The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารฉบับบนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการองค์ความรู้ สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by doagenebank.thailand, 2022-03-23 03:16:33

หนังสือเทคนิคการอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมพืช

เอกสารฉบับบนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการองค์ความรู้ สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร

คำนำ
การอนรุ ักษ์พนั ธุกรรมพชื เปน็ ประเดน็ สาคญั ระดับโลก องค์การสหประชาชาติจัดทาเป้าหมายเพื่อการพัฒนาท่ี
ยัง่ ยืน (Sustainable Development Goals- SDG) ในขอ้ 2 ขจัดความหวิ โหยบรรลคุ วามม่นั คงทางอาหาร 2.5 ความ
หลากหลายทางพนั ธกุ รรมของเช้ือพันธพุ์ ชื ความสาคญั ของธนาคารเช้อื พันธ์ุพชื กรมวิชาการเกษตร ดังน้ันกรมวิชาการ
เกษตรจึงได้ดาเนินงานแผนงานวิจัยย่อยการอนุรักษ์ความหลากหลายของทรัพยากรพันธุกรรมพืชในปี 2559-2564
โดยธนาคารเช้ือพันธ์ุพืชกรมวิชาการเกษตร จัดตั้งข้ึนในปี 2545 โดยสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระราชทานพระราชานุญาติให้อัญเชิญพระนามาภิไธยนามอาคารว่า “อาคาร
ทรัพยากรพันธุกรรมพืชสิรินธร” และให้อัญเชิญอักษรพระนามาภิไธย “สธ” ประดิษฐานเหนือช่ืออาคารทรัพยากร
พนั ธกุ รรมพชื สริ ินธร ในวนั ที่ 9 กันยายน 2545 ดาเนินการโดยกลุ่มวิจัยพัฒนาธนาคารเช้ือพันธุ์พืชฯ สานักวิจัยพัฒนา
เทคโนโลยีชีวภาพ ปัจจุบันอนุรักษ์เมล็ดพันธ์ุพืชจานวนมากกว่า 32,977 ตัวอย่างพันธุ์ มีห้องอนุรักษ์ระยะปานกลาง
(5๐C) ความชื้นสัมพัทธ์ 60% ขนาด 86 ตรม. สูง 24 เมตร มีศักยภาพเก็บรักษา 150,000 ตัวอย่าง ห้องนี้มีระบบ
จัดเก็บอัตโนมัติมีกาหนดในการปลูกฟ้ืนฟูทุก 5-10 ปี และห้องอนุรักษ์ระยะยาว (-10๐C) มีศักยภาพการเก็บรักษา
40,000 ตัวอย่าง ขนาดห้อง 76 ตรม. สามารถเก็บได้นานกว่า 50 ปี มีห้องลดความช้ืน (25๐C, %RH 15%) สามารถ
ลดความช้นื โดยไมใ่ ช้ความรอ้ น ด้วยเหตุนี้การศึกษาเทคนิคในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชให้มีความเหมาะสมต่อชนิดพืช
นั้นจึงมบี ทบาทสาคญั ทีจ่ ะปกปอ้ งและลดการสูญเสียดงั กลา่ ว ตลอดจนเปน็ การจดั การฐานพันธกุ รรมของประเทศต่อไป
โดยโครงการวิจัยนปี้ ระกอบด้วย 2 กิจกรรม เป็นการศึกษาการอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมพืชในรูปแบบการเก็บรักษาเมล็ด
พันธ์ุสาหรับพืชประเภท orthodox seed หรือเมล็ดที่สามารถลดความช้ืนภายในเมล็ดให้ต่าได้โดยไม่มีผลต่อความมี
ชีวิตของเมล็ด ชนิดพืชประเภทน้ีจะทาการศึกษาการอนุรักษ์ในสภาพเมล็ดพันธุ์ ส่วนพืชประเภท recalcitrant seed
หรือ เมล็ดท่ีไม่สามารถทาให้แห้งและเก็บไว้ที่อุณหภูมิต่าได้ นอกจากน้ีช้ินส่วนเน้ือเยื่อเจริญอื่นๆ เช่น ตายอด ตาข้าง
ทส่ี ามารถทาการอนรุ กั ษ์ในสภาพปลอดเชือ้ เพอื่ การนามาใชต้ ่อยอดหรือใช้ประโยชน์จากทรัพยากรอย่างย่ังยืนต่อไปใน
อนาคต

1

กติ ติกรรมประกำศ
โครงการวิจัยและพัฒนาเทคนิคการอนุรักษ์เช้ือพันธุกรรมพืช ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญด้านอนุรักษ์พันธุกรรม
ผชช.ขนิษฐา วงศ์วัฒนารัตน์ หัวหน้าการทดลองทุกท่าน ผู้ร่วมวิจัย คณะทางาน และเจ้าหน้าท่ีทุกท่านของกลุ่มวิจัย
พัฒนาธนาคารเชื้อพันธุ์พืชและจุลินทรีย์ สานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ ผู้อานวยการสานักวิจัยพัฒนา
เทคโนโลยีชีวภาพ และหน่วยงานภายนอกทุกหน่วยงาน ที่มีส่วนสนับสนุนในการดาเนินงานโครงการวิจัยน้ีให้สาเร็จ
ลุล่วงเป็นอย่างดียิ่ง คณะวิจัยหวังว่าโครงการวิจัยนี้สามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการต่อยอดด้านอนุรักษ์
พันธุกรรมพชื ในสภาพนอกธรรมชาติ (ex situ condition) ตอ่ ไป

กัญญาภรณ์ พพิ ธิ แสงจันทร์
หัวหนา้ โครงการวิจัย

2

สำรบัญ หน้ำ
1
คานา 2
กิตติกรรมประกาศ 3
สารบัญ
เทคนิคการอนุรกั ษ์ในสภาพเมล็ด 5
10
เทคนิคการเก็บรักษาเมล็ดดาวอินคา (Plukenetia volubilis L.) ในธนาคารเช้อื พนั ธุ์พืช 17
เทคนคิ การเกบ็ รักษาเมล็ดพันธ์บุ วบหอมในสภาพเยือกแขง็ 23
เทคนิคการอนุรกั ษ์เมล็ดพันธุ์งาในสภาพเยอื กแข็ง
เเทคนิคการเกบ็ รกั ษาเมลด็ ผักโขม (Amaranthus spp.) ในธนาคารเช้อื พันธ์ุพืช 28
เทคนิคการอนุรักษ์ในสภาพปลอดเช้ือ 33
การขยายพนั ธุ์มันสาคู (Maranta arundinacea L.) ในสภาพปลอดเช้อื เพื่อการอนรุ กั ษ์ 38
เทคนคิ การอนรุ กั ษม์ ันข้ีหนูในสภาพปลอดเชอ้ื
เทคนิคการอนุรักษ์ขิงพระพุทธบาท (Zingiber tenuiscapus) และตะไคร้พราน 43
(Zingiber citriodorum) พชื ถ่นิ เดยี วของไทยในสภาพปลอดเชือ้
เทคนิคการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช สมุนไพร: ระย่อมน้อย (Rauvolfia serpentina (L.) 50
Benth.exKurz) ในสภาพปลอดเช้อื
เอกสารอา้ งอิง

3

เทคนคิ กำรอนรุ ักษ์ในสภำพเมลด็

4

เทคนิคกำรเกบ็ รกั ษำเมลด็ ดำวอินคำ (Plukenetia volubilis L.) ในธนำคำรเช้อื พนั ธ์พุ ืช

ควำมรทู้ ่ัวไปเกยี่ วกบั ดำวอนิ คำ

ดาวอินคา เปน็ พชื วงศ์ Euphorbiaceae เชน่ เดยี วกบั ยางพารา สบู่ดา หรือมันสาปะหลัง ชื่อวิทยาศาสตร์คือ
Plukenetia volubilis L. มชี อ่ื สามญั ว่า sacha inchi, sacha peanut, mountain peanut, supua หรอื Inca peanut

ลักษณะท่ัวไป ดาวอินคาเป็นไม้เถาทรงพุ่ม เจริญเติบโตสูง 2 - 3 เมตร เป็นพืชที่ต้องการแสงแดดและความชื้น
สูง เปน็ ใบเด่ียว เรยี งสลับ รูปหัวใจ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบตรงถึงรูปหัวใจ ขอบใบจักฟันเล่ือย ใบยาว 10 – 12 ซม.
กวา้ ง 8 – 10 ซม. กา้ นใบยาว 2 – 6 ซม. เร่มิ ออกดอกเม่อื อายุ 5 เดอื นหลงั จากปลูก และติดเมล็ดเมื่ออายุ 8 เดือน ดอก
ช่อแบบช่อกระจะ (raceme) ดอกแยกเพศอยบู่ นต้นเดยี วกนั ดอกเพศผู้ขนาดเล็ก สีขาว เรียงเป็นกระจุกตลอดความยาว
ช่อ ดอกเพศเมีย 2 ดอก อยู่ท่ีโคนช่อดอก มีผลเป็นแบบแคปซูล เส้นผ่าศูนย์กลาง 3 – 5 ซม. มี 4 – 7 แฉก ผลอ่อนสี
เขยี ว และสจี ะเขม้ ข้นึ ตามอายุ ผลแก่มีสีน้าตาลดา มีเนื้อนุ่มๆ สีดา คือเปลือกท่ีครอบคลุมเมล็ดใน 3 ช้ัน 1 ฝักมีเมล็ด 3
- 7 เมลด็ เมล็ดรปู ไข่ สีนา้ ตาลดา ขนาดกวา้ ง 1.7 – 1.8 ซม. ยาว 2.0 – 2.2 ซม. เมลด็ หนัก 1.3 - 1.7 กรัม

เป็นพืชเฉพาะถ่ินในป่าอะเมซอน แถบประเทศเปรู เติบโตในสภาพอากาศอุ่น (10 องศาเซลเซียส - 36 องศา
เซลเซยี ส) จะเจรญิ เติบโตในระดับความสูงตั้งแต่ 100 เมตร ถึง 2000 เมตร จากระดับน้าทะเล ช่วงชีวิต มีอายุถึง 10-
50 ปี และเชื่อกันว่าพืชชนิดน้ีมีอายุมากกว่า 3000 ปี การกระจายพันธุ์เร่ิมจากจีนได้นาเมล็ดพันธ์ุมาขยายเพ่ิมเติม
ให้แก่หลายประเทศ รวมทั้งไทยเราด้วย เป็นท่ีรู้จักในประเทศไทยไม่เกิน 5 ปี โดยเริ่มปลูกที่จังหวัดหนองคาย และ
กระจายไปสู่ภูมิภาคต่างๆ ภาคเหนือท่ีจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ น่าน และ สุโขทัย ภาคอีสานที่จังหวัดขอนแก่น เลย
และชัยภูมิ นอกจากน้ียังขยายลงมาปลูกในหลายจังหวัดในภาคกลางและภาคตะวันตก อาทิ นครสวรรค์ ชัยนาท

5

กาแพงเพชร เพชรบูรณ์ ลพบุรี นครปฐม ราชบุรี และเพชรบุรี ภาคตะวันออกท่ีจังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด
และภาคใตท้ จ่ี งั หวัดชมุ พร (อดุ มวิทย์ และคณะ, 2557)
องคป์ ระกอบทำงเคมี และคุณประโยชน์

ด้วยน้ามันจากเมลด็ ดาวอินคา เป็นน้ามันท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการสูง และเป็นที่นิยมมากข้ึน เนื่องจากมีกรด
ไขมันที่จาเป็นในปริมาณสูง น้ามันมีกล่ินหอม อ่อนๆ รสไม่ขม และเมล็ดดาวอินคาก็มีการทาเป็นขนมขบเค้ียว
เนือ่ งจากโปรตีนสูงถึง 27 เปอรเ์ ซ็นต์ และน้ามัน สูงถึง 54 เปอร์เซ็นต์ (Hamaker et al., 1992) มีปริมาณกรดไขมัน
ไม่อิ่มตัวโอเมก้า 3 สูงถึง 45 – 63 เปอร์เซ็นต์ ชนิดกรดอัลฟาลิโนเลนิก (alpha-linolenic acid) ซึ่งเป็นกรดไขมันจา
เป็นที่ร่างกายต้องการ ในปริมาณท่ีสูงกว่ากรดไขมันโอเมก้า 6 โอเมก้า 6 สูง 34 – 39 เปอร์เซ็นต์ คือกรดลิโนเลอิก
(linoleic acid) และโอเมกา้ 9 สูง 6 – 10 เปอร์เซ็นต์ โดยไม่พบกรดไขมันไม่อิ่ม (Follegatti-Romero et al., 2009)
นอกจากนยี้ ังประกอบด้วยไอโอดีน วติ ามินเอ และวิตามินอี (Fanali et al., 2011) เน่ืองจากคุณสมบัติดังกล่าว มนุษย์
จึงนานา้ มันและโปรตนี จากเมลด็ ดาวอนิ คามาบริโภคเปน็ นา้ มนั ประกอบอาหารทาน้าสลัด

นอกจากนี้ทุกส่วนของต้นดาวอินคาสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ ยอดใบอ่อน และผลอ่อน สามารถนาไป
ประกอบอาหารเชน่ ผัดแบบผักบงุ้ ไฟแดง หรอื นาไปทาแกงเลียงกไ็ ด้

ใบของต้นดาวอินคา โดยเฉพาะใบที่ยังไม่แก่มากนามาหั่นแล้วผ่ึงแดด 1–2 แดด นาไปต้มดื่มเป็นน้าชา
สามารถลดนา้ ตาล และไขมนั ในเสน้ เลือด หรือนาไปสกดั เป็นนา้ คลอโรฟลิ ล์

และเมลด็ ดาวอนิ คาทาเปน็ ขนมขบเคย้ี ว จากการศกึ ษาวิจัยของภาควิชาโภชนาวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล พบวา่ สามารถนากากดาวอนิ คาท่ีเหลือจากการสกดั น้ามันไปพัฒนาเป็นคุกกี้และผลิตภัณฑ์ขนมขบ
เค้ียวชนิดและนาดาวอินคามาค่วั บรรจุถุงออกสูท่ อ้ งตลาด

6

การใช้เป็นยารักษาโรค ช่วยลดคลอเลสเตอรอล ป้องกันการแข็งตัวของเลือด ลดความเส่ียงในการเกิด
โรคหวั ใจ โรคความดันโลหติ สงู ชว่ ยลดไตรกลีเซอไรด์ ปอ้ งกันการเกิดโรคเบาหวาน ลดนา้ หนกั ควบคุมระดับน้าตาลใน
เลือด ต้านการอกั เสบ โรคมะเรง็ และโรคขอ้ อักเสบ (Gogus and Smit, 2010)

และเครื่องสาอางน้ามันจากเมล็ดดาวอินคา มีท้ังรูปแบบที่บรรจุแคปซูล และบรรจุขวด ทาผลิตภัณฑ์เสริม
ความงามและ อาหารเสริมเช่น โฟมล้างหน้า สบู่ ครีมบารุงผิว โลช่ัน ที่ปัจจุบันมีความต้องการสูง เม่ือเหลือจาการ
บริโภคสามารถนาไปผลิตน้ามันไบโอดีเซลได้ กากเมล็ดและเปลือก นาไปทาเป็นปุ๋ยอินทรีย์ หรือเช้ือเพลิงอัดแท่ง
(Zaccheria et al., 2012)

เทคนคิ กำรอนรุ ักษ์
ธนาคารเช้ือพันธ์ุพืชจึงได้มุ่งทาการศึกษาถึงปัจจัยหลักทีมีผลต่อการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุดาวอินคาภายใต้

