The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือและระเบียบวิธีการสำรวจปริมาณการผลิตเบ็ดเสร็จ ปีเพาะปลูก 2565/66

ilovepdf_merged

คู่มือการส ารวจปริมาณการผลิตแบบเบ็ดเสร็จ ปีเพาะปลูก 2565/66 กระเทียม หอมแดง มันฝรั่ง จัดท าโดย ส่วนสารสนเทศการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 พิษณุโลก


การส ารวจปริมาณการผลิตแบบเบ็ดเสร็จ กระเทียม หอมแดง และมันฝรั่ง ปีเพาะปลูก 2565/66 ของส่วนสารสนเทศการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (สศท.2 พิษณุโลก) เป็นการด าเนินการส ารวจปริมาณการผลิตในทุกขั้นตอนกระบวนการเอง ตั้งแต่ ก าหนดระเบียบวิธีการส ารวจของพืชทั้ง 3 ชนิด การลงภาคสนามเพื่อจัดเก็บรวบรวมข้อมูลตามระเบียบวิธีการส ารวจที่ก าหนด การ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การสร้างโปรแกรมบันทึกข้อมูล การบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การออกรายงานเบื้องต้น และ การจัดส่งรายงานผลการส ารวจพืชเบ็ดเสร็จทั้งหมดให้ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สศก. วิเคราะห์ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลสินค้า ของแต่ละจังหวัดอีกครั้ง ก่อนน าไปใช้ประโยชน์ในระดับพื้นที่ ทั้งนี้ ศูนย์สารสนเทศการเกษตร (ศสส.) สศก. ได้จัดอบรมชี้แจงระเบียบวิธีการส ารวจเบื้องต้น (แผนการส ารวจ การสุ่มตัวอย่าง การ ชี้แจงแบบส ารวจพืช 3 ชนิด แผนก าหนดส่งงาน) ให้แก่ สศท. 1-12 เพื่อให้แต่ละ สศท. ได้น าไปวางแผนการท างาน โดยเริ่มที่การ ก าหนดระเบียบวิธีการส ารวจสินค้าเพื่อจัดส่งให้ ศสส. พิจารณาก่อนเริ่มปฏิบัติงานจริง ส าหรับข้อมูลที่ สศท.2 ต้องด าเนินการจัดเก็บ ได้แก่ เนื้อที่เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว ปริมาณผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ปริมาณผลผลิตหรือร้อยละผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้รายเดือน สถานการณ์การผลิตการตลาดสินค้า จ านวน 3 ชนิดสินค้า ดังกล่าว ซึ่งจะน าไปใช้ประโยชน์ด้านการสนับสนุนการจัดท านโยบายพัฒนา ภาคเกษตรของประเทศต่อไป คู่มือการส ารวจปริมาณการผลิตแบบเบ็ดเสร็จ กระเทียม หอมแดง และมันฝรั่ง ปีเพาะปลูก 2565/66 ฉบับนี้ จะเป็นกรอบแนว ทางการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ส ารวจภายในส่วนสารสนเทศการเกษตร สศท.2 ได้มีความรู้ความเข้าใจในการด าเนินงาน เพื่อให้ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ และบรรลุผลส าเร็จตามเป้าหมาย. บทน า


ก าหนดระเบียบวิธีการส ารวจของพืชทั้ง 3 ชนิด สร้างแบบส ารวจปริมาณการผลิตพืช (กระเทียม หอมแดง มันฝรั่ง)ปีเพาะปลูก 2565/66 สร้างโปรแกรมบันทึกข้อมูล ลงภาคสนามเพื่อจัดเก็บรวบรวมข้อมูลตามระเบียบวิธีการส ารวจที่ก าหนด ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล บันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ออกรายงานเบื้องต้น จัดส่งรายงานเบื้องต้นให้ศูนย์สารสนเทศการเกษตร (ศสส.)สศก. ศสส.วิเคราะห์ตรวจสอบความถูกต้อง/ แจ้ง สศท.2 ปรับปรุงข้อมูล ส่งข้อมูลรายงานผลการส ารวจคืน สศท.2 เพื่อน าไปใช้ประโยชน์ ………………………………………………………………… ขั้นตอนและกระบวนการส ารวจปริมาณการผลิตพืชเบ็ดเสร็จ (กระเทียม หอมแดง มันฝรั่ง)ปีเพาะปลูก 2565/66


การชี้แจงข้อมูลของศูนย์สารสนเทศการเกษตร สศก.


