The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โครงการจัดทำสารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตร เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการสินค้าเกษตรในระดับจังหวัด ในพื้นที่ สศท.2

เล่มรายงานคก.จัดทำสารสนเทศฯ

โครงการจัดทำสารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตร
เพือ่ สนับสนุนการบริหารจัดการสนิ ค้าเกษตรในระดับจังหวัด
ในพน้ื ทร่ี ับผิดชอบของสำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2 (พษิ ณุโลก)

1. หลกั การและเหตุผล

สืบเน่ืองจากยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (Z) ในการสร้างความสามารถในการแข่งขัน โดยมีเป้าหมายให้
ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันเพ่ิมข้ึนโดยเฉพาะด้านการเกษตร ท่ีสอดรับแผนแม่บทภายใต้

ยุทธศาสตรช์ าติ (Y) ประเดน็ การเกษตร ในเรอ่ื งการพัฒนาระบบนเิ วศการเกษตร และประสทิ ธิภาพการผลติ สินค้า
เกษตรต่อหน่วยมีการปรับตัวเพ่ิมข้ึน นอกจากนี้ยังสอดคล้องห่วงโซ่คุณค่า (V) ของเป้าหมายแผนย่อย ซึ่งมี
องค์ประกอบดังนี้ 1) ปัจจัยการผลิต ซึ่งต้องใช้ข้อมูลสารสนเทศด้านการเกษตร 2) สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อ

ประสิทธิภาพการผลติ สนิ ค้าเกษตรตอ่ หนว่ ยมกี ารปรับตวั เพมิ่ ขน้ึ จำเป็นต้องมีแผนงานทีส่ นับสนนุ ประสทิ ธิภาพการ
ผลิตสินคา้ เกษตรต่อหน่วยมีการปรับตวั เพิ่มข้ึน 3) สภาพแวดล้อมทเี่ อ้อื ต่อการเพ่ิมศกั ยภาพ และขีดความสามารถ
เศรษฐกิจฐานราก โดยมกี ารจัดทำฐานข้อมลู เพอื่ ใหย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ สามารถบรรลุเปา้ หมายตามท่ีตง้ั ไว้ จำเปน็ ตอ้ งมี

ขอ้ มลู สารสนเทศการเกษตร
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร เปน็ หน่วยงานที่มภี ารกจิ หลกั ในการจดั ทำและเผยแพร่ขอ้ มูลสารสนเทศ

การเกษตรท้ังดา้ นพืช ปศุสัตว์ ประมง และขอ้ มูลเศรษฐกิจการเกษตรอื่นๆ ท่จี ำเป็น เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และ

จัดทำนโยบายการเกษตรและแผนพฒั นาการเกษตรและสหกรณ์ รวมทัง้ เผยแพรข่ อ้ มูลแกผ่ ใู้ ชข้ อ้ มูลท่วั ไป ดงั นั้น
สำนักงานเศรษฐกิจจำเป็นต้องมีการพัฒนาข้อมูลสารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตรในด้านปริมาณการผลิต
ผลผลิตต่อไร่ ต้นทุนการผลิต การพยากรณ์ปริมาณการผลิต รวมท้ังสภาพเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือน

เกษตร ใหค้ รอบคลุมระดับอำเภอ จงั หวดั ภาค และประเทศ ให้สามารถตอบสนองความตอ้ งการของผ้ใู ชข้ ้อมูล
ทม่ี ีความหลากหลายมากขนึ้ โดยการจัดหาข้อมูลสารสนเทศสินคา้ เกษตรท่สี ำคญั ที่เปน็ ปจั จุบนั มคี วามถกู ตอ้ ง
แม่นยำ รวมทั้งส่งเสริมให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับการจัดทำข้อมูลสารสนเทศมีความรู้ ความเข้าใจ ในด้านการ

จัดทำและการวเิ คราะห์ข้อมูล ตลอดจนการเผยแพร่ข้อมลู สารสนเทศการเกษตร

2. วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ

2.1 เพื่อจดั ทำขอ้ มูลปฏทิ ินพืชเศรษฐกจิ ทสี่ ำคัญในระดับจังหวดั

2.2 เพื่อจดั ทำข้อมูลท่ีมมี ลู คา่ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมสงู สุดในระดับจงั หวัด
2.3 เพ่อื จัดทำข้อมูลตน้ ทนุ การผลิตสินคา้ เกษตรทสี่ ำคัญในระดับจังหวดั
2.4 เพอ่ื บูรณาการจัดทำขอ้ มลู สินค้าเกษตรทีส่ ำคัญใหม้ คี วามเป็นเอกภาพกบั หนว่ ยงานในพน้ื ที่

2.5 เพ่ือให้เจ้าหน้าที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรมีความรู้ ความเข้าใจในการจดั เกบ็ ข้อมูลประมวลผล
วเิ คราะห์ข้อมลู และการรายงานผลได้อย่างถูกตอ้ งและรวดเรว็

3. ตัวชวี้ ดั ของโครงการ

ตัวช้วี ดั คา่ เปา้ หมาย หนว่ ยนบั
12 สนิ คา้
เชงิ ปรมิ าณ 12 สนิ ค้า
- ข้อมูลปฏทิ ินสนิ ค้าเกษตรทส่ี ำคัญระดับจงั หวัด 6 สินค้า
- สินค้า
6 จงั หวัด จงั หวดั ละ 2 สนิ คา้
- ข้อมลู พยากรณส์ นิ คา้ เกษตรทมี่ มี ลู คา่ ผลติ ภัณฑ์มวลรวม
สงู ระดับจังหวดั 6 จังหวดั จังหวัดละ2 สินค้า

- ข้อมลู ต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตรระดบั จงั หวดั 3
จงั หวดั จงั หวดั ละ 2 สินค้า
- ข้อมูลสนิ คา้ เกษตรที่สำคญั ระดบั จงั หวดั เพือ่ ใชร้ ว่ มกัน

มีความเปน็ เอกภาพระดบั จงั หวัด 6 จังหวดั

-2-

เชิงคุณภาพ 100 ร้อยละ
- เกษตรกร หนว่ ยงานราชการ ผเู้ ก่ยี วขอ้ งสามารถ
นำขอ้ มลู ปฏิทินสนิ คา้ เกษตร ขอ้ มูลพยากรณส์ ินคา้ เกษตร

ตน้ ทุนการผลิตสินค้าเกษตร และขอ้ มลู สินคา้ เกษตร
ท่สี ำคัญระดับจังหวดั เป็นแนวทางในการตัดสนิ ใจการผลติ
สามารถนำไปกำหนดนโยบายแนวทางการผลติ การตลาด

สนิ คา้ การเกษตรเพอื่ ส่งเสรมิ ในโครงการตา่ งๆ

หมายเหตุ : กจิ กรรมและเป้าหมายเปน็ ตามรายละเอยี ดในโครงการของศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร

4. กลมุ่ เป้าหมายของโครงการ

กลมุ่ เปา้ หมาย ปริมาณกลุม่ เปา้ หมาย พ้ืนท่ีกลุม่ เปา้ หมาย
หนว่ ยงานดา้ นการเกษตรระดับจังหวัดและ 6 จงั หวดั 6 จังหวดั
เกษตรกรผผู้ ลติ สินคา้ เกษตรระดบั จงั หวดั

หมายเหตุ : กจิ กรรมและเปา้ หมายเป็นตามรายละเอยี ดในโครงการของศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร

5. แผนการดำเนนิ โครงการ

กิจกรรม/ขั้นตอน ชว่ งเวลาที่จะดำเนนิ การ

(ระบุวัน/เดอื น/ปี)

1. รวบรวมจัดทำขอ้ มลู ปฏิทนิ พชื เศรษฐกจิ ท่ีสำคญั ในระดบั จงั หวัด ต.ค. 64 - ก.ย.65

2. รวบรวมจดั ทำข้อมลู ทม่ี ีมลู ค่าผลิตภณั ฑ์มวลรวมสงู สดุ ในระดบั จงั หวัด ต.ค. 64 - ก.ย.65

3. รวบรวมจดั ทำขอ้ มลู ต้นทุนการผลิตสนิ คา้ เกษตรทสี่ ำคญั ในระดับจงั หวดั ต.ค. 64 - ก.ย.65

4. รวบรวมจดั ทำรายงานข้อมูลสนิ คา้ เกษตรทส่ี ำคัญใหก้ บั หนว่ ยงาน ต.ค. 64 - ก.ย.65

ในจงั หวัดเพอ่ื ใช้ร่วมกันมคี วามเป็นเอกภาพ

5. สร้างความรแู้ ละเข้าใจในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู วิเคราะห์ และรายงานผล ต.ค. 64 - ก.ย.65

หมายเหตุ : กจิ กรรมและเป้าหมายเป็นตามรายละเอยี ดในโครงการของศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร

6. ระยะเวลาดำเนินโครงการ ปงี บประมาณ 2565 (ตลุ าคม 2564 ถงึ กันยายน 2565)

7. สถานท่ดี ำเนินโครงการ สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2 สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