สภาพการเกบ็ รักษาในธนาคารเช้ือพันธุพ์ ชื ใหม้ ีอายกุ ารเกบ็ รักษายาวนานท่ีสุดเพื่อการนาไปใช้ประโยชน์เป็นแหล่งของ
ฐานพนั ธุกรรมดาวอินคาต่อไป จากการศึกษาเม่ือทาการเก็บเมล็ดดาวอินคาในสภาพห้องได้แก่ อุณหภูมิการเก็บรักษา
ที่อุณหภูมิห้องอุณหภูมิห้อง (25±2 °C, ความชื้นสัมพัทธ์ 80±5 %) อุณหภูมิห้อง 5 องศาเซลเซียส และ-10 องศา
เซลเซียส ศกึ ษาระดบั ความชื้นในเมล็ดพันธุ์ 4 ระดบั คอื 18(ความช้ืนเร่มิ ตน้ ), 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ เป็นระยะเวลา
28 เดอื น อตั ราเปอร์เซ็นต์ความงอกจากการทดสอบความมีชีวติ ของเมลด็ เชอ้ื พันธ์ุดาวอินคา และเปอร์เซ็นต์ความงอก
จากการทดสอบความแขง็ แรงของเมลด็ เชอ้ื พันธุ์ดาวอนิ คาทผ่ี ่านการลดความชนื้ เมลด็ พนั ธ์ใุ นระดับต่างๆ เพื่อเก็บรักษา
ในท่ีสภาพห้องต่างๆ น้นั มอี ัตราลดลงเมอื่ ระยะการเกบ็ รักษาเพิม่ ข้ัน

โดยเมล็ดเช้ือพันธ์ุดาวอินคาที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง (25±2 °C, ความชื้นสัมพัทธ์ 80±5 %) ความช้ืนในเมล็ด
เช้ือพันธุ์เร่ิมต้น 18 เปอร์เซ็นต์ สามารถเก็บรักษาเมล็ดเชื้อพันธุ์ได้ถึง 28 เดือน โดยเมล็ดเชื้อพันธ์ุยังคงความมีชีวิตอยู่ได้
จากความงอกเร่ิมต้น 94 เปอร์เซ็นต์ มีความงอกเหลือเพียง 19 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่เมล็ดเชื้อพันธ์ุท่ีผ่านการลดความชื้น
เหลอื 8, 6, และ 4 เปอร์เซน็ ต์ มคี วามงอกเหลือเพียง 25, 41 และ 49 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ และมีแนวโนม้ ลดลง

เมลด็ เช้ือพนั ธ์ดุ าวอินคาที่เก็บรกั ษาท่ีหอ้ งอณุ หภูมิ 5 องศาเซลเซียส เมล็ดเชอื้ พันธุม์ ีความชื้นในเมล็ดเชื้อพันธ์ุ
เริ่มต้น 18 เปอร์เซ็นต์ สามารถเก็บรักษาเมล็ดเชื้อพันธุ์ภายในระยะเวลา 28 เดือน จากความงอกเร่ิมต้น 94
เปอร์เซ็นต์ เหลือความงอก 40 เปอร์เซ็นต์ และมีแนวโน้มลดลง ขณะท่ีเมล็ดเช้ือพันธ์ุที่ผ่านการลดความชื้นทุกระดับ
เหลือ 8, 6, และ 4 เปอร์เซ็นต์ พบว่าภายในระยะเวลาการเก็บรักษา 28 เดือน ยังคงความงอกเกิน 50 เปอร์เซ็นต์
เหลอื ความงอก 51, 54 และ 61 เปอร์เซน็ ต์ ตามลาดบั และมีแนวโน้มลดลง

เมล็ดเชื้อพันธ์ุดาวอินคาท่ีเก็บรักษาท่ีห้องอุณหภูมิ -10 องศาเซลเซียส เม่ือเก็บรักษาเมล็ดเชื้อพันธ์ุดาวอินคาท่ี
ระดับความชื้นเมล็ดเชื้อพันธุ์ 18, 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ สามารถเก็บรักษาเมล็ดเช้ือพันธุ์ได้นาน 28 เดือน มีความ
งอก 46, 59, 63 และ 69 เปอรเ์ ซ็นต์ ตามลาดับ และมแี นวโน้มลดลงเมอ่ื ระยะเวลาการเก็บรักษานานขึ้น

จากการศึกษาในครงั้ นีส้ ามารถบอกได้ว่าระดับความช้นื ในเมล็ดเชอ้ื พนั ธุก์ อ่ นการเก็บรักษาและอุณหภูมิในการ
เก็บรักษามีผลต่อความมีชีวิตและความแข็งแรงของเมล็ดเชื้อพันธ์ุดาวอินคาสามารถเก็บรักษาได้ภายในระยะเวลา 28

7

เดือน โดยเมล็ดที่มีความชื้นเร่ิม 18 เปอร์เซ็นต์ เก็บที่อุณหภูมิห้องมีความความงอกเพียงร้อยละ 19 และเมล็ดที่มี
ความชื้น 8, 6 และ 4 เปอรเ์ ซ็นต์ เก็บที่อุณหภูมิห้องยังมีความความงอกสูงกว่าแต่เหลือไม่ถึงร้อยละ50 ดังน้ันการเก็บ
รกั ษาเมล็ดพันธด์ุ าวอนิ คาเปน็ ระยะเวลานานเพือ่ การอนุรกั ษ์ในธนาคารเชอื้ พันธแ์ุ ละมีเปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดสูง
ควรเก็บท่ีอุณหภูมิ 5 และ -10 °C และควรลดความชื้นเมล็ดให้ต่ากว่า 8% และในกรณีของเกษตรกรถ้าต้องการเก็บ
รักษาเมล็ดพันธุ์ไว้ เพ่ือทาพันธ์ุในฤดูปลูกต่อไปโดยเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 5 °C ในตู้เย็นท่ัวไป ควรลดความช้ืนให้เหลือ
ประมาณ 6% กอ่ นการเกบ็ รกั ษาเพอ่ื เมล็ดพนั ธจุ์ ะได้มคี ุณภาพก่อนการนาไปใช้ ประโยชนต์ ่อไป

ภำพท่ี 1 แปลงผลติ เมล็ดพันธ์ุดาวอนิ คาของเกษตรกร จ.ประจวบครี ีขนั ธเ์ ก็บเกี่ยวผลช่วง มกราคม-มีนาคม 2562

ภำพที่ 2 การเตรยี มและนาเมลด็ เข้าหอ้ งลดความช้ืน

8

ภำพที่ 3 ขนั้ ตอนการเตรียมทดสอบความงอก

ภำพที่ 4 ระยะการการประเมนิ ผลการทดสอบความงอก ท่ี 14 วันหลังเพาะ

9

เทคนคิ กำรเกบ็ รกั ษำเมล็ดพันธุ์บวบหอมในสภำพเยอื กแขง็

บวบหอม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Luffa aegyptica มีถ่ินกาเนิดในเขตร้อนช้ืนของทวีปเอเชีย โดยมีชื่อเรียก
ตามแต่ละท้องถิ่นแตกต่างกันไป เช่น ในภาคกลางรียกว่า บวบหอม บวบกลม ในภาคเหนือเรียก มะบวบ มะบวบอ้ม
มะนอยอ้ม ในเขตมลายูทางภาคใต้ เรียก กะตอร่อ เป็นต้น (วิทย์, 2542) ภายในผลเต็มไปด้วยเส้นใยท่ีเหนียวมาก มี
ลักษณะเป็นร่างแห ส่วนท่ีนามาใช้ประโยชน์ คือ ผลสด เส้นใยจากผล ยอดอ่อน และน้ามันจากเมล็ดแก่ เมล็ดมีสาร
Cucurbitacin B และ Saponin โดยสาร Cucurbitacin B นั้น เป็นหนึ่งในสารท่ีใช้กันมากในห้องทดลองเพ่ือ
ศึกษาวิจัยการยับย้ังของเน้ืองอก และพบว่าสามารถต้านเซลล์มะเร็งตับอ่อนและมะเร็งเต้านมและสาร Saponin มี
จุดเดน่ ในการลดระดับคลเรสเตอรอลในเลือด บารุงกระดูก เสริมภมู คิ ุ้มกนั และต้านเซลล์มะเร็งเช่นกัน นอกจากนี้ ยอด
อ่อนของบวบหอมมีฤทธ์ิขับปัสสาวะและขับน้านมได้ และใบมีสรรพคุณในการดับร้อนถอนพิษ แก้ไอ ขับเสมหะ แก้
อักเสบ น้าจากใบสดใช้ทาแกก้ ลากบนหวั ใบตากแหง้ บดเป็นผงใช้ห้ามเลอื ด (วิทิต, 2552)

ลักษณะทำงสัณฐำนวิทยำ บวบหอม เป็นพืชผักฤดูเดียว เติบโตเป็นทอดยอด เป็นไม้เถาล้มลุก ลาต้นอ่อน
และยอดจะมีขนท่ีอ่อนนุ่ม เม่ือลาต้นแก่ ขนก็จะหลุดร่วงไป ลักษณะลาต้นเป็นเถาเหล่ียมมีความยาวประมาณ 7-10
เมตร และจะมีมอื ยดึ เกาะเปน็ เส้นยาวประมาณ 3 เส้น ใบจะออกตรงข้ามกนั หลงั ใบจะมีสเี ขียวแก่ ส่วนท้องใบมีสีเขียว
ออ่ น ความกว้างใบประมาณ 15-25 ซม. และยาวประมาณ 8-25 ซม. รอยเส้นใบนูนชัดเจนประมาณ 3-7 เส้น ก้านใบ
มีขนอ่อนนุ่มและเป็นเหลี่ยม ยาวประมาณ 4-9 ซม. ดอก จะมีท้ังดอกตัวผู้ และดอกตัวเมียในต้นเดียวกัน โดยดอกตัว
เมยี มักออกเป็นดอกเดีย่ ว แตบ่ างครั้งอาจออกติดกับดอกตัวผู้ในช่อดอกเดียวกัน กลีบเล้ียงจะแยกเป็น 5 กลีบ ผิวนอก
จะปกคลุมไปด้วยขนอ่อนนุ่มสั้นๆ กลีบดอกมีสีเหลือง แต่ละกลีบจะมีรูปร่างกลมรี ตรงขอบมีรอยย่นเป็นคล่ืน มี
เส้นผ่าศูนย์กลางยาวประมาณ 3-5 ซม. ผล มีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอก ตรงปลายจะมีรอบกลีบเลี้ยงเหลืออยู่ ผล

10

ยาวประมาณ 16-60 ซม. กว้างประมาณ 5-10 ซม. ผลอ่อนจะเป็นสีเขียวและมีลายเป็นสีเขียวแก่ ผิวข้างนอกจะเป็น
นวลขาว ส่วนผลแก่ จะเป็นสีเขียวแกมเหลือง หรือเขียวเข้มออกเทา เน้ือผลข้างในจะมีเส้นใยที่มีความเหนียวมาก
ลักษณะเป็นรา่ งแห เมลด็ มรี ูปร่างแบนรี ขนาดประมาณ 1.0 x 1.5 ซม. หนา 0.2 ซม. เปลือกของเมล็ดบวบหอมจะมีสี
ดา ผวิ เรียบ เปลือกแขง็ หนา และเป็นมัน รอบข้างเมล็ดมีแผ่นปีกสีดา บาง ขนาดเล็กอยู่ (ปราณี, 2550) ผลบวบหอม
บางสายพนั ธจ์ุ ะมีรสขม เรียกว่า บวบขม โดยมคี วามยาวผลราว 10 ซม.

ภำพแสดงลักษณะทำงสัณฐำนวิทยำของบวบหอม
ควำมหลำกหลำย บวบหอมมีความหลากหลายทางสัณฐานวิทยาที่แตกต่างกันไป โดยเฉพาะลักษณะผล ทั้ง

ขนาด สี และรปู ร่าง โดยเฉพาะขนาดผล มบี วบหอมท่มี ผี ลขนาดเลก็ มาก ยาวเพยี ง 7 เซนติเมตร ไปจนถึงท่ีมีขนาดยาว
มากกวา่ 1 เมตร เน่อื งด้วยความหลากหลายทางสัณฐานวิทยา จึงเป็นท่ีมาของการเรียกช่ือท้องถิ่นบวบหอมที่แตกต่าง
กัน เช่น บวบหอมสนั้ บวบหอมยาว บวบขช้ี ้างและบวบป๋อม เป็นต้น

ภาพแสดงความหลากหลายพันธกุ รรมบวบหอม

11

ภาพแสดงความหลากหลายพันธุกรรมบวบหอม

กำรปลกู บวบหอม เพาะเมล็ดบวบในถาดเพาะขนาด 50 หลุม หลังจากต้นกล้าเจริญเติบโตจนมีอายุประมาณ
10-14 วนั จึงยา้ ยกลา้ โดยเลอื กต้นท่ีสมบูรณป์ ลกู ในแปลงปลกู โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี

1. ยกร่องและตากดินท้ิงไว้ 5-7 วัน เพื่อกาจัดวัชพืชและลดการสะสมของโรคและแมลง ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ย
หมกั ทสี่ ลายตวั ดแี ลว้ ใช้พลาสตกิ สีดาคุมแปลงเพ่ือควบคมุ วัชพชื และรกั ษาความชุ่มช้นื ในดิน

2. ระยะปลกู ทเ่ี หมาะสมคือ 0.75 เมตร (ระยะระหวา่ งต้น) x 1 เมตร (ระยะระหว่างแถว) โดยเว้นระยะห่าง
ระหว่างแปลง 1 เมตร

3. หลงั จากเตรยี มดนิ ดแี ลว้ ให้ย้ายกลา้ โดยปลกู ลึกลงไปในดนิ ประมาณ 2-4 เซนตเิ มตร
4. รดน้าให้ชุม่ แลว้ ใช้ฟางหรอื หญา้ แห้งคลุมบางๆเพอื่ ช่วยรักษาความชน้ื ของดนิ
5. บวบจะมีการเลอ้ื ย จงึ ตอ้ งทาคา้ งเปน็ เพื่อใหเ้ ถายึดเกาะ โดย ใชไ้ ม้รวกยาวประมาณ 2-2.5 เมตร
6. ควรให้นา้ อย่างเพยี งพอและสม่าเสมออย่าแฉะเกนิ ไปและอยา่ ให้ขาดนา้ ช่วงออกดอกติดผล
7. ใสป่ ุ๋ยคร้ังแรกสูตร 15-15-15 เมื่ออายุได้ 1 สัปดาหใ์ หป้ ุ๋ยสูตร 21-0-0
8. บวบจะเลื้อยทอดยอดที่อายุประมาณ 15-20 วัน ระยะออกดอกเร่ิมท่ีอายุประมาณ 42-70 วันหลังปลูก
ดอกหอมจะบานต้ังแต่เวลา 4.45 เป็นต้นไป ระยะผลออ่ นเรมิ่ ทอี่ ายุ 63-91 วันหลังปลูก

12

ภาพแสดงการเพาะกลา้ บวบหอม

ภาพแสดงการย้ายกลา้ และการปลูกบวบหอมในแปลงปลกู

13

กำรใช้ประโยชน์ การใช้ประโยชน์บวบหอมของไทยมีความคล้ายคลึงกับการใช้ประโยชน์ในต่างประเทศ
กล่าวคือ ผลอ่อน ใช้บริโภคเป็นอาหาร ส่วนผลแก่ใช้ประโยชน์ด้านอื่นๆ เช่น ใช้เป็นใยขัดผิวหรือใยทาความสะอาด
โดยใช้ทาความสะอาดรถยนตแ์ ละเครอ่ื งใชภ้ ายในครัวเรือนและใช้ประดษิ ฐเ์ ป็นเครือ่ งกรองของเครื่องจักรต่างๆ ในสมัย
สงครามโลกคร้ังท่ี 2 สาหรบั การใช้ประโยชนเ์ สน้ ใยของบวบแกเ่ พ่อื ใชเ้ ป็นใยขดั ผวิ และใยขัดทาความสะอาดนั้น พบว่า
เป็นการใชป้ ระโยชนจ์ ากส่วนของท่อน้า (Xylem) หลังจากกาจัดส่วนอ่ืนออกจนเหลือเพียงใยบวบ นอกจากนี้ ยังมีการ
ใช้ประโยชน์จากสรรพคุณด้านยารักษาโรค เช่น ยารักษาสตรีท่ีตกเลือดริดสีดวงทวารหนัก บิด เจ็บคอ แก้อาการร้อน
ใน แกซ้ าง และลดไข้ในเดก็ เป็นตน้

