The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โดรงงานตั้งเป้าเราทำได้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sanchai4111, 2021-08-12 10:40:08

โครงงานคุณธรรมม.6

โดรงงานตั้งเป้าเราทำได้

1

โครงงานคุณธรรม

เรอื่ ง ตง้ั เป้าเราทาได้
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1

ปีการศึกษา 2562

ครูท่ีปรึกษาโครงงาน

โรงเรยี นสตรีศรีสรุ โิ ยทยั
สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร

2

ช่อื โครงงาน ตั้งเป้าเราทาได้
ชื่อผจู้ ดั ทาโครงงาน ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6/1

1.น.ส.กลุ ธิดา หาญจิตร 13.น.ส.ภูธิดา จิ๋วนางนอง
2.น.ส.นชุ พชิ า อภิรกั ษาภรณ์ 14.น.ส.ณฐั พร ศิริพงษ์มงคล
3.น.ส.ซาลีน่า กาย 15.น.ส.กนกวรรณ เข่ือนขันธ์
4.น.ส.พรรณี สงั ศรีสวัสด์ิ 16.น.ส.สริ มิ า ธปู หอม
5.น.ส.นนั ทิกาญจน์ สรรพมงคลชยั 17.น.ส.ปัญจพรนภัส โคตะวินนท์
6.น.ส.ภัคจริ า แก่นพรหมมา 18.น.ส.วริศรา สังเกตกจิ
7.น.ส.แกว้ กานต์ เรอื่ ศรจี ันทร์ 19.น.ส.อรยา บุณยสนิ ธ์
8.น.ส.ธัญลกั ษณ์ เพ็ญศรี 20.น.ส.ศรุตา มาลี
9.น.ส.กวินลกั ษณ์ กวนิ วัฒนเจตน์ 21.น.ส.กันยารัตน์ แคนศิลา
10.น.ส.ธริ ดา ธนนั ชยั โชติ 22.น.ส.ศศธิ ร ผาสดี า
11.น.ส.วริศรา แซต่ ้ัง 23.น.ส.รมิดา วฒั นภักดพี งศ์
12.น.ส.พรหมพร ขําเถ่ือน 24.น.ส.บวรนันท์ อําไพกลุ พิธาน์
25.น.ส.ศศิรัตน์ ผลพฤกษ์รัตน์ 26.น.ส.ปวรลดา วรลกั ษณ์กจิ

ครทู ป่ี รึกษา นาเจรญิ
สะอาดถ่นิ
1.นางสาวจนั ทร์ทมิ า บตุ รรัตน์
2.นายเอกรักษ์
3.นางรชั นี

3

คานา

โครงงาน เรอื่ ง “ตั้งเป้าเราทําได้” น้เี ปน็ สว่ นหน่งึ ของโครงงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ กลุ่มของข้าพเจ้าจัดทาํ
ขน้ึ เพ่ือตัง้ เปา้ หมายในการเรียนเพือ่ ให้ประสลความสาํ เรจ็ ตามเป้าหมายท่ีตง้ั ไว้รวมถึง การนําหลักธรรมคําสอนมาใช้
เกี่ยวกับอิทธบิ าท ๔ ความรบั ผิดชอบ ความขยันหมน่ั เพยี ร โครงงานน้ีได้เชอ่ื มโยงสู่คุณธรรมอัตลกั ษณจ์ ากโครงงาน
คณุ ธรรมมีความสอดคลอ้ งกบั คุณธรรมอตั ลักษณข์ องโรงเรียนสตรศี รีสรุ ิโยทยั คอื ความรับผดิ ชอบ

คณะผูจ้ ดั ทําต้องขอขอบคณุ ครูทป่ี รกึ ษาทุกทา่ นที่ให้ความรูเ้ กย่ี วกบั การทําโครงงาน คณะผู้จัดทาํ หวังเป็น
อย่างยง่ิ ว่าผทู้ ี่อา่ นโครงงานนี้จะไดร้ ับความร้จู ากโครงงาน และคงจะเปน็ ประโยชนก์ บั ท่านผอู้ า่ นทกุ ๆท่าน โครงงานเล่ม
นอ้ี าจมีส่งิ ใดผดิ พลาดก็ขออภัยมา ณ โอกาสนี้

สารบญั 4

บทคดั ย่อ หนา้
กติ ติกรรมประกาศ
คาํ นาํ ๘
บทท่ี 1 บทนํา ๑๐
บทท่ี 2 เอกสารที่เกย่ี วข้อง ๑๓
บทที่ 3 วธิ ีการดําเนนิ งาน ๑๕
บทท่ี 4 ผลการดาํ เนินงาน/ผลการศึกษาค้นควา้ ๑๖
บทที่ 5 สรุปผลการดาํ เนินงาน
บรรณานกุ รม
ภาคนวก

ภาคผนวก ก แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรียน
ภาคผนวก ข ภาพกจิ กรรม
ภาคผนวก ค เอกสารประชาสมั พันธ์และเผยแพร่

5

บทคดั ย่อ

การกําหนดเปูาหมาย เพื่อให้ได้รับความรู้ การสําเร็จ แต่เปูาหมายน้ันเป็น เปูาหมายระยะยาว หรือจุดหมาย
ปลายทางที่บุคคลประสงค์จะให้เกิดข้ึนในอนาคตท่ียังห่างไกลจากความเป็นจริง โดยไม่ได้บอก หรือระบุว่าจะต้องทํา
อย่างไรเพือ่ ให้บรรลุถงึ เปูาหมายน้ัน เช่นเดียวกบั การเดนิ ทางจากสถานที่แห่งหนึ่งไปยังสถานที่อีกแห่งหนึ่ง ซ่ึงอาจจะมี
เส้นทางให้เลอื กได้หลายเส้นทางหรือมวี ธิ กี ารเดินทางอีกหลายวธิ กี ารทผี่ ู้เดนิ ทางสามารถจะเลือกได้