ตัวอย่าง แบบสอบถาม กระเทียม


ตัวอย่าง แบบสอบถาม หอมแดง


ตัวอย่าง แบบสอบถาม หอมแดง


ตัวอย่าง แบบสอบถาม มันฝรั่ง


ตัวอย่าง แบบสอบถาม มันฝรั่ง


ระเบียบวิธีการสํารวจขอมูลพชืเบ็ดเสร็จ ปงบประมาณ  2566 โดย สวนสารสนเทศการเกษตร สศท.2 พิษณุโลก 1. ชนิดพืชที่ดําเนินการสํารวจ หอมแดง กระเทียม มันฝรั่ง ปเพาะปลูก 2565/66 2. แผนปฏิบัติงาน ชนิดสินคาที่จะดาํเนินการสํารวจและกระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงานใน ปงบประมาณ 2566 มีดังนี้ 2565 2566 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 1. เตรียมงานวิชาการ คูมือ แบบสอบถาม แบบสํารวจ (ศสส.) หอมแดง กระเทียม และ มันฝรั่ง ป 2566 2. กําหนดระเบียบวิธีสํารวจ ปฏิบัติงานสนาม ประมวลผล วิเคราะหและรายงานผลระดับจังหวัด(สศท.) หอมแดง กระเทียม และ มันฝรั่ง ป 2566 15 3. ศสส. วเิคราะหและรายงานผลระดับภาค/ประเทศ หอมแดง กระเทยีม และ มันฝรั่ง ป2566 31 3. ระเบียบวิธีการสํารวจ และการกําหนดจํานวนหมูตัวอยางของการเพาะปลูก หอมแดง กระเทียม มันฝรั่ง ป2566 ในแตละจังหวดั3.1 วิธีการสํารวจ เปนการสํารวจขอมูลการผลิตหอมแดง กระเทียม มันฝรั่ง ปเพาะปลูก 2565/66 ในแหลงผลิตทุกจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานเศรษฐกิจ การเกษตรที่ 2 (สศท.2 พิษณุโลก) ดวยวิธีสํารวจตัวอยาง โดยแจงนับขอมูลดวยการ สอบถามผูรูในระดับพื้นที่ (List Frame Survey) โดยยดึหลักเกณฑดานวิชาการสถิติเปน หลัก ไดแก ทฤษฎีสุม และการประมาณคาสถิติ เพื่อการอนุมานไปสูประชากรไดอยาง ถูกตองและมีความนาเชื่อถือในการเผยแพรขอมูล จําแนกเปนรายชนิดสินคา ดังนี้ 3.1.1 วิธีการสํารวจ หอมแดง กระเทยีม 1) การดําเนินการในหนวยการสุมข้นัที่หนึ่ง (หมบูาน) ใชแผนแบบการสํารวจแบบแบงเปนพวก 2 ขั้นตอน และสุมแบบมี ระบบ (Stratified Two-stage Systematic Sampling) โดยกําหนดใหหมูบานท่ีมีการ สินคา/กิจกรรม 2 เพาะปลูกพืชที่สํารวจป2566 ของแตละจังหวัดเปนหนวยสุมขั้นท่ี1 (Primary Sampling Unit) และครัวเรือนที่เพาะปลูกพืชที่สํารวจ ป 2566 เปนหนวยสุมขั้นที่ 2 (Secondary Sampling Unit) ของประชากรจังหวัด พิจารณารายละเอียดไดดังนี้ 1.1) กรอบตัวอยาง (Sampling Frame) เปนขอมูลประชากรในแตละจังหวัด ประกอบดวย หมูบานที่มี การเพาะปลูกหอมแดง กระเทียม ปเพาะปลูก 2566 โดยหมูบานดังกลาวจะถูกแบง ออกเปนชั้นภูมิ (พวก) ตามขนาดพื้นที่ตางๆ ที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ สําหรับ สศท. 2 ไดแบงออกเปน 2 ชั้นภูมิ ไดแก 1) หมูบานที่มีพื้นที่ปลูกอยูระหวาง 1-99 ไร และ 2) หมบูานที่มีพื้นที่ปลูกอยูระหวาง 100-999 ไร 1.2) การจัดสรรขนาดตัวอยาง (Sample Allocation) ไดกําหนดใหแตละชั้นภูมมิีขนาดหมูบานตัวอยาง หรือจาํนวน หมูบานตัวอยางที่ถูกตองเหมาะสมตามหลักวิชาการทางสถิติโดยนําขนาดตัวอยางท่ีกําหนดไวในแผนปฏิบัติงาน มาทําการจัดสรรดวยวิธีการจัดสรรแบบสัดสวน (Proportional Allocation) 1.3) การสุมหมูบานตัวอยาง (Random Sampling) ไดกําหนดหนวยสุมตัวอยาง (หมูบาน) ที่ยึดหลักความถูกตอง ตามหลักวิชาการทางสถิติ ตามแผนแบบวิธีการสํารวจที่กําหนดไวดังรายละเอียดในขอ 3.1 เพื่อใหไดตัวอยางที่ดี สามารถอนุมานประชากรไดอยางถูกตอง ไดตัวประมาณ คาที่มีประสิทธิภาพภายใตขีดจํากัดในดานขนาดของตัวอยาง ดังนั้น สวนสารสนเทศ การเกษตร สศท.2 จึงไดจัดทําบัญชีรายชื่อหมูบานตัวอยางในแตละจังหวดั โดยแบงเปน ชั้นภูมิ (Strata) แยกตามขนาดเนื้อที่เพาะปลูก 2) วิธีการดําเนินงานในหนวยสุมข้นัที่สอง (ครัวเรือน) หลังจากไดรับบัญชีรายชื่อหมูบานตัวอยางแลว เจาหนาที่สํารวจจะ ลงพื้นที่สํารวจในทุกหมูบานตัวอยาง เพื่อจัดเกบ็รวบรวมขอมูลตามหลักเกณฑและวิธีการ ท่ีกําหนด ไดแก 1) เขาพบผูนํา หรือเกษตรกรผูนําหมูบานตัวอยาง เพื่อทําการนับจด ครัวเรือน และสัมภาษณขอมูล 4 ราย (ประกอบดวย เกษตรกรผูนํา 1 ราย และ เกษตรกร 3 ราย) โดยใชวิธีการสุมอยางงาย และไมมีการทดแทน (Simple Random