เทคนคิ กำรอนุรกั ษ์

โดยท่ัวไป ธนาคารเมลด็ พันธ์สุ ามารถเก็บรกั ษาเมล็ดพันธุป์ ระเภท orthodox ได้ระยะเวลายาวนานหากมีการ
จดั การที่ดี แต่อยา่ งไรกต็ ามการสูญเสียความมชี ิตของเมล็ดพันธย์ุ อ่ มเกดิ ขึน้ ไดห้ ลายกรณีขนึ้ อย่กู ับชนิดพืช ทางเลือกอีก
ทางหน่ึงคือการใช้อณุ หภูมิตา่ ท่ี -196 องศาเซลเซียสของไนโตรเจนเหลว เรียกว่า การเก็บรักษาภายใต้สภาพเยือกแข็ง
หรือ cryopreservation (Copeland et al., 1995) โดยเย่ือหุ้มเซลล์ทาหน้าท่ีเสมือนกาแพงทางกายภาพปกป้อง
องค์ประกอบภายในของเซลล์เพื่อไม่ให้ถูกทาลายจากความเย็นต่ากว่าระดับเยือกแข็ง (Engelmann, 200) การเก็บ
รักษาเมล็ดพันธ์ุบวบหอมซึ่งเป็นพืชที่มีการเก็บรักษาเป็นตัวอย่างประเภท ex situ จานวนมาก (Ebert et al, 2021)
ในสภาพเยือกแขง็ จงึ เป็นอีกทางเลือกหน่ึง ในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ท่ีช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการปลูก
ฟื้นฟูเพ่ิมปริมาณและต่ออายุเชื้อพันธุ์พืช โดยเชื้อพันธ์ุบวบหอมสามารถคงความมีชีวิตและสามารถเจริญเติบโตสภาพ
แปลงปลกู ตัง้ แตร่ ะยะต้นกล้า จนกระทั่งระยะเก็บเกี่ยว ท้ังนี้ ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุในสภาพ
เยือกแข็ง คือ ระดับความช้ืนของเมล็ดท่ีเหมาะสม ด้วยเหตุน้ี จึงต้องดาเนินการลดความช้ืนเมล็ดพันธุ์บวบหอมก่อน
การเกบ็ รักษาในสภาพเยือกแข็งให้ได้ระดับ 8 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้ห้องลดความชื้นเมล็ดพันธุ์ท่ีไม่ใช้ความร้อน
(อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความช้ืนสัมพัทธ์ 15 เปอร์เซ็นต์) จากการทดสอบ พบว่า ระดับความช้ืนที่เหมาะสมของ
เมล็ดพันธ์ุบวบหอมสาหรับการเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็ง ได้แก่ ระดับความช้ืนท่ีอยู่ในช่วงระหว่าง 6 ถึง 8
เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากช่วงความช้ืนดังกล่าว บวบหอมมีเปอร์เซ็นต์ความงอกหลังทดสอบความแข็งแรงโดยวิธีเร่งอายุ
มากกวา่ เมล็ดพันธทุ์ ม่ี ีระดับความช้นื เร่มิ ต้น และมากกว่าเมล็ดพนั ธุ์ที่มีระดับความชื้นที่ 4 เปอร์เซ็นต์ซึ่งถือว่าต่าเกินไป
และสง่ ผลต่อความงอกของเมล็ดพันธุ์

การปลกู ทดสอบเมลด็ พันธุบ์ วบหอมทผ่ี ่านการเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งเพ่ือศึกษาการเจริญเติบโตในสภาพ
แปลงปลูก โดยรวบรวมบันทึกข้อมูลลักษณะทางสัณฐานวิทยาเบ้ืองต้น พบว่า บวบหอมยาวและบวบหอมสั้น มีการ
เจริญเติบโตไดด้ ีทกุ ระยะ ตั้งแต่ ระยะต้นกล้า ระยะเจริญเติบโตด้านลาต้น ระยะออกดอก ระยะติดผลจนถึงระยะเก็บ
เกี่ยว ในขณะท่ีบวบหอมป่ากลับมีการเจริญเติบโตได้ดีเฉพาะในระยะต้นกล้าและระยะเจริญเติบโตด้านลาต้น แต่เมื่อ
เข้าสูร่ ะยะออกดอก จนถึงระยะติดและเกบ็ เกีย่ ว พบว่า มีการเจริญเติบโตท่ีล่าช้า และให้ผลผลิตน้อย อีกทั้งยังอ่อนแอ

14

ต่อการเข้าทาลายของไวรัสโรคพืช จากการศึกษา พบว่า บวบหอมยาว บวบหอมส้ัน และบวบหอมป่า มีความยาวผล
เฉลย่ี ท่ี 96 43 และ 18 เซนตเิ มตร ตามลาดับ มคี วามกว้างผลเฉล่ียท่ี 5 6 และ 5 เซนตเิ มตร การทผ่ี ลการปลูกทดสอบ
การเจรญิ เติบโตของเมล็ดพนั ธุบ์ วบหอมยาวและบวบหอมส้ันท่ีผ่านการเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งซ่ึงเจริญเติบโตได้ดี
ในทุกระยะนั้น พบว่าสอดคล้องกับการทดลองเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวฟ่างในสภาพเยือกแข็งและนาออกปลูกเพื่อ
ศึกษาลักษณะการเจริญเติบโต หลังจากเร่ิมปลูกเป็นระยะเวลา 110 วัน (ระยะเก็บเกี่ยว) ซึ่งพบว่า การเจริญเติบโต
ของต้นข้าวฟ่างท่ีเมล็ดได้ผ่านการเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็ง ไม่แตกต่างจากการเจริญเติบโตของต้นข้าวฟ่างที่เมล็ด
ไมไ่ ด้เก็บรกั ษาในสภาพเยือกแข็ง (Villalobos et al, 2019) สาหรับเมล็ดพันธุ์บวบหอมป่าที่มีการเจริญเติบโตท่ีล่าช้า
และให้ผลผลิตน้อยนั้น อาจเป็นเพราะเมล็ดพันธ์ุบวบหอมป่ามีความแข็งแรงเริ่มต้นต่ากว่าบวบหอมยาวและบวบหอม
สั้น ไม่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็ง แม้ว่าการทดสอบความงอกและความแข็งแรงของเมล็ดพันธ์ุใน
ห้องปฏบิ ัติการมผี ลการทดสอบท่ดี แี ละเจริญเติบโตเป็นต้นกล้าที่สมบูรณ์ก็ตาม กล่าวโดยสรุป คือ เมล็ดพันธุ์บวบหอม
ทม่ี ีระดับความชน้ื ทเ่ี หมาะสม ซ่ึงได้แก่ความช้ืนช่วงระหว่าง 6 – 8 เปอร์เซ็นต์ สามารถเก็บรักษาในสภาพเยือกแข็งได้
โดยเมลด็ พันธ์ุยงั รอดชวี ิต มเี ปอรเ์ ซ็นต์ความงอกทย่ี อมรับได้ และเจริญเตบิ โตไดใ้ นสภาพแปลงปลกู

ภาพแสดงการเก็บรกั ษาเมล็ดพันธบ์ุ วบหอมในสภาพเยอื กแขง็

15

บวบหอมยาว บวบหอมสนั้ บวบหอมปา่

ภาพแสดงความงอกเมล็ดพนั ธ์บุ วบหอมที่มีความชื้นในเมล็ดทร่ี ะดบั เริ่มต้น 8 6 และ 4 เปอรเ์ ซ็นต์
ซ่ึงผา่ นการเก็บรักษาในสภาพเยอื กแข็ง

บวบหอมยาว บวบหอมส้ัน บวบหอมปา่

ภาพแสดงลกั ษณะทางสัณฐานวทิ ยาของบวบหอมที่นามาปลกู ทดสอบการเจรญิ เตบิ โตในสภาพแปลงปลูก
หลงั การเก็บรกั ษาเมลด็ พนั ธุ์ในสภาพเยือกแข็ง

16

เทคนิคกำรอนุรกั ษ์เมล็ดพนั ธ์งุ ำในสภำพเยือกแขง็

ลักษณะท่วั ไปของงำ
งา หรือ SESAME ช่ือทางวิทยาศาสตร Sesamum indicum L. อยูในตระกูล PEDALIACEAE เป็นพืชน้ามัน
ท่ีเราบรโิ ภคกันมายาวนาน มีถิ่นกาเนิดอยูทางทวีปแอฟริกาแถบประเทศเอธิโอเปย กระจายพันธ์ุไปยังแอฟริกาเหนือ
ยุโรป อินเดีย จีน แล้วแพรพันธุมาสูแถบเอเชียใต้จนเป็นพืชพ้ืนเมืองของเอเชีย ปัจจุบันกระจายอยู่ในท่ัวโลกในพ้ืนที่
เขตร้อน ก่ึงร้อน และร้อนทางใต้ในทุกเขต เป็นพืชล้มลุกเจริญเติบโตได้ดีในเขตที่มีอากาศร้อนและค่อนข้างแห้งแล้ง
โดยมลี ักษณะต่างๆ ดังตอ่ ไปนี้ (ศานติ , 2558)
รำก เปนแบบรากแกว รากจะแตกแขนงแนนทึบบริเวณผิวดิน มีความยาวและหยั่งลึกลงในดินมากกว่า 90
เซนตเิ มตร
ลำตน มลี าตนต้ังตรง เปนไมเนอื้ ออนไมมีแกน สูง 40-200 เซนติเมตร เปนเหล่ียม และเปนรองตามความยาว
ของตน สีเขียวเขม อาจมีสีมวงปน มีขนเล็กนอยหรือหนาแนนขึ้นตามตน ทั้งน้ีข้ึนอยูกับพันธุทั้งชนิดแตกกิ่ง และไม่
แตกก่ิง การแตกกง่ิ จะพบเฉพาะบริเวณยอด อณุ หภูมิและช่วงแสงมผี ลตอความสงู ของลาตน้

17

ใบ เปนใบเดีย่ ว มกี ้านใบ การจัดเรียงตัวของใบมีทั้ง 2 แบบ คือ ใบลางจะจัดเรียงตัวแบบตรงขาม สวนใบบน
เรียงตวั แบบสลับ ใบมรี ูปรางลกั ษณะตาง ๆ กัน เชน รูปหอก กลมรี เปนแฉก ขอบใบเปนจักร ใบมีสีเขียวออนถึงเขียว
เขม หรอื บางพันธอ์ุ าจมีสีเหลืองปน มีขนท้ังหนาใบและหลงั ใบ ชว่ งแสงมีอิทธิพล ตอรปู รางและขนาดของใบ

ดอก ดอกงาเป็นดอกสมบูรณ์เพศ เกิดจากตาตามซอกใบที่ติดลาตน มีตั้งแต 1-3 ดอก แลวแตพันธุ กานดอก
ส้นั ความยาวของดอกประมาณ 3 เซนติเมตร กลีบดอกเชื่อมตอกัน เปนทอยาว คลายระฆัง มีต่อมน้าหวานที่ฐานทั้ง
สองขาง กลีบดอกมหี ลายสี เชน ชมพขู าว ขาวอมมวง สีเหลือง การบานของดอกจะเริ่มบานจากสวนลางของลาตนขึ้น
ไป ดอกจะบานตอนเชาและรวงตอนเย็น

ผล ผลเปนแบบกระเปราะหรือฝก รูปรางและขนาดของฝกข้ึนอยูกับพันธ์ุ อาจเปนทรงกระบอกหรือแบน ฝ
กยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร เสนผานศูนยกลางประมาณ 1 เซนติเมตร ฝกงามีรองตามความยาว และมีขนข้ึนปก
คลมุ แบงเปน 4-8 พู ปลายฝกมีจงอยแหลม

เมล็ด เมล็ดงามีขนาดเล็กเรียงซอนกันในฝก น้าหนัก 1,000 เมล็ดประมาณ 2-4 กรัม สีของเมล็ดขึ้นอยูกับ
พันธุตัง้ แต ขาว เหลือง เทา แดง น้าตาล ดา และทอง

ประโยชนข์ องงำ
เมล็ดงาเปน็ แหลง่ ของไขมัน โปรตีน แรธ่ าตุ และวติ ามินต่างๆ โดยมไี ขมันเป็นองค์ประกอบ 34-64 เปอร์เซ็นต์
ส่วนใหญเ่ ปน็ กรดไขมันท่ีจาเป็นต่อร่างกาย (essential fatty acid) คือ กรดลิโนเลอิค (linoleic) 35.9-47 เปอร์เซ็นต์
ซ่งึ ชว่ ยป้องกันภาวะหลอดเลือดแข็งตัว ป้องกันโรคของหลอดเลือด หัวใจ และผิวหนัง และกรดโอเลอิค (oleic) 35.6-
47.6 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงช่วยป้องกันไม่ให้ระดับโคเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในกระแสเลือดเพิ่มขึ้น สาหรับโปรตีนมี
ประมาณ 16-33 เปอร์เซ็นต์ พบกรดอะมิโน 2 ชนิด ท่ีจาเปนตอรางกายซึ่งในพืชสวนใหญจะมีนอยหรือไมพบ คือ เม
ไทโอนนี (methionine) และซสี ตีน (cystine) พบคาร์โบไฮเดรตประมาณ 9-20 เปอร์เซ็นต์ มีกลูโคส และฟรุกโตสอยู่
ในปริมาณน้อย ส่วนแร่ธาตุอาหารที่สาคัญคือ แคลเซียม และฟอสฟอรัส มีมากกว่าพืชอ่ืนถึง 40 และ 20 เท่า
ตามลาดับ นอกจากนเ้ี ปน็ แมกนีเซียม ทองแดง เหล็ก สังกะสี แมงกานีส ส่วนวิตามินชนิดต่างๆ ท่ีพบมาก คือ วิตามิน
อี และวิตามินบี และจุดเด่นอีกประการคือพบสารพฤกษเคมีกลุ่มสาร ลิกแนน สารสาคัญที่พบ ได้แก่ เซซามิน เซ
ซาโมลิน เซซามินอล และเซซามอล มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดการเกิดอนุมูลอิสระในร่างกาย ต้าน
การอักเสบ ลดคอเลสเตอรอล ปอ้ งกันโรคความดันโลหิตสูง เสริมสร้างกระดูกและข้อ ส่งเสริมการทางานของวิตามินอี
ป้องกันการทาลายเซลล์ผิวหนัง การเกิดร้ิวรอย ท่ีเกิดจากแสงแดด รวมถึงรักษาโรคมะเร็ง ด้วยคุณสมบัติเหล่านี้งาจึง
เป็นพืชท่ีมีการนามาใช้ประโยชน์กันอย่างแพร่หลาย นอกจากนิยมนามาใช้บริโภคโดยตรงเป็นส่วนประกอบในอาหาร
เพื่อการปรุงรสอาหารคาวหวาน ขนมต่างๆ เช่น ขนมไทย คุกก้ี ขนมปัง แฮมเบอร์เกอร์ น้าจ้ิมสุกี้ น้าสลัด เป็นต้น นา
เมล็ดมาสกัดเป็นน้ามันงา เพ่ือใช้ในการปรุงรสอาหาร ทอด หรือผัดแล้วยังใช้ในอุตสาหกรรม เช่น ผลิตภัณฑ์เสริม
อาหาร ยารักษาโรค เครื่องสาอาง น้าหอม สบู่ เป็นต้น และผลพลอยได้จากการสกัดน้ามันยังสามารถนามาใช้
ประโยชน์ไดม้ ากมาย ทง้ั เป็นอาหารของมนษุ ยแ์ ละสตั วเ์ ลี้ยง ทาปยุ๋ หรอื เช้ือเพลิง