8. งบประมาณ 42,716 บาท

รายการคา่ ใชจ้ ่าย งบประมาณ (บาท)
1. ค่าจ้างเหมาบริการผชู้ ่วยปฏบิ ัติงาน
30,000
- จำนวน 1 คน x 10,000 บาท x 3 เดือน 11,760
2. ค่าใช้จ่ายในการสำรวจและเก็บข้อมูล
3. ค่าบริหารจัดการโครงการ 956
42,716
- ค่าวัสดุอุปกรณ์
รวมท้งั ส้นิ

หมายเหตุ : ทกุ รายการสามารถถัวจา่ ยกันได้

-3-

9. แผนการปฏบิ ัติงานและแผนการใช้จา่ ยเงนิ งบประมาณ

กิจกรรม แผนการปฏบิ ตั งิ าน/แผนการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ

1. ค่าจ้างเหมา ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4 รวม
ช่วยปฏบิ ัตงิ าน
แผนงาน แผนเงิน แผนงาน แผนเงนิ แผนงาน แผนเงนิ แผนงาน แผนเงิน 30,000
2. ค่าใช้จ่ายใน
การสำรวจและ 66.7 20,000 33.3 10,000 - - --
เก็บข้อมลู
- - - - 100 11,760 - - 11,760
3. คา่ บริหาร
จดั การโครงการ - - - - 100 956 - - 956
46.8 20,000 23.41 10,000 29.77 12,716 - - 42,716
รวม

10. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รับ

10.1 ผลผลติ
1) จำนวนขอ้ มลู ปฏทิ ินสินคา้ เกษตรที่สำคญั ในระดบั จงั หวดั ๆ ละ 2 สินค้า (6 จงั หวัด)

2) จำนวนข้อมูลพยากรณ์สินค้าเกษตรที่มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสูงในระดับจังหวัด 3 จังหวัด
จังหวัดละ 2 สินค้า รวม 6 สินค้า ได้แก่ ข้าวเจ้านาปี ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ (จังหวัดพิษณุโลก) ขา้ วเจ้านาปี อ้อย
โรงงาน (จังหวัดสุโขทัย) ข้าวเจ้านาปี ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ (จังหวัดตาก) ขา้ วเจ้านาปี ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (จงั หวัด

อุตรดิตถ์) ขา้ วเหนยี วนาปี ข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ (จังหวดั แพร่) ข้าวเหนียวนาปี ขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์ (จงั หวดั นา่ น)
3) จำนวนข้อมูลต้นทุนและผลตอบแทนสินค้าเกษตรท่ีสำคญั ในระดับจังหวัด 3 จงั หวัด จังหวดั ละ 2

สนิ ค้า รวม 6 สนิ คา้ ไดแ้ ก่ ทเุ รียนหมอนทอง ปลานลิ แดง (จังหวัดพษิ ณุโลก) ทุเรยี นหมอนทอง ลำไยนอกฤด(ู ตาก)

มะยงชิด ลองกอง (อุตรดิตถ์)
นอกจากน้ี ขอ้ มูลดงั กล่าว จะเป็นฐานขอ้ มูลที่จะนำไปใชใ้ นการพิจารณาข้อมูลเอกภาพทีม่ ีการบูร

ณาการร่วมกันเป็นท่ียอมรบั จากหน่วยงานท้ังในระดับจังหวดั และระดับภาค 6 จังหวดั ตลอดจนเป็นการเพิ่ม

ทกั ษะให้บุคลากรในสงั กัดส่วนสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 สามารถปฏบิ ตั ิงานได้ทุก
ขน้ั ตอนและกระบวนการของการจัดทำข้อมลู ต้ังแต่การสำรวจ การบนั ทึกข้อมูล การวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูล
ตลอดจนการออกรายงานเผยแพรข่ ้อมูลสารสนเทศ เพอื่ สามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ ในการวางแผนการผลติ ในระดับ

จังหวัด

10.2 ผลลพั ธ์

1) สามารถนำข้อมูลไปเผยแพร่ให้เกษตรกรและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องนำไปใช้ในการตัดสินใจ

การวางแผนการผลิต การตลาด การบริหารความมั่นคงด้านอาหาร และการวางแผนพัฒนาการเกษตรระดับ
พืน้ ทไี่ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม

2) ข้อมลู ตน้ ทนุ การผลิต พยากรณก์ ารผลิต ปฏิทินสนิ คา้ เกษตร ตลอดจนขอ้ มูลท่ไี ด้จากการบรู ณา

การสามารถนำไปใชเ้ ป็นฐานข้อมูลใน Big Data
3) ข้อมูลเอกภาพท่ีมีความถูกต้องนำมาใช้ในการตัดสินใจในการดำเนินการวางแผนพัฒนาการ

เกษตรและการแก้ไขปัญหาดา้ นการเกษตรในระดับพืน้ ทไี่ ด้

4) เจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำข้อมูลในการรายงาน วิเคราะห์สถานการณ์สินค้า
เกษตรได้ถกู ต้องและแม่นยำ

-4-

10.3 ผลสัมฤทธ์ิ
1) สามารถนำข้อมูลไปเผยแพร่ให้เกษตรกรและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องนำไปใช้ในการตัดสินใจ

การวางแผนการผลิต การตลาด และบรหิ ารความมน่ั คงด้านอาหารระดบั พื้นที่ได้อยา่ งเหมาะสม
2) ข้อมูลมีความเป็นเอกภาพถูกต้อง นำมาใช้ในการตัดสนิ ใจในการดำเนินการวางแผนพัฒนาการ

เกษตรและการแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรในระดบั พืน้ ทีไ่ ด้
3) เจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำข้อมูลในการรายงาน วิเคราะห์สถานการณ์สินค้า

เกษตรไดถ้ ูกตอ้ งและแม่นยำ

11. หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ
สว่ นสารสนเทศการเกษตร สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 จงั หวัดพษิ ณุโลก

12. ผลการจดั ทำข้อมูลสารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตร เพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการสินคา้ เกษตรใน
ระดบั จังหวดั

12.1 ขอ้ มูลปฏิทินพชื เศรษฐกิจที่สำคัญในระดับจังหวัด
12.1.1 ขา้ วเจา้ นาปแี ละขา้ วเหนียวนาปี ปีเพาะปลกู 2565/66

ปฏิทินผลผลิตข้าวเจ้านาปี และข้าวเหนียวนาปี ในพื้นที่รับผิดชอบของ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (สศท.2 พิษณุโลก)

จงั หวัด ปริมาณผลผลติ รวม (หน่วย ปี 2565 ปี 2566

จ.พิษณุโลก : ตนั ) พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.
(ข้าวเจ้านาปี) -
จ.สุโขทัย ผลผลิต 795,616.00 - - 31,824.64 58,875.58 165,488.13 145,597.73 325,009.14 63,649.28 5,171.50 - - -
(ข้าวเจ้านาปี) -
ร้อยละ 100.00 - - 4.00 7.40 20.80 18.30 40.85 8.00 0.65 - - -
จ.ตาก -
(ข้าวเจ้านาปี) ผลผลิต 550,955.00 - - 330.57 161,650.20 92,284.96 94,929.55 105,067.12 74,984.98 21,542.34 165.29 - -
จ.อุตร ดิตถ์ -
(ข้าวเจ้านาปี) ร้อยละ 100.00 - - 0.06 29.34 16.75 17.23 19.07 13.61 3.91 0.03 - -
-
จ.แพร่ ผลผลิต 142,828.00 - - - - 4,284.84 17,139.36 107,121.00 14,282.80 - - - -
(ข้าวเหนียวนาปี) -
ร้อยละ 100.00 - - - - 3.00 12.00 75.00 10.00 - - - -
จ.น่าน
(ข้าวเหนียวนาปี) ผลผลิต 323,518.00 - - - 6,373.30 25,557.92 68,035.84 188,869.81 29,116.62 5,564.51 - -

ร้อยละ 100.00 - - - 1.97 7.90 21.03 58.38 9.00 1.72 - -

ผลผลิต 149,905.00 - - - - 27,927.30 104,768.60 17,209.09 - - - -

ร้อยละ 100.00 - - - - 18.63 69.89 11.48 - - - -

ผลผลิต 143,528.00 - - - - - 29,825.12 108,105.29 5,597.59 - - -

ร้อยละ 100.00 - - - - - 20.78 75.32 3.90 - - -

12.1.2 ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ ปีเพาะปลกู 2565/66

ปฏิทินผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในพื้นที่รับผิดชอบของ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (สศท.2 พิษณุโลก)

จงั หวัด ปริมาณผลผลติ รวม (หนว่ ย ปี 2565 ปี 2566

จ.พิ ษณุ โ ลก : ตนั ) ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.
(ข้าว โ พดเลี้ย งสั ตว์ )
ผลผลิต 155,828.00 133.87 11,066.19 13,163.41 38,620.11 41,643.24 6,838.28 2,298.50 15,880.96 24,204.41 1,979.03
จ.ตาก
(ข้าว โ พดเลี้ย งสั ตว์ ) ร้ อยละ 100.00 0.09 7.10 8.45 24.78 26.72 4.39 1.48 10.19 15.53 1.27