การศึกษาในครั้งนี้ เพื่อที่จะแบ่งเปูาหมายระยะยาวออกเป็นเปูาหมายย่อย ๆ หรือ เปูาหมายระยะสั้น ท่ีมี
ความต่อเน่ืองของช่วงเวลา ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 / 1 จนถึงเปูาหมายระยะยาว ปรากฎว่านักเรียนมีความ
กระตอื รอื ร้นที่จะเรยี นและทําผลการเรียนนั้นใหอ้ อกมาดี

6

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานคุณธรรม เรื่อง ต้ังเปูาเราทําได้ เป็นโครงงานคุณธรรม เกิดขึ้นได้ด้วยความร่วมมือร่วมใจของ
นักเรยี น คณะครู ท่ไี ด้ชว่ ยกันคิด เพ่อื ตั้งเปาู หมายในด้านของการเรียน ความรับผิดชอบ ทั้งน้ีเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมี
ความรับผิดชอบ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 มาประยุกต์
เพ่อื ใหเ้ กดิ ประโยชน์แก่ตนเองและผู้อ่นื เพอ่ื ใหโ้ ครงงานดาํ เนินไปดว้ ยดแี ละมีประสทิ ธิภาพ

จากความสําเร็จดังกล่าว กลุ่มผู้จัดทําขอขอบพระคุณคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกท่าน ท่ีเป็น
กําลังใจและท่ีให้ความร่วมมือในการร่วมกิจกรรม ของโครงงาน ทําให้โครงงานคุณธรรมเร่ือง เร่ือง ต้ังเปูาเราทําได้
สําเร็จลลุ ่วงไดเ้ ปน็ อย่างดียง่ิ

7

บทท่ี ๑
บทนา

๑. ท่มี าและความสาคัญ

ปัจจุบันการเปล่ียนแปลงของสถาบันอุดมศึกษาท่ัวโลกรวมถึงประเทศไทย มีความพยายามในการพัฒนาและ
ปรับตัวเพ่ือรองรับกับสภาพการแข่งขันท่ีรุนแรงขึ้นโดยการเพิ่มศักยภาพในการปรับตัวให้สอดรับกับแนวโน้มอนาคต
เพ่ือเป็นกรอบในการปรับทิศทางพัฒนาอุดมศึกษามีทรัพยากรท่ีจํากัดอีกทั้งผู้เรียนมีความต้องการของตลาดแรงงาน
และผูเ้ รยี นมีโอกาสเลือกสถาบันอุดมศึกษาไดม้ ากขึ้นส่งผลให้สถาบันอุดมศึกษาต่างพยายามพัฒนาตนเองให้แข่งขันได้
ดว้ ยเหตุน้ีสถาบันอุดมศึกษาจงึ ต้องค้นหาเอกลักษณ์เฉพาะท่ีถนัด (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2559)ระบบการศึกษา
ไทยเป็นประเด็นปัญหาใหญ่ของประเทศเพราะขณะน้ีทุกตัวช้ีวัดต่างระบุขีดความสามารถของเด็ก นักเรียน ครู
โรงเรยี น มหาวิทยาลยั ท่ีเร่มิ ถดถอยลงตามลําดบั นําไปสคู่ ําถามที่ทุกคนกังวลวา่ การศกึ ษาไทยจะลดถอยลงเรา
จงึ ต้องพัฒนาให้เดก็ นกั เรยี นมีความสามารถและการศึกษาทเี่ พิ่มและสงู ข้นึ (สาํ นักขา่ วไทยพับลกิ า้ , 2554)

ซง่ึ มุ่งเน้นการจัดการเรยี นการสอนใหม้ ปี ระสิทธิภาพ มีการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้โรงเรียนน่าอยู่น่าเรียน
มีแหล่งเรียนรู้สําหรับนักเรียน เพ่ือนําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวันและศึกษาข้อมูลหาความรู้ให้พร้อมกับการศึกษาท่ี
เพ่ิมและสูงขั้นดังน้ันจึงจําเป็นท่ีจะศึกษาความต้องการต้ังเปูาหมายการเรียน เพ่ือจะได้รับทราบความต้องการและ
เปูาหมายของตวั เองได้อย่างชัดเจน

๒. วัตถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือใหน้ กั เรียนมีความรบั ผิดชอบในหนา้ ท่ีทีไ่ ด้รบั มอบหมายในการเรียน
๒. เพ่ือศึกษาปจั จยั ท่ีมีผลตอ่ การเรียนและการศึกษาต่อนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6/1

๓. ขอบเขตของโครงงาน
๑. ระยะเวลาในการดําเนินงาน คือ ตลอดปกี ารศึกษา ๒๕๖2
๒. แหล่งคน้ คว้าข้อมูล คอื ครผู ู้รู้ ห้องสมดุ อนิ เทอรเ์ น็ต
3. กลมุ่ เปูาหมาย นักเรยี นระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6/1 จํานวน 26 คน

4. สาเหตขุ องปัญหา
1. นกั เรียนไม่มีแรงจูงใจในการอา่ นหนงั สอื
2. การบา้ นและกิจกรรมในโรงเรยี นมมี าก