18

สถำนกำรณก์ ำรผลิตงำ
องค์การอาหารและเกษตร (FAO) รายงานในปี 2563 ทั่วโลกมีพื้นท่ีเพาะปลูกงาประมาณ 89 ล้านไร่ จาก
ทั้งหมด 70 ประเทศ ผลผลิตทั้งหมดประมาณ 7.25 ล้านตัน ประเทศที่มีพ้ืนที่ปลูกงามากอันดับ 1–5 ได้แก่ ซูดาน
อินเดีย เมียนมาร์ แทนซาเนีย และไนจีเรีย สาหรับประเทศที่ผลิตงาได้มาก 5 อันดับแรก ได้แก่ ซูดาน จีน เมียนมาร์
แทนซาเนีย และอินเดีย พื้นท่ีปลูกงาส่วนใหญ่ประมาณ 69 และ 29 เปอร์เซ็นต์อยู่ในแอฟริกาและเอเชีย ตามลาดับ
ผลผลติ เฉล่ียของงาทวั่ โลกประมาณ 126 กโิ ลกรัมต่อไร่ ปี 2563 ผู้ครองตลาดการส่งออกเมล็ดงามากที่สุดคือ ประเทศ
ซดู าน รองลงมาคอื อนิ เดีย ไนจีเรีย เอธิโอเปีย และพม่า ในขณะที่ผู้นาเข้ามากท่ีสุดคือ ประเทศจีน รองลงมาคือญี่ปุ่น
ตุรกี อินเดีย และเกาหลีใต้ โดยมีมูลค่าการนาเข้า-ส่งออก สูงถึงอย่างละ 3 พันล้านดอลลาร์การส่งออกน้ามันงาของ
โลก ในปี 2563 มมี ลู ค่า 290 ล้านดอลลาร์ และ การนาเข้ามีมูลค่า 296 ล้านดอลลาร์ ประเทศอินเดียนอกจากจะเป็น
กลุม่ ผู้นาในการส่งออกเมลด็ งาแลว้ ยังติดอนั ดบั ผ้นู าในการส่งออกน้ามันงาด้วย ส่วนจีนนอกจากจะผลิตเมล็ดงาได้มาก
แล้วยังมีการนาเข้าเป็นอันดับหนึ่งของโลก แสดงให้เห็นว่ามีความต้องการสูงมากเพราะนอกจากจะใช้ภายในประเทศ
แล้วยังนามาสกัดน้ามันเพ่ือการส่งออกในปริมาณมากอีกด้วย สาหรับประเทศญ่ีปุ่นถึงแม้จะมีการผลิตเมล็ดงาได้น้อย
แต่มีการนาเข้าและนามาสกัดน้ามันส่งออกเป็นอันดับหนึ่งของโลก นอกจากน้ียังมีประเทศเม็กซิโกท่ีมีการส่งออก
น้ามันงาในปริมาณมากรองจากญี่ปุ่น ส่วนใหญ่ส่งออกไปยังอเมริกามากท่ีสุด รองลงมาคือ อังกฤษ แคนาดา ฝร่ังเศส
เยอรมนี และออสเตรเลยี
สาหรับสถานการณ์การผลิตงาของไทยมีแนวโน้มลดลงตั้งแต่ปี 2555 จากเคยมีพื้นท่ีเพาะปลูกสูงสุดในช่วงปี
2551-2554 ประมาณ 4 แสนไร่ ผลผลิต 44-48 พันตัน ปัจจุบันเหลือเพียง 2.8 แสนไร่ ผลผลิต 31 พันตัน ผลผลิต
เฉลีย่ 110 กก./ไร่ สานกั เศรษฐกจิ การเกษตร (2564) รายงานสถติ ิการนาเขา้ และส่งออกในปี 2554-2564 ไทยมีแนวโน้มการ
ส่งออกเมล็ดงาคงที่ คิดเป็นมูลค่า 200-300 ล้านบาท ในขณะท่ีการนาเข้ากลับมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนในทุกปี จากปี 2554
มีมูลค่า 19 ล้านบาท จนถึงปี 2563 มีมูลค่าสูงถึง 114 ล้านบาท ในขณะที่การนาเข้าและส่งออกในรูปของน้ามันงามี
แนวโนม้ สูงข้นึ ทุกปีเชน่ กนั แสดงให้เห็นถึงความไม่พอเพียงต่อความต้องการใช้ภายในประเทศ กรมส่งเสริมการเกษตร
รายงานปีเพาะปลูก 2563/2564 แหลง่ ปลูกใหญป่ ระมาณ 60 เปอร์เซน็ ต์อยู่ในจังหวดั นครสวรรค์ และมีปลูกในจังหวัด
อื่นๆ เช่น ลพบุรี สุโขทัย เพชรบูรณ์ แม่ฮ่องสอน บุรีรัมย์ เชียงใหม่ ชัยนาท เป็นต้น งาที่ปลูกในประเทศไทยจะแบ ง
ตามสขี องเมล็ด สามารถแบงได 3 ชนิด คอื งาขาว งาดา และงาแดง ที่ใชบริโภคคือ งาขาวธรรมชาติ และงาดา งาขาว
ขดั ซง่ึ ไดจากการนางาดาและงาแดงมาแชน้าแลวถูเปลอื กท่มี สี ีออกกลายเปนสีขาว และนา้ มนั งาจะสกัดจากงาดาและงา
แดง กรมสง่ เสรมิ การเกษตร รายงานปเี พาะปลูก 2563/2564 เกษตรกรมีการเพาะปลูกงาแดงเป็นส่วนใหญ่ ประมาณ
70 เปอร์เซ็นต์ของพ้ืนท่ีปลูกทั้งหมด เน่ืองจากทนต่อความแปรปรวนต่อสภาพอากาศได้ดี พันธ์ุที่ใช้ปลูกแต่เดิมเป็นงา
พันธุ์พ้ืนเมือง เช่น งาขาวพันธุ์เมืองเลย พันธ์ุเชียงใหม่ พันธ์ุสมอทอด งาดาพันธุ์บุรีรัมย์ นครสวรรค์ งาแดงพันธุ์
พษิ ณโุ ลก และพันธุส์ โุ ขทยั เป็นต้น ปัจจุบันมีพนั ธง์ุ าทีไ่ ด้จากการพัฒนาและปรับปรุงพันธ์ุหลายพันธ์ุ เช่น งาขาว พันธ์ุ

19

ร้อยเอ็ด 1 มหาสารคาม 60 อุบลราชธานี 2 มข.1 มก.19 มก.20 งาดาพันธ์ุมก.18 มข.2 อุบลราชธานี 3 งาแดงพันธุ์
อุบลราชธานี 1 อุบลราชธานี 2 มข.3 อุบลราชธานี 84-2 เป็นตน้

เทคนิคกำรอนรุ ักษเ์ มล็ดพันธง์ุ ำในธนำคำรเชอื้ พันธพุ์ ชื
ธนาคารเชอ้ื พันธ์พุ ชื กรมวิชาการเกษตร ได้มีการอนุรักษ์เชื้อพันธุ์งาไว้จานวนหลายสายพันธุ์ โดยการอนุรักษ์
นอกจากจะเป็นการเกบ็ รกั ษาเช้อื พันธุกรรมของงาให้คงอยู่ไม่ให้เกิดการสูญพันธุ์ แล้วเช้ือพันธุกรรมท่ีอนุรักษ์ไว้จะต้อง
มีคุณภาพโดยเฉพาะความมีชีวิตและความแข็งแรง เพื่อสารองและการนาไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ต่อไป ปจจุบัน
ทางธนาคารเช้ือพันธ์ุพืชมีการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ทั้งระยะปานกลาง และยาวภายใต สภาพควบคุมอุณหภูมิและ
ความชนื้ สัมพทั ธ์ต่าโดยใช้กระแสไฟฟาซึ่งมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง และวิธีดังกลาวยังมีการสูญเสียความมีชีวิตของเมล็ด
พนั ธุเป็นระยะๆ จาเปน็ ตอ้ งมีข้นั ตอนในการนาเชอื้ พนั ธพ์ุ ชื ทอ่ี นรุ กั ษอ์ อกมาเพาะทดสอบหาความมีชีวิต เพื่อนาพันธุ์ท่ีมี
ความมีชีวิตต่าออกมาปลูกฟื้นฟูและขยายใหม่ให้กลับมามีชีวิตและเปอร์เซ็นต์ความงอกสูง (regeneration) เป็นการ
ส้ินเปลืองเมล็ดพันธ์ุ และค่าใช้จ่ายในการจัดการ และเมื่อนามาปลูกหลายคร้ังพันธุกรรมอาจเปล่ียนแปลงได้เน่ืองจาก
สภาพแวดล้อม และความผิดพลาดที่เกิดจากการปลูก ดูแลรักษา เก็บเกี่ยว การปรับปรุงสภาพ ตลอดจนการเก็บ
รกั ษาเมลด็ พันธุ์

เทคนคิ กำรเก็บรักษำเมลด็ พันธง์ุ ำในสภำพเยอื กแขง็
เปน็ การเกบ็ รกั ษาในไนโตรเจนเหลว ซ่งึ ไนโตรเจนเหลวคือ ก๊าซไนโตรเจนที่ผ่านการเพิ่มแรงดัน ขจัดก๊าซอื่นๆ
และลดอุณหภูมจิ นกา๊ ซไนโตรเจนกลายสภาพเป็นของเหลวมีอุณหภูมิอยู่ที่ประมาณ –196 องศาเซลเซียส ไม่ติดไฟ ไม่
มีสี ไมม่ กี ล่นิ ไมม่ ีรสชาติ เมื่ออยใู่ นสภาพอากาศปกติจะเปลี่ยนสถานะเป็นไอจะต้องมีถังหรือภาชนะบรรจุที่ทนแรงดัน
สงู นามาใช้ในการลดอุณหภูมิสิง่ ตา่ งๆ เช่น การใช้ในอตุ สาหกรรมการแปรรปู การแช่แข็ง การทดลองทางวิทยาศาสตร์
เพ่ือเก็บเนื้อเยื่อและตัวอย่างต่างๆ ตลอดจนถึงใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ เช่น การเก็บรักษาเลือด ไขกระดูก หรือ
การแช่แข็งอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายเพ่ือให้สามารถคงสภาพอยู่ได้นาน ตลอดจนการนามาใช้เก็บรักษาเมล็ดพันธุ์
ให้ได้ยาวนาน เพ่ือหยุดปฏิกิริยาทางชีวเคมี การย่อยสลาย และการแบ่งเซลล์ เม่ือละลายเกล็ดน้าแข็งออกเมล็ดพันธุ์
พืชท่ีเก็บยังคงมีชวี ติ โดยไมเ่ ส่ือมความงอกและกลายพนั ธ์ุ ลดปัญหาการนาเมล็ดพันธ์ุออกมาปลูกฟื้นฟูและขยายใหม่ใน
ระหว่างการเกบ็ รักษา

20

ข้ันตอนกำรเก็บรกั ษำในสภำพเยือกแขง็
1.ทาความสะอาดเมลด็ พันธ์ุ เพอื่ กาจัดสงิ่ เจือปนออก
2.ลดความช้นื ในเมลด็ พันธ์ุ ให้ได้ 6 เปอรเ์ ซน็ ต์หรอื ต่ากวา่
3.ทดสอบความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์งา ด้วยวิธีเพาะทดสอบหาเปอร์เซ็นต์ความงอก โดยการเพาะบนกระดาษ
เพาะหนา 2-3 ช้ัน วางไว้ในกลอ่ ง รดน้าสะอาดลงบนกระดาษเพาะให้ชุม เรียงเมล็ดพนั ธ์งุ าลงบนกระดาษเพาะ จานวน
100 เมล็ดต่อกล่อง ปิดฝาเพ่ือควบคุมความชี้น และรดน้าเป็นคร้ังคราวประมาณ 3-6 วัน จึงนับจานวนต้นกล้าที่งอก
และเป็นต้นที่สมบูรณ์ จานวนต้นท่ีสมบูรณ์จะต้องมีมากกว่าหรือเท่ากับ 80 ต้น หรือมีความงอกมากกว่าหรือเท่ากับ
80 เปอรเ์ ซน็ ต์

4. การบรรจุเมลด็ พนั ธุ์ บรรจเุ มลด็ พันธุ์ในถุงอลมู ิเนียมฟอยด์ และซลี ปิดปากถงุ แบบสญู ญากาศ

21

5. การเก็บรักษา โดยการนาซองท่ีบรรจุเมล็ดพันธ์ุเรียงใส่ในชั้น และใส่ลงถัง จากน้ันเติมไนโตรเจนเหลวให้
เต็มถงั ปดิ ฝานาไปเก็บในห้องเก็บรกั ษา และหมั่นเตมิ ไนโตรเจนเหลวให้เต็มถงั อยเู่ สมอ

6. เมอื่ ตอ้ งการใช้เมลด็ พันธ์ุ ให้นาออกจากถงั ไนโตรเจนเหลว และพักเมลด็ ไว้ในสภาพอณุ หภูมิห้องเป็นเวลา 1
วนั เพ่ือละลายเกลด็ น้าแขง็ จึงจะสามารถนาไปปลูกต่อได้

22

เทคนิคกำรเกบ็ รักษำเมล็ดผกั โขม (Amaranthus spp.) ในธนำคำรเชอ้ื พันธุพ์ ชื

ควำมร้ทู ัว่ ไปเก่ียวกับผกั โขม
ผักโขม (Amaranthus spp.) อยู่ในสกุล Amaranthus วงศ์ Amaranthaceae เป็นไม้พุ่มล้มลุกที่ข้ึนอยู่

กระจัดกระจายตามธรรมชาติในเขตอบอุ่นและเขตร้อน พืชในสกุลนี้ประมาณ 60 ชนิด (RSA, 2010) เป็นพืชพ้ืนเมือง
ของทวปี อเมริกา และอกี ประมาณ 15 ชนิด พบข้ึนทั่วไปในทวีปยุโรป เอเชีย แอฟริกา และออสเตรเลีย (Kadereit et
al., 2003) ) และเป็นพืชท้องถ่ินของประเทศไทย สามารถปรับตัวและเจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินเกือบทุกชนิด และ
สภาพภูมิอากาศหลายแบบ สามารถเก็บผลผลิตใบและต้นอ่อน เพ่ือบริโภคท่ีอายุ 3-4 สัปดาห์หลังปลูก และอายุ 60-
90 วัน จึงเก็บผลผลิตเมล็ดได้ อีกท้ังมีความต้านทานโรคและแมลงสูง (AVRDC, 2004) คนไทยคุ้นเคยกับผักโขมเป็น
อยา่ งดเี พราะเปน็ อาหารธรรมชาตทิ ่ีสามารถหาได้ในท้องถ่นิ โดยไม่ต้องปลูก

ลักษณะทั่วไป ผักโขมเป็นพืชปีเดียว มีลักษณะต้นเป็นไม้พุ่มเต้ีย ฤดูเดียว ลาต้นสีเขียวถึงเขียวอ่อน สูง 30-
100เซนติเมตร ลาต้นอวบน้า โคนต้นอาจมีสีน้าตาลแดง ใบเป็นใบเด่ียว ลักษณะมน ปลายแหลม ผิวเรียบหรือมีขน
เล็กน้อย ขอบใบเรียบ หลังใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ดอกเป็นช่อยาวมีสีขาว ช่อดอกออกที่ซอกใบและปลายก่ิง ดอกย่อย
เรียงตัวอัดกันแน่น เมล็ดมีสีดาลักษณะกลมขนาดเล็ก ผักโขมขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวได้
ตลอดปี (Grubben, 1993)