จ.อุตร ดิตถ์ ผลผลิต 380,191.00 417.48 34,511.98 41,052.56 120,444.03 129,872.21 21,326.46 2,896.88 6,386.56 18,355.70 4,927.14
(ข้าว โ พดเลี้ย งสั ตว์ )
ร้ อยละ 100.00 0.11 9.08 10.80 31.68 34.16 5.61 0.76 1.68 4.83 1.30
จ.แ พร่
(ข้าว โ พดเล้ีย งสั ตว์ ) ผลผลิต 120,158.00 - 23,680.86 53,375.75 27,172.54 - - 466.72 6,739.50 8,324.42 398.22

จ.น่าน ร้ อยละ 100.00 - 19.71 44.42 22.61 - - 0.39 5.61 6.93 0.33
(ข้าว โ พดเลี้ย งสั ตว์ )
ผลผลิต 185,352.00 - 3,035.90 59,456.73 80,546.70 3,622.55 - 325.00 6,043.40 28,920.87 3,400.86

ร้ อยละ 100.00 - 1.64 32.08 43.46 1.95 - 0.18 3.26 15.60 1.83

ผลผลิต 416,379.00 - 3,947.87 25,082.94 199,826.06 139,810.45 22,092.12 5,992.26 6,366.07 8,715.83 4,545.40

ร้ อยละ 100.00 - 0.95 6.02 47.99 33.58 5.31 1.44 1.53 2.09 1.09

-5-

12.1.3 อ้อยโรงงาน ปี 2565

ปฏิ ทินผลผลิตอ้อยโรงงาน ในพ้ืนที่รับผิดชอบของ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 (สศท.2 พิษณุโลก)

จงั หวัด ปริมาณผลผลติ รวม (หน่วย พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ปี 2566 เม.ย.
: ตนั ) ก.พ. มี.ค.

จ.สุ โ ขทั ย ผลผลิต 2,970,511.00 148,525.55 445,576.65 891,153.30 891,153.30 445,576.65 148,525.55

(อ้อยโร งงาน) ร้ อยละ 100.00 5.00 15.00 30.00 30.00 15.00 5.00

12.2 ข้อมลู พยากรณส์ นิ คา้ ท่ีมีมลู คา่ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมสงู สดุ ในระดับจงั หวัด
ข้อมูลพยากรณ์สินค้าเกษตรจำนวน 6 จังหวัด จังหวัดละ 2 สินค้า รวม 12 สินค้า ได้แก่ ข้าวเจ้า

นาปี ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ (จังหวัดพิษณุโลก) ข้าวเจ้านาปี ออ้ ยโรงงาน (จังหวัดสโุ ขทัย) ข้าวเจ้านาปี ข้าวโพด
เล้ียงสตั ว์ (จงั หวัดตาก) ขา้ วเจา้ นาปี ข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์ (จงั หวัดอุตรดิตถ์) ข้าวเหนียวนาปี ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
(จังหวดั แพร่) ข้าวเหนยี วนาปี ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ (จังหวัดน่าน)

12.2.1 จงั หวดั พิษณโุ ลก

1) ข้าวเจ้านาปี ปเี พาะปลูก 2565/66
เนื้อที่เพาะปลูก 1,403,203 ไร่ ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 0.01 เน่ืองจากต้นทุน

การผลิตเพิ่มข้ึนจากราคาปุ๋ย/ยา/น้ำมันเช้ือเพลิง จึงไม่จูงใจให้เกษตรกรปลูกข้าวเพ่ิม บางรายปรับเปลี่ยน
ไปปลูกพืชไร่ (ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ และมันสำปะหลัง) แทน จากราคาปีที่ผ่านมาปรับตัวสูงข้ึนจูงใจและคิดว่า
คุ้มค่ากับการลงทุนมากกว่า และเกษตรกรบางส่วนปรับพ้ืนที่ไปทำสวนเกษตรผสมผสาน เน้ือที่เก็บเก่ียว
1,393,572 ไร่ เพิ่มข้ึนจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 3.06 เน่ืองจากคาดว่าเกิดผลกระทบเพียงเล็กน้อยจากความ
เสียหายจากภัยพิบัติ และโรคแมลงต่าง ๆ ผลผลิตรวม 795,616 ตัน เพิ่มข้ึนจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 1.96
เนือ่ งจากผลผลิตต่อไรเ่ พิ่มข้ึน พ้นื ท่ปี ลกู ลดลงเล็กน้อย สง่ ผลให้ภาพรวมผลผลติ เพ่ิมขึ้น ผลผลติ ตอ่ เนือ้ ท่ีปลูก
567 กิโลกรัมต่อไร่ เพ่ิมขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 1.98 เนื่องจากคาดว่าฤดูฝนปีน้ีมาเร็ว ปริมาณน้ำฝนมี
เพยี งพอตอ่ การเจรญิ เติบโตของตน้ ข้าวตลอดชว่ งฤดูการเพาะปลูก โรค/แมลงรบกวนปนี ไี้ ม่คอ่ ยมี

2) ข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์ ปีเพาะปลูก 2565/66
ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 1 เน้ือท่ีเพาะปลูก 188,766 ไร่ ลดลงจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ

6.47 เนอ่ื งจากปญั หาด้านตน้ ทนุ การผลติ ข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์สงู จากราคาปยุ๋ ยาทปี่ รบั ตัวสูงข้ึนมาก เกษตรกรจึง
ลดพ้ืนทเี่ พาะปลูกลง และเปล่ยี นไปปลกู พชื ท่ีใชต้ ้นทุนในการผลิตนอ้ ยกว่า ไดแ้ ก่ ยางพารา มันสำปะหลัง และ
บางส่วนปล่อยพ้ืนที่ว่าง เน้ือที่เก็บเกี่ยว 186,980 ไร่ ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 6.72 เน่ืองจากเนื้อที่
เพาะปลูกที่ลดลง และอาจมีพืน้ ทเ่ี สยี หายบา้ งในชว่ งการเจรญิ เติบโต หากเกดิ ฝนทิง้ ชว่ ง และโรคแมลงรบกวน
บ้างเล็กน้อย ผลผลิตรวม 110,502 ตัน ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 13.73 เน่ืองจากผลผลิตต่อไร่เพ่ิมขึ้น
พื้นที่ปลูกลดลงเล็กน้อย และเน้ือท่ีเก็บเก่ียวท่ีลดลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตลดลง ผลผลิตต่อเน้ือท่ีปลูก
681 กิโลกรัมต่อไร่ เพิ่มขึ้นจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 6.57 เน่ืองจากฝนตกเร็ว ปริมาณน้ำฝนเพียงพอในช่วง
การปลูก และตกต่อเนอื่ งในชว่ งเวลาทเี่ หมาะสม ทำให้ต้นข้าวโพดมีความสมบรู ณ์ ตดิ ฝักดีกว่าปที ี่ผ่านมา

ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 2 เน้ือที่เพาะปลูก 58,107 ไร่ เพ่ิมขึ้นจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ
1.82 เนื่องจากปลูกแทนข้าวนาปรัง ประกอบกับเป็นพืชใช้น้ำน้อย คาดว่าปริมาณน้ำเพียงพอตลอดรอบ
การเพาะปลกู และจากราคาปีท่ีผ่านมาอยูใ่ นเกณฑ์ดี ให้ผลตอบแทนท่ีดีกว่าการปลกู ข้าว จงึ จงู ใจให้เกษตรกร
ปลูกเพิม่ เนอื้ ทีเ่ กบ็ เกี่ยว 57,925 ไร่ เพมิ่ ข้ึนจากปีท่ผี า่ นมารอ้ ยละ 1.79 เน่อื งจากเพ่มิ ข้ึนตามเนอื้ ทเ่ี พาะปลูก
และคาดว่าปรมิ าณนำ้ เพยี งพอต่อการเพาะปลกู ในช่วงฤดูแลง้ ประกอบกบั ปที ผี่ า่ นมาราคาปรบั ตัวสูงจูงใจทำให้
เกษตรกรดแู ลรักษามากขนึ้ ผลผลิตรวม 45,323 ตัน เพิ่มข้ึนจากปที ผ่ี ่านมาร้อยละ 2.60 เนื่องจากพ้ืนที่ปลูก

-6-

เพิม่ ขนึ้ ผลผลิตต่อไรเ่ พม่ิ ขึ้น ส่งผลให้ผลผลติ รวมเพมิ่ ขนึ้ ตาม ผลผลิตต่อเนื้อที่ปลกู 780 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ เพ่มิ ข้ึน
จากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 0.78 เนื่องจากราคาจูงใจทำให้เกษตรกรดูแลรักษาดี มีองค์ความรู้ควบคุมดูแลรกั ษา
การระบาดของหนอนกะทไู้ ด้ดี และคาดว่าปรมิ าณน้ำมเี พยี งพอต่อการเพาะปลกู ตลอดรอบการผลิต

12.2.2 จงั หวัดสุโขทัย
1) ข้าวเจ้านาปี ปีเพาะปลกู 2565/66
เนื้อที่เพาะปลูก 1,108,562 ไร่ ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 0.01 เนื่องจากต้นทุน

