The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

กรอบแนวคิดและแนวทางการจัดทำ GDP GRP GPP

15/03/64

กรอบแนวคดิ การจัดทารายได้ประชาชาติ GDP GRP GPP
และ

แนวทางการจดั ทาภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรของ สศก.

(ประมาณการ Growth GDP GRP GPP ภาคเกษตร)

ส่วนแผนพัฒนาเขตเศรษฐกจิ การเกษตร
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2 พษิ ณุโลก

สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ประเด็นนาเสนอ

1 การจัดทารายได้ประชาชาติ GDP ของ สศช.
2 กรอบแนวคดิ นยิ าม ผลติ ภัณฑ์ภาคและจงั หวัด (GRP GPP)
3 แนวทางการจัดทาผลิตภัณฑภ์ าคและจงั หวดั
4 การประมาณการ และจัดทารายงานภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรของ สศก.
5 เป้าหมาย ตัวช้วี ดั ประเด็นการเกษตร และขอ้ เสนอแนะ

การจดั ทา
รายไดป้ ระชาชาติ

รายไดป้ ระชาชาติ หรือผลผลติ รวมของชาติ

สามารถคานวณได้จาก 3 วธิ ี

ดา้ นการผลิต** ดา้ นการใช้จ่าย ดา้ นรายได้
(Production Approach) (Income Approach)
(Expenditure Approach) เปน็ การวดั รายได้ทง้ั หมดใน
ซึง่ คนส่วนใหญม่ ักคดิ ว่า เปน็ การวัดมลู คา่ ประเทศท่เี จ้าของปจั จยั การผลิต
ของสินคา้ และบริการขนั้ สุดทา้ ยทัง้ หมด เป็นการวัดมลู ค่าของรายจา่ ยท้งั หมดใน ไดร้ บั ในรอบระยะเวลาหน่ึง
ของประเทศท่ีผลติ ไดใ้ นระบบเศรษฐกจิ ใน ระบบเศรษฐกิจในประเทศในรอบ ▪ เป็นผลรวมของคา่ เช่า คา่ จา้ ง
รอบระยะเวลาหน่งึ หรอื วัดผลรวมของ ระยะเวลาหนงึ่ (GDP) ดอกเบ้ีย และกาไร
มูลคา่ เพิ่มจากการผลิตในทุกรายการ
▪ ประกอบดว้ ย รายจ่าย 4 ประเภท

(Gross Domestic Product: GDP) - การอปุ โภคบริโภคของ : C

โดยท่ี.. ครัวเรอื น
▪ มลู คา่ เพิม่ (Value Added) วัดจาก
สว่ นตา่ งระหว่างมลู ค่าการผลติ และ - การลงทนุ ของภาคเอกชน : I โดยการคานวณทงั้ 3 ดา้ นนี้
คา่ ใช้จ่ายข้นั กลางในการผลิต (ค่าพนั ธ์พุ ืช - การใช้จา่ ยของรฐั บาล : G จะให้ค่าผลลัพธท์ เี่ ทา่ กันเสมอ
- การสง่ ออกสุทธิ : X-M
พนั ธ์ุสัตว์ ป๋ยุ สารเคมี อาหารสตั ว์ น้ามัน

เชอื เพลิงและหล่อลืน่ ฯลฯ ยกเวน้ คา่ จ้างแรงงาน รายได้ประชาชาติ (National Income) = มูลค่าผลิตภัณฑร์ วมในประเทศ
ค่าเช่าทีด่ ิน คา่ พนั ธุ์ไม้ผลยนื ตน้ ดอกเบีย คา่ (GDP) + รายได้จากภาษีทางอ้อมสุทธิ (ไดแ้ ก่ ภาษตี ่างๆ- เงนิ อุดหนุน)
เสอื่ มอปุ กรณท์ ่ีมอี ายุ 1 ปี ขึนไป)

▪ มีการจดั หมวดหมู่ตามการจัดประเภทมาตรฐาน ผลติ ภณั ฑ์ในประเทศ = รายจา่ ยในประเทศ = รายได้ในประเทศ

การจัดประเภทมาตรฐานอตุ สาหกรรมประเทศไทย ปี 2552 (TSIC 2009)

▪ ดาเนนิ การโดย กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
▪ ใช้หลกั เกณฑ์และโครงสรา้ งของการจดั ประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมสากล

(International Standard Industrial Classification) ISIC Rev. 4

A : เกษตรกรรม การปา่ ไม้ และการประมง M : กิจกรรมวชิ าชีพ วิทยาศาสตร์ และกจิ กรรมทาง
B : การทาเหมอื งแร่ และเหมอื งหนิ วิชาการ
C : การผลิต N : กิจกรรมการบรหิ ารและบริการสนบั สนนุ อืน่ ๆ
D : ไฟฟา้ ก๊าซ ไอน้า และระบบการปรบั อากาศ O : การบรหิ ารราชการ การป้องกนั ประเทศ และการ
E : การจดั หาน้า การจดั การนา้ เสยี และของเสีย รวมถงึ ประกันสงั คม ภาคบงั คับ
กจิ กรรมทีเ่ กี่ยวข้อง P : การศกึ ษา
F : การก่อสร้าง Q : กิจกรรมดา้ นสขุ ภาพ และงานสงั คมสงเคราะห์
G : การขายสง่ และการขายปลีก การซ่อมยานยนตแ์ ละ R : ศลิ ปะ ความบนั เทงิ และนันทนาการ
จกั รยานยนต์ S : กจิ กรรมการบริการดา้ นอ่ืน ๆ
H : การขนสง่ และสถานทเี่ ก็บสนิ ค้า T : กจิ กรรมการจ้างงานในครัวเรือน กจิ กรรมการผลิต
I : ท่ีพักแรม และบรกิ ารดา้ นอาหาร สินค้าและบริการ ท่ที าขน้ึ เองเพอื่ ใช้ในครัวเรือน ซงึ่ ไม่
J : ขอ้ มูลขา่ วสาร และการสือ่ สาร สามารถจาแนกกิจกรรมไดอ้ ยา่ ง ชัดเจน
K : กจิ กรรมทางการเงินและการประกนั ภยั U : กิจกรรมขององคก์ ารระหวา่ งประเทศและภาคี
L : กจิ กรรมเก่ียวกับอสงั หาริมทรัพย์ สมาชกิ

การจดั ทา

ผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ
(Gross Domestic Product)

GDP

ผลติ ภัณฑม์ วลรวมในประเทศ
(Gross Domestic Product: GDP)

หมายถึง ผลรวมมลู คา่ ของสนิ คา้ และบรกิ ารขัน้ สดุ ทา้ ย (Final Product)
ท่ีผลติ ขึน้ ได้ภายในประเทศในระยะเวลาหนง่ึ (ปกติ 1 ปี)

สศช. ดำเนนิ กำรใน 2 รปู แบบ คือ

• GDP ณ ราคาประจาปี หรือ ณ ราคาปัจจุบนั (Current Prices) คือ มลู ค่าของ
สนิ ค้าและบริการทผ่ี ลติ ขนึ้ ในปปี จั จบุ นั และคานวณค่าดว้ ยราคาตลาดในปเี ดียวกนั
แสดงถงึ ขนาดของรายไดข้ องประเทศในแต่ละปี

• GDP ณ ราคาทแี่ ทจ้ ริง คือ มูลคา่ ของสินค้าและบริการในรปู ของมูลคา่ ท่แี ทจ้ รงิ
(real term) หรือในเชงิ ปรมิ าณ เนื่องจากไดข้ จัดผลของการเปลย่ี นแปลงทางด้าน
ราคา แสดงถงึ ศักยภาพท่แี ท้จริงของการผลติ และการใช้จา่ ยของระบบเศรษฐกจิ

ผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ
(Gross Domestic Product: GDP)

ความสาคญั ของ GDP

• เปน็ ตวั ชว้ี ดั การเติบโตทางเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ ทาใหท้ ราบวา่
เศรษฐกิจมีการเปล่ียนแปลงอย่างไร เมอ่ื เปรียบเทยี บกบั ปีทีผ่ ่านมาหรอื ปอี นื่ ๆ

• แสดงถึงโครงสรา้ งการผลิตและความสามารถในการผลิตสินค้าของประเทศ
• ใชใ้ นการเปรียบเทยี บฐานะทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (ใช้หลกั การ UN)
• ใช้เป็นข้อมลู พืน้ ฐานในการวิเคราะห์สถานการณ์ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ

การวางแผนพฒั นา รวมถึงการกาหนดเป้าหมายของและนโยบายทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ

ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร (GDP ภาคเกษตร)

▪ GDP ภาคเกษตร หรอื มลู คา่ เพม่ิ ภาคเกษตร เป็นการคานวณ

GDP ทางดา้ นการผลิต ซ่งึ มาจากกจิ กรรมการผลติ ทางการเกษตรใน 5
สาขาการผลิต ประกอบด้วย สาขาพชื สาขาปศุสตั ว์ สาขาประมง สาขา
บรกิ ารทางการเกษตร และสาขาป่าไม้

▪ GDP ภาคเกษตร หรือมลู คา่ เพมิ่ ภาคเกษตร เปน็ การหาผลรวมของมูลค่าสินคา้ เกษตรและบริการทาง

การเกษตรทง้ั หมด หักดว้ ยค่าใชจ้ า่ ยขั้นกลางในการผลิต (คา่ พนั ธ์พุ ืช พันธุส์ ัตว์ ปยุ๋ สารเคมี อาหารสัตว์ น้ามัน

เชอื้ เพลิงและหลอ่ ลน่ื ฯลฯ ยกเว้นค่าจา้ งแรงงาน ค่าเชา่ ท่ีดนิ ค่าพนั ธไ์ุ ม้ผลยืนตน้ ดอกเบี้ย คา่ เสือ่ มอุปกรณท์ ่มี ีอายุ 1 ปี ขน้ึ ไป)