ผักโขมที่ใช้รับประทานใบ คือ A. tricolor, A. dubius, A. blitum มีถ่ินกาเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สว่ นผักโขมท่ีรับประทานเมล็ด คือ A. hypochondriacus, A. cruentus และ A. caudatus มีถิ่นกาเนิดจากอเมริกา
กลางและอเมริกาใต้ มีเมล็ดสีน้าตาลอ่อน ซ่ึงในปัจจุบันเป็นพืชผักหลักในแอฟริกาผักโขมท่ีสาคัญในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ คือ A. tricolor รองมาได้แก่ A. dubius และ A. cruentus ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์ในการรับประทานใบ ส่วน
ต้นออ่ นของผักโขม A. hypochondriacus สามารถนามาใช้บริโภคได้เชน่ กัน (Grubben, 1993)
องคป์ ระกอบทำงเคมี และคณุ ประโยชน์

ปัจจุบันมีการศึกษาพบว่า ผักโขมมีคุณค่าทางโภชนาการสูง ในใบ ลาต้น และเมล็ด โดยผักโขมสด 100 กรัม
อุดมไปด้วยวิตามินเอ (2917 I.U.) วิตามินซี (43.5 มก.) เหล็ก (2.32 มก.) แคลเซียม (215 มก.) โพแทสเซียม (135-

23

611 มก.) ฟอสฟอรัส (50-148 มก.) โปรตีน (2.46-3.8 กรัม) และไลซีน (0.13-0.34 กรัม) (Maundu et al., 2009)
และจากการศึกษาของ Makus and Davis (1984) พบว่า ผักโขม (Amaranthus) มีธาตุเหล็กเป็น 3 เท่าของผักโขม
ฝรั่ง (spinach) มโี ปรตนี สูง มวี ติ ามิน และแรธ่ าตุต่างๆ ท้ังในใบและเมล็ดทสี่ งู กว่ามาตรฐานพืชท่วั ไป

ในเมล็ดผักโขม 100 กรัม ประกอบด้วยน้า 75.16 กรัม พลังงาน 102 กิโลแคลอรี โปรตีน 3.80 กรัม ไขมัน
รวม 1.58 กรัม คาร์โบไฮเดรต 18.69 กรัม เส้นใย 2.1 กรัม แคลเซียม 47 มิลลิกรัม เหล็ก 2.1 มิลลิกรัม แมกนีเซียม
65 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 148 มิลลิกรัม โพแทสเซียม 134 มิลลิกรัม โซเดียม 6 มิลลิกรัม สังกะสี 0.86 มิลลิกรัม
ไธอะมีน (thiamin) 0.015 มิลลิกรัม ไรโบฟราโวน (riboflavin) 0.022 มิลลิกรัม ไนอะซีน (niacin) 0.235 มิลลิกรัม
วิตามินบี 6 0.113 มิลลิกรัม และวิตามินอี (alpha-tocopheral) 0.19 มิลลิกรัม โปรตีนมีอัตราการย่อยได้สูง
(ประมาณ 90%) และอุดมไปด้วยไลซีน 0.34 กรัม (Lys / g N) (ซ่ึงมักจะปรากฏในธัญพืชเป็นกรดอะมิโนที่จากัด )
เมล็ด Amaranth ยังเป็นแหล่งท่ีอุดมไปด้วยโพรไบโอและกรดอะมิโนท่ีมีกามะถัน เหล่านี้มักไม่ปรากฏบ่อยในธัญพืช
(Mlakar et al., 2010) ผลเป็นรูปทรงรี (ellipsoid) ยาวเท่ากับกลีบรวม ผลแห้งแตกแบบฝาเปิด หรือไม่แตก เมล็ดมี
ความกวา้ ง 0.5 มิลลเิ มตร สีดามนั วาว นนู สองด้าน (ภัทรพ์ ชิ ชาและคณะ 2556)

นอกจากนี้ยังใช้ผักโขม (A.spinosus) สกัดเป็นยาป้องกันเชื้อกามโรค และยังใช้รักษาแผลท่ีเกิดจากน้าร้อน
ลวก (Grubben, 1993) ในทางการแพทย์ใช้ท้ังต้นดับพิษภายในและภายนอก แก้บิด มูกเลือด ริดสีดวงจมูก ริดสีดวง
ทวาร แก้ผ่ืนคนั แกร้ ามะนาด รักษาฝี แผลพุพอง (กัญจนา, 2542)

จะเห็นว่าผักโขมเป็นพืชที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้อย่างหลากหลายและนับวันจะมีการใช้ประโยชน์มาก
ย่งิ ข้นึ ด้วยคุณคา่ และกระแสความนิยมการบรโิ ภคอาหารเพื่อสุขภาพ การพัฒนาพันธุ์พืชเพ่ือไปสู่การใช้และการบริโภค
ยังมีอย่างต่อเนื่อง จึงควรรวบรวมพันธุกรรมพืชจากแหล่งต่างๆ เพ่ืออนุรักษ์ในธนาคารเช้ือพันธ์ุพืช โดยธนาคารเช้ือ
พนั ธ์ุพืชได้มีการอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมต่างๆ ซึ่งเมล็ดพืชสกุลผักโขม เป็นพืชอีกตัวท่ีสมควรต้องมีฐานข้อมูลในธนาคาร
เช้ือพนั ธุ์ ดงั นั้นจึงจาเปน็ อยา่ งยิ่งที่จะต้องศึกษาความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับระดับความช้ืนท่ีเหมาะสมกับการเก็บรักษา
เมล็ดพนั ธุ์เพือ่ การอนรุ ักษ์ระยะยาว โดยทีเ่ มล็ดพนั ธุย์ ังคงความมชี ีวติ และมคี วามแข็งแรงเป็นสาคญั

เทคนคิ กำรอนุรกั ษ์
การทดลองนี้จึงได้ทาการศึกษาอิทธิพลของระดับความช้ืนในเมล็ดเชื้อพันธุ์และอุณหภูมิการเก็บรักษาเมล็ด

เชอ้ื พันธุผ์ ักโขมต่ออายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุให้คงอยู่ในสภาพที่มีชีวิตยาวนาน โดยศึกษาระดับความชื้นในเมล็ดเช้ือ
พันธุ์ 4 ระดับ คือ 10(ความช้ืนเริ่มต้น), 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ และอุณหภูมิในการเก็บรักษา 3 ระดับ คือ
อุณหภูมิห้อง(25±2 °C, ความช้นื สัมพัทธ์ 80±5 %), 5 และ -10 องศาเซลเซยี ส เปน็ ระยะเวลา 18 เดือน

จากการศึกษาได้ผลการทดลองเม่ือทาการเก็บเมล็ดเช้ือพันธ์ุผักโขมท่ีเก็บรักษาท่ีอุณหภูมิห้อง (25±2 °C,
ความชื้นสัมพัทธ์ 80±5 %) เมล็ดเช้ือพันธุ์ยังไม่ผ่านกระบวนการลดความช้ืน ซึ่งในการทดลองมีความชื้นในเมล็ดเชื้อ
พันธ์ุเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ สามารถเก็บรักษาเมล็ดเช้ือพันธ์ุได้ถึง 18 เดือน โดยเมล็ดเช้ือพันธุ์ยังคงความมีชีวิตอยู่ได้

24

โดยมีความงอก 82 เปอร์เซ็นต์จากความงอกเร่ิมต้น 98 เปอร์เซ็นต์ ขณะท่ีเมล็ดเชื้อพันธุ์ที่ผ่านการลดความช้ืนเหลือ
8, 6, และ 4 เปอร์เซ็นต์ สามารถเกบ็ ได้ถึง 18 เดือน และมคี วามงอก 83, 86 และ 87 เปอรเ์ ซ็นต์ ตามลาดับ

เมล็ดเช้ือพันธ์ุผักโขมเก็บรักษาท่ีอุณหภูมิห้อง 5 องศาเซลเซียส ความชื้นในเมล็ดเชื้อพันธ์ุผักโขมเร่ิมต้น 10
เปอร์เซ็นต์ สามารถเก็บรักษาเมล็ดเช้ือพันธุ์ภายในระยะเวลา 18 เดือน จากความงอกเริ่มต้น 98 เปอร์เซ็นต์ เหลือ
ความงอก 86 เปอร์เซ็นต์ และความช้ืนในเมล็ดเชื้อพันธ์ุผักโขมท่ีทาการลดความช้ืนเหลือ 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์
พบวา่ ภายในระยะเวลาการเกบ็ รักษา 18 เดอื น มคี วามงอก 88 เปอร์เซน็ ต์ ในทุกระดบั ความชนื้

การเกบ็ รกั ษาทีอ่ ณุ หภูมิหอ้ ง -10 องศาเซลเซียส เม่อื เกบ็ รักษาเมล็ดเช้ือพันธ์ุผักโขมที่ระดับความช้ืนเมล็ดเชื้อ
พันธุ์ 10, 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ สามารถเก็บรักษาเมล็ดเช้ือพันธ์ุได้นาน 18 เดือน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ด
เช้อื พันธุ์ไมแ่ ตกตา่ งกนั คอื 88, 89, 90 และ 90 เปอร์เซ็นตต์ ามลาดับ

จากการศึกษาในคร้ังนีส้ ามารถบอกได้ว่าระดับความช้นื ในเมลด็ เชื้อพันธุก์ ่อนการเก็บรักษาและอุณหภูมิในการ
เก็บรักษามีผลต่อความมีชีวิตและความแข็งแรงของเมล็ดเชื้อพันธ์ุผักโขมสามารถเก็บรักษาได้ภายในระยะเวลา 18
เดอื น โดยเมลด็ ทม่ี ีความช้นื เริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ เก็บที่อุณหภูมิห้องยังมีความความงอกสูงถึงร้อยละ 80 และเมล็ดท่ี
มคี วามชื้น 8, 6 และ 4 เปอร์เซ็นต์ เกบ็ รกั ษาทอี่ ุณหภมู ิหอ้ งยงั มคี วามความงอกสูงกว่า

ดังน้ันการเก็บรักษาเมล็ดเชื้อพันธ์ุผักโขมได้เป็นระยะเวลานานเพ่ือการอนุรักษ์ในธนาคารเช้ือพันธุ์และมี
เปอรเ์ ซ็นตค์ วามงอกของเมลด็ สูงควรเก็บทีอ่ ุณหภมู ิ 5 และ -10 °C โดยมีความช้ืนเมล็ดพันธุ์ 10 เปอร์เซ็นต์หรือต่ากว่า
และในกรณีที่เกษตรกรต้องการเก็บรักษาเมล็ดไว้เพื่อทาพันธ์ุสามารถเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ในสภาพห้องและควรลด
ความชืน้ เมลด็ ใหต้ า่ กว่า 10 เปอรเ์ ซ็นต์ เพ่อื รักษาคณุ ภาพของเมล็ดเชอ้ื พนั ธุ์ก่อนการนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป

ภำพท่ี 1 แปลงผลิตเมล็ดพันธผุ์ ักโขมของเกษตรกร จ. นครปฐม

25

ภำพท่ี 2 การเตรยี มและนาเมลด็ เขา้ หอ้ งลดความช้นื
ภำพท่ี 3 การทดสอบความงอกเมล็ดพนั ธุผ์ กั โขม 3 วนั หลงั งอก

ภำพท่ี 4 การทดสอบความงอกเมลด็ พนั ธ์ผุ กั โขม 7 วันหลังงอก

26

เทคนิคกำรอนรุ ักษใ์ นสภำพปลอดเช้อื

27

กำรขยำยพนั ธ์มุ ันสำคู (Maranta arundinacea L.) ในสภำพปลอดเชอื้ เพ่ือกำรอนรุ กั ษ์
มันสาคู (Maranta arundianceae L.) เป็นพืชอยู่ในวงศ์ Marantaceae (วงศ์คล้า) ช่ือสามัญ arrowroot
หรอื West Indian arrowroot บางคร้งั เรยี กวา่ สาคูขาว หรือ สาควู ิลาศ
ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ มันสาคูเป็นไม้ล้มลุกมีอายุอยู่ได้หลายฤดู สูง 30-130 ซม. ใบรูปไข่ขอบใบขนาน
(ovate-oblong) ยาว 3.5-35 ซม. กว้าง 3-11 ซม. คล้ายใบคล้า ก้านใบท่ีหุ้มลาต้น ยาว 1-8 ซม. บางคร้ังมีการพอง
ออก 0.2-1.8 ซม. ก้านใบยาว 3.5–20 ซม. ดอกเป็นช่อแฝด ดอกส่วนใหญ่เป็นดอกผสมตัวเอง ก้านดอกย่อยยาว 2.3-
5.5 ซม. กลบี เลี้ยงสเี ขียว กลีบดอกสขี าว เกสรเพศผู้เป็นหมันสีขาว 2 อันนอก รังไข่มีขนหนาแน่นหรือไม่ค่อยมีขน ผล
ทรงกลม สีเขียวหรอื มีสีน้าตาลอมแดง เปลือกผลแข็งแห้งแตก (capsule) เมล็ดขนาดเล็ก สีแดงน้าตาล ผิวหยาบ มี 3
พู เมลด็ มีความงอกตา่ และไม่ค่อยติดเมล็ด (Wu and Raven, 2000) พบการออกดอกชว่ งเดอื น สิงหาคมถงึ ตุลาคม

ภำพแสดง ตน้ มนั สาคู ลกั ษณะการแตกหวั หรอื เหง้า
เหงา้ ของมันสาคซู ึง่ เกดิ จากลาตน้ ใตด้ นิ มีลักษณะคลา้ ยหัวลกู ศร หวั ใหญ่กลม ยาว ขนาดของหัว 2.5 ซม. ยาว
20-45 ซม. หัวหรือเหงา้ หลักจะตดิ กบั โคนต้น และแตกหัวยอ่ ยแทงลึกลงดิน โคนหัวแตกรากแขนงจานวนมาก หัวย่อย
อาจมีหวั เดียวหรอื หลายหัว มีลักษณะทรงกระบอก เรียวยาว มีลักษณะแบง่ เป็นข้อๆ และมีตาชัดเจน และมีเกล็ดสีขาว
หรือสีนา้ ตาลหุ้ม เนื้อหวั ด้านในมีสีขาว มีเส้นใยตามแนวยาวของหวั (พืชเกษตร.คอม เวบ็ เพ่ือพชื เกษตรไทย, 2557)

28

ภำพแสดง ลักษณะหวั หรอื เหง้าทรงกระบอก เรยี วยาว แบ่งเปน็ ขอ้ ๆ และมีตาชดั เจน

ประวัติควำมเป็นมำและแหล่งปลูก มันสาคูเป็นพืชไม่ทราบถ่ินกาเนิดที่แน่นอน เชื่อว่าเป็นพืชพ้ืนเมืองของ
อเมริกา ปัจจุบันมีการปลูกมันสาคูท่ัวไปในเขตร้อน แต่ปลูกมากบริเวณอินเดียตะวันตก โดยเฉพาะหมู่เกาะเซนต์วิน
เซนต์ ซึง่ มกี ารผลิตได้ประมาณ 980-3,806 ตัน/ปี คิดเป็น 95 เปอร์เซ็นต์ของตลาดโลก นอกจากนี้ยังมีการปลูกทั่วไป
ในศรีลังกา อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ โดยในประเทศไทยมีการปลูกต้นมันสาคูกันมาช้านาน จนคิดว่าเป็นพืชที่ขึ้นอยู่
ดั้งเดิมและมีการปลูกเป็นพืชสวนครัวหรือบางครั้งนามาปลูกเป็นไม้ประดับตกแต่งสวน ไม่พบการปลูกเป็นแปลงใหญ่
เชิงพาณิชย์สาหรับการผลิตแป้งแต่พบการปลูกเพื่อขายเป็นต้นพันธุ์หรือขายหัวสาหรับรับประทาน โดยส่วนใหญ่พบ
การปลกู มากในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื เช่น จงั หวัดนครราชสมี า อบุ ลราชธานี และขอนแก่น เปน็ ตน้ (ชานิ, 2556)

