The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ข้อเสนอแนะของ สศท.2 เพื่อเพิ่ม growth GPP ในพื้นที่เขต17

15/03/64

ข้อเสนอแนะเพอื่ เพม่ิ Growth GPP ภาคเกษตร

5 จงั หวดั ในพ้ืนท่เี ขตตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณเ์ ขต 17

โดย .. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 พิษณุโลก (สศก.)

ทบทวน

กรอบแนวคิดการจดั ทารายได้ประชาชาติ GDP GRP GPP
และ

แนวทางการจดั ทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของ สศก.

(ประมาณการ Growth GDP GRP GPP ภาคเกษตร)

สว่ นแผนพัฒนาเขตเศรษฐกจิ การเกษตร
สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 พษิ ณโุ ลก

สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ผลิตภณั ฑ์มวลรวมภาคเกษตร (GDP ภาคเกษตร)

▪ GDP ภาคเกษตร หรือมลู ค่าเพิม่ ภาคเกษตร เป็นการคานวณ GDP ทางดา้ นการผลติ

ซง่ึ มาจากกจิ กรรมการผลติ ทางการเกษตรใน 5 สาขาการผลิต ประกอบด้วย สาขาพชื สาขาปศสุ ัตว์ สาขาประมง สาขาบริการทางการเกษตร และสาขาปา่ ไม้

▪ โดย GDP ภาคเกษตร หรือมูลคา่ เพิม่ ภาคเกษตร เป็นการหาผลรวมของมูลค่าสินค้าเกษตรและบรกิ ารทางการเกษตรทง้ั หมด หกั ด้วยคา่ ใชจ้ า่ ยข้ัน

ในการผลติ (คา่ พันธ์ุพืช พันธ์สุ ัตว์ ปยุ๋ สารเคมี อาหารสตั ว์ น้ามนั เชอ้ื เพลงิ และหลอ่ ลื่น ฯลฯ ยกเวน้ คา่ จ้างแรงงาน คา่ เช่าทด่ี ิน คา่ พนั ธุ์ไม้ผลยืนตน้
ดอกเบ้ีย คา่ เส่อื มอปุ กรณท์ ีม่ ีอายุ 1 ปี ขนึ้ ไป)
นน่ั คอื มลู ค่าเพ่มิ ภาคเกษตร = มลู ค่าการผลิตสนิ ค้าเกษตร - ค่าใชจ้ ่ายข้นั กลางในการผลติ

= (ผลผลติ สนิ ค้าเกษตร X ราคาสินค้าเกษตรทเ่ี กษตรกรขายได้) –
คา่ ใช้จ่ายขัน้ กลางในการผลติ

อตั ราการเตบิ โตของภาคเกษตร หรือ Growth GDP ภาคเกษตร

สศก. มกี ารรายงานภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรเปน็ รายไตรมาสและรายปี พรอ้ มทง้ั คาดการณแ์ นวโน้มปีต่อไป โดยในแต่ละไตรมาสจะรวบรวมขอ้ มูลเพือ่ ประมาณการอตั ราการ
เติบโตของภาคเกษตร หรือ Growth GDP ภาคเกษตร โดยคานวณ GDP ทางด้านการผลิต ณ ราคาท่ีแทจ้ รงิ หรอื แบบปรมิ าณลกู โซ่ (Chain Volume Measures: CVM) จาก
กจิ กรรมการผลติ สนิ คา้ และบริการทางการเกษตร ประกอบดว้ ย 5 สาขาการผลติ ได้แก่ สาขาพชื สาขาปศสุ ัตว์ สาขาประมง สาขาบริการทางการเกษตร และสาขาปา่ ไม้

การพยากรณภ์ าวะเศรษฐกิจการเกษตร และแนวโน้มของ สศก. อาศัยการบูรณาการ 3 แนวคดิ

1. พยากรณโ์ ดยอาศยั ประสบการณ์ / ความชานาญทงั้ จากผ้พู ยากรณ์ และเจ้าหนา้ ทห่ี นว่ ยงานภาครัฐในการใหข้ ้อคดิ เหน็ ตอ่ สถานการณ์การผลิตสนิ ค้า
2. พยากรณ์โดยอาศัย เหตุการณ์ / หลกั ฐานจากการลงพนื้ ทตี่ ดิ ตามสถานการณร์ ายสินคา้ จากแหลง่ ผลติ สนิ ค้าที่สาคัญ
3. การพยากรณ์ทางสถิติ โดยใช้ ข้อมูลอนุกรมเวลา เป็นเครื่องมือในการพยากรณ์ ซึ่งค่าพยากรณ์น้ันยืนอยู่บนความถูกต้องของฐานข้อมูลสารสนเทศของ
สศก. ซึง่ เป็นหน่วยงานจัดทา และเผยแพรข่ อ้ มลู สถติ ิการเกษตรของประเทศไทย

การจดั ทารายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตร การนาไปใช้ประโยชน์

▪ใชร้ ายงานสถานการณเ์ ศรษฐกจิ การเกษตรของจังหวดั และเปน็ ขอ้ มูลสาหรบั เตือนภยั
▪ใชเ้ ป็นเครอื่ งมือในการเปรียบเทียบภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ระดับการพัฒนา และรายไดร้ ะหวา่ งจงั หวดั
▪ใชใ้ นการจัดทาแผนพัฒนาการเกษตรของจงั หวดั
▪ใช้เปน็ เครื่องมอื ในการวางแผนโครงการ กาหนดนโยบาย และมาตรการแก้ปัญหาทางด้านการเกษตรของภาครฐั ระดบั จงั หวดั
▪ใชใ้ นการตดิ ตามประเมนิ ผลการพฒั นาด้านการเกษตรของจังหวดั

สินค้าเกษตรท่ีสาคญั ที่มีมูลคา่ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 75 ของ GPP ภาคเกษตรของจังหวัดปี 2562 (ทม่ี า : สศช. และสานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2 พษิ ณุโลก และ สศท.12(นครสวรรค์)

ตาก นา่ น พษิ ณุโลก แพร่ สุโขทยั อุตรดติ ถ์ เพชรบรู ณ์

1.ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 43.19 1.ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ 36.79 1.ข้าวเจา้ นาปี 32.38 1.ข้าวเหนยี วนาปี 41.12 1.โคเนอ้ื 24.54 1.ทเุ รียน 37.82 1.ข้าวเจ้านาปี 25.50

2.โคเนอ้ื 20.08 2.โคเนื้อ 25.91 2.ข้าวเจา้ นาปรัง 18.66 2.ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ 25.85 2.ข้าวเจา้ นาปี 23.91 2.ข้าวเจ้านาปี 14.66 2.ข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ 23.64

3.มนั สาปะหลังโรงงาน 12.10 3.ข้าวเหนยี วนาปี 20.87 3.มนั สาปะหลงั โรงงาน 10.86 3.สุกร 11.56 3.อ้อยโรงงาน 16.74 3.ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 11.82 3.ไกเ่ นอ้ื 19.13

4.ข้าวเจ้านาปี 9.02 4.ลาไย 7.04 4.ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ 10.19 4.สม้ เขียวหวาน 8.14 4.สม้ เขียวหวาน 12.98 4.ข้าวเจ้านาปรัง 10.91 4.อ้อยโรงงาน 17.66

5.สุกรขุน 6.59 5.สกุ ร 6.72 5.ยางพารา 8.71 5.โคเน้อื 5.75 5.ข้าวเจา้ นาปรัง 8.86 5.สุกรขุน 9.07

6.ลาไย 5.22 6.สม้ เขียวหวาน 0.98 6.โคเนอ้ื 7.71 6.ข้าวเหนยี วนาปรัง 3.80 6.มนั สาปะหลังโรงงาน 5.18 6.โคเนือ้ 4.75

7.ลิ้นจ่ฮี งฮวย 0.78 7.ออ้ ยโรงงาน 4.71 7.มนั สาปะหลัง 2.83 7.สกุ ร 4.22 7.สับปะรด 3.53

8.ถั่วเหลือง 0.55 8.ไกเ่ นอื้ 4.53 8.ยางพารา 0.78 8.ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ 2.84 8.ลองกอง 3.03

9.เงาะ 0.37 9.มะมว่ งนา้ ดอกไม้ 2.26 9.ถ่ัวเหลือง 0.17 9.ไกเ่ นื้อ 2.59

10.มนั สาปะหลังโรงงาน 1.81

ร้อยละ 96 100 100 100 99 100 86

สัดส่วนโครงสร้างการผลิตรายจังหวัด % อตุ รดิตถ์

ตาก % น่าน % พษิ ณุโลก % แพร่ % สโุ ขทัย 87 พืช % เพชรบรู ณ์ %
9.1 ปศุสัตว์
พืช 77.0 พืช 80.5 พืช 83.5 พืช 68.0 พืช 3.5 ประมง 76.0 พืช 82.3
ปศุสัตว์ 0.2 บริการทางการเกษตร
ประมง 15.0 ปศุสัตว์ 9.0 ปศุสัตว์ 7.3 ปศุสัตว์ 19.0 ปศุสัตว์ 0.3 ป่าไม้ 12.5 ปศุสัตว์ 9.2
บริการทางการเกษตร
ป่าไม้ 1.0 ประมง 2.0 ประมง 1.4 ประมง 3.0 ประมง 3.1 ประมง 1.0

6.7 บริการทางการเกษตร 7.5 บริการทางการเกษตร 7.7 บริการทางการเกษตร 9.0 บริการทางการเกษตร 7.7 บริการทางการเกษตร 7.1