5. เป้าหมายเชิงปรมิ าณ
นกั เรียนชัน้ 6/1 จาํ นวน 26 คน

เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ
นกั เรียนต้งั เปาู หมายในการเรียนไดส้ ําเรจ็

6.พระราชดารสั
การทําความดนี ัน้ ทาํ ยากและเห็นผลช้า แตจ่ าํ เปน็ ตอ้ งทํา เพราะหาไมแ่ ลว้ ความช่ัวซ่ึงทํา

ง่ายจะเขา้ มาแทนท่ีและพอกพูนอย่างรวดเรว็

8

7.ความเช่อื มโยงสคู่ ณุ ธรรมอัตลกั ษณ์
ความรับผดิ ชอบ

8. พฤติกรรมเชิงบวก
๑. นักเรียนทาํ งานท่ีไดร้ บั มอบหมายให้สาํ เรจ็ ลุล่วงไปไดด้ ้วยดี
๒. นกั เรียนรู้จกั บทบาทหนา้ ท่ีของตนเองและมีความรบั ผิดชอบในการเรียนและมีเปาู หมายในการเรยี น
มากข้ึน

9. ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รับ
๑. นักเรียนรู้จักใหก้ ําลงั ใจตัวเอง หรอื กับเพื่อนรอบข้าง
๒. นักเรียนเป็นผู้ท่ีมคี วามรบั ผิดชอบมากในตนเองมากข้ึน
๓. นักเรียนรจู้ ักความสามคั คี เหน็ คุณคา่ ของการตงั้ เปาู หมายในการเรยี น
๔. นักเรยี นทุกคนสามารถมองเหน็ คณุ ค่าในตนเอง

9

บทท่ี 2
เอกสารที่เกีย่ วข้อง

อิทธบิ าท 4

อิทธิบาท 4 เป็นแนวทางการเรียน การทาํ งาน ให้ประสบความสําเร็จ อทิ ธบิ าท 4 เป็นแนวทางการเรยี น
การทาํ งาน ให้ประสบความสําเรจ็ ท่พี ระพุทธองค์ได้ทรงสดับไวอ้ ยา่ งแยบคลาย อนั ประกอบดว้ ยแนวปฏบิ ตั ิ 4 ข้อ คือ
ฉนั ทะ วริ ิยะ จติ ตะ วิมังสา ซ่ึงใครๆก็ทอ่ งได้ จําได้ จะมีสักกี่คนปฏิบัตไิ ด้ครบกระบวนความทัง้ 4 ข้อ อนั เป็น 4
ขน้ั ตอนท่ีตอ่ เนื่องหนนุ เสรมิ กัน จะขาดข้อใดแต่ข้อหนง่ึ ไม่ได้ ด้วยว่ามันเป็นกระบวนการท่ีเชือ่ มโยงกันทงั้ 4 ข้อ จงึ
จะท าให้เราประสบผลสาํ เร็จในชวี ิตและการงานไดต้ ามความมงุ่ หวงั ที่ ขออธบิ ายดังต่อไปน้ี

1. ฉนั ทะ หมายถงึ ความรัก และความพอใจในส่งิ นนั้ ๆ คือ เมอื่ ทาํ ส่งิ ใดก็ทําด้วยความพอใจ ดว้ ยความรักใน
สง่ิ นัน้ ทาํ ส่งิ น้นั ด้วยความเต็มใจ ไม่เบื่อหนา่ ยในกิจท่ที ํา

2. วริ ิยะ หมายถงึ ความเพียรในการกระทําสงิ่ นน้ั ๆ คือ เม่ือทาํ สงิ่ ใดก็ทาํ ด้วยความขยันหมน่ั เพยี ร ด้วยความ
พยายาม และมมี านะอตุ สาหะ ไม่ทอดท้งิ กิจทีท่ าํ นน้ั

3. จติ ตะ หมายถึง ความเอาใจใส่ ความเอาใจจดจ่อในส่งิ ท่ีทํา ไม่วางธรุ ะในส่งิ น้ันๆ คือ เม่ือทาํ สงิ่ ใดก็ทาํ ด้วย
ความรูจ้ กั ไตร่ตรอง ทาํ ด้วยปัญญา รจู้ กั พิจารณาใครค่ รวญ รจู้ ักพนิ จิ พเิ คราะห์ ทดลอง ทดสอบ ตรวจหาสาเหตดุ ้วย
ความรอบคอบ

4. วมิ ังสา หมายถงึ การใช้ปัญญาพจิ ารณาไตรต่ รอง ตรวจสอบในสงิ่ นัน้ ๆ คือ เมื่อทาํ สิ่งใดกท็ ําด้วยความรจู้ ัก
ไตรต่ รอง ทําด้วยปญั ญา รู้จักพิจารณาใคร่ครวญ ร้จู ักพนิ ิจพิเคราะห์ ทดลอง ทดสอบ ตรวจตราหาสาเหตดุ ้วยความ
รอบคอบ

ความรับผิดชอบ

การกระทําหรอื การแสดงพฤติกรรมของบุคคลทีเ่ ป็นไปตามความคาดหวงั ตามตําแหนง่ ในอาชีพหรอื
ตําแหนง่ ทส่ี ังคมกําหนดข้นึ ซ่ึงโครงสรา้ งของบทบาทประกอบดว้ ย ลกั ษณะที่เฉพาะของแตล่ ะบุคคล การแสดง
พฤติกรรมและตาํ แหน่งทค่ี รองอยู่ หรือพฤติกรรมที่คนในสังคมต้องทําตามสถานภาพในกลุม่ หรอื สังคม
โดย บทบาท (Role) สามารถแยกได้ 4 ประเภทหลักดังน้ี