ควำมหลำกหลำย ในเขตร้อนของทวีปเอเชียมีหลายพันธุ์ ได้แก่ Guangdong, Guangxi, Hainan, Taiwan
และS. Yunnan ซึ่งมีถิ่นกาเนิดในเขตร้อนของอเมริกา มีการรวบรวมพันธุ์ท่ีมีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไว้ 35
ตัวอย่าง ท่ี The Philippine Root Crop Research and Training Centre, Visayas State College of
Agriculture, Leyte. ซ่ึงท่ีหมู่เกาะเซนต์วินเซนต์ได้มีการพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์ให้มีผลผลิตแป้งสูง (พีรศักดิ์ และ
คณะ, 2544) ส่วนในประเทศไทยพบมันสาคู 2 พันธ์ุ ได้แก่ คือ สาคูวิลาส (Maranta arundinacea var. indica)
เป็นมันสาคูใบเขียวธรรมดา และสาคูด่างหรือมันสาคูใบลาย (Maranta arundinacea var. variegata) (สุมิตร,
2556) ซึ่ง The Plant List รายงานว่าทั้ง 2 พันธุ์ เป็นช่ือพ้อง (synonym) ของ Maranta arundinacea L. โดยพบ
ตัวอย่างพรรณไม้อ้างอิงในระบบข้อมูลของ Institute for Systematic Botany (University of South Florida,
2020) ซึ่งมคี วามผันแปรของลกั ษณะรปู รา่ งของใบ ความกวา้ งของใบ ความยาวของใบ ท่ีแตกต่างกัน ซึ่งตัวอย่างพรรณ
ไม้อา้ งองิ สว่ นใหญพ่ บในประเทศเม็กซิโก

29

ภำพแสดง มนั สาคูใบเขียว (Maranta arundinacea var. indica) และสาคดู ่างหรอื มันสาคูใบลาย (Maranta
arundinacea var. variegata)

กำรปลูกเลยี้ ง ควรปลูกในสภาพดินร่วนหรือร่วนทรายท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ และระบายน้าได้ดี ไม่ควรปลูกใน
สภาพดนิ เหนียวซึ่งทาให้เหง้ามนั สาคูมคี ุณภาพต่า ทนทานต่อสภาพรม่ เงาถงึ 50% โดยไม่ทาให้ผลผลิตต่าลง โดยท่ัวไป
จะไม่มีโรคและแมลงจนก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่อผลผลิต (Mitahato Education and Development Fund, n.d.)
ขยายพนั ธโ์ุ ดยใช้ส่วนปลายของเหง้า มขี อ้ 2-4 ขอ้ และมีขนาดไม่เล็กเกินไป นิยมปลูกในช่วงต้นฤดูฝน การปลูกต้องใช้
หน่อสูงประมาณ 30 ซม. ควรปลูกทันทีหลังแยกหน่อ และเด็ดดอกท้ิงเม่ือเริ่มออกดอกเพ่ือให้มีการสะสมอาหารใน
เหง้า การเก็บเกี่ยวควรทาก่อนเข้าฤดูฝน อายุพร้อมเก็บเก่ียวอายุ 8-10 เดือนหลังปลูกเลี้ยง ซึ่งอายุเก็บเก่ียวท่ี
เหมาะสมคือช่วง 11 -12 เดือนหลังปลูก มีปริมาณแป้ง 25 % โดยสามารถสังเกตได้จากการเปล่ียนสีของใบเป็นสี
เหลืองและเมอ่ื ลาต้นเรมิ่ ล้ม (พีรศักด์ิ และคณะ, 2544) บางครั้งพบหน่ออ่อนที่ออกจากต้นมันสาคูหรือต้นอ่อนที่มีราก
พบแตกออกจากขอ้ ของลาตน้ สามารถนามาปลูกขยายได้

มีการศึกษาผลของปุ๋ยและอายุการเก็บเก่ียวต่อผลผลิตและคุณภาพที่เหมาะสมกับการใช้บริโภคสดและการ
ผลิตแป้งมันสาคู พบว่ามันสาคูเริ่มสร้างเหง้าแรกเม่ืออายุประมาณ 3 ½ เดือน และทยอยสร้างเหง้าเพ่ิมขึ้นจนถึงอายุ
ประมาณ 6 เดือน ซ่ึงแต่ละเหง้าจะใช้เวลาประมาณ 3-4 เดือน จึงหยุดการเจริญเติบโตและเข้าสู่สภาวะที่แก่โดย
สมบรู ณ์ การใส่ปุย๋ คอกให้ผลผลิตสงู กวา่ การไมใ่ สป่ ุย๋ ส่วนคณุ ภาพทัง้ ปรมิ าณแป้งและเส้นใยนั้น เมื่อเหง้าแก่จะมีเส้นใย
เหนียวแข็งและมีการพัฒนาของเม็ดแป้งอะไมโลส (amylose) สูงข้ึน ซึ่งเม่ือต้นแก่จนเร่ิมแห้งเหง้ามันสาคูยังต้องใช้
เวลาอีกระยะจึงจะแก่สมบูรณ์ให้ผลผลิตแป้งท่ีมีคุณภาพสูงการเก็บเก่ียวก่อนการแก่สมบูรณ์อาจได้ปริมาณแป้ง
ใกล้เคียงกัน แต่คุณภาพของแป้งจะลดลง และถ้าเก็บเกี่ยวเหง้าที่เจริญเติบโตไม่เต็มท่ี เส้นใยจะอ่อนมีเม็ดแป้งที่ยัง
สร้างไม่สมบูรณ์เกาะติดอยู่การสกัดแยกด้วยน้าจะยาก ดังนั้นการเก็บเกี่ยวผลผลิตเม่ืออายุต้ังแต่ 9 เดือนข้ีนไป ให้
ผลผลติ สูงสดุ ซึ่งหวั จะมีแปง้ และกากใยเหนียวเหมาะทจ่ี ะนามาผลิตแป้ง (อรนุช, 2549)

30

ภำพแสดง ตน้ มนั สาคูทป่ี ลูกเลย้ี งในสภาพโรงเรือน และเหงา้ มนั สาคทู ี่ปลูกเลีย้ งนาน 10-12 เดือน

กำรใช้ประโยชน์ มนั สาคสู ว่ นใหญ่ปลูกเพื่อสกัดแป้งจากเหง้า แป้งที่ผลิตจากมันสาคู (Arrowroot) ก็เป็นแป้ง
อกี ชนิดท่มี ีคณุ สมบัติทีด่ ีเนอื่ งจากมีคณุ สมบัติท่มี ีความเหนียวสูง และเด่นกว่าแป้งอ่ืนคือเป็นแป้งท่ีย่อยง่าย ใช้กับทารก
และผู้ป่วยได้ดี นอกจากนี้เหง้าอ่อนนามาต้มหรือย่างรับประทานเป็นสมุนไพรช่วยขจัดเมือกไขมันท่ีผนังลาไส้ ตาให้
แหลกใช้พอกคางทูม บ้างนาน้าแป้งที่ได้มาผสมกับน้าหรือนมใช้รักษาอาการผิดปกติของกระเพาะอาหาร ใช้ประกอบ
อาหารทย่ี อ่ ยง่ายสาหรบั ผปู้ ่วยโรคกระเพาะและลาไส้ การรับประทานเหงา้ ที่เจรญิ เต็มทที่ าให้มีความอยากอาหารลดลง
เน่ืองจากในเหง้ามีใยอาหารสูง (Rudrappa. 2009) บางครั้งนาเหง้าทาเป็นยาพอกรักษาแผลพุพอง ในแอฟริกาใช้
บารุงรักษาอาหารแดดเผา แป้งที่ได้ใช้ควบคุมความช้ืนรักษาโรคติดต่อเน่ืองจากเชื้อราท่ีเจริญบนผิวหนังท่ีเปียกช้ืน
(SABA (pseud.), 2016)

ภำพแสดง แป้งมันสาคูและขนมคกุ กีจ้ ากแป้งมนั สาคู

31

เทคนิคกำรอนรุ ักษ์
การอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมมันสาคูในสภาพนอกถ่ินท่ีอยู่อาศัยตามสภาพธรรมชาติ สามารถอนุรักษ์เนื้อเย่ือใน
สภาพปลอดเช้ือ (in vitro conservation) เนื่องจากเมล็ดของมันสาคูมีความงอกต่าและไม่ค่อยติดเมล็ดและใช้พ้ืนท่ีน้อย
ในการขยายพนั ธุ์ เหมาะกับพืชท่ีมีคุณลักษณะท่ีเฉพาะให้อยู่ในสภาพปลอดเช้ือและปลอดจากภัยธรรมชาติ โดยการศึกษา
การขยายพันธุ์และการอนุรักษ์มันสาคูในสภาพปลอดเชื้อ เร่ิมจากฟอกชิ้นเน้ือตาท่ีเหง้า (Rhizome bud) มันสาคูฟอกฆ่า
เชื้อด้วยคลอรอกซ์ จานวน 2 ครั้ง ที่ความเข้มข้น 20 เปอร์เซ็นต์ นาน 15 นาที และ คลอรอกซ์ความเข้มข้น 25
เปอรเ์ ซ็นต์ นาน 5 นาที พบหน่อตน้ สาคูที่ไมพ่ บการปนเปอื้ นของเชือ้ และเจริญเติบโตเมื่อเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS คิด
เปน็ 16.7 เปอรเ์ ซ็นต์ และเพาะเลี้ยงยอดมันสาคูบนอาหาร MS ท่ีเติม BA มีแนวโน้มกระตุ้นการเกิดยอดได้ดีกว่าการเติม
BA ร่วมกับ NAA โดยการเล้ียงมันสาคูบนอาหาร MS ท่ีเติม BA ความเข้มข้น 6.0 mg/l เกิดยอดได้สูงสุดเฉล่ีย 5.5 ยอด
และยอดมีลักษณะเขียวปกติ ต้นไม่ยืด แต่การเลี้ยง MS ท่ีไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโตจะได้ต้นท่ียืดสูงและมี
แนวโน้มกระตุ้นการเกิดรากได้สูงสุดเฉลี่ย 4.6 ราก และยาว 4.49 เซนติเมตร ส่วนการชะลอการเจริญเติบโตของต้นมัน
สาคูในสภาพปลอดเชื้อนาต้นจากการขยายพันธุ์ในสภาพปลอดเช้ือตัดให้มีความสูง 3 ซม. พบว่าต้นมันสาคูที่เลี้ยงบน
อาหาร ½MS ยังคงมีการลักษณะต้นที่แข็งแรงและ มีการเจริญเติบโตแตกหน่ออ่อนได้เมื่อเปลี่ยนถ่ายอาหารใหม่เม่ือเล้ียง
นาน 5 เดือนโดยไม่ต้องเปล่ียนถ่ายอาหาร การย้ายออกปลูกในสภาพโรงเรือนต้องมีการปรับสภาพเน้ือเย่ือก่อนการย้าย
ปลูก รวมถึงการเลือกใช้วัสดุปลูกให้เหมาะสมท่ีมีสภาพคล้ายการเลี้ยงในสภาพธรรมชาติเป็นขั้นตอนท่ีสาคัญต่อการรอด
ชีวิตของเนื้อเย่ือ (Preece and Sutter, 1991) โดยนามันสาคูที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือเลือกใช้ต้นที่มีความสมบูรณ์
แข็งแรงและมีรากจานวนมากมาปรับสภาพ โดยการนาออกจากห้องเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อ คลายฝาขวดเพ่ือลดความช้ืน
สัมพัทธ์ในขวดและมีการถ่ายเทอากาศมากข้ึน ประมาณ 5 - 7 วัน หลังจากน้ัน ล้างวุ้นออกจากรากให้สะอาด จุ่มยากัน
เช้ือรา แล้วปลูกโดยใช้วัสดุปลูกดิน:กาบมะพร้าวสับ:ทราย อัตราส่วน 4:1:1 นาต้นท่ีปลูกลงในกระถางคลุมด้วย
ถุงพลาสติกเพื่อรักษาความชื้นระวังไม่ให้ใบสัมผัสถุง ปรับความชื้นโดยเปิดปากถุงที่ละน้อย วางไว้ในที่ร่ม เป็นเวลา 1
เดอื น พบอตั ราการรอดชีวติ 100 เปอรเ์ ซ็นต์

ภำพแสดง ตน้ มนั สาคทู เ่ี ลีย้ งบนอาหาร MS เติม BA ความเข้มข้น 6.0 mg/l นาน 3 เดือน และตน้ มันสาคูท่มี รี าก
สมบูรณ์พร้อมย้ายออกปลกู ในสภาพโรงเรือน
32

เทคนิคกำรอนรุ ักษ์มนั ขีห้ นูในสภำพปลอดเชื้อ

มันข้ีหนูเป็นพืชท้องถ่ินทางภาคใต้ของประเทศไทย และด้วยความเจริญทางด้านการคมนาคมขนส่งและการ
โยกยา้ ยถ่นิ ฐานในการประกอบอาชพี ทาให้ประชาชนทางภาคใต้กระจายทั่วประเทศไทย จึงได้มีการนาพืชท้องถ่ินชนิด
นมี้ าประกอบอาหารเพือ่ การบริโภคในครัวเรือน หรือการค้าขายในรา้ นคา้ อาหารพ้ืนเมืองทางภาคใต้ ซ่ึงเป็นการแผ่เผย
วัฒนธรรมการบริโภคพืชท้องถ่ิน และเป็นการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพของพันธุ์พืช
ภายในประเทศไทย แต่เนื่องด้วยการเจริญเติบโตและการขยายพันธ์ุมันขี้หนูนั้นใช้หัวพันธ์ุ ซ่ึงไม่สามารถเก็บรักษาได้
ขา้ มฤดกู าล การเก็บรักษาเชือ้ พันธุกรรมมนั ขีห้ นใู นสภาพปลอดเชอ้ื จงึ เปน็ วธิ กี ารหน่งึ ที่จะสามารถเกบ็ รักษามนั ขี้หนูได้

มันขี้หนูช่ือสามัญ Hausa potato, Country potato, Chinese potato, Madagascar potatoมีช่ือ
วิทยาศาสตร์ว่า Plectranthus rotundifolius เป็นพืชเศรษฐกิจเฉพาะพ้ืนที่ภาคใต้ตอนล่างสร้างรายได้ให้เกษตรกร
และปลูกบริโภคภายในครอบครัว มันขี้หนูเป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก มีหัวใต้ดิน สามารถรับประทานและใช้หัวในการ
ขยายพันธ์ุ เป็นมันพ้ืนเมืองท่ีมีถิ่นกาเนิดในแอฟริกา นามาเป็นพืชอาหารใช้ส่วนหัวใต้ดินรับประทานและพืชเศรษฐกิจ
เช่น ไนจีเรีย กานา เป็นต้น (Safwan and Mohamemed, 2016; Enyiukwuet. al., 2014 และ Sugri et. al.,
2013)

ลำตน้ สงู ประมาณ 1-2ฟตุ อวบน้ามีขนปกคลุม ลาต้นมีลักษณะเหล่ียมและทอดเล้ือย ใบเป็นใบเด่ียว รูปกลม
แกมไข่ ขอบใบหยัก ปลายใบมน ออกใบตรงข้ามสลับตั้งฉากกันโดยออกจากหัว ใบแผ่บนผิวดิน ขนาดของใบ ยาว
ประมาณ 605-8.5 เซนตเิ มตร (ซม.) กวา้ งประมาณ 5-7 ซม. ก้านใบยาว 4-5 ซม.