0.3 ป่าไม้ 1.0 ป่าไม้ 0.2 ป่าไม้ 1.0 ป่าไม้ 0.7 ป่าไม้ 0.4

เป้าหมาย ตัวช้วี ดั ประเดน็ การเกษตร
ตามแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี

และขอ้ เสนอแนะของ สศท.2 พิษณุโลก

▪ เ ป้าหม ายผลิ ตภัณฑ์มวล ร วมใ นปร ะเทศสาขาเกษต ร เพ่ิ มข้ึน โด ยกาหนด ตั วชี้วัด ให้ G RO WTH G D P เ ท่ากับ 3. 8 เ ป็นการ ปร ะม าณ
กา ร โ ด ย ส ศช . ซึ่ งเ ป็นการ กาห นด ค่า เป้า หม า ยด้วยกา ร ปร ะม า ณกา ร ใ นภ า พรวม ของ ปร ะเท ศ ไ ม่ ไ ด้ กา ห น ด ช้ีเฉ พา ะเป็ นผ ลิต ภั ณ ฑ์
ม วล ร วม ร ะ ดั บจังหวัด ( G PP ) ว่า แ ต่ ล ะ จั ง หวัด จะต้อ ง มี G R O W TH G P P ร้ อ ยล ะ 3 . 8

( อ้ างอิ ง ข้อมู ล : ปี 6 3 ขอ ง ส ศช . G R O W TH G D P ภ า คเ กษ ต ร ของ ส ศช . - 3 . 4 % / ปี 6 3 ขอ ง ส ศช . G R O W TH G D P ภ า คเ กษ ต ร ของ
ส ศช . - 3 . 3 % แ ล ะ แ นวโน้มปี 6 4 ขอ ง ส ศก. Growth G D P ภาคเ กษต ร ( + 1 . 3 )-( +2. 3) ( หรื อ + 1 . 8 % ) คาด การ ณ์ไว้ต่า เนื่อ งจาก
ส ถานกา ร ณ์ C O VID / ผล กร ะ ทบต่ อเน่ือ ง จา กภัยแ ล้ง ใ นปีที่ผ่ า นม า ดั ง นั้น ห า กต้ อ ง กา ร ใ ห้ G R O W TH G D P เ ท่ า กับ 3 . 8 % จ ะ ต้ อ ง นาค่ า
G R O W TH G D P 5 ปีม าเ ฉ ล่ีย ) จะ ทาใ ห้ ท รา บว่า ใ นปี 6 4 - 6 5 จ ะ ต้ อ ง มี G R O W TH G D P เ ท่ า ไ ห ร่ ซ่ึ ง ณ ขณ ะ นี้ คา ด ว่า ต้ อ ง ขับเคล่ื อน
นโยบา ย ม า ต ร การ กิจกร ร ม ใ ห้ G R O W TH G D P ม า กกว่า 5 % ใ ห้ ไ ด้ )
▪ ใ นกา ร ปร ะ ม าณการ G D P แ ล ะ G P P ภ า คเกษ ต ร ( คิ ดผ ลผ ลิ ตห น้า ฟาร์ ม ) ใ นร า ยสิ นค้า จ ะ เ กี่ยวข้อ ง ทั้ง ท า งด้ า นปริ มา ณ ผลผ ลิ ต แ ล ะ

ร า คา ซึ่ ง CL IM ATE CH AN G E ส่ ง ผ ล กร ะ ทบมา กกับ Q แ ล ะ ส ถา นกา ร ณ์ร า คา ที่ ตกต่า ห รื อ ผั นผ วน กร ะ ท บกับ P เ พร า ะ เ กี่ยวข้อง กับ
กล ไ กต ล าด ดั งน้ัน จึงเ ป็นส่ิ งท่ี ยา กห า กจะต้ อง คานวณ G R O W TH G P P ขอ ง แ ต่ ละจัง ห วัดว่า ควร เป็นเท่ าไ หร่ จึ ง จ ะ ผ ลักดั นให้
G R O W TH G D P ใ ห้ได้ 3 . 8 %

ส่วนเปา้ หมายผลติ ภาพการผลิตภาคเกษตรเพมิ่ ขนึ้ โดยกาหนดตวั ช้วี ดั อตั ราผลติ ภาพการผลิตภาคเกษตรเพิม่ ข้นึ ร้อยละ 1.2 หมายถึง มสี ัดสว่ น
ของปริมาณผลผลติ /ปจั จัยการผลติ =1.2% ตัวช้วี ดั นด้ี าเนนิ การโดย สศช. เชน่ กนั ซง่ึ เปน็ การประมาณการในภาพรวมประเทศ ส่งิ ทก่ี ระทรวง
เกษตรฯ สามารถทาได้ คือ ส่งเสรมิ การใชป้ จั จยั การผลิตในปรมิ าณทีเ่ หมาะสมทัง่ ปุย๋ และน้า เพ่ือใหไ้ ด้ปรมิ าณผลผลติ มาก ซง่ึ จะสะท้อนถงึ
ผลิตภาพการผลติ ในสนิ ค้าชนดิ น้ันๆเพ่ิมมากขนึ้ ดว้ ย

7

ปัจจยั ท่ีส่งผลตอ่ การขยายตัวของ GDP ภาคเกษตร

การท่ี GDP ภาคเกษตรจะขยายตัวมากหรือนอ้ ย ขึน้ อยู่กบั หลายปจั จยั ได้แก่ ปรมิ าณผลผลติ สินคา้ เกษตร ราคาผลผลิต ตน้ ทนุ การผลิต ปัจจยั ทางธรรมชาตใิ นแต่ละปี
(สภาพภูมอิ ากาศ ปรมิ าณนา้ ภยั แล้ง น้าทว่ ม วาตภัย การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช/สตั ว์ รวมทัง้ ปจั จัยแวดลอ้ ม ภาวะเศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศ การ
ขับเคลอื่ นงานเพ่ือส่งเสริมสนับสนนุ ดา้ นการผลิตของหนว่ ยงานตา่ งๆในระดับพนื้ ที่ และปัจจัยภายนอก อาทิ เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจของประเทศค่คู ้า ซึ่งส่งผลตอ่ การ
ผลิต และการค้าสินคา้ เกษตร

ขอ้ เสนอแนะที่สนับสนุนให้ Growth GPP ภาคเกษตร และผลติ ภาพการผลิตสนิ ค้าเกษตร เพ่ิมข้ึน
คอื ต้องผลักดนั /ดาเนนิ กิจกรรม ทที่ าให้มูลคา่ (Y) = P * Q เพิ่มขน้ึ ให้ได้

1. เพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลติ สินค้าเกษตรท่ีสาคญั โดยเพม่ิ ผลผลิตต่อไร่ ดว้ ยการปรับปรงุ คณุ ภาพดิน ลดตน้ ทนุ การผลติ และใช้
ปจั จยั การผลิตต่างๆในปรมิ าณที่เหมาะสมเพ่อื เพิ่มอัตราผลิตภาพการผลิต (เป็นการดาเนนิ กจิ กรรมทท่ี าให้ปริมาณผลผลติ (Quatity : Q) เพิ่ม )

2. พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน : โดยสรา้ ง/ปรับปรุงซ่อมแซมแหล่งกักเก็บน้าให้เพียงพอและใช้การไดใ้ นพ้นื ที่ทาการเกษตร อีกท้งั
สนับสนนุ ใหเ้ กษตรกรเพิม่ จานวนแหล่งนา้ ในไร่นาของตนเอง เพราะน้าเปน็ ปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ ปริมาณและคุณภาพของผลผลติ
ซง่ึ ส่งผลตอ่ รายไดท้ เ่ี กษตรกรจะได้รบั (เป็นการดาเนนิ กจิ กรรมที่ทาให้ปรมิ าณผลผลติ (Quatity : Q) เพิ่ม )

3. เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร : โดยปรับปรุงคุณภาพผลผลติ กอ่ นจาหน่าย เน้นผลติ ตามมาตรฐาน GAP/อนิ ทรยี ์ และแปรรปู
ผลติ ภัณฑ์ สง่ เสรมิ การผลติ สินค้าอัตลักษณ/์ GI เพื่อสรา้ งมูลค่าเพ่มิ (เป็นการดาเนินกิจกรรมทท่ี าให้ ราคา (Price : P) เพิ่ม )

4. เนน้ การตลาดนาการผลติ โดยวางแผนการผลติ และบริหารจัดการสนิ คา้ ใหส้ อดคล้องกับปรมิ าณความต้องการ (Demand)
และช่วงเวลาทต่ี ลาดตอ้ งการ (เป็นการดาเนินกิจกรรมที่ทาให้ ราคา (Price : P) เพิม่ )

ขอ้ เสนอแนะที่สนบั สนุนให้ Growth GPP ภาคเกษตร และผลติ ภาพการผลติ สินคา้ เกษตร เพ่ิมข้นึ

พษิ ณโุ ลก

พษิ ณุโลก สัดส่วนมลู ค่าผลผลิตท่ีสาคัญของ จ.พิษณโุ ลก พบวา่
81 % ของ GPP ภาคเกษตร อยใู่ นสาขาพชื ได้แก่ ข้าวเจา้ นาปี ข้าวเจ้านา
มูลคา่ ผลผลิตสินคา้ เกษตรที่สาคัญ จ.พิษณุโลก ปรัง มนั สาปะหลงั ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ และยางพารา ตามลาดับ