1. บทบาทท่ีคาดหวงั (Role expectation) ทุกสงั คมจะมีบทบาทให้ทุกคนปฏบิ ัติตามแตล่ ะ
สถานภาพ

2. บทบาทที่กระทาํ จริง (Role performance) ในชวี ิตจริงทุกคนอาจไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั ติ ามบทบาทท่ี
สงั คมกาํ หนดไว้ เพราะต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับสถานการณ์

3. บทบาทท่ีขัดแย้ง (Role conflict) การอยู่ในสังคมทุกคนจะมีบทบาททต่ี ้องกระทําแตกต่างกัน
หลายบทบาท การแสดงบทบาทหลายบทบาทในเวลาเดยี วกนั

4. บทบาทที่ถกู บังคบั (Role strain) หากในการกระทาํ ตามบทบาทน้ันเกิดความไม่เตม็ ใจท่ีจะทาํ
ตามบทบาทท่กี ําหนดไว้

การทบ่ี คุ คลมีบทบาทต่อสงั คม และปฏบิ ัติตามหน้าทีท่ ส่ี งั คมยอมรบั มีความสําคัญเป็นอันมาก เพราะทํา
ใหก้ ารจัดระเบียบสังคมดีข้ึน เปน็ การควบคุมสังคมให้เป็นระเบียบ ถ้าคนไม่ปฏบิ ัตติ ามหน้าท่ี ตามบทบาทของตน

ในสงั คมใหส้ มกบั สถานภาพท่ีได้รับ กจ็ ะทาํ ใหส้ ังคมเสยี ระเบียบ ทาํ ให้เกิดปัญหาและความยุ่งยากให้แก่สงั คม
แนวคิดเกยี่ วกับบทบาทซ่ึงสรุปได้วา่ บทบาทจะต้องประกอบด้วยลักษณะ 4 ประการ ดังตอ่ ไปน้ี

10

1.1 ร้สู ภาพของตนในสงั คม
1.2 คาํ นงึ ถึงพฤติกรรมท่เี ก่ยี วข้องกบั ผูอ้ ่นื
1.3 คาํ นึงถงึ พฤติกรรมทเี่ ก่ียวกับผ้อู ื่น
1.4 ประเมนิ ผลการแสดงบทบาทของตนเอง
หน้าที่ (DUTY) หมายถงึ ภาระรบั ผิดชอบของบุคคลทจ่ี ะต้องปฏิบัติ เชน่ หน้าท่ีของบดิ าท่ีมีต่อบุตร
เป็นต้นความสอดคลอ้ งของสถานภาพและบทบาทของบคุ คลที่มาของหน้าท่ี
1. ผลจากการท่ีคุณเปน็ มนษุ ย์
2. ผลจากการท่ีเปน็ ส่วนหน่ึงของชีวิตคนอน่ื
3. เป็นหลักในการในความประพฤติหน่งึ ของบุคคล
4. เปน็ สิง่ คาดหวังของตนในการทาํ หน้าทต่ี ามคุณธรรม
1. ความรับผดิ ชอบต่อตนเอง หมายถึง การรับรฐู้ านะและบทบาทของตนทเ่ี ป็นสว่ นหนง่ึ ของสังคม จะตอ้ ง
ดาํ รงตนให้อยู่ในฐานนะที่ชว่ ยเหลอื ตัวเองได้ รูจ้ ักวา่ สงิ่ ใดถกู สง่ิ ใดผดิ ยอมรับผลการกระทาํ ของตนเองทง้ั ทเี่ ปน็ ผลดี
และผลเสยี เพราะฉะน้ันบุคคลทม่ี ีความรบั ผิดชอบในตนเองยอ่ มจะไตร่ตรองดูใหร้ อบคอบก่อนว่า ส่งิ ทตี่ นเองทาํ ลงไป
นั้นจะมผี ลดผี ลเสียหรอื ไม่และจะเลือกปฏบิ ตั ิแตส่ ิง่ ท่ีจะก่อใหเ้ กิดผลดเี ทา่ นน้ั
2. ความรับผิดชอบต่อสงั คม หมายถึง ภาระหนา้ ทขี่ องบุคคลทจ่ี ะต้องเก่ียวขอ้ ง และมีส่วนร่วมต่อสวสั ดิ ภาพ
ของสังคมทต่ี นเองดํารงอยู่ ซ่ึงเปน็ เรอ่ื งทีเ่ ก่ียวข้องกบั หลายส่ิงหลายอย่าง ตง้ั แต่สังคมขนาดเล็ก ๆ จนถงึ สังคมขนาด
ใหญ่ การกระทาํ ของบุคคลใดบุคคลหนง่ึ ย่อมมผี ลกระทบต่อสงั คมไม่มากก็นอ้ ย บุคคลทุกคนจงึ ต้องมี ภาระหน้าท่ีและ
ความรับผดิ ชอบท่จี ะตอ้ งปฏบิ ัติต่อสงั คม ดงั ตอ่ ไปนี้

2.1 ความรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ทพี่ ลเมือง ได้แก่ การปฏิบัตติ ามกฎระเบียบของสงั คม การรกั ษา ทรัพยส์ นิ ของ
สงั คม การชว่ ยเหลือผูอ้ น่ื และการให้ความรว่ มมือกบั ผู้อ่ืน