ดอกมีขนาดเล็ก สขี าวอมม่วง ช่อดอกออกท่ีปลายยอด จะชตู ั้งสงู ไมค่ อ่ ยติดผล
หัวมีขนาดเล็ก พัฒนาจากรากเพื่อสะสมอาหารเกิดขึ้นบริเวณข้อของลาต้น ขนาดหัวยาวประมาณ 3-5 ซม.
ทรงกระบอกหัวท้ายป้าน เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5-3 ซม. ผิวเปลือกสีน้าตาล เน้ือในมีสีขาวหรือม่วง (ภาพที่ 1) การเก็บ
เกี่ยวหัวมันขี้หนูตามฤดูกาลสู่ตลาด อยู่ระหว่างเดือนกันยนยน ถึง ธันวาคม ราคาขาย 30-60 บาท/กก. หัวคือส่วนที่
ใช้รบั ประทาน มีรสชาตมิ ัน นามาประกอบอาหารทอ้ งถ่ินทางภาพใต้ เชน่ แกงสม้ แกงเหลอื ง แกงไตปลา และแกงกะทิ
ตา่ งๆ นอกจากน้ียังสามารถนามาแปรรปู เป็นแปง้ ได้ (ฎายนิ , 2543)

33

กำรขยำยพันธ์ุมันข้ีหนู โดยการใช้เมล็ดแต่การติดเมล็ดค่อนข้างน้อย การใช้หัวแตกหน่อ และการใช้ยอด ซ่ึงสามารถ
ขยายพนั ธด์ุ ว้ ยวธิ ีการเพาะเลยี้ งเน้อื เย่ือได้ แตย่ งั ไม่สามารถนาออกปลูกโรงเรอื นได้
เทคนคิ กำรขยำยพนั ธุโ์ ดยวธิ ีกำรเพำะเล้ียงเนอ้ื เย่ือ

การฟอกชิ้นส่วนยอดและข้อมันขี้หนูด้วย colrox 20% นาน 10 นาที และล้างออกด้วยน้าน่ึงฆ่าเชื้อ 3 คร้ัง
หลังจากน้ันฟอกด้วย colrox 10% นาน 10 นาที และล้างออกด้วยน้านึ่งฆ่าเช้ือ 3 คร้ัง นาช้ินส่วนเนื้อเย่ือวางบน
อาหารสูตรสังเคราะห์ หลังจากนั้น 7 วัน ฟอกฆ่าเช้ือช้ินส่วน ด้วย colrox 5% นาน 10 นาที และล้างออกด้วยน้าน่ึง
ฆา่ เชื้อ 3 ครงั้ มกี ารรอดชีวติ 38 %

กำรขยำยชิ้นส่วนมันขี้หนู นาเนื้อเย่ือมันข้ีหนูเลี้ยงบนอาหารสูตรสังเคราะห์ MS + IAA 1 mg/l + BA 3
mg/l ท่ีอายุ 150 วัน (ภาพท่ี 2) และเพ่ิมปริมาณมันขี้หนูเพ่ือนาเข้าการทดลองการชะลอการเจริญเติบโตในสภาพ
ปลอดเชื้อ (ภาพท่ี 3) และการชักนาให้เกิดรากบนอาหารสูตรสังเคราะห์ MSr เพ่ือการเตรียมต้นในการทดสอบการ
ออกปลูกในสภาพโรงเรือนทดลอง และเตรียมความพร้อมชิ้นส่วนเน้ือเย่ือนาเข้าการทดลองการชะลอการเจริญเติบโต
ในสภาพปลอดเช้ือ (ภาพท่ี 4 และ 5) เตรียมตัวอย่างมันขี้หนูในสภาพปลอดเชื้อเพ่ือเข้าขั้นตอนการชะลอการ
เจรญิ เตบิ โต (ภาพที่ 6)

ภำพที่ 2 มันข้ีหนใู นสภาพปลอดเช้อื (150วนั )

34

ภำพที่ 3 มนั ขีห้ นใู นสภาพปลอดเชือ้ เตรียมสาหรับการนาเข้าการทดลองการชะลอการเจริญเตบิ โต (เมษายน2563)
ภำพที่ 4 มันขีห้ นูในสภาพปลอดเช้ือและการเกดิ ราก

ภำพที่ 5 มันข้หี นูในสภาพปลอดเชอื้ เตรยี มเข้าส่กู รรมวิธีการชะลอการเจรญิ เตบิ โต

35

ภำพที่ 6 เตรียมตัวอย่างมนั ข้ีหนใู นสภาพปลอดเชื้อเพ่ือเขา้ ขัน้ ตอนการชะลอการเจรญิ เติบโต
กำรเกบ็ รกั ษำมันขห้ี นใู นสภำพปลอดเชื้อ

การเก็บรักษามันขี้หนูในสภาพปลอดเช้ือ พบว่า การนายอดและข้อของมันข้ีหนู ฟอกฆ่าเช้ือและนาเข้า
เพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เพ่ือดาเนินการขยายช้ินส่วนเนื้อเย่ือมันข้ีหนูบนอาหารสูตรสังเคราะห์ MS + IAA 1
mg/l + BA 3 mg/l ดาเนินการทดลองการเก็บรักษามันข้ีหนูในสภาพปลอดเชื้อตามกรรมวิธี พบว่า ในระยะเวลา 2
เดือน ทั้ง 9 กรรมวิธี (1. MS, 2. MS + mannitol 10g /l, 3. MS + mannitol 20g /l, 4. ½ MS , 5. ½ MS +
mannitol 10g /l, 6. ½ MS + mannitol 20 g/l, 7. ¼ MS, 8. ¼ MS + mannitol 10 g/l และ 9. ¼ MS +
mannitol 20 g/l ตามลาดบั ) เนือ้ เยื่อของมันข้ีหนยู งั มีสเี ขยี ว และการเจริญเติบโตปกติในกรรมวิธีท่ีไม่เติม mannitol
(กรรมวิธที ี่ 1, 4 และ7) ดังแสดงในภาพท่ี 7 ในกรรมวิธีท่ีเติม mannitol 10 g/l (กรรมวิธีท่ี 2, 5 และ8) มีลักษณะใบ
อวบ สีเข้ม และการเจริญเติบโตช้ากว่ากรรมวิธีท่ีไม่เติม mannitol และพบว่า มันขี้หนูสามารถเก็บรักษาในสภาพ
ปลอดเช้อื (ชะลอการเจรญิ เติบโต) ก่อนยอดเหลอื งเกินร้อยละ50 ท่อี ายุ 6 เดอื น แม้ไมม่ ีการ subculture คือ กรรมวิธี
ที่ 8 (¼ MS + mannitol 10 g/l) ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบท้ัง 9 กรรมวิธี ดัง
แสดงในภาพที่ 7 ท้ังนี้กรรมวิธีที่ 7 และ 9 สามารถชะลอการเจริญเติบโตได้ท่ีอายุ 5 เดือน ส่วนกรรมวิธีที่ 1-6
สามารถชะลอการเจริญเติบโตได้ท่ีอายุ 4 เดือน และในเดือนที่ 6 ต้นและใบมีสีน้าตาลซึ่งหมายถึงไม่มีชีวิต และใน
กรรมวธิ ีที่ 8 เมือ่ นาช้ินสว่ นสีเขียวกลบั มาทดสอบอัตราการรอดชีวิตบนอาหารสูตรสังเคราะห์ MS+ IAA 1 mg/l + BA
3 mg/l ก่อนย้ายลงบนอาหารสูตรสงั เคราะห์ MSr และสามารถเจรญิ เติบโตไดต้ ามปกติ

36

ภำพท่ี 7 มนั ข้ีหนูในสภาพปลอดเช้อื ท่ีอายุ 2 เดือน
ภำพท่ี 8 มนั ขห้ี นูในสภาพปลอดเช้ือท่ีอายุ 6

37

เทคนคิ กำรอนรุ ักษ์ขงิ พระพุทธบำท (Zingiber tenuiscapus) และตะไคร้พรำน (Zingiber citriodorum)
พืชถ่ินเดยี วของไทยในสภำพปลอดเชื้อ

ขิงพระพุทธบำท เป็นพืชที่จัดอยู่ในวงศ์ขิง (FAMILY ZINGIBERACEAE) ช่ือวิทยาศาสตร์ Zingiber
tenuiscapus Triboun & K. Larsen ชือ่ ทอ้ งถิ่นคอื ไพลปา่ สารวจพบบรเิ วณป่าผลัดใบในเขาหินปูน ท่ีความสูงเหนือ
ระดับน้าทะเล 800-1,000 เมตร เขตอาเภอแม่สอด จังหวัดตาก จัดเป็นพืชถ่ินเดียวของประเทศไทย พบว่ามีการ
นาไปใช้ประโยชน์เป็นพืชสมุนไพรเช่นเดียวกบั ไพล (Z. montanum) ลักษณะพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ล้มลุกหลายฤดู ลา
ต้นเป็นเหง้ากลม ต้นตั้งตรงสูง 1-1.5 เมตร สูง 1-1.5 เมตร ประกอบด้วยใบเดี่ยว 20-25 ใบ แผ่นใบรูปขอบขนาน
กว้าง 3-3.5 เซนติเมตร ยาว 27-33 เซนตเิ มตร ปลายแหลม โคนสอบรูปล่ิม ลน้ิ ใบยาว 6-8 มลิ ลิเมตร แยกเป็น 2 แฉก
ก้านใบยาว 2-5 มิลลิเมตร ก้านช่อดอกยาว 30-35 เซนติเมตร กาบล่างสีชมพูซีด กาบบนสุดสีเขียวอ่อน ใบประดับสี
น้าตาลเขียวหรือน้าตาลแดง ผิวเกลยี้ งท้งั 2 ด้าน กลบี เลย้ี งโคนเช่อื มติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 2 แฉก กลีบดอก
สขี าวครีม อับเรณยู าวประมาณ 1 เซนติเมตร รังไข่มีผิวเกลี้ยงขนาด 3 มิลลิเมตร ออกดอกช่วงปลายเดือนกรกฎาคม-
กนั ยายน (Triboun et al., 2014)

ภำพแสดง ต้นขงิ พระพุทธบาท

ตะไครพ้ รำน เปน็ พืชท่ีจัดอยู่ในวงศ์ขิง (FAMILY ZINGIBERACEAE) ช่ือวิทยาศาสตร์ Zingiber citriodorum
Theilade & Mood ช่ือท้องถ่ินคือ ขิงแมงดา สารวจพบบริเวณป่าไผ่ในเขาหินปูน เขตอาเภอเวียงแหง จังหวัด
เชียงใหม่ ลักษณะพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ล้มลุกหลายฤดู เหง้าใต้ดินภายในสีเหลือง ลาต้นเทียมเหนือดินต้ังตรง สูง
ประมาณ 0.9-1.2 เมตร. ทุกช้ินส่วนของต้นมีกล่ินหอมคล้ายตะไคร้ ใบเด่ียวเรียงสลับแผ่นใบรูปรีแกมขอบขนาน สี
เขียว เป็นมัน ท้องใบสีเทาหม่น ก้านช่อดอกสีเขียว กาบล่างสีชมพูซีด ช่อดอกเกิดจากเหง้า ลักษณะช่อตั้งตรง ใบ
ประดับอ่อนสีเขียว เมื่อแกจ่ ะเปล่ยี นเป็นสีแดง กลีบดอกและกลีบปาก สีขาว บอบบาง ดอกออกเป็นช่อจากเหง้าใต้ดิน

38

ดอกสขี าว ผลรูปไข่กลับเมื่อแก่แลว้ แตก ออกดอกชว่ งเดอื นพฤษภาคม-กรกฎาคม (Theilade, 1999) เนื่องจากทรงต้น
ตัง้ ตรง และมใี บประดับสีสันสวยงามจงึ มกี ารนามาใช้เปน็ ไม้ดอกไมป้ ระดับ (Prabhakaran, 2013)

ภำพแสดง ตน้ ตะไคร้พราน

ภำพแสดง การรวบรวมตน้ ขงิ พระพทุ ธบาทและตะไครพ้ ราน

39

เทคนคิ กำรเพำะเล้ียงเน้ือเย่อื ต้นขิงพระพุทธบำทและตะไครพ้ รำนเพ่ือกำรอนุรกั ษ์
การฟอกฆ่าเชือ้ ช้นิ สว่ นพืช (Sterilization) ช้ินสว่ นหน่ออ่อนต้นขงิ พระพุทธบาทและตะไคร้พราน นายอดใหม่

ทแ่ี ตกออกจากหน่อ ลา้ งทาความสะอาดด้วยสบู่ จากนัน้ ลา้ งดว้ ยนา้ ไหลผา่ นนาน 45 นาที นาชิ้นส่วนจุ่มในแอลกอฮอล์
เข้มข้น 70% นาน 1 นาที แล้วฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วนหน่ออ่อน ด้วยสารละลายคลอรอกซ์ความเข้มข้น 20 เปอร์เซ็นต์
นาน 15 และ 15 เปอรเ์ ซ็นต์ นาน 10 นาที แล้วล้างด้วยน้ากล่ันนึ่งฆ่าเช้ือ 3 ครั้งๆ ละ 5 นาที นาช้ินส่วนที่ได้จากการ
ฟอกฆ่าเช้ือ ตัดให้มีขนาดขนาด 0.8-1 ซม. เล้ียงบนอาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) นาน 3
เดอื น

ภำพแสดง การทาความสะอาดช้นิ ส่วนขงิ พระพทุ ธบาทและตะไคร้พราน

ภำพแสดง ต้นตะไคร้พรานช้ินส่วนตน้ ขิงพระพทุ ธบาททปี่ ลอดจากการปนเปอ้ื นของเชื้อจลุ ินทรีย์

40

ภำพแสดง ชนิ้ สว่ นตน้ ตะไคร้พรานทปี่ ลอดจากการปนเป้ือนของเชื้อจุลนิ ทรยี ์
การขยายพันธโุ์ ดยชักนาใหเ้ กิดยอดในสภาพปลอดเชื้อ (In vitro multiple shoot induction)

ขิงพระพุทธบาท นาต้นขิงพระพุทธบาทที่ได้จากการฟอกฆ่าเช้ือ ตัดยอดให้มีความยาวประมาณ 1.5 ซม.
เพาะเลีย้ งบนอาหารสูตรที่ชกั นาใหเ้ กิดยอดสูตร MS ท่ีเติม BA ความเข้มข้น 3 มก./ล. นาน 3 เดือน สามารถชักนาให้
เกิดยอดได้ถึง 20.9 ยอด/ชิ้นส่วน

ตะไคร้พราน นาต้นตะไคร้พรานที่ได้จากการฟอกฆ่าเช้ือ ตัดยอดให้มีความยาวประมาณ 1.5 ซม. เพาะเลี้ยง
บนอาหารสตู รทช่ี ักนาให้เกิดยอดสตู ร MS ที่เติม BA ความเขม้ ข้น 3 มก./ล. ร่วมกับ NAA ความเข้มข้น 1 มก./ล. นาน
3 เดือน สามารถชักนาให้เกดิ ยอดได้ 9 ยอด/ชิ้นส่วน

AB
ภำพแสดง ขิงพระพุทธบาท (A) ท่ีเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 3 มก./ล. และตะไคร้พราน
(B) เพาะเลีย้ งบนอาหารสตู ร MS ที่เติม BA ความเขม้ ข้น 3 มก./ล. รว่ มกบั NAA ความเขม้ ขน้ 1 มก./ล. นาน 3 เดือน

41

การชะลอการเจริญเติบโตในสภาพปลอดเชอื้ (In vitro slow growth storage)
ขิงพระพุทธบาท การชะลอการเจริญเติบโตในสภาพปลอดเชื้อเพื่อการอนุรักษ์ต้นขิงพระพุทธบาท โดย

เพาะเล้ียงชิ้นส่วนยอดบนอาหาร ½ หรือ ¼ MS ที่เติมน้าตาลซูโครส 15 กรัม/ลิตร สามารถชะลอการเจริญเติบโตได้
นานอยา่ งนอ้ ย 8 เดอื นโดยไมต่ อ้ งเปลีย่ นถา่ ยอาหารใหม่