หน่วย : บาท ชนดิ สินคา้ สดั ส่วน %

ช่ือพืช ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

ข้าวเจ้านาปี 2,136,272,875 1,748,336,618 2,533,941,164 1.ข้าวเจา้ นาปี 0.32

ข้าวเจ้านาปรัง 1,763,891,791 1,253,633,050 682,052,790 2.ข้าวเจา้ นาปรัง 0.19

ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ 742,185,820 668,605,350 608,412,090 3.มนั สาปะหลังโรงงาน 0.11

มันสาปะหลังโรงงาน 776,396,195 706,272,903 669,259,560 4.ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ 0.10 0.72

อ้อยโรงงาน 653,067,594 360,192,916 - 79,353,267

ยางพารา 808,528,564 480,679,651 437,566,912 5.ยางพารา 0.09 0.81

มะม่วงน้าดอกไม้ 242,104,642 102,611,880 102,588,100 6.โคเนื้อ 0.08

โคเนอ้ื 612,307,174 751,064,508 165,361,830 7.อ้อยโรงงาน 0.05

ไกเ่ นอื้ 265,393,870 232,896,710 399,151,392 8.ไก่เน้ือ 0.05

ปรบั ปรงุ ข้อมูล ณ 29 ม.ค. 2564

9.มะมว่ งน้าดอกไม้ 0.02

พษิ ณโุ ลก

ขอ้ เสนอแนะด้านการผลติ และการบริหารจดั การสนิ คา้ เกษตรสาคญั (รายไตรมาส)

จงั หวัดพษิ ณุโลก

ร้อยละผลผลิตออกสู่ตลาด

สัดส่วนโครงสร้างสินค้าสาคัญ (%) ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1.ขา้ วเจา้ นาปี 32.38 1.83 0.57 17.2 17.07 16.25 38.63 8.72 100
2.ขา้ วเจา้ นาปรัง
3.มนั สาปะหลัง 18.66 7.56 38.95 35.17 9.05 5.44 3.49 0.34 100
4.ข้าวโพดเล้ียงสัตว์
5.ยางพารา 10.86 22.53 25.92 28.90 1.79 0.22 0.37 0.4 4.62 15.23 100
6.โคเนื้อ
7.อ้อยโรงงาน 10.19 0.85 1.49 10.23 21.59 2.02 0.26 8.59 19.45 14.99 17.64 2.90 100
8.ไก่เนื้อ
9.มะมว่ งน้าดอกไม้ 8.71 9.33 3.84 0.34 4.19 7.71 8.84 9.60 10.91 14.56 15.77 14.91 100

รวม 7.71 -

หมายเหตุ : 4.71 49.39 38.69 11.92 100

4.53 -

2.26 12.00 19.00 26.00 19.01 5.00 9.00 10.00 100

100

ไตรมาสที่ผลผลิตออกสู่ตลาด

เดือนที่ผลผลิตออกสู่ตลาดมาก

เดอื นทต่ี อ้ งเตรยี มวางแผนการผลติ เฝ้ าระวังป้ องกนั เรอื่ ง ดนิ น้า โรคแมลงศัตรพู ชื ระบาด และเชอ่ื มโยงตลาดกอ่ นผลผลติ ออกส่ตู ลาด

Growth GPP และGPP จงั หวัดพิษณุโลก พษิ ณุโลก

ไตรมาส 1/63 ไตรมาส 2/63 ไตรมาส 3/63 ภาพรวมปี 62 ไตรมาส 1/63 ไตรมาส 2/63 ไตรมาส 3/63 ภาพรวมปี 63 คาดการณ์ บทวิเคราะหโ์ ดย สศท.2 พษิ ณโุ ลก
▪ Growth GPP ภาคเกษตร จ.พิษณโุ ลก หดตัวตามสาขาพืชทเี่ ปน็
rowth GPP แนวโนม้ ปี 64
สาขาหลกั ในทุกไตรมาส แม้วา่ สาขาปศุสตั วจ์ ะขยายตวั มาก แต่
ภาคเกษตร -0.70 0.3 0.5 3.2 -14.6 -25.6 -20.9 -11.9 0.1 ยงั ไม่สามารถดึง GPPภาคเกษตรให้ขยายตัวได้ ทาให้ภาพรวมปี

พืช -0.90 1.5 1.4 4.1 -18.1 -31.6 -26.7 -16.3 0.3

ปศุสัตว์ 0.11 0.1 0.1 1.8 3.2 22.1 11.4 6.3 3.2 63 หดตวั ลงมากถงึ -11.9 %
ประมง 2.57 -2.7 -11.2 -12.3 2.4 -10.7 -8.5 -7.3
บรกิ าร -0.10 -11.3 -17.3 -13 -7.9 4.6 ▪ สินคา้ เกษตรสาคญั ที่มนี ัยทางศก.ของจ.พษิ ณโุ ลกมดี งั น้ี
ป่าไม้ -0.70 2 1.9 2.6 -13.6 -10.3 -8.3 -0.2 - ไตรมาส 1 ไดแ้ ก่ ข้าวนาปรงั มนั สาปะหลัง อ้อยโรงงาน และ
-0.3 -0.3 0.7 2 ข้าวโพดเลีย้ งสตั ว์รุ่น2

-0.8 - ไตรมาส 2 ไดแ้ ก่ ขา้ วนาปรงั และขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์รนุ่ 2

ทมี่ า : สศช.สว่ นกลาง , กองนโยบายและแผนพฒั นาการเกษตร สศก. และสานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2(พษิ ณุโลก) - ไตรมาส 3 ได้แก่ ข้าวโพดเล้ยี งสัตวร์ ุ่น2
- ไตรมาส 4 ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวโพดเลย้ี งสตั วร์ นุ่ 1 และ
Growth GPP ยางพารา
▪ แนวทางการเพ่มิ Growth GPP ภาคเกษตร ควรบูรณาการ
สาขาปศุสัตว์ (+22.1 %)ปี 2563 คาดการณแ์ นวโน้มปี 2564 ระหว่างหน่วยงานในการบรหิ ารจดั การสนิ คา้ ทม่ี งุ่ เนน้ การเพ่มิ
(ณ 31 ธ.ค. 63)
ปี 2562

ภาคเกษตรรวม +0.1 % ประสิทธิภาพการผลติ และลดตน้ ทุนการผลิต ในสนิ ค้าเกษตร
สาขาพชื +0.3 % หลกั ที่มีนัยสาคญั ทาง ศก.ของจ. ดว้ ยกลไกการขับเคลือ่ นทม่ี ใี น
ระดบั จงั หวดั เช่น OT/ CoO/ อพก./ คทง.Demand-Supply/

คทง.จัดทาขอ้ มูลระดบั จงั หวดั ฯลฯ

ภาคเกษตรรวม (-25.6 %)

สาขาพชื (-31.6 %)

พษิ ณโุ ลก

Crop Recommendation พษิ ณุโลก

** คาแนะนาด้านการเพาะปลูก และด้านบริหารจดั การสินค้าเกษตรสาคัญท่ีมีนัยสาคัญทางเศรษฐกิจของจงั หวัดพิษณุโลก ก่อนผลผลิตออกสู่ตลาด จาแนกรายชนิด

1.ข้าวเจา้ นาปี - ควรตดิ ตามสถานการณ์การผลิต การตลาดของโลก ประเทศ และนโยบายรฐั เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานดา้ นการสง่ เสริมการผลติ ปรับแผนเปน็ ส่งเสริมพชื หลากหลายแทนการผลิตข้าว

เพียงอยา่ งเดียว เน้นเป็นสินคา้ ท่ีใชน้ ้าน้อย หรือสินค้าเกษตรท่ีสร้างมลู ค่าและปอ้ นอุตสาหกรรมแปรรูปได้ อาทิ สค .ท่ีมตี ลาดนาการผลิต สินคา้ อัตลักษณ์ สินค้ามาตรฐานเกษตรปลอดภยั /อินทรีย์

2.ข้าวเจา้ นาปรัง - ควรบริหารจัดการทรัพยาการนา้ ในแตล่ ะช่วงตามความตอ้ งการน้าของพชื ควบคกู่ บั การสง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยีการปลกู ข้าวแบบเปยี กสลับแหง้ มาใช้ในเขต

พน้ื ที่ ทสี่ ามารถบริหารจดั การน้าได้ เพอื่ ใหส้ ามารถใช้น้าอย่างคมุ้ คา่ เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ หรือปรบั เปลี่ยนเปน็ พชื ใช้น้านอ้ ยทม่ี ี Demand อาทิ ข้าวโพดฯ ถ่ัวเหลือง ฯลฯ

3.มนั สาปะหลังโรงงาน - ควรตรวจวิเคราะหด์ นิ เพอื่ ใหท้ ราบปรมิ าณธาตอุ าหารทจ่ี าเปน็ ในการดแู ลรกั ษาเพอ่ื ใหเ้ กดิ การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลติ / ควรตดิ ตามตรวจแปลงอย่างสมา่ เสมอ

- ควรประชาสมั พนั ธ์ใหเ้ กษตรกรเฝา้ ระวังการระบาดของโรคและแมลงศตั รูพชื อย่างทว่ั ถงึ ในแหล่งผลิตสาคญั หากพบความผดิ ปกตใิ หร้ บี แจง้ จนท.เกษตรในพน้ื ที่ เพอื่ ตรวจสอบ/แกไ้ ขไดท้ นั ทว่ งที

