germination, seedling survival and initial growth of sacha inchi (Plukenetia volubilis
L.). J. Seed Sci. [online]. 2015, vol.37, n.2, pp.111-116.

Andini R., Yoshida S., Yoshida Y., Ohsawa R.O. 2013, Amaranthus genetic resources in Indonesia:
Morphological and protein content assessment in comparison with worldwide amaranths. Gen.
Resour. Crop Evol. Retrieved October 10 2020, from: http://link.springer.com/
content/pdf/10.1007%2Fs10722-013-9979-y.pdf

Animesh, B., M. A. Bari, M. Roy and S. K. Bhadra. 2011. In vitro Propagation of Stemona tuberosa
Lour. – A Rare Medicinal Plant through High Frequency Shoot Multiplication using Nodal
Explants. Plant Tissue Cult. & Biotech. 21(2):151-159.

Antonieta NS. 2002 Tropical seed species responses to liquid nitrogen exposure. Braz J. Plant
Physiol. 14(2) May/Aug.

AVRDC. 2004. AVRDC Report 2003. AVRDC Publication Number 04-599. Shanhua, Taiwan: AVRDC-The
World Vegetable Center. 194 pp.

Baird, M.C., S.G. Pyne, A.T. Ung, W. Lie, T. Sastraruji, A. Jatisatienr, C. Jatisatienr, S. Dheeranupattana, J.
Lowlam and S. Boonchalermkit. 2009. Semisynthesis and biological activity of stemofoline
alkaloids. Jaurnal of Natural Product. 72:679-684.

Bartolini J.S., Hampton J.G. 1989. GRAIN AMARANTH· SEED DEVELOPMENT, YIELD AND QUALITY.
Proceedings Agronomy Society NZ, Seed Technology Centre Massey University Palmerston
North. 55-61.

Berjak P. and Pammenter N. W. 2008. From Avicennia to Zizania: seed recalcitrance in perspective. Ann.
Bot.-London 101, p. 213–228.

ข้อมูลการวิจยั และพฒั นาเทคนคิ การอนุรักษ์เชื้อพนั ธุกรรมพชื

48

Bewly, J.D. and M. Black.1978. Physiology and Biochemistry of seed in relation to Germination
Springer-Verlag. New York. 306 p.

Borchani C., S. Besbes, C. H. Blecker and H. Attia. 2010. Chemical Characteristics and Oxidative
Stability of Sesame Seed, Sesame Paste, and Olive Oils. Journal of Agriculture, Science and
Technology. 12: 585-596.

Bown, D. 1995. Encyclopaedia of Herbs and their Uses Dorling Kindersley, London. 424 p.
Cardoso A.A., Obolari A.M.M, Silva C.J. and Rodrigues H.S. 2015. Environmental factors on seed

germination, seedling survival and initial growth of sacha inchi (Plukenetia volubilis L.).
Journal of Seed Science, v.37, n.2, p.111-116
Casiraghi M., Labra M., Ferri E., Galimberti A. and Mattia DF. 2010. DNA barcoding: a six-question tour to
improve users’ awareness about the method. Briefings in Bioinformatics 11: 440-453.
Chang, C.L., C. S. Lin and G. H. Lai. 2012. Phytochemical Characteristics, Free Radical Scavenging
Activities, and Neuroprotection of Five Medicinal Plant Extracts. Evidence-Based
Complementary and Alternative Medicine. Volume 2012, Article ID 984295, 8 pages.
Charoensub, R. and S. Phansiri. 2004. In vitro conservation of rose coloured leadwort: Effect of
mannitol on growth plantlets. Kasetsart J. (Nat. Sci.) 38: 97-102.
Chen, X., Wang, Z., Yang, Z., Wang, J., Xu, Y., Tan, R.X., et al.. 2011. Houttuynia cordata blocks HSV
infection through inhibition of NF-kB activation. Antiviral Res. 92:341-345.
Chmielarz, P. 2009. Cryopreservation of dormant European ash (Fraxinus excelsior) orthodox seeds.
Tree Physiology. 29(10): 1279-1285.
Chmielarz, P. 2010. Cryopreservation of conditionally dormant orthodox seeds of Betula pendula.
Acta Physiol Plant. 32: 591-596.
Christine, S. and L.K. Chan. 2007. Micropropagation of Curcuma zedoaria Roscoe and Zingiber
zerumbet Smith. 2007. Biotechnology. 6(4): 555-560.
Clark, D.C.and L.N. Bass, 1975, Effect of storage Conditions packaginge materials and moisture
content on longevity of crimson clover seed. Crop.Sci. 15(4): 577-580.
Coelho, S. V. B., Rosa, S. D. V. F. and Fernandes, J. S. 2017. Seed Sci. & Technol., 45, 3, 1-12. Retrieved
January 19, 2022, from https://doi.org/10.15258/sst.2017.45.3.15
Copeland, L. O and McDonald, M. D. 1995. Seed longevity and deterioration. Seed Science and
Technology (3): 191-219