3 Sampling without Replacment) เปนการสุมตัวอยางโดยถือวาทุกๆหนวยในประชากร มีโอกาสจะถูกเลือกเทาๆกัน ซึ่งการสุมวิธีนี้จะตองมีรายชื่อประชากรทั้งหมด และใช ตารางเลขสุมครัวเรือนเกษตรกรเพื่อสัมภาษณขอมูลหอมแดง กระเทียม ป 2566 3) การนับจด ดําเนินการโดยใหเจาหนาที่สํารวจของสวนสารสนเทศการเกษตร สศท. 2 ลงพื้นที่เขาไปยังหมูบานตัวอยางหอมแดง และกระทียม ในพื้นที่จังหวัดที่ รับผิดชอบ เพื่อนับจดรายชื่อครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกที่สํารวจตามคํานิยามให ครบถวนทุกครัวเรือนเกษตรกร หลังจากนั้น ใหนํารายชื่อดังกลาวไปใชสุมเลือกครัวเรือน เกษตรกรตัวอยาง เพื่อใชในการติดตามสัมภาษณจัดเก็บรวบรวมขอมูล หอมแดง และ กระเทียม ซึ่งตองรวมถึงครัวเรือนเกษตรกรที่อาศัยอยูภายนอกหมูบาน แตเขามาปลูก ภายในอาณาเขตหมูบานตัวอยางนั้น ๆ ดวย โดยเจาหนาที่สํารวจจะตองระมัดระวังอยา ใหเกิดการนับจดตกหลน (Omission) หรือซ้ําซอน (Duplication) 4) การกําหนดจํานวนหมูตัวอยางและจาํนวนครัวเรือนตวัอยาง จังหวัด กรอบหมบูาน ทั้งหมด(N) จํานวนหมูบานตัวอยาง(n) จํานวนครัวเรือนตัวอยาง(m) หอมแดง ตาก 53 5 30 สุโขทัย 9 2 12 แพร 17 2 12 นาน 15 2 12 อุตรดิตถ 54 9 18 รวม 148 20 84 กระเทียม ตาก 45 6 36 แพร 41 2 12 นาน 6 2 12 อุตรดิตถ 9 2 12 รวม 101 12 72 4 3.1.2 วิธีการสํารวจมันฝรั่ง ในการดําเนินการในหนวยการสุม สวนสารสนเทศการเกษตร สศท. 2 ดําเนินการเลือกหนวยตัวอยางโดยไมใชความนาจะเปน เนื่องจากฐานขอมูลแหลงผลิตมัน ฝรั่งของจังหวัดตาก ป 2566 หรือปเพาะปลูก 2565/66 ซึ่งเปนเพียงแหลงผลิตเพียงแหง เดียวในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สศท.2 พิษณุโลก มีการเปลี่ยนแปลงจากปที่ผานมามาก ขอมูลเนื้อท่ีปลูก จํานวนแหลงผลิต ท้ังในระดับหมูบาน และระดับครัวเรือนเกษตรกร ไมชัดเจน เกษตรกรสวนใหญไมนิยมแจงขึ้นทะเบียนเกษตรกร ดังนั้น จึงใชวิธีคัดเลือกหมูบานตัวอยางแบบ Snowball Technique ท่ีอาศัยการแนะนําจากสํานักงานเกษตรจังหวัดตาก สํานักงานเกษตรอําเภอที่มีการผลิต มันฝรั่ง และเจาหนาที่สงเสริมการผลิตของบริษัทฯ ที่เขามาสงเสริมเกษตรกรปลูกในรูป เกษตรพันธสัญญา (Contract Farming) ที่เสนอแนะตอกันมาเปนทอดๆ และจะใชวิธีสุม ครัวเรือนเกษตรกรผูผลิตมนัฝร่งัแบบเฉพาะเจาะจง เพื่อสัมภาษณขอมูลใหครบถวนตาม แผนการสํารวจ จํานวน 4 ราย ประกอบดวย เกษตรกรผูนํา 1 ราย และเกษตรกร 3 ราย 3) การกําหนดจํานวนหมูตัวอยาง และจาํนวนครวัเรือนตัวอยาง ห ม า ย เห ตุ ใช วิธีคัดเลือกหมูบานตัวอยางแบบ Snowball Technique และใชวิธีสุม ครัวเรือนเกษตรกรผูผลิตมันฝรั่ง แบบเฉพาะเจาะจง จังหวัดตาก กรอบ หมูบาน ทั้งหมด(N) จํานวนหมูบาน ตัวอยาง(n) จํานวน ครัวเรือน ตัวอยาง(m) อําเภอแม สอด 2 1 4 อําเภอพบ พระ 24 9 36 รวม 26 10 40