- ควรดแู ลรกั ษาแปลง เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลผลติ ทมี่ ีคณุ ภาพ อาทิ ควรเก็บเกีย่ วมันฯ เม่ืออายุครบ 12 เดอื น ควรซอ้ื ทอ่ นพนั ธุ์จากแหล่งทปี่ ลอดภยั จากโรคระบาด และเลอื กสายพนั ธ์ุทเี่ หมาะกบั สภาพพน้ื ท่ี

และมีเปอรเ์ ซน็ ตแ์ ปง้ ดี เพอื่ ลดปญั หาราคาทเี่ กษตรกรขายไดต้ า่ หรือลานมันไม่รบั ซอ้ื /กดราคา

4.ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ - ควรตรวจวิเคราะหด์ นิ เพอื่ ใหท้ ราบปรมิ าณธาตอุ าหารทจี่ าเปน็ ในการดแู ลรักษาเพอ่ื ใหเ้ กดิ การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลิต และลดตน้ ทนุ การผลติ จากการใส่ปยุ๋ เกนิ ความจาเปน็
- ควรส่งเสรมิ ใหเ้ กษตรกรชาวสวนยางประกอบอาชีพเสรมิ หรือปลกู พชื ศก.แซมในสวนยางเพอื่ สร้างรายไดใ้ นช่วงทยี่ ังไม่เปดิ กรีด อาทิ พชื ผกั พชื ไร่ พชื สมุนไพร
5.ยางพารา หรอื สนิ คา้ ทม่ี ี Demand ในพน้ื ทที่ สี่ ามารถจาหนา่ ยสนิ คา้ ไดง้ ่ายและสะดวก รวมทง้ั การทาปศสุ ัตว์ ประมง เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรผสมผสาน เพอื่ สร้างภูมิคมุ้ กันดา้ นเศรษฐกจิ
ลดความเส่ยี ง หากเกิดปญั หาราคาตกตา่
*ภาพรวมทกุ สนิ คา้ - ควรเฝ้าระวัง ป้องกัน และติดตามสถานการณ์การผลิตก่อนผลผลิตออกสู่ตลาด เพื่อเตรียมความพร้อมด้านการตลาด หรือบริหารจัดการแก้ไขปัญหา
โดยอาศัยกลไกขับเคล่ือนของ OT /CoO/อพก.
- หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรคาดการณ์ปริมาณผลผลิตของจังหวัด โดยใช้กลไก คทง.ด้าน Supply และคาดการณ์ปริมาณความต้องการของตลาดท้ังในและนอกจังหวัด
(คทง.ด้าน Demand) เพื่อวางแผนการบริหารจัดการสินค้าไม่ให้เกิดภาวะสินค้าล้นตลาด ราคาตกต่า
- ควรจัดประชุมเตรียมความพร้อมด้านการตลาดในช่วงปริมาณผลผลิตออกกระจุกตัว โดยบูรณาการกับ สนง.พาณิชย์จังหวัด และภาคเอกชนในพื้นที่ เพื่อประสานเช่ือมโยงตลาด
และประชาสัมพันธ์สถานการณ์ราคา และเกณฑ์การรับซ้ือผลผลิตตามคุณภาพ และผลักดันให้ สนง.สหกรณ์จังหวัดใช้ภาคีเครือข่ายนอกพื้นท่ีสนับสนุนการกระจายผลผลิต
ออกจากพ้ืนท่ีหากเกิด Over Supply เพื่อให้เกิดเสถียรภาพทางด้านราคา
- ควรสร้าง หรือพัฒนาระบบการติดตาม และรายงานผลเก่ียวกับการระบาดของโรคพืช/สัตว์ และสถานการณ์ท่ีส่งผลกระทบทางลบให้รับทราบอย่างรวดเร็ว

เพื่ อห าแ นว ทางแ ก้ไข ได้ ทันต่ อสถานการณ์

อตุ รดิตถ์ขอ้ เสนอแนะที่สนบั สนุนให้ Growth GPP ภาคเกษตร และผลิตภาพการผลติ สินคา้ เกษตร เพิม่ ขึ้น

มูลค่าผลผลิตสินคา้ เกษตรท่สี าคญั จ.อุตรดิตถ์ อตุ รดิตถ์

หน่วย : บาท สัดสว่ นมูลคา่ ผลผลติ ทสี่ าคญั ของ จ.อุตรดิตถ์ พบวา่
75% ของ GPP ภาคเกษตร อยู่ในสาขาพืช ไดแ้ ก่ ทเุ รยี น ขา้ วนาปี
ช่ือพืช ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ขา้ วโพดเลีย้ งสตั ว์ และข้าวนาปรงั ตามลาดับ

ข้าวเจ้านาปี 851,935,737 801,538,502 656,023,314

ข้าวเจ้านาปรัง 709,315,072 627,913,984 380,853,185 ชนิดสนิ ค้า สดั สว่ น %
ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ 661,000,566 611,367,288 589,655,846
1.ทุเรียน 0.38
ฝน (รุ่นท่ี 1) 545,258,420 510,912,301 493,452,232 2.ข้าวเจ้านาปี 0.15
แล้ง (รนุ่ ท่ี 2) 115,742,146 100,454,986 96,203,614 3.ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ 0.12
4.ข้าวเจ้านาปรัง 0.11
มันสาปะหลัง 96,280,645 102,344,079 86,908,399 5.สกุ รขุน 0.09 0.75
ทเุ รียน 2,060,339,601 1,887,694,842 2,009,057,461 6.โคเนอ้ื 0.05
7.สับปะรด 0.04
สับปะรด 50,098,707 139,640,064 365,802,225 8.ลองกอง 0.03
ลองกอง 185,895,715 135,592,179 155,403,945 9.ไก่เนอื้ 0.03
10.มันสาปะหลงั 0.02
โคเนอื้ 243,392,542 255,640,115 NA
สุกรขุน 312,480,590 568,330,387 548,256,875

ไกเ่ นอ้ื 150,656,066 145,992,161 110,732,000
ปรับปรุงขอ้ มูล ณ 3 ก.พ.2564

อุตรดิตถ์

ขอ้ เสนอแนะด้านการผลติ และการบริหารจดั การสนิ คา้ เกษตรสาคญั (รายไตรมาส)

จงั หวัดอตุ รดิตถ์

ร้อยละผลผลิตออกสู่ตลาด

สัดสว่ นโครงสรา้ งสนิ คา้ สาคญั (%) ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
ม.ค. ก.พ. มี.ค. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1.ทเุ รยี น (ปี 2561) 37.82 2.31 2.87 6.12 30.98 34.72 17.26 4.8 0.94 100
100
2.ข้าวเจา้ นาปี (ป6ี 2/63) 14.66 0.49 4.96 9.01 17.47 57.13 10.94 100
100
3.ข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์ (ป6ี 1/62) 11.82 0.75 2.25 7.95 10.95 0.32 8.36 29 23.03 16.88 0.53 -
-
4.ข้าวเจ้านาปรัง (ปี 2562) 10.91 1.3 22.03 29.82 39.71 6.19 0.95 100
100
5.สกุ รขุน 9.07 -
100
6.โคเนอื้ 4.75

7.สบั ปะรด (ปี 2562) 3.53 9.33 15.85 22.62 27.87 7.75 2.4 4.26 5.81 4.11

8.ลองกอง (ปี 2561) 3.03 30.11 32.71 36.02 1.16

9.ไกเ่ นอื้ 2.59

10.มันสาปะหลงั (ปี 2563) 1.81 30.3 20.96 10.96 3.35 1.16 11.22 22.05

รวม 100

ทม่ี า : สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2 พษิ ณุโลก สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร กษ.

หมายเหตุ : ไตรมาสทผ่ี ลผลิตออกสูต่ ลาด
เดอื นทผี่ ลผลติ ออกสตู่ ลาดมาก

เดอื นทต่ี อ้ งเตรียมวางแผนการผลติ เฝา้ ระวังปอ้ งกนั เร่ือง ดนิ น้า โรคแมลงศตั รพู ชื ระบาด และเช่ือมโยงตลาดก่อนผลผลิตออกสตู่ ลาด

Growth GPP และGPP จังหวดั อุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์

Growth GPP ไตรมาส 1/2563 ไตรมาส 2/2563 ไตรมาส 3/2563 ภาพรวมปี 63 คาดการณ์แนวโน้มปี 64* GPP ปี 63 คาดการณ์ GPP ปี 64 แนวโน้มปี 2564

(ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท)

ภาคเกษตร -2.1 -4.8 -4.5 -5.5 3.1

พืช -2.7 -6.1 -6.4 -6.7 2.7 คาดการณ์แนวโน้มปี 64 (ณ 31.ธ.ค.63)

ปศุสัตว์ -5.1 -3.2 0.3 1.7 4 2.6 – 3.6

ประมง -0.9 -12.7 -5.7 -6 5 2.2 – 3.2
3.5 – 4.5
บริการ -3.5 -4.5 -3.5 -4.1 2.3 4.5 – 5.5
1.8 – 2.8
ป่าไม้ -1.9 -2.3 -1.2 -7.5 2.1

ที่มา : สศช.ส่วนกลาง , กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สศก. และสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2(พิษณุโลก)