2.2 ความรบั ผดิ ชอบต่อครอบครวั ได้แก่ การเคารพเช่อื ฟังผปู้ กครอง การช่วยเหลืองานบา้ นและการ รกั ษา
ช่ือเสียงของครอบครวั

2.3 ความรบั ผดิ ชอบต่อโรงเรยี น ได้แก่ ความตัง้ ใจเรียน การเชอื่ ฟงั ครู – อาจารย์ การปฏบิ ัติตาม กฎของ
โรงเรยี นและการรักษาสมบตั ิของโรงเรยี น

2.4 ความรับผิดชอบต่อเพ่ือน ไดแ้ ก่ การช่วยตกั เตอื นแนะนําเมื่อเพ่ือนกระทาํ ผิด การช่วยเหลือเพอ่ื น อย่าง

เหมาะสม การใหอ้ ภยั เม่ือเพอ่ื นทาํ ผิดการไม่ทะเลาะและ เอาเปรยี บเพ่ือน และการเคารพสทิ ธิซ่งึ กนั และกัน
3. ฆราวาสธรรม เปน็ หลกั ธรรมท่ปี ระชาชนคนธรรมดาทัว่ ไปจาํ เปน็ จะต้องมีไวเ้ พื่อเป็นหลกั ยึดในการดําเนิน

ชีวติ เหมือนเปน็ อาภรณป์ ระดับกายทม่ี ีค่า ทําให้เป็นคนท่ีมลี ักษณะน่าเชื่อถือ น่าเคารพ น่าศรัทธา น่าไว้วางใจ เปน็
หลักธรรมท่ีเสรมิ และไปดว้ ยกันดีกับอทิ ธบิ าท 4 ทาํ ดงั น้ี

สจั จะ คดิ ทําอะไรใหจ้ ริงจงั และจรงิ ใจ ทุ่มหมดตวั ไมย่ ง้ั ไม่เหยาะแหยะ ได้แก่
จริงตอ่ หนา้ ท่ี บุคคลไม่วา่ สถานะใดต้องมีหน้าท่ีทุกคน เม่ือร้จู กั บทบาทหน้าที่ของตนแลว้ กร็ ับผดิ ชอบ
และทําหนา้ ทีข่ องตนอยา่ งจริงจัง
จรงิ ตอ่ งาน เมอื่ บุคคลมหี นา้ ท่กี ็ต้องมีงานตามมาคนทจี่ รงิ ตอ่ การงานไมว่ า่ จะอย่ใู นหนา้ ทีอ่ ะไรก็ทุ่ม

ทํางานในหนา้ ท่ีนน้ั ใหห้ มดตวั ไมต่ อ้ งขยกั ไว้ยกตวั อยา่ งในประวตั ิศาสตรช์ าติไทยเรอ่ื งการกู้เอกราชของพระเจ้าตากสิน
มหาราช ถงึ คราวท่ีพระองคจ์ ะตีเมืองจนั ทบรุ ี พระองค์ก็ทรงทุ่มเทหมดตัวเหมือนกนั เยน็ วนั นัน้ พอพวกทหารกนิ ข้าว

11

กินปลาอม่ิ กันดีแลว้ ก็ทรงส่ังให้เผาอาหารที่เหลือท้ิงให้หมด หมอ้ ข้าวหมอแกงสงั่ ใหท้ ุบทิ้งไม่ใหม้ เี หลือ แลว้ ทรงรับสั่ง
อยา่ งเฉยี บขาดว่า “คืนน้ีต้องตีเมอื งจันทใ์ หไ้ ด้แล้วเขา้ ไปกินข้าวในเมือง แต่ถา้ ตไี ม่ได้ก็ตายกันอยู่หนา้ ประตูเมือง
จนั ทบรุ ี อดตายกนั อยู่นน่ี ัน่ แหละ”

จากวิธกี ารทํางานของท่าน กค็ งจะเหน็ ได้ว่า ทา่ นทุ่มเทหมดตวั งานซึ่งสาํ เร็จดังใจหวัง ถ้าเราทํางาน
แล้วทุ่มหมดตัว งานกต็ ้องสําเร็จเช่นกัน ทาํ งานแตล่ ะชิ้นตอ้ งทาํ ใหด้ ีที่สดุ ซงึ่ หมายความว่าทีด่ ีสุดเท่าทีเ่ วลาอาํ นวย ดี
ทส่ี ุดสาํ หรับอปุ กรณ์ท่ีหามาได้ในตอนน้นั ดีท่ีสดุ เทา่ ทงี่ บประมาณกาํ หนดมาให้ เมื่อคดิ วา่ ดที ส่ี ุดแลว้ กท็ ่มุ ทําเต็มท่ี ฝกึ
ให้เคยต่อไปก็จะเกดิ ความคลอ่ งขึ้นเอง

จรงิ ใจต่อเวลา รจู้ ักใช้เวลาใหค้ ุม้ คา่ เร่ืองไม่เป็นเรื่องไมค่ วรทําเสียเวลาเปล่า เวลาทผ่ี ่านไปมนั ไมไ่ ดผ้ า่ น
ไปเปล่า ๆ มนั เอาอายุ เอาชีวติ ของเราไปดว้ ย

จริงต่อบคุ คล นั่นคือคบกบั ใคร ก็คบกันจริง ๆ ไมใ่ ช่คบกันเพียงแต่มารยาท หรอื ต่อหนา้ สรรเสรญิ ลบั
หลังนนิ ทา