5 4. คํานิยาม และรหสัที่ใชในการสํารวจ 4.1 ประชากร หมายถึง จํานวนทั้งหมดของสิ่งที่ตองการศึกษา และประมาณคา ภายในคุมรวมที่กําหนด 4.2 คุมรวม หมายถึง การกําหนดขอบขายของการสํารวจวา ประชากรหนวยใดที่ ตองการศึกษา จัดเก็บ และรวบรวมขอมูล 4.3 ครัวเรือน หมายถึง บุคคลคนเดยีว หรือกลุมบุคคล ที่อาศัยอยูในบริเวณผืนที่ดิน เดียวกัน กินและใชจายรวมกัน โดยไมคํานึงถึงวาจะมีรายชื่ออยูในทะเบียนบานเดียวกัน หรือ แยกทะเบียนบานกันก็ตาม 4.4 ครัวเรือนเกษตร หมายถึงครัวเรือนท่มีีสมาชิกคนใดคนหนึ่ง หรือหลายคน ประกอบการเกษตรในปอางอิงที่ใชจัดเกบ็ขอมูล 4.5 หัวหนาครัวเรือนเกษตร หมายถึง บุคคลในครวัเรือนซ่งึเปนผูจดัการ หรือ รับผิดชอบและคงในสิทธิของผลประโยชนที่ไดโดยไมคํานึงถึงกรรมสิทธิ์ที่แทจริง จากการ ประกอบกิจการเกษตร ซึ่งอาจจะดําเนินกิจการเอง หรือมอบหมายใหผูอื่นดําเนินการ หรือ ดูแลแทน แตยังคงไดรับผลประโยชนในการประกอบการเกษตรในที่ดินแปลงนั้นๆ อยู 4.6 การประกอบการเกษตร หมายถึง การเพาะปลูกพืช การเลี้ยงปศุสัตว การ เพาะเลี้ยงสตัวน้ํา โดยมวัีตถุประสงคเพื่อขาย 4.7 แปลงที่ดิน เปนการระบุจํานวนแปลงท่ดีิน เพื่อความสะดวกในการกรอก ขอมูลของพืชที่มีลักษณะที่ศึกษาตางกัน เชน รหัสพืช พันธุท่ีปลูก อยูในเขต / นอกเขต ชลประทาน หรอืเดอืนที่ปลูกตางกัน ฯลฯ ใหแยกเปนแปลงยอย และกรอกขอมูลเกี่ยวกับ แปลงที่ดิน เปนแปลงๆ ละบรรทดั 4.8การชลประทาน หมายถึง การพัฒนาทรัพยากรน้ํา โดยการจัดสรรน้ําเพื่อใช ประโยชนหลายๆ อยางดวยวิธีการตางๆ กัน เชน การเก็บกกัน้ํา การสงน้ําเพ่ือการเพาะปลูก การระบายน้ํา การแปรสภาพที่ดิน การบรรเทาอุทกภัย การไฟฟาพลังน้ํา และการ คมนาคมทางน้ํา 4.9 ระบบชลประทาน หมายถึง เขื่อนพรอมอาคารประกอบอางเก็บนํ้าเหนือ เขื่อน เขื่อนระบายน้ํา 6 พรอมอาคารประกอบ ทอสงน้ําพรอมอาคารประกอบ คูสงน้ําพรอมอาคารประกอบ คลอง ระบายนํา้พรอมอาคารประกอบ ซึ่งเปนสิ่งกอสรางที่สรางขึ้นเพื่อการเก็บน้ํา การทด น้ํา การสงน้ํา การระบายน้ํา หรือควบคุมน้ําหลาก น้ําเค็ม และน้ําเปรี้ยว 1) พื้นที่ชลประทานที่มรีะบบชลประทาน หมายถึง พื้นที่การเกษตรที่ไดรับ ประโยชนจากการควบคุม และบริหารจัดการน้ําดวยระบบชลประทาน ประกอบดวยพื้นที่ ทาํการเกษตรรวมคันคูน้ําซึ่งมีระบบสงและระบายน้ํา รวมทั้งอาคารสําหรับควบคุมน้ํา 2) พื้นที่ชลประทานท่ไีมมีระบบชลประทาน หมายถึง พื้นที่การเกษตรท่ีมีการ ใชน้ําจากแหลงน้ําของกรมชลประทานที่สรางขึ้นโดยไมมีระบบชลประทานอํานวยความ สะดวกในการนําน้ําไปใชในพื้นที่ทําการเกษตร 4.10 เขตชลประทาน หมายถึง เขตพื้นที่ของการพัฒนาทรัพยากรน้ํา โดยการจัดสรรนํา้ เพื่อใชประโยชนในดานเกษตรกรรม ดังนั้น พื้นที่การเกษตรใดๆ จึงถูกตีความใหอยูใน หรือนอกเขตชลประทานอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น ดังนี้ 4.10.1 นอกเขตชลประทาน หมายถึง พื้นที่ที่ใชในการเพาะปลูกพืชท่ีอยูนอกเขต ชลประทาน 4.10.2 ในเขตชลประทาน หมายถึง พื้นที่ที่ใชในการเพาะปลูกพืชที่อยูในเขต ท่มีกีารชลประทาน ซึ่งแบงออกเปน 3 ประเภท คือ 1) เขตชลประทานหลัก หมายถึง พื้นที่ที่ใชในการเพาะปลูกพืชที่อยูใน เขตบริการภาคการเกษตรของกรมชลประทาน ซึ่งดําเนินการในลักษณะของโครงการ ชลประทานขนาดใหญ และขนาดกลางเปนหลัก รวมทั้งโครงการขนาดเล็กบางโครงการ เชน โครงการชลประทานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (เฉพาะในสวนของ คปร.) เปนตน เขตชลประทานหลักแบงเปน 2 รูปแบบ ไดแก 1.1) โค รงก ารช ล ป ระท า น ข น าด ให ญ  ห ม าย ถึง ง าน ชลประทานเอนกประสงคที่ดําเนินการโดยกรมชลประทานในการจัดสรางเขื่อน หรือ แหลงกักเก็บน้ํามีปริมาตรตั้งแต 100 ลานลูกบาศกเมตรขึ้นไป หรือมีพื้นที่ผิวน้ําตั้งแต 15 ตารางกิโลเมตรขึ้นไป หรือมีพื้นที่ชลประทานตั้งแต 80,000 ไรขึ้นไป 1.2) โครงการชลประทานขนาดกลาง หมายถึง โครงการ ชลประทานที่มีขนาดเล็กกวาโครงการชลประทานขนาดใหญ คือ มีแหลงกักเก็บน้ําที่มี