บทวิเคราะหโ์ ดย สศท.2 พษิ ณโุ ลก 1.6 - 2.6
คาดการณแ์ นวโน้มปี 2564 ▪ Growth GPP ภาคเกษตร จ.อุตรดติ ถ์ หดตวั ตามสาขาพชื ที่เปน็ สาขาหลกั
(ณ 31 ธ.ค. 63)
ปี 2563 โดยเฉพาะในไตรมาสที่ 2 และ4 ซงึ่ ทาให้ภาพรวมปี 63 หดตวั ลงมากถึง -6.7 %

▪ สินคา้ เกษตรสาคญั ท่มี นี ยั ทางศก.ของจ. ในไตรมาส 2 และ 4 ได้แก่ ทเุ รยี น ข้าวนา

ปรัง(ไตรมาส 2) ขา้ วนาปี ขา้ วโพดเล้ยี งสัตวร์ นุ่ 1(ไตรมาส 4)

สาขาปศุสัตว์ ( -3.2 %) ▪ แนวทางการเพิ่ม Growth GPP ภาคเกษตร ควรบรู ณาการระหวา่ งหน่วยงานในการ
ภาคเกษตรรวม +3.1 % บริหารจดั การสินค้าท่มี ุ่งเนน้ การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการผลติ และลดตน้ ทนุ การผลิต
ภาคเกษตรรวม (-4.8 %) สาขาพชื +2.7 %
สาขาพชื (-6.1 %) ในสนิ ค้าเกษตรหลกั ทมี่ ีนยั สาคัญทาง ศก.ของจ. ดว้ ยกลไกการขบั เคลอ่ื นทีม่ ใี นระดับ

จังหวดั เช่น OT/ CoO/ อพก./ คทง.Demand-Supply/ คทง.จดั ทาขอ้ มลู ระดบั

จงั หวดั ฯลฯ

สาขาประมง (-12.7 %)

อตุ รดติ ถ์

อุตรดติ ถ์

** คาแนะนาด้านการเพาะปลูก และด้านบริหารจดั การสินค้าเกษตรสาคัญท่ีมีนัยสาคัญทางเศรษฐกิจของจงั หวัดอุตรดิตถ์ ก่อนผลผลิตออกสู่ตลาด จาแนกรายชนิด

1.ทุเรียน - ควรควบคมุ ดา้ นการบรหิ ารจดั การนา้ /สตู รปยุ๋ และอตั ราการใช้ทเี่ หมาะสม ในแตล่ ะระยะอย่างเหมาะสมตง้ั แตต่ น้ ปี (ม.ค.) เช่น ระยะเตรยี มออกดอก ตดิ ผล พฒั นาผล

2.ข้าวเจา้ นาปี - ควรตดิ ตามสถานการณ์การผลิต การตลาดของโลก ประเทศ และนโยบายรฐั เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานดา้ นการสง่ เสริมการผลติ ปรบั แผนเปน็ สง่ เสริมพชื หลากหลายแทนการผลิตข้าว

3.ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ - ควรตรวจวิเคราะหด์ นิ เพอ่ื ใหท้ ราบปริมาณธาตอุ าหารทจ่ี าเปน็ ในการดแู ลรกั ษาเพอื่ ใหเ้ กิดการเพมิ่ ประสิทธิภาพการผลติ และลดตน้ ทนุ การผลิตจากการใส่ปยุ๋ เกินความจาเปน็
4.ขา้ วเจา้ นาปรัง - ควรบริหารจัดการทรัพยาการนา้ ในแตล่ ะช่วงตามความตอ้ งการน้าของพชื ควบคกู่ ับการสง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีการปลูกข้าวแบบเปยี กสลบั แหง้ มาใช้ในเขต

พน้ื ทๆี่ สามารถบรหิ ารจดั การนา้ ได้ เพอ่ื ใหส้ ามารถใช้น้าอย่างคมุ้ คา่ เกดิ ประโยชนส์ งู สุด

5. สุกรขนุ - เจ้าหน้าที่ภาครัฐในพนื้ ท่ีควรเขา้ ถึงเกษตรกรทั้งรายยอ่ ยและฟาร์มใหญ่ เพื่อตดิ ตามสถานการณ์ในพื้นท่ี โดยเฝา้ ระวงั และปอ้ งกันโรคระบาดในสุกรโดยเฉพาะ ASF และไวรัส PRRS
ตามมาตรฐานดา้ นการควบคุมและปอ้ งกันโรคให้อยใู่ นวงจากัด ม่งุ เน้นสร้างความเขา้ ใจแก่เกษตรกรไมใ่ ห้วติ กกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์โรค เพราะส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรม
ปศุสัตวโ์ ดยรวมของประเทศ

- ควรเฝา้ ระวัง ปอ้ งกัน และตดิ ตามสถานการณ์การผลติ ก่อนผลผลิตออกสู่ตลาด เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มดา้ นการตลาด หรือบริหารจัดการแกไ้ ขปญั หา
โดยอาศยั กลไกขับเคลื่อนของ OT /CoO/อพก.
- หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้องควรคาดการณ์ปรมิ าณผลผลติ ของจังหวัด โดยใช้กลไก คทง.ดา้ น Supply และคาดการณ์ปรมิ าณความตอ้ งการของตลาดทง้ั ในและนอกจงั หวัด

(คทง.ดา้ น Demand) เพอื่ วางแผนการบริหารจัดการสินคา้ ไม่ใหเ้ กดิ ภาวะสินคา้ ล้นตลาด ราคาตกตา่
- ควรจัดประชุมเตรยี มความพร้อมดา้ นการตลาดในช่วงปรมิ าณผลผลิตออกกระจกุ ตวั โดยบรู ณาการกับ สนง .พาณิชย์จังหวัด และภาคเอกชนในพนื้ ท่ี เพอ่ื ประสานเชื่อมโยงตลาด
และประชาสมั พนั ธ์สถานการณ์ราคา และเกณฑ์การรับซอ้ื ผลผลิตตามคณุ ภาพ และผลักดนั ให้ สนง.สหกรณ์จงั หวัดใช้ภาคเี ครือข่ายนอกพนื้ ทสี่ นบั สนนุ การกระจายผลผลิต

ออกจากพน้ื ทหี่ ากเกิด Over Supply เพอ่ื ใหเ้ กิดเสถยี รภาพทางดา้ นราคา

- ควรสร้าง หรอื พฒั นาระบบการตดิ ตาม และรายงานผลเกี่ยวกับการระบาดของโรคพชื /สตั ว์ และสถานการณ์ทส่ี ง่ ผลกระทบทางลบใหร้ ับทราบอย่างรวดเรว็

เพอ่ื หาแนวทางแกไ้ ขไดท้ นั ตอ่ สถานการณ์

ขอ้ เสนอแนะที่สนบั สนุนให้ Growth GPP ภาคเกษตร และผลติ ภาพการผลติ สินค้าเกษตร เพม่ิ ขึ้น

สโุ ขทัย

สุโขทยั สัดสว่ นมลู ค่าผลผลติ ทีส่ าคัญของ จ.สุโขทยั พบวา่
87% ของ GPP ภาคเกษตร อยูใ่ นสาขาพชื ไดแ้ ก่ โคเนื้อ ข้าวนาปี
มูลคา่ ผลผลิตสินค้าเกษตรท่สี าคญั จ.สุโขทัย อ้อยโรงงาน ส้มเขยี วหวาน และขา้ วนาปรงั ตามลาดบั

ชื่อพชื ปี 2561 ปี 2562 หน่วย : บาท

ข้าวเจ้านาปี 1,406,631,830 1,444,616,120 ปี 2563 ชนิดสนิ ค้า สดั สว่ น % สดั สว่ นสะสม %
531,835,854
ข้าวเจ้านาปรัง 863,958,261 176,391,831 2,104,087,608 1.โคเนอื้ 0.25
148,727,988 441,266,933
ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ 227,331,489 27,663,844 185,488,045 2.ข้าวเจ้านาปี 0.24
363,543,718 162,054,302
ฝน (ร่นุ ท่ี 1) 178,010,383 53,972,102 23,433,743
1,215,833,941 300,228,837
แล้ง (รนุ่ ที่ 2) 49,321,106 898,269,789 48,081,334 3.ออ้ ยโรงงาน 0.17
1,774,203,590 507,967,911
มันสาปะหลังโรงงาน 409,617,703 316,718,531 900,550,444 4.สม้ เขียวหวาน 0.13 0.78
NA
ยางพารา 47,403,101 313,161,410

อ้อยโรงงาน 1,746,073,849 5.ข้าวเจ้านาปรงั 0.09 0.87

ส้มเขียวหวาน 891,677,052 6.มันสาปะหลังโรงงาน 0.05

โคเนอ้ื 1,616,148,750 7.สกุ ร 0.04

สุกร 244,151,946

ปรับปรุงขอ้ มูล ณ 4 ก.พ.2564 8.ข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ 0.03 0.99

สุโขทยั

ขอ้ เสนอแนะด้านการผลติ และการบริหารจดั การสนิ คา้ เกษตรสาคญั (รายไตรมาส)

จงั หวัดสโุ ขทัย

รอ้ ยละผลผลติ ออกสตู่ ลาด

สดั สว่ นโครงสร้างสินคา้ สาคญั (%) ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 100
7.62 100
1.โคเนอื้ 24.54 7.38 8.43 9.44 6.14 11.78 11.32 7.81 8.34 8.65 6.72 6.37 9.85 100
18.11 100
2.ข้าวเจ้านาปี 23.91 4.95 1.20 2.3 16.50 18.94 23.84 22.47 17.22 100
100
3.อ้อยโรงงาน 16.74 32.41 33.10 16.18 3.53 100
8.12 100
4.สม้ เขียวหวาน 12.98 22.56 18.8 8.96 6.21 2.02 8.72 15.51 5.14