ตรงตอ่ ความดี คือ จรงิ ใจตอ่ คุณธรรมความดี จะทาํ อะไรเพ่อื ช่วยเหลือเพ่อื น หรอื ทําตามหนา้ ที่
ตอ้ งมีคุณธรรมกํากับดว้ ย อย่าทําให้คนอ่นื เดือดรอ้ น

แมแ้ ต่องค์พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า เมอ่ื วันที่ตรัสรู้นั้นเม่ือท่านน่งั สมาธิบลั ลงั กแ์ ล้ว ทา่ นก็ทรงต้งั สัจจะอธิษฐาน
ทมุ่ ชวี ิตเลยว่า “แม้เลอื ดเน้ือในรา่ งกายจะแหง้ เหือดหายไปเหลอื แต่หนัง เอ็น กระดูกก็ตามที หากยงั ไม่บรรลสุ ัมมา
สมั โพธญิ าณแล้วเราจะไมย่ อมลกุ ขน้ึ เปน็ อันขาด”

ทมะ คอื การขม่ ใจ เป็นการรจู้ กั บงั คบั ใจต่อตัวเอง หรอื ฝกึ ปรับปรุงตวั เองเรอ่ื ยไป เราในฐานะชาว
พุทธ เราควรจะบังคบั ตัวเองหรือฝกึ ตนเองในการแกน้ สิ ัย นิสยั ใดทีร่ วู้ า่ ไม่ดีกต็ ้องรีบแก้ เช่น นสิ ัยของความเกียจคร้าน
ต้องฝนื ใจให้ได้ ฝกึ ฝนอยู่บ่อย ๆ ทําซํ้าแลว้ ซ้ําเลา่ ไมช่ ้ากจ็ ะคุ้นจนไม่ร้สู ึกว่าฝืนใจทํางาน นิสัยเสยี อ่ืน ๆ กเ็ ช่นกนั เม่ือ
ไดข้ ่มใจฝึกปรับปรุงตัวเองเรื่อย ๆ ไป กย็ อ่ มจะเปน็ ทรี่ กั แก่คนทั่วไป ไมม่ ีพิษมีภยั กับใคร

ขันติ คอื ความอดทนเป็นลักษณะบ่งถึงความเขม้ แข็งทางใจ ขนั ติมี ๔ ลกั ษณะ
อดทนต่อความลาํ บากตรากตราํ ได้แก่ อดทนต่อสภาพดินฟูาอากาศ ฝนจะตก แดดจะรอ้ น อากาศจะ
หนาว หรือภูมปิ ระเทศจะแห้งแลง้ อยา่ งไรก็ทนได้ท้งั สิ้น
อดทนต่อความทุกขเวทนา คือ ทนต่อความเจบ็ ไข้ได้ปุวย
อดทนต่อความเจ็บใจ คือ ทนตอ่ การดูถูกวา่ กลา่ วกระทบกระเทียบเปรียบเปรย
อดทนตอ่ อาํ นาจกเิ ลส หมายถึง การไม่เอาแต่ใจตัว อดทนต่อสง่ิ ย่ัวยวนหรือความฟุูงเฟูอตา่ ง ๆ
จาคะ แปลวา่ เสยี สละ หมายถึง ตัดใจหรือตดั กรรมสิทธิ์ของตน ตัดความยึดถือ ความเสียสละมี2 นัย
สละวัตถุ หมายถงึ การแบ่งปันกันกิน แบง่ ปันกันใช้ รวมท้งั การทาํ บุญใหท้ านด้วย
สละอารมณ์ หมายถึง ไม่ผูกโกรธใคร ใครจะทาํ ใหโ้ กรธ เราก็อาจจะดุดา่ ว่ากลา่ วกันไป แตไ่ ม่ผกู ใจโกรธ
ไม่คดิ จะตามจองลา้ งจองผลาญ

12

1. ขัน้ ตอนการดาเนินงาน บทท่ี 3
วิธีการดาเนินการ
ท่ี กจิ กรรม
1 วางแผนจดั การ วิธีการดาเนินการ
- นกั เรียนร่วมกันอภิปราย คิดวิเคราะหด์ ูสภาพปัญหาในปจั จบุ นั ทนี่ กั เรยี นพบ
ในการตัง้ เปูาหมายเกย่ี วกับการเรยี น
- สรา้ งความเขา้ ใจ เพื่อใหเ้ พ่ือนเหน็ ความสําคญั ของปัญหา
- ตั้งช่อื โครงงาน
- แตง่ ต้ังผู้รบั ผิดชอบโครงงาน
- ประชมุ วางแผนกาํ หนดวัน เวลา ในการดําเนนิ โครงงาน
- นํามตใิ นท่ปี ระชุมเข้าหารือกับครทู ปี่ รกึ ษาโครงงานเพ่ือหาแนวทางในการ
ปฏิบตั ิ