7 ปริมาตรนอยกวา 100 ลานลูกบาศกเมตร หรือมีพื้นที่ผิวน้ําต่ํากวา 15 ตารางกิโลเมตร หรือมีพื้นที่ชลประทานต่ํากวา 80,000 ไร 2) เขตชลประทานเสริม หมายถงึอาณาบริเวณพื้นที่ที่ใชใน การเพาะปลูกพชืที่มีการชลประทาน แตอยูนอกเขตการบรกิารภาคการเกษตรของกรม ชลประทาน ซึ่งสวนมากจะเปนพื้นท่ใีนเขตโครงการชลประทานขนาดเล็ก และ ดําเนินการโดยหนวยงานของทางราชการอื่นๆ ที่มิใชกรมชลประทาน เชน โครงการ สูบน้ําดวยไฟฟา โครงการจัดหาน้ําสนับสนุน ศูนยพฒันาโครงการหลวง โครงการขุด ลอกหนองน้ํา และคลองธรรมชาติ เปนตน 3) เขตชลประทานราษฎร หมายถึง เขตพ้ืนที่ที่เกษตรกร หรือกลุม เกษตรกรรวมจัดใหมีการชลประทานในพื้นที่การเกษตรสําหรับทองถิ่น ที่พอจะ สามารถพัฒนาไดโดยไมมีการใชงบประมาณจากสวนราชการ 4.11 ปเพาะปลูก หมายถึง ระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรมการผลิตพืชในแตละป ซึ่งจะเริ่มการผลิตในฤดูฝน โดยกําหนดระหวางวันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 30 เมษายน ของป ถัดไป 4.12 เนื้อที่เพาะปลูก หมายถึง ขนาดเนื้อที่ดิน ที่ทําการเพาะปลูกตามคุมรวม ของพืชที่กําหนดในรอบป(ปเพาะปลูก) ทั้งนี้ไมรวมเนื้อท่ีท่ีไมสามารถเพาะปลูกไดใน บริเวณเดียวกันขนาดตั้งแต 25 ตารางวาขึ้นไป หรือหลายบริเวณรวมกันตั้งแต 50 ตาราง วาข้ึนไป เชน คันนา จอมปลวก ตนไมสระน้ํา บอปลา เพิงพัก คอกสัตวฯลฯ ซึ่งเมื่อหัก ออกแลว ที่เหลือใหถือวาเปนเนื้อที่เพาะปลูกท้งัหมด ในกรณีท่ีเกษตรกรไดทําการปลูกพืชชนิดใดชนิดหนึ่งแลว ตอมาพืชนั้นเกิด เสียหาย และทําการปลูกซอมในที่เดิม หรือไมปลูกซอมก็ตาม เนื้อที่เพาะปลูกจะหมายถึง เนื้อที่เพาะปลูกคร้ังแรก แตถาในกรณีที่มีการปลูกซอม และปลูกเกินจากเนื้อที่เดิม (เนื้อท่ี เพาะปลูกครั้งแรก) เนื้อที่เพาะปลูกจะหมายถึง เนื้อที่เพาะปลูกครั้งแรกรวมกับเนื้อที่สวนที่ ปลูกเกินมา 4.13 เนื้อที่เก็บเกี่ยว หมายถึง เนื้อที่ที่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดแตไม รวมเนื้อที่ที่ปลอยทิ้งผลผลติไวดวยสาเหตุใดก็ตาม 8 4.14 เนื้อที่เสียหายส้ินเชิง หมายถึง เนื้อที่เพาะปลูกที่ไมสามารถเก็บเกี่ยว ผลผลิตได หรือไดผลผลิตไมเกินรอยละ 15 ของผลผลิตที่เคยไดรับในปปกติโดยเสยีหายใน บริเวณเดียวกันขนาดตั้งแต 25 ตารางวาขึ้นไป หรือหลายบริเวณรวมกันตั้งแต 50 ตาราง วาขึ้นไป 4.15 พันธุที่ปลูก หมายถึง พันธุที่เกษตรกรนิยมปลูกในพื้นท่เีตรียมไวโดยรวม พันธุที่ใชปลูกซอมของแตละแปลงดวย 4.16 ปริมาณพันธุที่ใชหมายถึง ปริมาณพันธุพืชที่ใชปลูกในแตละแปลงท่ีดิน ไมวาจะเปนเมล็ด ทอน กิ่ง หรอืหัวก็ตาม โดยใหรวมปริมาณพันธุที่ใชในการปลูกซอมของ แตละแปลงดวย 4.17 ปริมาณปุย หมายถึง ปริมาณปุยที่ไดใสลงไปในแปลงที่ดินที่ทําการ ปลูกพืช ทั้งที่เปนปุยเคมี หรือปุยคอก หรือปุยหมัก 4.18 ผลผลิต หมายถึง ผลผลิตทั้งหมดของพืชชนิดใดชนิดหนึ่ง ท่ีเกษตรกร เก็บเกี่ยวไดในรอบป(ปเพาะปลูก) โดยมีลักษณะของผลผลิตท่ีเปนมาตรฐานเดียวกันของ พืชแตละชนิด และผลผลิตดังกลาวจะรวมถงึผลผลิตทั้งหมดที่เก็บไดจากแปลงที่ดินนั้นๆ ไดแก ผลผลิตที่เก็บไวขาย ทําพันธุ บริโภคในครัวเรือนและผลผลิตที่นําไปใชประโยชน ในทางอื่น แตไมรวมถึงผลผลิตที่ทิ้งไวคาไร หรือคาตน 4.19 เดือนที่ปลูก หมายถงึเดือนที่เริ่มปลูก หวาน หยอด ยายตนกลา หรอืปกดํา 4.20 เดือนที่เก็บเกี่ยว หมายถึง เดือนที่เร่มิทําการเก็บเกี่ยวผลผลิต 1) ผลผลิตที่ใชบริโภคในครัวเรือน หมายถึง ผลผลิตที่นําไปใชทําประโยชน ภายในครัวเรือนของตนเอง เชน บริโภค ทําอุตสาหกรรมในครัวเรือน เปนตน 2) ผลผลิตที่ขาย หมายถึง ผลผลิตในสวนที่นําไปขายเปนเงินสด หรือแลก เปนสิ่งของก็ได ในกรณีที่ครัวเรือนตัวอยางซื้อผลผลิตมาแลวขายตอ จะไมนําผลผลิตในสวน นี้มาเกี่ยวของกบัการสํารวจ ใหนบัเฉพาะผลผลิตที่ผลิตไดเองแลวขายไปเทานั้น 3) ผลผลิตที่ใชอื่นๆ หมายถึง ผลผลิตที่เก็บ แลวมิไดใชบริโภคใน ครัวเรือน หรือนําไปขาย เชน แจกจายใหผูอื่น หรือเก็บมาแลวเนาเสียหาย เปนตน