ตะไคร้พราน การชะลอการเจริญเติบโตในสภาพปลอดเช้ือเพ่ือการอนุรักษ์ต้นตะไคร้พราน โดยเพาะเล้ียง
ช้ินส่วนยอดบนอาหาร ½ MS ที่เติมน้าตาลซูโครส 15 กรัม/ลิตร สามารถชะลอการเจริญเติบโตได้นานอย่างน้อย 8
เดือนโดยไม่ตอ้ งเปลีย่ นถ่ายอาหารใหม่

ภำพแสดง ขิงพระพุทธบาท เพาะเล้ียงบAนอาหาร ½ (A) และ ¼ MSB(B) ที่เติมน้าตาลซูโครส 15 กCรัม/ลิตร และ
ตะไคร้พราน (C) เพาะเลี้ยงบนอาหาร ½ MS ที่เติมน้าตาลซูโครส 15 กรัม/ลิตร ที่เพาะเล้ียงนาน 8 เดือน โดยไม่
เปลีย่ นถา่ ยอาหารใหม่

ภำพแสดง ตน้ ขิงพระพุทธบาท (A) และตน้ ตะไคร้พรานA(B) ทฟี่ ้ืนฟูภายหลงั การชะลอกBารเจรญิ เตบิ ในสภาพปลอดเชอ้ื
42

เทคนิคกำรอนุรักษพ์ นั ธุกรรมพชื สมุนไพร: ระย่อมน้อย (Rauvolfia serpentina (L.)
Benth.exKurz) ในสภำพปลอดเช้อื

ระย่อมน้อยชื่อสามัญ Rauvolfia (รอโวลเฟีย), Serpent wood, Indian Snake Rootวิทยาศาสตร์
Rauvolfiaserpentina (L.) Benth. ex Kurzจดั อยใู่ นวงศต์ ีนเป็ด (APOCYNACEAE) มีช่ือท้องถ่ินอ่ืน ๆ ว่า ละย่อม (สุ
ราษฎร์ธานี), ปลายข้าวสาร (กระบี่), เข็มแดง, ย่อมตีนหมา (ภาคเหนือ), กะย่อม ระย่อมน้อย (ภาคใต้), กอเหม่
(กะเหร่ียง แม่ฮ่องสอน), คลาน ตูมคลาน มะโอ่งที สะมออู (กะเหรี่ยงกาญจนบุรี), เสอเกินมุ,อิ้นตู้หลัวฟูมุ (จีนกลาง)
เปน็ ต้นลักษณะของระย่อมนอ้ ยจัดเปน็ ไม้พมุ่ เต้ียขนาดเลก็ ผลัดใบในช่วงฤดแู ลง้ แลว้ จะผลิใบใหม่ในช่วงฤดูฝน ลาต้นมี
ความสูงประมาณ 30-70 เซนตเิ มตร ลาต้นมักคดงอ เปลือกลาต้นเป็นสีขาวหรือสีน้าตาลอมเทา มียางสีขาว รากใต้ดิน
แตกสาขามาก มีรอยแผลใบอยู่ตามลาต้น ขยายพันธ์ุโดยใช้เมล็ดและการตอน เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนซุยและผสม
กับอินทรียวัตถุ ต้องการความชุ่มช้ืนของดิน มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง พบได้ต้ังแต่ศรีลังกา อินเดีย เนปาล ภูฏาน
ภูมิภาคอินโดจีน พม่า จีน และมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาค โดยมักข้ึนตามท่ีโล่งในป่าเบญจพรรณ
ป่าเต็งรัง ปา่ ดิบชนื้ และปา่ ดิบแลง้ ที่ระดับความสูงจนถึงประมาณ 800 เมตร (วิทย์, 2542, วิทยา, 2554 ,นิจศิริ และ
ธวัชชัย, 2547 และ Padmalatha and Prasad., 2007)

ระย่อมน้อย (Rauvolfiaserpentina (L.) Benth. ex Kurz) หรือ รากงูอินเดีย (Indian Snakeroot) หรือ
"Sarpagandha" เป็นพืชสมุนไพรท่อี ย่ใู นวงศ์ Apocynaceaeเป็นหนึ่งในพืชสมุนไพรท่ีสาคัญท่ีถูกจัดอยู่ในประเภทท่ีใกล้
สูญพันธ์ุท่ัวโลกมีเขตการกระจายพันธุ์กว้างพบมาก ในประเทศอินเดีย มาเลเซีย ปากีสถาน บังกลาเทศ ศรีลังกา พม่า
และไทย (Jadhav et al., 2001อ้างโดย Padmalatha and Prasad., 2007)ในประเทศไทยพบได้ท่ัวทุกภาค โดยมัก
ขึ้นตามท่ีโล่งในป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูงจนถึงประมาณ 800 เมตร (วิทย์,
2542) มีสรรพคุณทางยาที่ใช้ในการบาบัดโรค โดยในรากระย่อมน้อยประกอบด้วยสารอัลคาลอยด์สาคัญที่ช่ือ รีเซอร์บีน

43

(reserpine) เป็นสารออกฤทธ์ิที่เป็นประโยชน์ในการรักษาโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ลดระดับ
น้าตาลในเลือด ความผิดปกติของระบบประสาท มีฤทธิ์สงบและกล่อมประสาท (Weiss and Fintlemann, 2000,
Weerakoon et al., 1998) ลดไข้ ต้านการอักเสบ (Roaet al, 2012) ซ่ึงปัจจุบันสามารถสังเคราะห์สาร reserpine
ข้ึนมาใช้ในการรักษาโรคได้แต่ยังนิยมสกัดสาร reserpine จากรากระย่อมน้อยอยู่ รวมท้ังสกัดสารประกอบฟีโนลิค
(phenolic compounds) จากรากระย่อมน้อยเพ่ือใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยาโดยสารรวมท่ีสกัดได้จากระย่อมน้อยน้ัน
เมื่อนามาทดลองในคนและสัตว์ที่มีความดันโลหิตสูง พบว่า มีประสิทธิภาพทาให้ความดันและการเต้นของหัวใจลดลง
จากการทดลองจึงเหน็ ว่าสารกลมุ่ นี้มคี วามหมายต่อผูป้ ่วยที่มีความดนั โลหติ สูงและหวั ใจเต้นเร็วผดิ ปกตเิ ปน็ อย่างยง่ิ

สารสาคัญท่ีพบ ได้แก่ สารในกลุ่ม indole alkaloids ชนิดที่สาคัญ คือ reserpine, ajmaline,
ajmalinimine, raurolfia alkaloid G, rescinnamidine, sarpagine, serpentine, serpentinine, sitosterol,
stigmasterol, vinorine, yohimbineเป็นต้นฤทธ์ิทางเภสัชวิทยาที่พบ ได้แก่ ฤทธิ์ลดระดับน้าตาลในเลือด ลดความ
ดันโลหิต ท่ีรากมีสารอัลคาลอยด์ reserpine ซ่ึงมีฤทธ์ิลดความดันโลหิตและกล่อมประสาทสงบระงับประสาท กด
ระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้นอนหลับ แก้อาการคล่ืนไส้อาเจียน กระตุ้นกล้ามเน้ือมดลูกและลาไส้เล็กบีบตัว ยับย้ัง
การบีบตัวของลาไส้เล็ก (วิทยา, 2554, จุไรรัตน์, 2552, Weiss and Fintlemann, 2000, Weerakoon et al.,
1998)ปิดกั้น adrenergic receptor , dopamine receptor และ GABA receptor ต้านการเต้นไม่เป็นจังหวะของ
หัวใจ มีฤทธ์ิต่อหัวใจ ทาให้หลอดเลือดคลายตัว เป็นพิษต่อเซลล์ ต้าน adrenaline, acetylcholine, histamine,
ต้านไวรัส, เช้ือรา, ยับย้ังพยาธิไส้เดือน แก้คลื่นไส้อาเจียน ยับยั้งการงอกและการเจริญเติบโตของพืช มีผลต่อต่อม
ไทรอยด์และต่อมใต้สมอง มีผลต่อการทางานของไต กระตุ้นกล้ามเน้ือลาย ทาให้เกิดการชักง่ายขึ้น เพิ่มน้าย่อยใน
กระเพาะอาหาร มฤี ทธเิ์ หมอื น estrogen เพ่ิมคอเลสเตอรอลและบิลิรูบินในเลือด เร่งการสลายโปรตีนในการสลายตัว
เองของเซลลแ์ ละเนอ้ื เยือ่

เทคนคิ กำรอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื สมนุ ไพร: ระยอ่ มนอ้ ย
1. ทาการสารวจและรวบรวมพันธร์ุ ะยอ่ มน้อยทางภาคเหนือ พบต้นระยอ่ มนอ้ ย 3 จุด คือ
1. บา้ นทา่ ดอ่ื หมู่7 ต.หัวเมอื ง อ.เมืองปาน จ.ลาปาง
2. บ้านขาม หมู่1 ต.หัวเมอื ง อ.เมอื งปาน จ.ลาปาง
3. บ้านป่าไร่ หมู่2 ต.ขะเนจอื อ.แมร่ ะมาด จ.ตาก
บรเิ วณที่พบต้นระย่อมน้อย จะเปน็ บรเิ วณท่มี ีความช้ืนคอ่ นข้างสูง มีอินทรียวัตถุที่เกิดจากใบไม้ผุค่อนข้างมาก

ดินเป็นดินทราย มีแสงราไร ต้นไม้ใหญ่ไม่หนาทึบ โดยต้นระย่อมน้อยจะข้ึนอยู่เป็นกลุ่มๆ เนื่องจากระย่อมน้อย
นอกจากจะขยายพันธ์ุโดยเมล็ดแล้ว ยังสามารถขยายพันธ์ุโดยแตกต้นใหม่จากแขนงรากได้อีกด้วย ดังน้ันในการเก็บ
ตัวอย่าง จึงเลือกเก็บต้นที่แตกจากแขนงราก และเหลือต้นหลักไว้ในพื้นที่เพื่อให้ไม่สูญพันธุ์และสามารถขยายพันธ์ุได้
ต่อไป

44

2. นาตน้ ระย่อมน้อยทีเ่ ก็บได้มาปลกู ในกระถางในเรือนเพาะชา สานักวิจัยพฒั นาเทคโนโลยชี วี ภาพ(บางเขน)

3. การฟอกฆา่ เชื้อระย่อมน้อย ในไตรมาสที่ 2 ประมาณปลายเดอื นมกราคม ระยอ่ มน้อยเรมิ่ มกี ารแตกยอด
ใหม่ จงึ เลือกตดั ยอดระย่อมที่เพ่ิงแตกใหมย่ าวประมาณ 1 ซม.ซงึ่ ยังไม่มที ่อนา้ ยาง มาฟอกฆ่าเชอื้ ด้วย Clorox ความ
เขม้ ข้น 15 เปอร์เซน็ ต์ 10นาที พบว่า ไม่มกี ารปนเป้ือนแบคทีเรียและเช้ือราเลย ย้ายลงเลย้ี งในอาหารสังเคราะหส์ ูตร
ตา่ งๆ เพื่อหาสูตรอาหารท่ีเหมาะสม

45

ยอดระย่อมน้อยทแ่ี ตกใหมท่ ใ่ี ช้ฟอกฆา่ เชอ้ื

เม่อื ตน้ ระยอ่ มใบสเี ขียวเจริญเติบโตได้พอประมาณ ทาการตัดเป็นท่อนๆเพื่อลงเล้ียงในอาหารสูตร MS + IAA
0.1ml/l +BA 3ml/l และ MS + IAA 0.5ml/l +BA 4ml/l พบวา่ ต้นทีเ่ ล้ียงในสตู ร MS + IAA 0.1ml/l +BA 3ml/l
มีการแตกยอดมากกวา่ โดยชักนาใหเ้ กิดยอดเฉลี่ยถงึ 12.6 ยอด/ชนิ้ สว่ น

ab
ภาพ a ตน้ ระย่อมน้อยทเ่ี ลี้ยงในอาหารสตู ร MS + IAA 0.1ml/l +BA 3ml/
ภาพ b ต้นระย่อมนอ้ ยทเ่ี ลีย้ งในอาหารสตู ร MS + IAA 0.5ml/l +BA 4ml/l

46

4. Subculture ต้นระย่อมน้อย โดยตัดส่วนข้อเล้ียง MS + IAA 0.1ml/l +BA 3ml/l เพ่ือให้ได้ต้นระย่อม
น้อยทม่ี ีขนาดใกล้เคียงกัน พบวา่ มีความแตกตา่ งกนั เป็น 2 กลมุ่ คือ กลมุ่ ทมี่ ใี บสเี ขยี ว กบั กลุม่ ที่มีใบสีเขียวอมเหลืองซ่ึง
จากการทดลองเลี้ยงต้นท่ีมีใบสีเขียว และต้นที่มีใบสีเขียวอมเหลือง MS + IAA 0.1ml/l +BA 3ml/l โดยไม่
subculture เปน็ เวลา 4 เดือน พบว่าต้นท่ีมีใบสเี ขียวจะแตกกอมากกว่าและไม่เกิดราก ส่วนต้นที่มีใบสีเขียวอมเหลือง
แตกกอน้อยแตจ่ ะเกิดราก

ดงั นั้นการเลือกต้นระย่อมน้อย เพ่ือทาการทดลองชะลอการเจริญเติบโต ควรใช้ต้นที่มีคุณสมบัติเหมือนกัน มี
การเจริญเติบโตใกล้เคียงกันมากที่สุด ซ่ึงกลุ่มท่ีมีใบสีเขียวน่าจะเหมาะสมสาหรับใช้ในการทดลองการชะลอการ
เจรญิ เตบิ โตมากกวา่

ภาพ ต้นระยอ่ มนอ้ ยท่ีsubcultureโดยตัดส่วนข้อ เลี้ยงในอาหารสูตร MS + IAA 0.1ml/l +BA 3ml/l

ab

ภาพ ต้นระยอ่ มน้อยท่ีเลี้ยงในอาหารสูตร MS + IAA 0.1ml/l +BA 3ml/l หลังsubculture 40วัน
พบมตี ้นท่ีแตกต่างกัน 2กลมุ่ คือ a ต้นที่มีใบสีเขียว b ต้นท่มี ีใบสเี ขียวอมเหลอื ง

47

5. ศึกษาการชะลอการเจริญเติบโตของระย่อมน้อยในสภาพปลอดเชื้อ ตัดยอดระย่อมน้อย(กลุ่มใบสีเขียว)
ความยาวประมาณ 1 ซม. มีใบ 2-5 ใบ ลงเลย้ี งในอาหาร 16 สูตร คือ

1. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 0 mg/l + mannitol 0 g/l
2. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 0 mg/l + mannitol 10 g/l
3. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 0 mg/l + mannitol 20 g/l
4. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 0 mg/l + mannitol 30 g/l
5. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 5 mg/l + mannitol 0 g/l
6. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 5 mg/l + mannitol 10 g/l
7. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 5 mg/l + mannitol 20 g/l
8. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 5 mg/l + mannitol 30 g/l
9. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 10 mg/l + mannitol 0 g/l
10. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 10 mg/l + mannitol 10 g/l
11. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 10 mg/l + mannitol 20 g/l
12. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 10 mg/l + mannitol 30 g/l
13. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 15 mg/l + mannitol 0 g/l
14. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 15mg/l + mannitol 10 g/l
15. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 15 mg/l + mannitol 20 g/l
16. MS + IAA 0.1 ml/l + BA 3 ml/l + PBZ 15 mg/l + mannitol 30 g/l

48

ภาพ การศึกษาการชะลอการเจริญเตบิ โตของระย่อมนอ้ ยในสภาพปลอดเชอ้ื ลงเล้ยี งในอาหารแตล่ ะสตู ร
49


Click to View FlipBook Version