5.ข้าวเจ้านาปรัง 8.86 20.13 37.33 29.91 4.51 3.38 4.12 0.62

6.มันสาปะหลงั 5.18 17.07 17.51 25.95 18.46 7.29 5.14 2.55 1.06 1.44

7.สกุ ร 4.22 8.81 8.41 8.43 8.66 8.33 8.24 8.12 8.13 8.38 8.23 8.16

8.ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ 2.84 0.2 0.75 14.72 14.64 2.42 11.08 12.55 6.7 31.8

รวม 99
ทม่ี า : สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2 พษิ ณุโลก

หมายเหตุ : ไตรมาสทผ่ี ลผลิตออกสูต่ ลาด
เดอื นทผ่ี ลผลิตออกสตู่ ลาดมาก

เดอื นทตี่ อ้ งเตรยี มวางแผนการผลิต เฝา้ ระวังปอ้ งกนั เรื่อง ดนิ น้า โรคแมลงศตั รพู ชื ระบาด และเชื่อมโยงตลาดก่อนผลผลิตออกสู่ตลาด

Growth GPP รายสาขา จงั หวัดสโุ ขทัย

ปี 2562 ปี 2563 แนวโนม้ ปี 2564
คาดการณแ์ นวโนม้ ปี 64 (ณ 31.ธ.ค.63)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 รวมปี ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 รวมปี
(-0.2) – 0.8
ภาคเกษตร -6.00 -5.20 -0.20 -4.70 -6.30 -2.60 -4.70 -12.00 0.0 – 1.0 สุโขทัย
พชื -6.70 0.0 – 1.0
0.30 -7.10 -1.20 -5.70 -6.60 -4.50 -5.30 -13.30 1.3 – 2.3 บทวิเคราะหโ์ ดย สศท.2 พษิ ณโุ ลก
ปศุสัตว์ 9.00 (-0.3) - 0.7 ▪ Growth GPP ภาคเกษตร จ.สโุ ขทัย หดตวั ตามสาขาพชื ท่ีเป็นสาขา
ประมง -7.90 0.30 2.30 0.30 0.10 0.10 1.60 0.90 (-3.2) - (-2.2)
บริการ 11.80 หลัก โดยเฉพาะในไตรมาสที่ 1, 2 และ4 ซ่งึ ทาใหภ้ าพรวมปี 62 และปี
ปา่ ไม้ 9.60 4.80 -2.80 -0.80 -0.80 -1.20 -0.80 63 หดตวั ลงมากถงึ (– 4.7 %) และ(– 12.0 %)
▪ สินคา้ เกษตรสาคญั ทม่ี นี ยั ทางศก.ของจ. ในไตรมาส 1 , 2 และ 4 ไดแ้ ก่
-6.40 -2.10 -4.80 -4.80 -1.20 -3.30 -6.50 ข้าวนาปรงั อ้อยโรงงาน ส้มเขยี วหวาน มนั สาปะหลัง (ไตรมาส 1,2)
ข้าวนาปี สม้ เขยี วหวาน (ไตรมาส 4)
11.80 11.80 6.70 -5.10 -5.40 -5.00 -9.80 ▪ แนวทางการเพิ่ม Growth GPP ภาคเกษตร ควรบูรณาการระหว่าง
หนว่ ยงานในการบริหารจดั การสนิ คา้ ท่มี งุ่ เนน้ การเพ่ิมประสิทธภิ าพการ
ทมี่ า : สศช.สว่ นกลาง , กองนโยบายและแผนพฒั นาการเกษตร สศก. และสานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 พษิ ณุโลก ผลติ และลดต้นทนุ การผลิต ในสนิ คา้ เกษตรหลักที่มนี ยั สาคัญทาง ศก.
ของจ. ดว้ ยกลไกการขบั เคลอ่ื นทีม่ ใี นระดบั จงั หวดั เช่น OT/ CoO/
ปี 2562 ปี 2563 คาดการณแ์ นวโน้มปี 2564 อพก./ คทง.Demand-Supply/ คทง.จดั ทาขอ้ มลู ระดบั จงั หวดั ฯลฯ
(ณ 31 ธ.ค. 63)

ภาคเกษตรรวม +0.3 %
สาขาพชื +0.5 %

ภาคเกษตรรวม (-4.7 %) ภาคเกษตรรวม (-12.0 %)
สาขาพชื (-5.7 %) สาขาพชื (-13.3 %)

สโุ ขทยั

ขา้ วเจา้ นาปี : ควรเพิ่มจานวนแหล่งนา้ ในพื้นท่ีการเกษตรใหม้ ปี รมิ าณเพยี งพอต่อการผลติ ไดต้ ลอดฤด/ู พฒั นาองคค์ วามรู้ดา้ นการเฝ้าระวงั ปอ้ งกันและกาจัดโรค อาทิ โรคไหมค้ อรวง เพลย้ี
กระโดดสนี ้าตาล รวมถึงการใช้ปัจจัยการผลิตท่ีเหมาะสมเพอ่ื เป็นการลดต้นทุน และการผลิตที่สอดคลอ้ งกับศกั ยภาพความเหมาะสมดิน

ข้าวเจา้ นาปรงั : ควรเพิ่มจานวนแหล่งน้าในพื้นที่การเกษตรใหม้ ปี รมิ าณเพยี งพอต่อการผลติ ไดต้ ลอดฤด/ู ควรส่งเสรมิ ให้เกษตรกรใช้เมลด็ พันธ์ุทไี่ ดม้ าตรฐานรับรอง รวมถงึ การใช้ปจั จยั การ
ผลติ ทเ่ี หมาะสมเพื่อเปน็ การลดตน้ ทุน และการผลิตท่ีสอดคล้องกบั ศักยภาพความเหมาะสมดิน

ออ้ ยโรงงาน : ควรพัฒนาแหล่งน้าเพอื่ การเกษตรให้ครอบคลุมพน้ื ทเ่ี พาะปลูก/ ควรส่งเสริมการใชร้ ะบบน้าหยด รวมถงึ การใช้ปจั จยั การผลิตที่เหมาะสมเพอ่ื เปน็ การลดตน้ ทนุ และการผลิตที่
สอดคล้องกบั ศกั ยภาพความเหมาะสมดิน

มันสาปะหลงั : ควรพัฒนาแหลง่ น้าเพ่ือการเกษตรใหค้ รอบคลมุ สง่ เสรมิ การผลติ โดยใชร้ ะบบนา้ หยด รวมถึงการใชป้ ัจจัยการผลติ ที่เหมาะสมเพือ่ เปน็ การลดตน้ ทนุ และการผลิตทสี่ อดคลอ้ ง
กบั ศกั ยภาพความเหมาะสมดนิ

ข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์ : ควรพฒั นาแหล่งน้าเพ่ือการเกษตรให้ครอบคลมุ พนื้ ทเ่ี พาะปลกู ข้าวโพดฯ / ควรเฝ้าระวังและให้ความรใู้ นการปอ้ งกนั กาจดั โรคอยา่ งมีประสิทธิภาพ อาทิ หนอนกระทู้
ลายจุด รวมถึงการใชป้ ัจจยั การผลิตทเี่ หมาะสมเพอื่ เปน็ การลดตน้ ทนุ และการผลิตทส่ี อดคลอ้ งกับศกั ยภาพความเหมาะสมดิน

สม้ เขียวหวาน : ควรเพ่มิ จานวนแหล่งนา้ ในพนื้ ทีก่ ารเกษตรใหม้ ีปริมาณเพยี งพอต่อการผลติ ไดต้ ลอดฤดู โดยเฉพาะช่วงฤดแู ล้ง เพราะภาวะขาดแคลนน้าสง่ ผลให้ลาตน้ ไมส่ มบรู ณ์ การติด
ดอกออกผลลดลง การใช้ปจั จยั การผลิตที่เหมาะสมเ และการผลิตตามมาตฐานสนิ คา้ ปลอดภยั

โคเน้อื : ควรเน้นการเฝา้ ระวงั โรคระบาด อาทิ ลมั ปสี กิน (อาจตดิ มากบั โคนาเขา้ จากประเทศพมา่ ท่เี กษตรกรซอื้ มาเลี้ยงขนุ ) และโรคระบาดอนื่ ๆ รวมทง้ั การเพิม่ ปรมิ าณแม่โคเพือ่ ผลิตโคต้น
นา้ ใหเ้ พียงพอตอ่ ความต้องการตลาด

ข้อเสนอแนะเพือ่ การบริหารจัดการสินค้าเกษตรสาคญั ของ จงั หวดั สุโขทยั
โดยภาพรวม สรุปได้ดงั นี้