9 4.21 เดือนที่ขาย หมายถึง เดือนที่ทําการขายผลผลิตของพืช สําหรับการขาย ผลผลิตซึ่งมีการตกลงขายกอนเก็บเกี่ยวผลผลิต (ขายเขียว) เดือนที่ขาย หมายถึง เดือนที่เก็บ เกี่ยวผลผลิตนั้นๆ จริง 5. นิยามของสินคา 5.1 หอมแดง ป 2566 หอมแดง ป 2566 หมายถงึหอมแดงท่เีกษตรกรเพาะปลูกในระหวางวนัท่ี1 พฤษภาคม 2565 ถึงวนัท่ี30 เมษายน 2566 ครัวเรือนผูปลกูหอมแดง หมายถึง เกษตรกรที่ทาํการปลกูหอมแดง ป2566 ภายในอาณาเขตหมูบานตวัอยาง โดยไมคํานึงถึงวาจะตั้งบานเรือนอยูณ ที่ใดก็ตาม เนื้อที่เพาะปลกูหมายถึง ขนาดเนื้อที่ดินที่ทําการเพาะปลูกตามคุมรวมของ พืชที่กําหนดในรอบปเพาะปลูก ทั้งนี้ไมรวมเน้ือที่ที่ไมสามารถเพาะปลูกไดในบริเวณ เดยีวกันขนาดตั้งแต 20 ตารางวาขึ้นไป เนื้อที่เก็บเกี่ยว หมายถึง เนื้อที่ที่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดแตไมรวมเน้อืที่ที่ปลอยทิ้งผลผลติไวดวยสาเหตุใดก็ตาม ผลผลิต หมายถึง ผลผลติของหอมแดงที่เกษตรกรเก็บเกี่ยวไดในรอบป(ป เพาะปลูก) ซึ่งอยูในลักษณะมดัจุก ณ 7 วัน อัตราแปลง น้ําหนักช่งัสด ณ เก็บเกี่ยว x 0.75 ชั่งเมื่อเก็บไว 1 วัน x 0.80 2 วัน x 0.83 3 วัน x 0.87 4 วัน x 0.91 5 วัน x 0.94 6 วัน x 0.97 7 วัน x 1.00 ชั่งเมื่อเก็บไว 16 วัน x 1.18 17 วัน x 1.19 18-19 วัน x 1.20 20 วัน x 1.21 21 วัน x 1.22 22-23 วัน x 1.23 ชั่งเมื่อเก็บไว 36 วัน x 1.33 37 วัน x 1.34 38 วัน x 1.35 39-40 วัน x 1.36 41 วัน x 1.37 42 วัน x 1.38 10 8 วัน x 1.03 9 วัน x 1.05 10 วัน x 1.08 11 วัน x 1.10 12 วัน x 1.12 13 วัน x 1.14 14 วัน x 1.15 15 วัน x 1.16 24 วัน x 1.24 25-26 วัน x 1.25 27 วัน x 1.26 28-29 วัน x 1.27 30 วัน x 1.28 31 วัน x 1.29 32-33 วัน x 1.30 34 วัน x 1.31 35 วัน x 1.32 43 วัน x 1.39 44-45 วัน x 1.40 46-50 วัน x 1.43 51-60 วัน x 1.51 61-70 วัน x 1.62 71-80 วัน x 1.73 81-90 วัน x 1.83 91-100 วัน x 1.93 5.2 กระเทียม ป2566 กระเทียม ป 2566 หมายถึง กระเทียมที่เกษตรกรเพาะปลูกในระหวางวันที่ 1 พฤษภาคม 2565 ถงึวนัที่30 เมษายน 2566 ครัวเรือนผูปลูกกระเทียม หมายถึง เกษตรกรที่ทําการปลูกกระเทียมป 2566 ภายในอาณาเขตหมูบานตวัอยาง โดยไมคํานึงถึงวาจะตงบานเรือนอยู ณ ที่ใดก็ตาม ั้ เนื้อท่เีพาะปลูก หมายถึง ขนาดเนื้อที่ดินที่ทําการเพาะปลูกตามคุมรวมของ พืชที่กําหนดในรอบปเพาะปลูก ทั้งนี้ไมรวมเน้ือที่ที่ไมสามารถเพาะปลูกไดในบริเวณ เดยีวกันขนาดตั้งแต 20 ตารางวาขึ้นไป เนื้อท่เีก็บเกี่ยว หมายถึง เนื้อที่ที่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดแตไมรวมเนื้อที่ที่ปลอยทิ้งผลผลติไวดวยสาเหตุใดก็ตาม ผลผลิต หมายถึง ผลผลติของกระเทียมที่เกษตรกรเก็บเกี่ยวไดในรอบป (ป เพาะปลูก) ซึ่งมีลักษณะกระเทยีมทั้งตนรวมใบแหง ณ 90 วัน