การผลิตเพ่ิมข้ึนจากราคาปุ๋ย/ยา/น้ำมัน ไม่จูงใจเกษตรกรปลูกข้าวเพ่ิม เกษตรบางรายลดพื้นที่บางส่วน
ปรับเปลี่ยนไปปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตวแ์ ทนในพ้ืนท่ีนาดอนการระบายน้ำไม่ท่วมขัง ราคาค่อนข้างจูงใจ เน้ือท่ี
เก็บเก่ียว 1,098,439 ไร่ เพม่ิ ข้ึนจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 17.07 เน่ืองจากคาดว่าไมเ่ กิดความเสียหายจากโรค/
แมลง และภัยพิบัตติ ่าง ๆ ผลผลติ รวม 550,955 ตัน เพม่ิ ขนึ้ จากปีท่ผี ่านมาร้อยละ 8.31 เนื่องจากผลิตต่อไร่
เพิ่มขึ้นมาก ส่งผลให้ผลผลิตรวมเพิ่มขึ้นประกอบกับเนื้อที่ปลูกลดลงเล็กน้อย ผลผลิตต่อเนื้อท่ีปลูก
497 กิโลกรัมต่อไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 8.28 เนื่องจากคาดว่าฤดูฝนปีน้ีมาเร็ว ปริมาณน้ำฝนมี
เพยี งพอต่อการเจริญเติบโตของต้นขา้ วตลอดช่วงฤดกู ารเพาะปลกู โรค/แมลงรบกวนปนี ไ้ี ม่คอ่ ยมี

2) ออ้ ยโรงงาน ปี 2565
เนื้อที่เก็บเก่ียว 305,294 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 7.71 เนื่องจากราคาอ้อย

โรงงาน 1-2 ปีที่ผ่านมา มีแนวโน้มราคาเร่ิมปรับตัวปรับสูงข้ีน จึงจูงใจให้เกษตรกรปลูกแทนข้าวนาปีที่ราคา
ปรบั ตัวลดลง ประกอบกับต้นทนุ การผลิตอ้อยโรงงาน และการดูแลรักษา เกษตรกรมองว่าตำ่ กวา่ คือ เริ่มปลูก
ปีแรกต้นทุนจะสูง แต่ในช่วงระยะ 2-3 ปี การดูแลรักษาจะต่ำกว่าข้าว ให้ผลตอบแทนท่ีดีกว่า และมีแหล่ง
รับซือ้ รองรับ ผลผลติ รวม 2,970,511 ตัน เพ่ิมข้นึ จากปีที่ผา่ นมารอ้ ยละ 22.57 เนือ่ งจากพนื้ ทีเ่ กบ็ เกี่ยวเพม่ิ ขึน้
ผลผลิตต่อไรเ่ พ่ิมข้ึนสง่ ผลให้ผลผลิตรวมเพิ่มขึ้นตาม ผลผลิตต่อเน้อื ทป่ี ลูก 9,730 กิโลกรัมตอ่ ไร่ เพิ่มข้ึนจาก
ปีที่ผ่านมาร้อยละ 13.80 เน่ืองจากปีน้ีคาดว่าปริมาณน้ำฝนมีเพียงพอตล อดช่วงฤดูการดูแลรักษาและ
การเจริญเตบิ โตของต้นอ้อย ประกอบกับราคาทจี่ งู ใจปรบั ตัวสงู ขนึ้ ในปีทผี่ ่านมา ทำใหเ้ กษตรกรดแู ลดมี ากขึ้น

12.2.3 จังหวดั ตาก
1) ข้าวเจา้ นาปี ปีเพาะปลูก 2565/66
เนื้อท่ีเพาะปลูก 344,163 ไร่ ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 0.25 เนื่องจากเกษตรกร

เกรงว่าปริมาณน้ำจะไม่เพียงพอตลอดรอบการผลิตทำให้ผลผลิตเสียหาย เสี่ยงต่อการขาดทุนจากการผลิต
เกษตรจงึ ปรับลดพ้นื ทบี่ างสว่ นปรบั เปลยี่ นไปปลกู ข้าวโพดเลย้ี งสตั วแ์ ทนในพืน้ ทน่ี าดอนการระบายนำ้ ไมท่ ่วมขงั
ประกอบกับราคาค่อนข้างจูงใจ เน้ือที่เก็บเก่ียว 344,100 ไร่ เพิ่มข้ึนจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 1.59 เน่ืองจาก
คาดว่าไมเ่ กิดความเสยี หายจากโรคแมลง และภยั พบิ ัตติ า่ ง ๆ ผลผลติ รวม 142,828 ตนั เพมิ่ ข้นึ จากปที ่ีผา่ นมา
รอ้ ยละ 2.78 เนอื่ งจากผลผลิตตอ่ ไรท่ ีเ่ พิ่มขึ้นและเน้ือที่เกบ็ เกย่ี วท่ีเพิม่ ขึ้น สง่ ผลให้ผลผลิตรวมเพิ่มข้นึ ผลผลิต
ต่อเนื้อท่ีปลูก 415 กิโลกรัมต่อไร่ เพ่ิมขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 1.22 เน่ืองจากปริมาณน้ำฝนดีเหมาะแก่
การเจริญเตบิ โตของต้นข้าว เกษตรกรดูแลดี ใส่ปุ๋ยเพิ่มขึ้น

2) ขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์ ปเี พาะปลูก 2565/66
ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 1 เน้ือท่ีเพาะปลูก 501,101 ไร่ ลดลงจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ

10.81 เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนพ้ืนท่ีไปปลูกมันสำปะหลัง และอ้อยโรงงานแทน เนื่องจากค่าใช้จ่ายด้าน
ต้นทุนการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีราคาสูงขึ้นมาก เช่น ปุ๋ยเคมี สารเคมีกำจัดวัชพืช ศัตรูพืช น้ำมัน ฯลฯ
เกษตรกรขาดเงินทุนจึงหันไปปลูกพืชที่ใช้เงินทุนน้อยทดแทน ประกอบกับการปลูกอ้อยโรงงานน้ัน มีการ
ประกันราคารบั ซ้ือจากโรงงาน จงู ใจให้เกษตรกรหันมาปลกู อ้อยกนั มากข้ึน เนอ้ื ทีเ่ กบ็ เกีย่ ว 500,751 ไร่ ลดลง
จากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 9.76 เนื่องจากการลดลงของเน้ือท่ีเพาะปลูก ผลผลิตรวม 347,020 ตัน ลดลงจาก

-7-

ปที ี่ผา่ นมาร้อยละ 10.40 เนือ่ งจากเน้ือทเี่ ก็บเก่ยี วลดลง ผลผลติ ตอ่ เนอื้ ที่ปลกู 703 กิโลกรมั ต่อไร่ เพ่ิมขึ้นจาก
ปีที่ผ่านมาร้อยละ 0.72 เน่ืองจากคาดว่าปริมาณน้ำฝนเพียงพอในช่วงตลอดรอบการผลิต ทำให้ต้นข้าวโพด
มคี วามสมบูรณก์ ว่าปที ผี่ ่านมา

ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 2 เนื้อที่เพาะปลูก 40,207 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ
1.73 เนื่องจากปลูกแทนข้าวนาปรัง ประกอบกับเป็นพืชใช้น้ำน้อย คาดว่าปริมาณน้ำเพียงพอตลอดรอบ
การเพาะปลกู และจากราคาปีท่ผี ่านมาอยใู่ นเกณฑ์ดี ให้ผลตอบแทนที่ดีกวา่ การปลกู ข้าว จงึ จงู ใจใหเ้ กษตรกร
ปลกู เพิ่ม เน้อื ทเ่ี ก็บเก่ียว 40,145 ไร่ เพมิ่ ขึน้ จากปีที่ผ่านมาร้อยละ 1.69 เน่ืองจากเพ่มิ ข้นึ ตามเน้ือท่เี พาะปลูก
อาจมีพ้ืนท่ีเสียหายบา้ งจากปริมาณน้ำอาจไม่เพียงพอในพ้ืนท่ีปลกู บางส่วน และอาจมคี วามเสยี หายเล็กน้อย
จากโรคแมลงรบกวน ผลผลติ รวม 33,171 ตนั เพ่ิมขึน้ จากปีทผ่ี า่ นมารอ้ ยละ 2.35 เนอ่ื งจากพื้นท่ีปลูกเพม่ิ ข้ึน
ผลผลิตต่อไร่เพ่ิมข้ึน ส่งผลให้ผลผลิตรวมเพิ่มข้ึนตาม ผลผลิตต่อเน้ือที่ปลูก 825 กิโลกรัมต่อไร่ เพ่ิมข้ึนจาก
ปีที่ผ่านมารอ้ ยละ 0.61 เน่อื งจากมปี ริมาณนำ้ เพียงพอต่อการเพาะปลกู ประกอบกับราคาปรบั ตัวสูงขึ้น จูงใจ
ใหเ้ กษตรกรดูแลรักษาเอาใจใสด่ ี และควบคุมดูแลรักษาการระบาดของหนอนกะทไู้ ด้ดี