ข้อมลู การวิจัยและพฒั นาเทคนคิ การอนุรกั ษ์เชื้อพันธุกรรมพืช

49

Copeland, L.O. and McDonald, M.B. 1985. Principles of Seed Science and Technology. Burgess
Publishing Company. Minnosota. 369P.

Daquinta M., Brown, K., Teixeira da Silva, J.A. and F. Sagarra. 2009. In vitro propagation of arrowroot
(Maranta arundinacea L.). International Journal of Plant Developmental Biology. 3(1): 15-
17.

David Morton Webb. 1985. Seed germination and seedling emergence in Amaranthus spp. thesis
submitted in partial fulfillment of the requirements for the degree of Master of Science in
Agronomy. Montana State University, Retrieved October 19 2020, from:
http://scholarworks.montana.edu/xmlui/bitstream/handle/1/6292/31762100209194.pdf?se
quence=1.

Delouche, JC. And C.C. Baskin. 1973. Accelerated aging technique for predicting the relative
storability of seed lots. Seed Science. and Technology. 1:427-452.

Denise C.L., S.D. Alek and M.C. Juliana. 2014. Physiological quality of sesame seeds during storage.
Artigo Cientifico. 45: 138-145.

Divakaran, M., K.N. Babu and K.V. Peter. 2006. Conservation of Vanilla species, in vitro. Scientia
Horticulturae. 110: 175-180.

Dussert, S., Charbrillange, N., Engelmann, F., Anthony, F. and Hamon, S. 1997. Cryopreservation of coffee
(Coffea Arabica L.) seeds: Importance of the precooling temperature. Cryo-Letters (18):
269-276

Ebert, A. W., Drummond, E. B. M., Giovannini, P. and Zonneveld, M. V. 2021. A Global Conservation
Strategy for Crops in the Cucurbitaceae Family. Global Crop Diversity Trust. Bonn. Germany.
147 p.

Ebrahim, M.K.H. and I.A. Ibrahim. 2000. Influence of medium solidification and pH value on in vitro
propagation of Maranta leuconeura cv. Kerchoviana. Scientia Horticulturae 86: 211-221.

Elleuch M., S. Besbes, O. Roiseux, C. Blecker and H. Attia. 2007. Quality characteristics of sesame seeds
and by-products. Food Chem .103(2): 641-650.

Ellis R.H., Hong T.D. and Roberts E.H. 1985. Handbook of seed Technology for Genebanks. vol.1 Principle
and Methodology. Internation Board for Plant Genetic Resources, Rome. 210 p.

Engelmann F. 1997. Present Development and Use of in vitro Culture Techniques for the
Conservation of Plant Genetic Resources. Acta Hort. 447: 471-475.

ข้อมลู การวิจยั และพฒั นาเทคนิคการอนรุ กั ษ์เช้ือพันธุกรรมพืช


Click to View FlipBook Version