11 อัตราแปลง น้ําหนักชั่งสด ณ เก็บเกี่ยว x 0.35 ชั่งเมื่อเก็บไว 1 วัน x 0.38 2 วัน x 0.42 3 วัน x 0.46 4 วัน x 0.50 5 วัน x 0.53 6 วัน x 0.56 7 วัน x 0.59 8 วัน x 0.61 9 วัน x 0.63 10 วัน x 0.65 11 วัน x 0.67 12 วัน x 0.69 13 วัน x 0.71 ช่งัเมื่อเก็บไว14 วัน x 0.73 15 วัน x 0.74 16 วัน x 0.76 17 วัน x 0.78 18 วัน x 0.79 19 วัน x 0.81 20 วัน x 0.82 21 วัน x 0.83 22 วัน x 0.84 23 วัน x 0.85 24 วัน x 0.86 25-26 วัน x 0.87 27 วัน x 0.88 ช่งัเมื่อเก็บไว 28-29 วัน x 0.89 30-31 วัน x 0.90 32-34 วัน x 0.91 35-40 วัน x 0.92 41-46 วัน x 0.93 47-52 วัน x 0.94 53-58 วัน x 0.95 59-63 วัน x 0.96 64-70 วัน x 0.97 71-77 วัน x 0.98 78-86 วัน x 0.99 87-93 วัน x 1.00 94-100 วัน x 1.01 5.4 มันฝรั่ง ป 2566 มันฝรั่ง ป2566 หมายถึง มันฝรั่งที่เกษตรกรเพาะปลกูในระหวางวันที่1 พฤษภาคม 2565ถึงวันที่ 30 เมษายน 2566 ครัวเรือนผูปลกูมันฝรั่ง หมายถึง เกษตรกรที่ทาํการปลูกมันฝรั่ง ป2566 ภายในอาณาเขตหมูบานตวัอยางโดยไมคํานึงถึงวาจะตั้งบานเรอืนอยูณ ที่ใดก็ตาม เนื้อที่เพาะปลกูหมายถึง ขนาดเนื้อที่ดินที่ทําการเพาะปลูกตามคุมรวมของ พืชที่กําหนดในรอบปเพาะปลูก ทั้งนี้ไมรวมเน้ือที่ที่ไมสามารถเพาะปลูกไดในบริเวณ เดยีวกันขนาดตั้งแต 50 ตารางวาขึ้นไป เนื้อที่เก็บเกี่ยว หมายถึง เนื้อที่ที่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดแตไมรวมเน้อืที่ที่ปลอยทิ้งผลผลติไวดวยสาเหตุใดก็ตาม ผลผลิต หมายถึง ผลผลติของมันฝรั่งที่เกษตรกรเก็บเกี่ยวไดในรอบป(ป เพาะปลูก) มีลักษณะเปนหัวมนัฝรั่งสด 12 6.ตัวประมาณคา ตัวประมาณคายอดรวม (Total) Ŷ = n N n m M i i i 1 i j ij m y 1 โดยที่ Ŷ = คาประมาณยอดรวม (Total) ของลักษณะที่ศึกษาในกรณนีี้คือ เน้อืที่ปลูก เน้อืที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต yij = คาลักษณะที่ศึกษาของครัวเรือนที่ j หมูบานตัวอยางที่ i Mi = จํานวนครวัเรือนที่นับจดไดของหมบูานตัวอยางที่ i mi = จํานวนครวัเรือนที่ถูกคัดเลือกเปนตัวอยางของหมูบานตัวอยางท i ี่ N = จํานวนหมูบานทั้งหมด n = จํานวนหมูบานตัวอยางที่ทําการสํารวจ i = 1, 2, 3…….n j = 1, 2, 3…….mi ตัวประมาณคาความแปรปรวน (Variance) VY ˆ ˆ = n s N N n N 2 h 2 + n N n m s M M M m i i i i i i 1 2w 2 โดยที่ 2 h s = 1 1 n 2 1 ˆ n y y i i = คาประมาณของคาความแปรปรวนของลักษณะที่ศกึษาระหวางหมูบาน 2w s = 1 1 mi 2 1 ˆ i j ij i m y y = คาประมาณของคาความแปรปรวนของลักษณะที่ศกึษาระหวางครวัเรือน y ˆ = n 1 n y i i 1 ˆ i y ˆ = mi 1 i j ij m y 1 ตัวประมาณคายอดรวมแบบเปนชวง (Interval Estimation) ณ ระดับความเชื่อมั่น 95%


13 YL ˆ = Y SEY ˆ ˆ 1.96 ˆ YU ˆ = Y SEY ˆ ˆ 1.96 ˆ SEY ˆ ˆ = V Y ˆ ˆ โดยที่ YL ˆ = ขีดจํากัดลางของคาประมาณยอดรวมของลักษณะที่ศึกษา YU ˆ = ขีดจํากัดบนของคาประมาณยอดรวมของลักษณะที่ศึกษา SEY ˆ ˆ = คาประมาณความคลาดเคลื่อนของคาประมาณยอดรวมของลกัษณะ ที่ ศึกษา = V Y ˆ ˆ คาสมั ประสิทธิความแปรผัน (Coefficient of Variation) C.V.Y ˆ = *100% ˆ ˆ ˆ Y SE Y …………………………………………………………………………..


Click to View FlipBook Version