12.2.4 จงั หวดั อุตรดติ ถ์
1) ขา้ วเจ้านาปี ปเี พาะปลกู 2565/66
เนื้อที่เพาะปลูก 545,668 ไร่ ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 1.08 เนื่องจากต้นทุน

การผลติ เพมิ่ ขึ้นจากราคาปุ๋ย/ยา/นำ้ มัน ไมจ่ งู ใจเกษตรกรปลกู ขา้ วเพ่ิม เกษตรบางรายลดพื้นทป่ี ลูกบางส่วนลง
เนื้อทเี่ กบ็ เกย่ี ว 544,582 ไร่ เพิ่มขึน้ จากปีทผี่ ่านมารอ้ ยละ 4.62 เน่ืองจากคาดว่าไม่เกิดความเสียหายจากโรค
แมลง และภัยพิบัติต่าง ๆ ผลผลิตรวม 323,581 ตัน เพิม่ ข้นึ จากปที ่ีผ่านมาร้อยละ 3.18 เนอ่ื งจากพนื้ ทีป่ ลูก
เพ่ิมข้ึนผลผลติ ต่อไรเ่ พิม่ ข้ึน สง่ ผลใหผ้ ลผลิตรวมเพ่มิ ขนึ้ ตาม ผลผลิตตอ่ เนอ้ื ที่ปลกู 593 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ เพมิ่ ข้ึน
จากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 4.22 เนื่องจากคาดว่าปริมาณน้ำฝนมีเพียงพอตลอดช่วงฤดูการเพาะปลูก โรค/แมลง
รบกวนปนี ีไ้ ม่ค่อยมี และคาดว่าจะไม่เกิดภยั พบิ ตั ิ

2) ขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์ ปีเพาะปลูก 2565/66
ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 1 เนื้อที่เพาะปลูก 150,362 ไร่ ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ

1.03 เนื่องจากสถานการณ์ราคาปัจจัยการผลิต (ปุ๋ย-ยา) ท่ีปรับตัวสูงขึ้นมาก เกษตรกรจึงเปล่ียนไปปลูกพืช
ที่มตี ้นทนุ คา่ ใช้จา่ ยในการผลิตต่ำกวา่ อาทิ ยางพารา มะมว่ งหมิ พานต์ มันสำปะหลงั และไม้ผลอืน่ ๆ เชน่ เงาะ
ในพืน้ ท่ีอำเภอนำ้ ปาด เน้อื ท่เี กบ็ เกยี่ ว 148,750 ไร่ ลดลงจากปีที่ผ่านมารอ้ ยละ 1.42 เนื่องจากเนือ้ ทีเ่ พาะปลกู
ท่ีลดลง และอาจมีพื้นที่เสียหายบ้างในช่วงการเจริญเติบโต หากเกิดฝนทิ้งช่วง และโรคแมลงรบกวนบ้าง
เล็กน้อย ผลผลิตรวม 103,458 ตัน เพ่ิมขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 1.43 เนื่องจากฝนตกเร็วตรงตามช่วงฤดู
เพาะปลูกพอดี ปริมาณน้ำฝนเพียงพอในช่วงการปลกู ทำให้ตน้ ข้าวโพดมคี วามสมบูรณ์ ผลผลิตต่อเน้ือท่ีปลูก
682 กิโลกรัมต่อไร่ เพ่ิมขึ้นจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 0.89 เน่ืองจากฝนตกเร็ว ปริมาณน้ำฝนเพียงพอในช่วง
การปลกู และตกตอ่ เนอื่ งในชว่ งเวลาท่ีเหมาะสม ทำให้ตน้ ข้าวโพดมคี วามสมบูรณ์ ตดิ ฝกั ดกี วา่ ปที ีผ่ า่ นมา

ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 2 เนื้อท่ีเพาะปลูก 23,195 ไร่ เพ่ิมขึ้นจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ
1.71 เนื่องจากปลูกแทนข้าวนาปรัง ประกอบกับเป็นพืชใช้น้ำน้อย คาดว่าปริมาณน้ำเพียงพอตลอดรอบ
การเพาะปลกู และจากราคาปที ่ผี ่านมาอยู่ในเกณฑด์ ี ให้ผลตอบแทนท่ีดกี ว่าการปลูกข้าว จงึ จงู ใจใหเ้ กษตรกร
ปลกู เพมิ่ เนือ้ ทเี่ กบ็ เก่ียว 23,176 ไร่ เพิม่ ข้ึนจากปที ผ่ี า่ นมาร้อยละ 1.77 เนื่องจากเพ่ิมข้ึนตามเนอ้ื ท่เี พาะปลูก
และคาดว่าปริมาณน้ำเพียงพอต่อการเพาะปลูกในช่วงฤดูแลง้ เกษตรกรดูแลดีจากราคาท่ีจูงใจ ผลผลิตรวม
16,700 ตัน เพ่ิมข้ึนจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 3.14 เน่ืองจากพ้ืนท่ีปลูกเพิ่มข้ึนผลผลิตต่อไร่เพิ่มข้ึน ส่งผลให้
ผลผลิตรวมเพ่ิมข้ึนตาม ผลผลิตต่อเนื้อที่ปลูก 720 กิโลกรัมต่อไร่ เพ่ิมข้ึนจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 1.41
เนื่องจากราคาจูงใจทำใหเ้ กษตรกรดแู ลรักษาดี ควบคุมดูแลรักษาการระบาดของหนอนกะทไู้ ดด้ ี ประกอบกับ
ปริมาณน้ำมีเพยี งพอต่อการเพาะปลูก

-8-

12.2.5 จงั หวัดแพร่
1) ข้าวเหนียวนาปี ปีเพาะปลกู 2565/66
เน้ือที่เพาะปลกู 256,686 ไร่ ลดลงจากปีท่ีผา่ นมาร้อยละ 0.01 เนือ่ งจากราคาปัจจัย

และตน้ ทุนการผลิตเพ่ิมขึ้น จากราคาปุ๋ย/ยา/นำ้ มัน ไมจ่ งู ใจเกษตรกรปลูกขา้ วเพม่ิ บางรายปรบั เปลย่ี นไปปลูก
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แทนในพื้นท่ีนาดอน เนื้อท่ีเก็บเก่ียว 256,521 ไร่ เพ่ิมขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 0.42
เนื่องจากเน้ือท่ีปลูกเพ่ิมข้ึน และคาดว่าไม่เกิดความเสียหายจากโรคแมลง และภัยพิบัติต่าง ๆ ผลผลิตรวม
149,905 ตัน เพิ่มข้ึนจากปีท่ผี า่ นมาร้อยละ 1.97 เน่ืองจากเพม่ิ ขึ้นตามเน้ือที่ปลกู และเนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต
ต่อเนื้อท่ีปลูก 584 กิโลกรัมต่อไร่ เพิ่มข้ึนจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 1.92 เนื่องจากปีนี้คาดว่าปริมาณน้ำฝนดี
มีเพยี งพอต่อการเจริญเติบโตของตน้ ข้าว ประกอบกบั ไมม่ โี รค/แมลงรบกวน

2) ข้าวโพดเลีย้ งสตั ว์ ปเี พาะปลูก 2565/66
ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 1 เนื้อท่ีเพาะปลูก 212,263 ไร่ ลดลงจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ

3.32 เนื่องจากสถานการณ์ราคาปัจจัยการผลิต (ปุ๋ย-ยา) ท่ีปรับตัวสูงขึ้นมาก ทำให้เกษตรกรหันไปปลูก
มันสำปะหลงั แทน เพราะเห็นวา่ มีตน้ ทุนคา่ ใช้จา่ ยในการผลิตต่ำกว่า ดูแลเอาใจใส่งา่ ยกว่า อกี ท้งั มีเกษตรกรบาง
พ้นื ทปี่ รับเปล่ียนไปปลูกยางพารา (อ.ร้องกวาง อ.สอง อ.ลอง) และมะมว่ งหิมพานต์แทน (อ.ลอง) เนอ้ื ที่เก็บ
เกีย่ ว 211,931 ไร่ ลดลงจากปีที่ผ่านมารอ้ ยละ 3.42 เนื่องจากเนื้อทเ่ี พาะปลูกท่ีลดลง ผลผลิตรวม 146,017
ตัน ลดลงจากปีทผ่ี ่านมาร้อยละ 2.15 เน่ืองจากเนอ้ื ทีเ่ กบ็ เกย่ี วลดลง ตามการลดลงของพน้ื ท่ีปลูก ประกอบกับ
สถานการณร์ าคาปัจจัยการผลติ ปุย๋ -ยา ที่มรี าคาสูงขึ้น ทำให้เกษตรกรลดปรมิ าณการใชป้ ยุ๋ ลง ผลผลิตต่อเน้ือ
ท่ีปลูก 689 กิโลกรัมต่อไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 1.32 เน่ืองจากปริมาณน้ำฝนมีเพียงพอ ทำให้ต้น
ข้าวโพดมีความสมบรู ณ์ ติดดอกและฝักดีกว่าปีท่ีผ่านมา อีกทั้งเกษตรบางส่วนมกี ารปรบั เปล่ียนพันธุ์ปลูกให้
เหมาะสมกับพ้ืนทมี่ ากข้นึ การระบาดของโรคและแมลงมนี ้อยลงจากการเฝา้ ระวังปอ้ งกันและกำจดั ศัตรพู ืชทีม่ ี
ประสทิ ธิภาพมากข้ึน อย่างไรก็ตาม จากสถานการณ์ราคาปุ๋ยท่ีมแี นวโนม้ เพ่ิมสงู ข้ึนมาก อาจส่งผลตอ่ ปรมิ าณให้
ผลผลติ ต่อไรเ่ พม่ิ ข้นึ ได้เพียงเล็กนอ้ ย และคุณภาพผลผลิตลดลง จากการลดปรมิ าณการใช้ปยุ๋ เพอ่ื ลดต้นทุนการ
ผลติ ลง

ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 2 เน้ือที่เพาะปลูก 50,952 ไร่ เพ่ิมขึ้นจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ
1.29 เน่ืองจากปลูกแทนข้าวนาปรัง ประกอบกับเป็นพืชใช้น้ำน้อย คาดว่าปริมาณน้ำเพียงพอตลอดรอบ
การเพาะปลูก และจากราคาปที ่ีผ่านมาอยูใ่ นเกณฑด์ ี ใหผ้ ลตอบแทนท่ีดกี ว่าการปลกู ข้าว จึงจูงใจให้เกษตรกร
ปลกู เพมิ่ เนือ้ ท่เี ก็บเกี่ยว 50,765 ไร่ เพมิ่ ข้นึ จากปีทีผ่ า่ นมารอ้ ยละ 1.67 เนื่องจากเพ่มิ ข้นึ ตามเนอื้ ท่ีเพาะปลูก
อาจมีพืน้ ท่ีเสยี หายบ้างจากปริมาณน้ำที่ไม่เพียงพอในพ้ืนทป่ี ลกู บางส่วน และอาจมีความเสยี หายเล็กน้อยจาก
โรคแมลงรบกวน ผลผลิตรวม 39,335 ตัน เพิ่มข้ึนจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 1.55 เน่ืองจากพ้ืนที่ปลูกเพ่ิมขึ้น
ผลผลิตต่อไร่เพ่ิมข้ึน ส่งผลให้ผลผลิตรวมเพิ่มขึ้นตาม ผลผลิตต่อเน้ือท่ีปลูก 772 กิโลกรัมต่อไร่ เพ่ิมขึ้นจาก
ปีท่ีผ่านมาร้อยละ 0.26 เนื่องจากราคาปรับตวั สูงขึ้น จูงใจใหเ้ กษตรกรดูแลรกั ษาเอาใจใส่ดี และควบคมุ ดูแล
รักษาการระบาดของหนอนกะทไู้ ด้ดี

12.2.6 จังหวดั น่าน
1) ขา้ วเหนียวนาปี ปีเพาะปลูก 2565/66
เนื้อท่ีเพาะปลูก 278,156 ไร่ เพ่ิมขึ้นจากปีท่ีผา่ นมาร้อยละ 1.93 เนอ่ื งจากเกษตรกร

คาดว่าในปีนี้ฝนจะมาเรว็ กว่าปีท่ีผ่านมา ปริมาณน้ำจะมีเพียงพอในช่วงฤดูกาลเพาะปลูก ประกอบกับภาครัฐ
มีมาตรการช่วยเหลือเกษตรผู้ปลูกข้าวอย่างต่อเนื่อง จึงจูงใจให้เกษตรกรขยายเพ่ิมจากพื้นท่ีว่าง เนื้อที่เก็บ
เกี่ยว 277,098 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 2.72 เนื่องจากเพิ่มขึ้นจากเนื้อท่ีปลูกเพ่ิมข้ึน และคาดว่า
ไมเ่ กดิ ความเสียหายจากโรคแมลง และภัยพบิ ัตติ า่ ง ๆ ผลผลติ รวม 143,528 ตัน เพ่ิมขึน้ จากปที ่ีผ่านมารอ้ ยละ
2.29 เนื่องจากพ้ืนท่ีปลูกเพ่ิมข้ึนผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผลผลติ รวมเพม่ิ ข้ึนตาม ผลผลิตตอ่ เนื้อที่ปลูก

-9-

516 กิโลกรัมต่อไร่ เพิม่ ขนึ้ จากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 0.39 เนื่องจากคาดวา่ ปริมาณน้ำฝนมีเพียงพอตลอดช่วงฤดู
การเพาะปลกู ประกอบกบั โรค/แมลงรบกวนปนี ้เี ล็กนอ้ ย

2) ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ ปเี พาะปลกู 2565/66
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่น 1 เน้ือท่ีเพาะปลูก 553,039 ไร่ ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ

1.25 เน่ืองจากสถานการณ์ราคาปจั จัยการผลิต (ป๋ยุ -ยา) ที่ปรับตวั สงู ขนึ้ มาก เกษตรกรจงึ เปลี่ยนไปปลูกพืชทม่ี ี
ตน้ ทุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการผลิตตำ่ กวา่ ดูแลเอาใจใส่งา่ ยกวา่ อาทิ ยางพารา มันสำปะหลงั และไม้ผลไม้ยืนตน้ อ่ืน ๆ
เนอื้ ท่ีเกบ็ เกีย่ ว 551,008 ไร่ ลดลงจากปีทผ่ี า่ นมารอ้ ยละ 1.39 เน่ืองจากเนอ้ื ทเี่ พาะปลูกทลี่ ดลง และอาจมพี ื้นที่
เสียหายบ้างในช่วงการเจริญเติบโต หากเกิดฝนทิ้งช่วง ผลผลิตรวม 398,023 ตัน เพิ่มข้ึนจากปีที่ผ่านมา
ร้อยละ 5.53 เนื่องจากผลผลติ ต่อไร่ทีเ่ พม่ิ ขนึ้ ผลผลิตต่อเนือ้ ทปี่ ลูก 691 กโิ ลกรมั ต่อไร่ เพิ่มขน้ึ จากปที ีผ่ า่ นมา
ร้อยละ 2.37 เนอ่ื งจากฝนตกเร็ว ปรมิ าณนำ้ ฝนเพียงพอในชว่ งการปลูก และตกตอ่ เน่อื งในช่วงเวลาท่เี หมาะสม
ทำใหต้ ้นขา้ วโพดมีความสมบรู ณ์ ตดิ ฝกั ดีกวา่ ปีทผี่ า่ นมา

ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 2 เน้ือท่ีเพาะปลูก 23,716 ไร่ เพิ่มข้ึนจากปีที่ผ่านมาร้อยละ
1.94 เนื่องจากปลูกแทนข้าวนาปรัง ประกอบกับเป็นพืชใช้น้ำน้อย คาดว่าปริมาณน้ำเพียงพอตลอดรอบ
การเพาะปลกู และจากราคาปีท่ผี ่านมาอยใู่ นเกณฑ์ดี ให้ผลตอบแทนท่ีดีกว่าการปลูกข้าว จึงจงู ใจใหเ้ กษตรกร
ปลูกเพ่ิม เน้ือท่ีเก็บเกี่ยว 23,690 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมารอ้ ยละ 1.90 เน่ืองจากตามเนื้อที่เพาะปลกู และ
คาดว่าปริมาณน้ำเพียงพอต่อการเพาะปลูกในช่วงฤดูแล้ง ความเสียหายจากโรค/แมลงรบกวนมีเล็กน้อย
ผลผลิตรวม 18,356 ตัน เพ่ิมขึ้นจากปีท่ีผ่านมาร้อยละ 2.60 เนื่องจากพื้นท่ีปลูกเพิ่มขึ้นและผลผลิตต่อไร่
เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตรวมเพ่ิมข้ึนตาม ผลผลิตต่อเนื้อท่ีปลูก 774 กิโลกรัมต่อไร่ เพ่ิมข้ึนจากปีที่ผ่านมา
ร้อยละ 0.65 เนื่องจากราคาจูงใจทำให้เกษตรกรดูแลรักษาดี ควบคุมดูแลรกั ษา การระบาดของหนอนกะทู้
ลดลง ประกอบกบั ปรมิ าณน้ำมเี พยี งพอต่อการเพาะปลูก

12.3 ข้อมูลตน้ ทนุ การผลิตสินค้าเกษตรทีส่ ำคัญในระดบั จงั หวัด
12.3.1 จังหวดั พษิ ณุโลก
1) ทุเรียนหมอนทอง ปี 2565
จากการสำรวจ พบว่า ต้นทุนการผลิตทุเรียนหมอนทอง จังหวัดพิษณุโลก เท่ากับ