❑ ควรเฝ้าระวงั ป้องกัน และติดตามสถานการณก์ ารผลิตกอ่ นผลผลติ ออกสตู่ ลาด เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มด้านการตลาด หรือบรหิ ารจดั การแกไ้ ขปญั หา โดยอาศยั กลไก
ขับเคลอื่ นของ OT /CoO/อพก.
❑ หน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องควรคาดการณป์ รมิ าณผลผลติ ของจงั หวดั โดยใช้กลไก คทง.ดา้ น Supply และคาดการณป์ รมิ าณความต้องการของตลาดท้ังในและนอกจังหวัด (คทง.
ดา้ น Demand) เพื่อวางแผนการบรหิ ารจดั การสินคา้ ไม่ใหเ้ กดิ ภาวะสินคา้ ลน้ ตลาด ราคาตกต่า
❑ ควรจดั ประชุมเตรียมความพรอ้ มดา้ นการตลาดในชว่ งปริมาณผลผลิตออกกระจกุ ตัว โดยบูรณาการกบั สนง.พาณชิ ยจ์ งั หวดั และภาคเอกชนในพน้ื ที่ เพ่อื ประสานเชื่อมโยง
ตลาด
❑ ควรประชาสมั พนั ธส์ ถานการณ์ราคา และเกณฑก์ ารรบั ซอื้ ผลผลิตตามคณุ ภาพ และผลักดันให้ สนง.สหกรณจ์ งั หวัดใชภ้ าคีเครือขา่ ยนอกพ้ืนทส่ี นับสนุนการกระจายผลผลิต
ออกจากพ้ืนทหี่ ากเกดิ Over Supply เพอื่ ใหเ้ กดิ เสถยี รภาพทางดา้ นราคา
❑ ควรสร้าง หรือพฒั นาระบบการติดตาม และรายงานผลเกย่ี วกบั การระบาดของโรคพชื /สัตว์ และสถานการณ์ท่สี ่งผลกระทบทางลบใหร้ บั ทราบอยา่ งรวดเรว็ เพื่อหาแนว
ทางแกไ้ ขไดท้ ันตอ่ สถานการณ์

ขอ้ เสนอแนะท่สี นับสนนุ ให้ Growth GPP ภาคเกษตร และผลิตภาพการผลิตสินค้าเกษตร เพม่ิ ขึ้น

ตาก

มูลคา่ ผลผลิตสินค้าเกษตรทสี่ าคญั จ.ตาก

ชื่อพืช ปี 2561 ปี 2562 หน่วย : บาท ตาก

ข้าวเจ้านาปี 383,563,530 399,414,951 ปี 2563 สัดสว่ นมลู ค่าผลผลติ ท่ีสาคญั ของ จ.ตาก พบวา่
21,489,683 84% ของ GPP ภาคเกษตร อยู่ในสาขาพืช ไดแ้ ก่ ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์
ข้าวเจ้านาปรงั 18,027,721 2,148,761,361 610,607,335 มันสาปะหลงั ข้าวนาปี สาขาปศสุ ัตว์ ไดแ้ ก่ โคเน้ือ
619,564,134 21,790,815
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 2,339,666,418 104,974,744 2,183,432,780
23,907,109 502,413,212
มันสาปะหลังโรงงาน 747,360,369 270,093,563 33,424,452
959,873,728 NA
อ้อยโรงงาน 111,035,136 370,835,388 257,838,352
79,344,192 1,125,478,596
ถวั่ เหลือง 21,743,781 376,460,940
NA
ลาไย 278,260,813

โคเนอ้ื 1,016,299,650

สุกรขุน 270,183,029

ไกเ่ นอื้ 59,024,951

ปรับปรุงขอ้ มูล ณ 28 ม.ค.2564

ตาก

ข้อเสนอแนะด้านการผลติ และการบริหารจดั การสนิ คา้ เกษตรสาคญั (รายไตรมาส)

จงั หวัดตาก

รอ้ ยละผลผลิตออกสตู่ ลาด

สัดส่วนโครงสรา้ งสนิ คา้ สาคญั (%) ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
ม.ค. ก.พ. มี.ค. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1.ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 43.19 1.52 0.67 3.77 5.82 0.62 0.11 1.63 20.95 28.13 27.28 9.50 100
100
2.โคเนอื้ 20.08 11.61 14.10 9.65 16.35 11.03 4.38 7.06 9.09 6.92 2.17 3.51 4.1 100
100
3.มันสาปะหลัง 12.10 24.04 21.44 22.48 11.26 7.88 1.71 1.14 0.09 0.97 1.57 2.38 5.04 100
100
4.ข้าวเจ้านาปี 9.02 0.44 3.89 73.62 22.05

5.สุกรขุน 6.59 10.37 7.4 10.25 8.13 10.19 7.65 6.35 8.23 6.35 9.39 8.77 6.92

6.ลาไย 5.22 29.87 18.39 7.61 7.08 6.19 1.62 4.73 2.79 5.12 16.6

รวม 96

ทม่ี า : สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2 พษิ ณุโลก

หมายเหตุ : ไตรมาสทผ่ี ลผลติ ออกสตู่ ลาด
เดอื นทผี่ ลผลิตออกส่ตู ลาดมาก

เดอื นทต่ี อ้ งเตรียมวางแผนการผลิต เฝา้ ระวังปอ้ งกนั เร่ือง ดนิ นา้ โรคแมลงศตั รพู ชื ระบาด และเช่ือมโยงตลาดกอ่ นผลผลิตออกส่ตู ลาด

Growth GPP ภาคเกษตร รายสาขา จังหวดั ตาก ตาก

Growth ปี 2562 ปี 2563 แนวโน้มปี 2564

สาขา ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 รวมปี ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 รวมปี คาดการณ์แนวโน้มปี 64 (ณ 31.ธ.ค.63) บทวเิ คราะห์โดย สศท.2 พษิ ณุโลก
▪ Growth GPP ภาคเกษตร จ.ตาก หดตัวต่อเนือ่ งต้งั แต่ Q3 ปี62-
GPP 1.1 1.7 1.1 1.1 -5.5 -6.9 -6.2 -2.1 2.1 - 3.1
Q2 ปี 63 จากวิกฤติการณ์ภัยแล้ง สง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ สาขา
พืช 7.9 8.8 1.3 1.4 -8.8 -11.8 -8.5 -3.4 3.1 – 4.1 พชื ที่เป็นสาขาหลัก โดยเฉพาะในไตรมาสที่ 1 และ4 ที่เป็นชว่ ง
ผลผลิตพืชไร่ ไดแ้ ก่ ข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ ขา้ วนาปี และมัน
ปศุสัตว์ -4.1 -2.4 3.6 0.1 0.2 0.2 0.2 0.9 1.5 – 2.5 สาปะหลังออกสู่ตลาด ส่งผลให้GPPภาคเกษตรภาพรวมปี 62

ประมง 0.8 0.7 0.7 0.4 -0.7 -0.6 0.6 -0.9 1.2 – 2.2

บริการ 2.5 2.5 2.5 0.7 -3.5 -4.6 -6.6 -3.0 1.6 - 2.6

ป่าไม้ 0.9 0.5 0.5 21.3 0.6 0.2 0.8 -9.9 22.3 - 23.3

ทม่ี า : สศช.ส่วนกลาง, กองนโยบายและแผนพฒั นาการเกษตร สศก. และสานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 พษิ ณุโลก ขยายตัวไดเ้ พียง 1.1 % และหดตัวต่อเนือ่ งมาถงึ Q1 ปี 63 ทา

ปี 2562 ให้ GPPภาคเกษตรภาพรวมลดลงมากถงึ (– 5.5 %) และ ตาม

สาขาพชื ทห่ี ดตวั มากถงึ (– 8.8 %)

ปี 2563 คาดการณแ์ นวโน้มปี 2564 ▪ สนิ ค้าเกษตรสาคญั ท่มี นี ัยทางศก.ของจ. ในไตรมาส 1 และ 4
(ณ 31 ธ.ค. 63)
ไดแ้ ก่ โคเน้อื มนั สาปะหลัง ลาไย (ไตรมาส 1) และโคเน้ือ ข้าว
ภาคเกษตรรวม +2.6 %
ภาคเกษตรรวม (-2.1 %) เจา้ นาปี ลาไย (ไตรมาส 4) โดยเฉพาะโคเน้ือ ทีป่ ระสบปัญหาการ
สาขาพชื (-3.4 %) สาขาพชื +3.6 % นาเข้าในด่านชายแดนแม่สอดจากสถานการณ์ Covid 19 และ
มันสาปะหลงั ท่ปี รมิ าณผลผลิตลดลงอยา่ งมาก จากภาวะภัยแลง้

ภาคเกษตรรวม (+1.1 %) ภาคเกษตรQ1 (-5.5 %) ▪ แนวทางการเพิ่ม Growth GPP ภาคเกษตร ควรบูรณาการ
สาขาพชื (+1.4 %) สาขาพชื Q1 (-8.8%) ระหวา่ งหนว่ ยงานในการบรหิ ารจดั การสนิ ค้าท่มี งุ่ เน้นการเพิ่ม
ประสิทธภิ าพการผลิต และลดตน้ ทนุ การผลิต ในสินคา้ เกษตรหลกั
ทมี่ ีนัยสาคัญทาง ศก.ของจ. ด้วยกลไกการขับเคลอื่ นทมี่ ใี นระดบั

*ชว่ งต้ังแต่ 1 พ.ย.62-30 เม.ย.63 เกดิ วิกฤติการณภ์ ยั แล้งหนกั ในรอบ 60 ปี จงั หวัด เชน่ OT/ CoO/ อพก./ คทง.Demand-Supply/ คทง.
หนกั กว่าปี 58 และแล้งตอ่ เน่ืองถงึ Q2 ของปี 63 จัดทาข้อมลู ระดับจังหวัด ฯลฯ

ตาก

ตาก

** คาแนะนาด้านการผลิต และด้านบริหารจดั การสินค้าเกษตรสาคัญที่มีนัยสาคัญทางเศรษฐกิจของจงั หวัดตาก ก่อนผลผลิตออกสู่ตลาด จาแนกรายชนิด