2 ทดลองทําดู - ประชมุ เพือ่ รบั ทราบกําหนดการ วนั เวลา และระยะเวลาในการดาํ เนนิ

โครงงาน

- ทําการประชาสมั พันธ์กจิ กรรม โดยผ่านหวั หน้าหอ้ งเรียน

– ออกแบบและสรา้ งแบบสอบถาม

- มีการประชุมสรปุ โครงงานทุกวนั อังคาร นําปัญหาและแนวทาง

การแก้ไขจากทีป่ ระชมุ มาเปน็ ประสบการณ์เพื่อใช้ในการขับเคลอ่ื นการทาํ

โครงงานต่อไป

3. ตรวจสอบเข้าใจ - มปี ระชุมสรุปงาน ประชุมแบบประเมินงานและวเิ คราะห์ถึง
ภาพรวมของงาน พร้อมทง้ั รับฟังข้อเสนอแนะจากนกั เรยี นแกนนํา
หวั หน้ากลุ่มและหัวหน้าหอ้ งในเรือ่ งปญั หาท่ีพบ เพือ่ หาแนวทางใน
การปรบั ปรงุ เพ่ือใชใ้ นการดาํ เนนิ งานในโครงงานถัดไป
- ครูทปี่ รกึ ษาโครงงานใหก้ ารดแู ล กาํ กับติดตาม เสนอแนะ นเิ ทศ
ตรวจสอบการดําเนินโครงงานของนักเรียน
- นกั เรียนแกนนาํ สรุปโครงงานส่งครูท่ีปรกึ ษา หลังดาํ เนิน
โครงงานเสร็จสน้ิ

4. ปรับปรุงพัฒนา - เม่อื ทราบที่มาของปัญหาให้นักเรียนแกนนํา นําปัญหาหารือกบั ครูท่ีปรึกษา
โครงงานเพื่อหาแนวทางในการแกป้ ญั หาท้ังนจ้ี ะต้องมีการจดบันทึกเป็นการ
เสนอแนะเพื่อปรับแนวทางในการเข้ารว่ มโครงงานในปถี ัดไป
- วเิ คราะห์ผลการประเมนิ ในเรอ่ื งความสามารถและความเหมาะสมของ
ระยะเวลาการดําเนนิ งาน
- วเิ คราะห์ผลการประเมนิ ประโยชนท์ ่ีได้รบั จากการจัดโครงงานตาม
วตั ถุประสงค์ท่ีวางไว้

13

2.ตัวช้วี ัด

๑. นักเรยี นมพี ฤติกรรมที่พึงประสงค์ รูจ้ กั ความรับผดิ ชอบและมีวนิ ัยในตนเองมากข้ึน
๒. ผลการการประเมนิ ในด้านผลการเรยี น นกั เรยี นมรี ะดบั ผลการเรียนทีด่ ขี ้ึน

3.วธิ กี ารวัดและประเมนิ

๑. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม

4. ช่วงระยะเวลาการประเมนิ

ตลอดปกี ารศึกษา 2562

14

บทท่ี ๔
ผลการดาเนนิ งาน/ ผลการศกึ ษาคน้ คว้า

จากการทําโครงงาน “ต้ังเปูาเราทําได้” ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 ปีการศึกษา ๒๕๖2
โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ทุกคนย่อมมีเปูาหมายในชีวิตที่วางไว้ และมุ่งม่ันที่จะพุ่งชนเปูาหมายน้ันให้ได้ ไม่ว่าจะเป็น
เปาู หมายในความกา้ วหนา้ ของงาน เปูาหมายในการดแู ลสุขภาพใหม้ รี ูปรา่ งตามท่ีต้องการ หรือเปูาหมายในการเก็บเงิน
เพื่อซื้อส่ิงของท่ีอยากได้ ถึงเปูาหมายของแต่ละคนจะแตกต่างกันไป แต่สุดท้ายแล้ว การตั้งเปูาหมายชีวิตก็เพื่อตอบ
โจทย์ให้ตัวเองทําตามส่ิงท่ีตั้งใจไว้ให้สําเร็จ เม่ือเราได้เริ่มทําส่ิงต่าง ๆ จนสําเร็จตามเปูาหมายแล้ว ก็ เพราะไม่รู้ว่ า
ความสําเร็จที่ได้มานั้นจะอยู่กับเราไปตลอดหรือไม่ ควรเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ เพื่อการพัฒนาตัวเองให้ประสบ
ความสําเร็จในทุก ๆ ดา้ น

จากการศึกษาพบวา่
๑. นกั เรยี นที่เขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงงาน “ตั้งเปูาเราทําได้” มคี วามรบั ผดิ ชอบและมีวนิ ัยในตนเองมากข้นึ
๒. นกั เรยี นรอ้ ยละ 95 มผี ลการเรยี นอยู่ในระดับที่ดขี ้ึน

15

บทที่ 5
สรปุ ผลการดาเนินงาน

1.สรปุ ผลโครงงาน
สรปุ ผลการดาํ เนินงาน จากการดาํ เนนิ งานโครงงาน “ตั้งเปูาเราทาํ ได้” ของนักเรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่

6/1ปกี ารศกึ ษา 2562 เพอื่ ให้นกั เรียนไดม้ เี ปูาหมายในการเรียนและการต้งั เปูาหมายในการศึกษาต่อการกาํ หนด
เปาู หมาย เพื่อให้ได้รบั ความรู้ การสําเร็จ แตเ่ ปูาหมายน้ันเป็น เปูาหมายระยะยาว หรือจดุ หมายปลายทางท่ีบคุ คล
ประสงค์จะให้เกิดข้นึ ในอนาคตที่ยังห่างไกลจากความเปน็ จรงิ เช่นเดียวกบั การเดนิ ทางจากสถานทแี่ ห่งหน่งึ ไปยัง
สถานทอ่ี ีกแห่งหน่งึ ซง่ึ อาจจะมีเสน้ ทางใหเ้ ลือกไดห้ ลายเสน้ ทางหรือมีวธิ ีการเดินทางอกี หลายวธิ ีการทผ่ี ู้เดินทาง
สามารถจะเลือกได้