24,920.69 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทนุ ผันแปร 20,196.33 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 4,714.36 บาทตอ่ ไร่ หรือ
คิดเป็นร้อยละ 81.08 และร้อยละ 18.92 ของตน้ ทนุ การผลิตทง้ั หมด โดยคา่ ใชจ้ า่ ยส่วนใหญท่ เี่ ป็นเงนิ สด ได้แก่
คา่ ดแู ลรกั ษา คา่ ปุ๋ย ค่ายาปอ้ งกันและกำจัดศัตรูพชื และค่าเก็บเก่ียว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพ้ืนทเี่ หมาะสมเฉลี่ย
496 กิโลกรัม/ไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้เฉลี่ย เท่ากับ 122.07 บาทต่อกิโลกรมั ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ
60,546.72 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 35,636.03 บาทต่อไร่
หรอื ให้ผลตอบแทนสทุ ธิต่อตน้ ทุนการผลิต 71.85 บาทต่อกโิ ลกรัม พจิ ารณาจากตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 ต้นทุนการผลติ ทเุ รียนหมอนทอง ปี 2565/66 จังหวัดพษิ ณุโลก หน่วย : บาท/ไร่

รายงาน ต้นทนุ การผลติ รวม
เงินสด ประเมิน 20,196.33
1.ตน้ ทุนผนั แปร 10,733.00 9,463.33 8,337.03
1.1คา่ แรงงาน 2,991.40 5,345.63 10,626.66
1.2คา่ วัสดุ 7,086.53 3,540.13 1,232.64
1.3ค่าเสียโอกาสเงินลงทุน
655.07 577.57

- 10 -

2.ตน้ ทุนคงท่ี 0.00 4,714.36 4,714.36
2.1ค่าเช่าที่ดนิ 2,200.00 2,200.00
2.2คา่ เสอ่ื มอุปกรณ์การเกษตร 10,733.00
2.3ค่าเสยี โอกาสเงินลงทุนอปุ กรณ์การเกษตร 338.67 338.67
2.4เฉล่ยี ตน้ ทนุ ก่อนใหผ้ ลผลิต 60,546.72 80.33 80.33
3.ตน้ ทุนรวมต่อไร่ 49,813.72 2,095.36 2,095.36
4.ต้นทุนรวมตอ่ กโิ ลกรมั 14,177.69 24,910.69
5.ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรมั ) 50.22
6.ราคาที่เกษตรกรขายไดท้ ีไ่ รน่ า (บาท/กิโลกรัม) 496.00
7.ผลตอบแทนต่อไร่ 122.07
8.ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ ไร่ 60,546.72
9.ผลตอบแทนสุทธติ อ่ กโิ ลกรมั 35,636.03
71.85

2) ปลานลิ แดง ปี 2565

จากการสำรวจ พบว่า ตน้ ทนุ การผลติ ปลานลิ แดง จงั หวดั พิษณุโลก เท่ากบั 42,432.36
บาทต่อกระชัง จำแนกเปน็ ต้นทุนผันแปร 42,339.21 บาทต่อกระชัง ตน้ ทุนคงที่ 93.15 บาทตอ่ กระชัง หรอื คิด
เป็นร้อยละ 99.78 และร้อยละ 0.22 ของต้นทุนการผลิตท้ังหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ที่เป็นเงินสด ได้แก่

ค่าอาหาร คา่ พันธุ์ปลา และคา่ แรงงานในการจับผลผลิต ดา้ นผลผลติ เฉลีย่ เท่ากับ 596 กิโลกรัม/กระชัง ราคา
ท่เี กษตรกรขายได้เฉลี่ย เท่ากับ 77.69 บาทตอ่ กโิ ลกรัม ผลตอบแทนการผลติ เทา่ กับ 46,303.24 บาทต่อกระชงั
และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธทิ ่ีเกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 3,870.88 บาทต่อกระชัง หรือให้ผลตอบแทน

สทุ ธิต่อตน้ ทนุ การผลิต 6.49 บาทต่อกิโลกรัม พิจารณาจากตารางที่ 2

ตารางท่ี 2 ตน้ ทนุ การผลิต ปลานลิ แดง แบบกระชัง ปี 2565 จงั หวดั พิษณโุ ลก หน่วย : บาท/กระชัง

รายการ ต้นทุนการผลติ รวม
เงินสด ประเมนิ

1. ต้นทนุ ผันแปร 9,438.22 2,900.99 42,339.21
1.1 คา่ แรงงาน 630.19 1,819.41 2,449.60
1.2 คา่ วัสดแุ ละอปุ กรณ์ 38,808.03
1.3 คา่ เสียโอกาสการลงทนุ 38,808.03 0.00 1,081.58
1,081.58
2. ต้นทนุ คงที่ 39,438.22 93.15
2.1 คา่ เช่าทีว่ างกระชัง 93.15 46.09
2.2 ค่าเส่ือมราคากระชัง 46.09 29.35
2.3 คา่ เสยี โอกาส-กระชงั 29.35 4.49
2.4 คา่ เสือ่ มราคาอุปกรณ์ฯ 4.49 11.67
2.5 คา่ เสียโอกาส-อปุ กรณ์ฯ 11.67 1.55
1.55 2,432.36
3. ตน้ ทุนทง้ั หมด 2,994.14

- 11 -

4. ผลผลติ ตอ่ กระชงั (กโิ ลกรมั ) 596 596
5. ต้นทุนทั้งหมดตอ่ กิโลกรัม 66.17 5.02 1.20
6. ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม) 77.69 77.69

7. รายไดท้ ง้ั หมดต่อกระชัง 46,303.24 46,303.24
8. กำไรสุทธิต่อกระชัง 3,870.88 3,870.88
9. กำไรสทุ ธติ อ่ กโิ ลกรัม
6.49 6.49

12.3.2 จงั หวดั ตาก

1) ทุเรยี นหมอนทอง ปี 2565

จากการสำรวจ พบว่า ต้นทุนการผลิตทุเรียนหมอนทอง จังหวัดตาก เท่ากับ
12,951.04 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทนุ ผนั แปร 9,358.41 บาทตอ่ ไร่ ต้นทุนคงท่ี 3,592.63 บาทต่อไร่ หรือคดิ
เป็นร้อยละ 72.26 และรอ้ ยละ 27.74 ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด โดยค่าใช้จ่ายสว่ นใหญ่ที่เป็นเงินสด ได้แก่

ค่าใชจ้ ่ายด้านปัจจัยการผลติ อาทิ ค่านำ้ มันเชื้อเพลิง ค่าปุ๋ย ค่ายาป้องกนั และกำจัดศัตรูพืช และค่าใชจ้ ่ายดา้ น
แรงงาน อาทิ ค่าเกบ็ เก่ียว และค่าดูแลรักษา ด้านผลผลติ เฉลี่ย เท่ากับ 375.38 กโิ ลกรมั /ไร่ ราคาท่ีเกษตรกร
ขายไดเ้ ฉล่ีย เท่ากับ 100 บาทต่อกิโลกรมั ผลตอบแทนการผลติ เท่ากบั 37,538 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณา

ผลตอบแทนสุทธิทีเ่ กษตรกรไดร้ ับจะเท่ากับ 24,586.96 บาทตอ่ ไร่ หรือให้ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ต้นทนุ การผลิต
65.50 บาทตอ่ กโิ ลกรมั พจิ ารณาจากตารางที่ 3

ตารางที่ 3 ต้นทนุ การผลติ ทุเรยี นหมอนทอง ปี 2565 จงั หวัดตาก หน่วย: บาท/ไร่

รายงาน เงินสด ตน้ ทุนการผลิต รวม
6,641.85
1.ตน้ ทุนผนั แปร 1,374.53 ประเมิน 9,358.41
1.1คา่ แรงงาน 4,863.90 3,739.52
1.2คา่ วัสดุ 2,716.56 5,054.67
1.3คา่ เสียโอกาสเงินลงทุน 403.42 2,364.99
2.ตน้ ทนุ คงที่ 564.22
2.1คา่ เช่าทีด่ นิ 6,641.85 190.77 3,592.63
2.2คา่ เส่ือมอปุ กรณก์ ารเกษตร 160.80
2.3คา่ เสยี โอกาสเงนิ ลงทุนอปุ กรณ์การเกษตร 1,830.77
2.4เฉลีย่ ต้นทุนกอ่ นใหผ้ ลผลิต 3,592.63 181.12
3.ต้นทนุ รวมต่อไร่ 54.63
4.ต้นทนุ รวมตอ่ กิโลกรัม 1,830.77
5.ผลผลิตต่อไร่ (กโิ ลกรัม) 181.12 1,526.11
6.ราคาท่เี กษตรกรขายไดท้ ่ไี รน่ า (บาท/กโิ ลกรัม) 54.63 12,951.04
7.ผลตอบแทนต่อไร่
8.ผลตอบแทนสุทธติ ่อไร่ 1,526.11 34.50
9.ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อกโิ ลกรมั 6,309.19
375.38
37,538.00 100.00
30,896.15
37,538.00
24,586.96

65.50

- 12 -

2) ลำไยนอกฤดู ปี 2565

จากการสำรวจ พบว่า ต้นทุนการผลิตลำใยนอกฤดู จังหวัดตาก เท่ากับ 20,363.71
บาทตอ่ ไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 16,872.57 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 3,491.14 บาทต่อไร่ หรือคิดเปน็ ร้อย