ข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ - ควรพฒั นาแหลง่ น้าเพอื่ การเกษตรใหค้ รอบคลมุ พน้ื ทเ่ี พาะปลกู ข้าวโพดฯ /พฒั นาระบบประปาภูเขาสาหรับพนื้ ทส่ี ูง /เฝา้ ระวัง ตดิ ตาม และปอ้ งกนั กาจัดโรคอย่างมีประสิทธิภาพอาทิ หนอนกระทลู้ ายจุดรวมถึงการใช้ปจั จัยการผลิตทเ่ี หมาะสมเพอ่ื เปน็ การลดตน้ ทนุ และการผลติ ทสี่ อดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพความเหมาะสมดนิ
มันสาปะหลงั - ควรพฒั นาแหลง่ น้าเพอื่ การเกษตรใหค้ รอบคลมุ โดยเพมิ่ จานวนแหลง่ น้าในพน้ื ทก่ี ารเกษตรใหม้ ีปรมิ าณเพยี งพอตอ่ การผลิตไดต้ ลอดฤดู เสรมิ การผลติ โดยใช้ระบบน้าหยดรวมถึงการใช้ปจั จยั การผลติ ทเี่ หมาะสมเพอื่ เปน็ การลดตน้ ทนุ และการผลติ ทสี่ อดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพความเหมาะสมดนิ

ข้าวเจ้านาปี - ควรพฒั นาองคค์ วามรู้ดา้ นการเฝา้ ระวังปอ้ งกนั และกาจดั โรคอาทิ แมลงบวั่ เพล้ียกระโดดสนี ้าตาล เพมิ่ จานวนแหลง่ นา้ ในพน้ื ทกี่ ารเกษตรใหม้ ีปริมาณเพยี งพอตอ่ การผลิตไดต้ ลอดฤดู รวมถงึ การใช้ปจั จัยการผลิตทเ่ี หมาะสมเพอื่ เปน็ การลดตน้ ทนุ และการผลติ ทส่ี อดคลอ้ งกับศกั ยภาพความเหมาะสมดนิ
ลาไย - ควรเพมิ่ จานวนแหลง่ น้าในพน้ื ทกี่ ารเกษตรใหม้ ีปริมาณเพยี งพอตอ่ การผลิตไดต้ ลอดฤดู โดยเฉพาะช่วงฤดแู ล้งตน้ ลาไยขาดนา้ ส่งผลใหล้ าตน้ ไม่สมบรู ณส์ าหรับราดสารในช่วงเดอื น พ.ค.เพอื่ ผลติ ลาไยนอกฤดู
โคเนอื้ - ควรเนน้ การเฝา้ ระวังโรคระบาดอาทิ โรคไข้ขา (เคยพบการระบาดในพนื้ ที่ อ.เมือง) ลัมปสี กนิ (อาจตดิ มากับโคนาเข้าจากประเทศพม่า) และโรคระบาดอ่นื ๆ รวมทงั้ การเพมิ่ ปริมาณแม่โคเพอ่ื ผลิตโคตน้ นา้ ใหเ้ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการตลาด

ดา้ นบรหิ ารจดั การ - ควรเฝา้ ระวัง ปอ้ งกัน และตดิ ตามสถานการณก์ ารผลิตก่อนผลผลติ ออกสตู่ ลาด เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มดา้ นการตลาด หรือบริหารจัดการแกไ้ ขปญั หา
โดยอาศยั กลไกขับเคล่ือนของ OT /CoO/อพก.
- หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้องควรคาดการณป์ ริมาณผลผลติ ของจงั หวัด โดยใช้กลไก คทง.ดา้ น Supply และคาดการณป์ รมิ าณความตอ้ งการของตลาดทง้ั ในและนอกจังหวัด
(คทง.ดา้ น Demand) เพอื่ วางแผนการบรหิ ารจดั การสินคา้ ไม่ใหเ้ กิดภาวะสนิ คา้ ลน้ ตลาด ราคาตกตา่
- ควรจดั ประชุมเตรียมความพรอ้ มดา้ นการตลาดในช่วงปรมิ าณผลผลติ ออกกระจุกตวั โดยบรู ณาการกบั สนง.พาณชิ ย์จังหวัด และภาคเอกชนในพน้ื ที่ เพอ่ื ประสานเชื่อมโยงตลาด
และประชาสัมพนั ธ์สถานการณร์ าคา และเกณฑ์การรับซอื้ ผลผลิตตามคณุ ภาพ และผลักดนั ให้ สนง.สหกรณจ์ งั หวัดใช้ภาคเี ครอื ข่ายนอกพน้ื ทส่ี นบั สนนุ การกระจายผลผลติ

ออกจากพนื้ ทห่ี ากเกิด Over Supply เพอื่ ใหเ้ กิดเสถยี รภาพทางดา้ นราคา

- ควรสรา้ ง หรือพฒั นาระบบการตดิ ตาม และรายงานผลเกยี่ วกับการระบาดของโรคพชื /สัตว์ และสถานการณท์ สี่ ง่ ผลกระทบทางลบใหร้ บั ทราบอย่างรวดเรว็

เพอ่ื หาแนวทางแกไ้ ขไดท้ นั ตอ่ สถานการณ์

ขอ้ เสนอแนะที่สนบั สนุนให้ Growth GPP ภาคเกษตร และผลิตภาพการผลิตสินคา้ เกษตร เพิม่ ขึ้น

เพชรบูรณ์

เพชรบูรณ์

สัดสว่ นมลู ค่าผลผลิตท่สี าคญั ของ จ. เพชรบรู ณ์ พบวา่
93.72% ของ GPP ภาคเกษตร อยใู่ นสาขาพชื ได้แก่ ขา้ วเจา้ นาปี
ข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์ ไก่เนือ้ ออ้ ยโรงงาน มันสาปะหลัง ตามลาดบั

ช่ือพชื สดั สว่ น% สดั สว่ นสะสม

ขา้ วเจ้านาปี 25.50 25.50

ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ 23.64 49.14
ไก่เนื้อ 19.13 68.27
อ้อยโรงงาน 17.66 85.93

มนั สาปะหลังโรงงาน 7.79 93.72

สุกรขนุ 5.29

ขา้ วเจ้านาปรัง 0.70

โคเน้ือ 0.29

เพชรบรู ณ์

เพชรบูรณ์

บทวเิ คราะห์โดย สศท.12 นครสวรรค์

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2563 มีการหดตวั 1.5 % เม่ือเทียบกบั ปีท่ี
ผา่ นมา สาขาประมงหดตวั 4.8 % สาขาปศสุ ตั วห์ ดตวั 3.8% สาขาป่าไมห้ ด
ตวั 1.4% สาขาพืชหดตวั 1.2% และสาขาบรกิ ารฯหดตวั 1.1% ตามลาดบั โดย
มีปัจจยั สาคญั ท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ ภาคเกษตร ไดแ้ ก่ สภาพอากาศท่ีรอ้ นจดั และ
แหง้ แลง้ ปรมิ าณนา้ ฝนนอ้ ย โดยเฉพาะสาขาพืชมีปรมิ าณผลผลิตออ้ ยโรงงาน
ลดลง 8.5%และขา้ วโพดเลีย้ งสตั วล์ ดลง 3.7% ตามลาดบั สาขาปศสุ ตั วม์ ี
ปรมิ าณผลผลิตสกุ รลดลง 42.8% และไกเ่ นือ้ ลดลง 1.4% และสาขาประมงท่ี
ปรมิ าณประมงเพาะเลีย้ งและจบั สตั วน์ า้ จืดธรรมชาตลิ ดลง 5.0%

คาดการณแ์ นวโน้มปี 2564 ▪ สินคา้ เกษตรสาคัญทมี่ ีนยั ทางเศรษฐกิจของจังหวัดเพชรบรู ณ์
ปี 2562 ปี 2563 ▪ ไตรมาส 1 ไดแ้ ก่ ออ้ ยโรงงาน มันสาปะหลงั
(ณ 31 ธ.ค. 63) ไตรมาส 2 ไดแ้ ก่ ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์รุน่ 2
ภาคเกษตรรวม (-2.5 %) ภาคเกษตรรวม (-1.5%) ▪ ไตรมาส 3ได้แก่ ข้าวนาปี ขา้ วโพดเลยี้ งสตั วร์ นุ่ 1
สาขาพชื (-4.0 %) สาขาพชื (-1.2 %) ภาคเกษตรรวม ไตรมาส 4 ไดแ้ ก่ ข้าวนาปี ขา้ วโพดเลี้ยงสตั วร์ นุ่ 1 มนั สาปะหลัง ออ้ ยโรงงาน
+2.5 %▪
สาขาพชื +2.4% ▪

แนวทางการเพ่ิม Growth GPP ภาคเกษตร ควรบรู ณาการระหว่างหนว่ ยงานในการ
บรหิ ารจัดการสินคา้ ท่ีม่งุ เน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และลดต้นทนุ การผลติ ใน
สินค้าเกษตรหลกั ทมี่ นี ัยสาคัญทาง ศก.ของจ. ดว้ ยกลไกการขบั เคลอ่ื นทมี่ ใี นระดับ
จงั หวดั เช่น OT/ CoO/ อพก./ คทง.Demand-Supply/ คทง.จดั ทาขอ้ มลู ระดบั
จังหวดั ฯลฯ

เพชรบรู ณ์



Thank You...


Click to View FlipBook Version