2.ข้อเสนอแนะ
1.ควรขยายผลไปยงั นักเรียนทุกคนในโรงเรยี น
2.ควรจดั ทาํ โครงงานนอ้ี ย่างต่อเน่อื งเพื่อให้นกั เรียนตระหนักถงึ ความพอเพียง มคี วามรับผิดชอบ ซอ่ื สัตยต์ ่อ
ตนเองและมวี ินยั ในตนเองอย่างยงั่ ยนื
3. ควรมีการพัฒนาสื่อคุณธรรมในรูปแบบตา่ ง ๆ เพ่ือกระตุน้ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ไดด้ ีย่ิงขน้ึ
4. เพม่ิ การประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองเหน็ ความสาํ คัญและประโยชน์ของการออมเงินแก่บุตรหลานอีกทาง
หนึ่ง เพ่อื เป็นการกระตุ้นให้นักเรยี นมคี วามกระตือรือรน้ ทจ่ี ะออมเงิน

16

บรรณานกุ รม

https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/190910-smart-organization-goal/
http://gclass.wt.ac.th/wt/projectClass/index.php?act=2&y=2562
https://prezi.com/prpraj28suv2/presentation/

https://nachuakpit.ac.th/client-upload/np/publish/204/PUBLISH-204.pdf

17

ภาคผนวก ก
แบบสังเกตุพฤตกิ รรม

18

แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี น

โรงเรยี นสตรศี รีสุรโิ ยทยั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6/1

ชื่อครูประจาช้ัน

1.นางสาวจนั ทร์ทิมา นาเจรญิ

2.นายเอกรักษ์ สะอาดถิน่

3.นางรชั นี บุตรรตั น์

คาชีแ้ จง ให้ครูประจําชั้น/ครทู ป่ี รึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเขยี นเคร่อื งหมาย

เมือ่ นกั เรยี นมีพฤตกิ รรมบ่งชี้ดงั กลา่ วปรากฏทชี่ ดั แจง้ แล้ว

ชอื่ - นามสกลุ พฤติกรรมบ่งช้ี ผลการประเมนิ

นกั เรียนมี นกั เรยี น นักเรยี นมี นักเรยี น ผา่ น ไมผ่ ่าน
ความ ร้จู กั ความอดทน ปรับปรงุ และ
เพ่อื ใหง้ าน พฒั นาการ
รับผดิ ชอบ แกป้ ญั หาใน สําเร็จตาม ทาํ งานให้ดี
ในหน้าที่ การทาํ งาน เปา้ หมาย ขน้ึ ด้วยตนเอง
การงาน
น.ส.กุลธดิ า หาญจิตร เมอ่ื มี / //
น.ส.นชุ พชิ า อภิรกั ษาภรณ์ / อุปสรรค / //
น.ส.ซาลีนา่ กาย / / //
น.ส.พรรณี สงั ศรีสวัสดิ์ / / / //
/ / / //
น.ส.นนั ทิกาญจน์ สรรพมงคลชยั / / / //
/ / / //
น.ส.ภคั จิรา แกน่ พรหมมา / / / //
น.ส.แก้วกานต์ เรอื่ ศรีจนั ทร์ / / / //
น.ส.ธัญลกั ษณ์ เพญ็ ศรี / / / //
น.ส.กวนิ ลกั ษณ์ กวินวัฒนเจตน์ / / / //
น.ส.ธริ ดา ธนันชัยโชติ / / / //
น.ส.วริศรา แซต่ ง้ั / / / //
น.ส.พรหมพร ขาํ เถ่ือน / /
น.ส.ภธู ิดา จวิ๋ นางนอง /
/

19

น.ส.ณฐั พร ศิริพงษม์ งคล // / //

น.ส.กนกวรรณ เขอ่ื นขนั ธ์ / / / //

น.ส.สริ ิมา ธูปหอม // / //

น.ส.ปัญจพรนภสั โคตะวินนท์ / / / //

น.ส.วริศรา สงั เกตกจิ // / //

น.ส.อรยา บุณยสนิ ธ์ // / //

น.ส.ศรุตา มาลี // / //

น.ส.กันยารัตน์ แคนศลิ า // / //

น.ส.ศศิธร ผาสดี า // / //

น.ส.รมิดา วฒั นภกั ดีพงศ์ // / //

น.ส.บวรนนั ท์ อาํ ไพกลุ พิธาน์ / / / //

น.ส.ศศริ ัตน์ ผลพฤกษ์รตั น์ / / / //

น.ส.ปวรลดา วรลกั ษณก์ จิ / / / //

ลงชอ่ื ......................................................ครูประจาํ ชัน้ /ครทู ี่ปรกึ ษา
(…………..………………………………….)

ลงชือ่ ......................................................ครหู วั หน้าระดับ
(…………..………………………………….)

20

ภาคผนวก ข
ภาพกิจกรรม

21

22

23

เอกสารประชาสัมพันธ์และเผยแพรโ่ ครงงานคณุ ธรรมระดบั ห้องเรยี น
นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษา ปที ่ี 6/1 เร่อื ง ตงั้ เปา้ เราทาได้

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ลายเซน็

๑. ครูหัวหนา้ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑
๒. ครหู วั หนา้ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒
๓. ครหู ัวหนา้ ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓
๔. ครหู วั หน้าระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๔
๕. ครูหวั หน้าระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๕
๖. ครูหวั หน้าระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖


Click to View FlipBook Version