ละ 82.86 และร้อยละ 17.14 ของต้นทนุ การผลิตทง้ั หมด โดยค่าใช้จา่ ยส่วนใหญท่ เี่ ปน็ เงินสด ได้แก่ คา่ ใช้จา่ ย
ด้านปัจจัยการผลิต อาทิ ค่าปุ๋ย ค่าสารอ่ืนๆ และวัสดุปรับปรุงดิน ค่าวัสดุการเกษตรสิ้นเปลืองต่างๆ และ
คา่ ใช้จ่ายด้านแรงงาน อาทิ ค่าเก็บเก่ียว และค่าดูแลรกั ษา ด้านผลผลิตเฉล่ีย เท่ากับ 1,486.62 กิโลกรัม/ไร่

ราคาท่ีเกษตรกรขายได้เฉล่ีย เท่ากับ 17.81 บาทต่อกิโลกรมั ผลตอบแทนการผลติ เท่ากบั 26,476.70 บาท
ตอ่ ไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รบั จะเท่ากับ 6,112.99 บาทต่อไร่ หรือใหผ้ ลตอบแทน
สทุ ธติ ่อตน้ ทุนการผลติ 4.11 บาทตอ่ กิโลกรัม พิจารณาจากตารางท่ี 4

ตารางที่ 4 ตน้ ทุนการผลติ ลำไยนอกฤดู ปี 2565 จงั หวดั ตาก หน่วย: บาท/ไร่

รายการ เงินสด ตน้ ทุนการผลติ รวม
13,440.49 ประเมนิ 16,872.57
1.ต้นทนุ ผันแปร 5,427.55 3,432.08 8,510.55
1.1คา่ แรงงาน 7,192.63 3,083.00 7,332.24
1.2คา่ วัสดุ 139.61 1,029.78
1.3ค่าเสียโอกาสเงินลงทุน 820.31 209.47 3,491.14
2.ตน้ ทุนคงที่ 3,491.14 2,840.77
2.1คา่ เช่าทดี่ ิน 13,440.49 2,840.77
2.2คา่ เส่ือมอุปกรณ์การเกษตร 30.42 30.42
2.3ค่าเสียโอกาสเงนิ ลงทนุ อุปกรณก์ ารเกษตร 8.52 8.52
2.4เฉลย่ี ตน้ ทนุ ก่อนใหผ้ ลผลติ 611.43 611.43
3.ตน้ ทนุ รวมตอ่ ไร่ 6,923.22 20,363.71
4.ต้นทุนรวมตอ่ กโิ ลกรมั 13.70
5.ผลผลิตต่อไร่ (กโิ ลกรมั ) 30,038.70 1,486.62
6.ราคาท่เี กษตรกรขายไดท้ ่ไี รน่ า (บาท/กโิ ลกรมั ) 16,598.21 17.81
7.ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 26,476.70
8.ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ 6,112.99
9.ผลตอบแทนสุทธติ ่อกิโลกรมั 4.11

12.3.3 จังหวดั อุตรดิตถ์

1) มะยงชดิ ปี 2565

จากการสำรวจ พบว่า ต้นทุนการผลิตมะยงชิด จังหวัดอุตรดิตถ์ เท่ากับ 10,633.68
บาทตอ่ ไร่ จำแนกเป็นตน้ ทุนผันแปร 7,800.57 บาทต่อไร่ ต้นทนุ คงที่ 2,833.11 บาทต่อไร่ หรือคดิ เปน็ ร้อยละ
73.36 และรอ้ ยละ 26.64 ของต้นทนุ การผลิตทัง้ หมด โดยค่าใชจ้ า่ ยส่วนใหญ่ทเ่ี ป็นเงนิ สด ได้แก่ ค่าใช้จา่ ยด้าน

ปจั จัยการผลิต อาทิ ค่าปุ๋ย ค่าสารอน่ื ๆ และวัสดุปรับปรุงดิน คา่ วัสดุการเกษตรส้ินเปลืองต่างๆ และ ค่าดูแล
รักษา ด้านผลผลิตเฉลี่ย เท่ากับ 507.69 กิโลกรัม/ไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉล่ีย เท่ากับ 38.78 บาทต่อ

- 13 -

กิโลกรมั ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 19,688.22 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสทุ ธิท่ีเกษตรกร
ได้รับจะเท่ากับ 9,054.53 บาทต่อไร่ หรือให้ผลตอบแทนสุทธิต่อต้นทุนการผลิต 17.83 บาทต่อกิโลกรัม
พิจารณาจากตารางท่ี 5

ตารางที่ 5 ตน้ ทนุ การผลิต มะยงชดิ ปี 2565 จงั หวัดอุตรดิตถ์ หนว่ ย : บาท/ไร่

รายการ เงินสด ต้นทุนการผลิต รวม
6,269.26 ประเมิน 7,800.57
1.ต้นทนุ ผนั แปร 1,940.85 1,531.31 3,378.70
1.1ค่าแรงงาน 3,945.78 1,437.85 3,945.78
1.2คา่ วัสดุ 0.00
1.3ค่าเสยี โอกาสเงินลงทนุ 382.63 93.46 476.09
2.ต้นทนุ คงท่ี 776.19 2,056.92 2,833.11
2.1คา่ เชา่ ทด่ี ิน 1,961.54 1,961.54
2.2คา่ เส่ือมอปุ กรณ์การเกษตร 776.19 76.56
2.3ค่าเสียโอกาสเงินลงทุนอปุ กรณ์การเกษตร 7,045.45 9.30 76.56
2.4เฉลยี่ ต้นทนุ กอ่ นใหผ้ ลผลิต 9.52 9.30
3.ตน้ ทุนรวมต่อไร่ 3,588.23 785.71
4.ต้นทุนรวมตอ่ กโิ ลกรมั 10,633.68
5.ผลผลิตตอ่ ไร่ (กโิ ลกรัม) 18,723.61 20.95
6.ราคาทีเ่ กษตรกรขายไดท้ ไี่ รน่ า (บาท/กโิ ลกรัม) 11,678.16 507.69
7.ผลตอบแทนต่อไร่ 38.78
8.ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ ไร่ 19,688.22
9.ผลตอบแทนสุทธิตอ่ กิโลกรมั 9,054.53
17.83

2) ลองกอง ปี 2565

จากการสำรวจ พบว่า ตน้ ทุนการผลิตลองกอง จังหวดั อุตรดิตถ์ เท่ากับ 8,932.83 บาท

ต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 6,138.45 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 2,794.38 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ
68.72 และรอ้ ยละ 31.28 ของตน้ ทนุ การผลิตทั้งหมด โดยคา่ ใชจ้ า่ ยส่วนใหญ่ท่ีเปน็ เงนิ สด ไดแ้ ก่ ค่าใชจ้ ่ายดา้ น
แรงงาน อาทิ ค่าดูแลรักษา และค่าเก็บเก่ียวผลผลิต ด้านผลผลิตเฉล่ีย เท่ากับ 637.86 กิโลกรัม/ไร่ ราคาที่

เกษตรกรขายได้เฉลี่ย เท่ากับ 25.02 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 15,959.26 บาทต่อไร่
และเมอ่ื พิจารณาผลตอบแทนสุทธทิ ีเ่ กษตรกรได้รบั จะเท่ากับ 7,026.43 บาทต่อไร่ หรือใหผ้ ลตอบแทนสุทธิต่อ
ต้นทุนการผลิต 11.02 บาทต่อกโิ ลกรมั พจิ ารณาจากตารางที่ 6

- 14 -

ตารางท่ี 6 ต้นทนุ การผลิต ลองกอง ปี 2565 จังหวัดอตุ รดติ ถ์ หนว่ ย : บาท/ไร่

รายการ ต้นทุนการผลติ

1.ต้นทุนผันแปร เงินสด ประเมนิ รวม
1.1ค่าแรงงาน 6,138.45
1.2ค่าวัสดุ 4,356.47 1,781.98 5,277.22
1.3คา่ เสยี โอกาสเงินลงทนุ
2.ต้นทนุ คงท่ี 3,705.79 1,571.43 486.58
2.1คา่ เช่าทดี่ ิน 374.65
2.2คา่ เสอ่ื มอปุ กรณก์ ารเกษตร 384.79 101.79 2,794.38
2.3ค่าเสียโอกาสเงนิ ลงทุนอปุ กรณ์การเกษตร 1,500.00
2.4เฉล่ียตน้ ทนุ กอ่ นใหผ้ ลผลติ 265.89 108.76 59.97
3.ต้นทุนรวมต่อไร่
4.ต้นทุนรวมตอ่ กโิ ลกรัม 2,794.38 7.94
5.ผลผลติ ตอ่ ไร่ (กโิ ลกรมั ) 1,226.47
6.ราคาทเี่ กษตรกรขายไดท้ ไ่ี รน่ า (บาท/กโิ ลกรัม) 1,500.00 8,932.83
7.ผลตอบแทนตอ่ ไร่
8.ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ไร่ 59.97 14.00
9.ผลตอบแทนสทุ ธิต่อกโิ ลกรมั 637.86
7.94 25.02
15,959.26
1,226.47 7,026.43
11.02
4,356.47 4,576.36

15,959.26
11,602.79


Click to View FlipBook Version