นน่ั คอื มลู คา่ เพมิ่ ภาคเกษตร = มูลค่าการผลติ สินค้าเกษตร - คา่ ใชจ้ า่ ยขน้ั กลางในการผลติ
= (ผลผลิตสนิ ค้าเกษตร X ราคาสินคา้ เกษตรท่ีเกษตรกรขายได)้ –
ค่าใชจ้ า่ ยขนั้ กลางในการผลิต

ความสาคญั ของ GDP ภาคเกษตร

1. เปน็ ตวั ชี้วดั กำรเติบโตทำงเศรษฐกจิ กำรเกษตรในภำพรวมของประเทศ ทำใหท้ รำบวำ่ เศรษฐกจิ

กำรเกษตร มกี ำรเปล่ยี นแปลงอยำ่ งไร เมือ่ เปรยี บเทยี บกบั ปที ่ีผำ่ นมำ
2. แสดงถงึ โครงสรำ้ งกำรผลติ ทำงกำรเกษตร และควำมสำมำรถในกำรผลิตสนิ คำ้ เกษตรของ
ประเทศ
3. ใช้ในกำรเปรียบเทยี บฐำนะทำงเศรษฐกิจกำรเกษตรระหว่ำงประเทศ
4. ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลพน้ื ฐำนในกำรวิเครำะหส์ ถำนกำรณท์ ำงเศรษฐกจิ กำรเกษตรของประเทศ กำรวำง
แผนพฒั นำ รวมถึงกำรกำหนดเปำ้ หมำยของและนโยบำยทำงเศรษฐกจิ กำรเกษตรของประเทศ

แตอ่ ย่างไรก็ตาม GDP เป็ นตวั ชวี้ ัดความก้าวหน้าทางเศรษฐกจิ ของประเทศในภาพรวมเทา่ นั้น ไม่สามารถใช้วัดการ
เตบิ โตของประเทศในทุกมติ ิ เนื่องจากไม่ได้สะท้อนถงึ ความอยดู่ กี ินดแี ละคุณภาพชวี ติ ทแ่ี ทจ้ รงิ ของคนในประเทศ
เน่ืองจาก GDP ภาคเกษตรทเ่ี พม่ิ ขนึ้ หรือลดลง ไม่ไดบ้ ่งชวี้ ่าเกษตรกรทุกคน หรือเกษตรกรส่วนใหญ่ของประเทศจะมี
รายไดเ้ พม่ิ ขนึ้ หรือลดลง นอกจากนี้ การเตบิ โตของภาคเกษตรในระดับสูง ไม่ไดน้ าไปสู่การเพม่ิ ขนึ้ ของ “มาตรฐานการ
ครองชพี ของเกษตรกรทกุ คน” เสมอไป

ข้อมูลเพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับ GDP ภาคเกษตร (เพิ่มเตมิ )

• นยิ ามของสินคา้ และบริการทางการเกษตร ในดา้ น GDP ภาคเกษตร จะไมน่ บั รวมผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ปน็ การแปรรูป เชน่
- มลู ค่าการผลิตข้าวเปลือกนบั เป็น GDP ภาคเกษตร แตม่ ลู ค่าการผลติ ข้าวสารนบั เปน็ GDP ภาคอุตสาหกรรม
- มูลค่าสับปะรดนบั เป็นนับเปน็ GDP ภาคเกษตร แตม่ ลู ค่าสับปะรดกระปอ๋ งนบั เป็น GDP ภาคอตุ สาหกรรม เป็นตน้
ดังนัน แนวทางการเพิม่ มลู คา่ GDP ภาคเกษตร จะเพิม่ ได้จากการเพ่มิ ปริมาณผลผลิต การยกระดบั ราคา และการลด
ตน้ ทนุ การผลิต ***
อย่างไรกต็ าม การแปรรูปสนิ ค้าเกษตรอาจไม่ไดท้ าให้ GDP ภาคเกษตรเพม่ิ ขึ้นโดยตรง แต่จะมผี ลทางอ้อมทีเ่ กดิ จาก
ความตอ้ งการผลผลิต เพื่อแปรรูปเพมิ่ ขึ้น นอกจากนี การสง่ เสริมการแปรรูปสนิ คา้ เกษตรยงั เป็นการสร้างรายได้เพิ่มใหแ้ ก่
เกษตรกรอีกดว้ ย

กรอบแนวคิด นยิ าม
ผลิตภณั ฑภ์ าคและจงั หวดั

กรอบแนวคดิ นยิ าม ผลติ ภัณฑ์ภาคและจงั หวดั

ผลิตภัณฑภ์ าค
Gross Regional Product (GRP)

• หมายถึง มูลค่าของสนิ ค้าและบรกิ ารข้ันสดุ ทา้ ยที่ผลติ

ไดจ้ ากการประกอบการในขอบเขตพ้ืนท่ภี าค
ในรอบระยะเวลาหนง่ึ

• เป็นการคานวณดา้ นการผลติ โดยคานวณมลู คา่ เพมิ่

จากกจิ กรรมการผลิตทุกชนดิ ทดี่ าเนนิ การในพน้ื ที่ภาค
ในรอบระยะเวลา 1 ปี

กรอบแนวคดิ นิยาม ผลติ ภณั ฑ์ภาคและจงั หวดั

ผลิตภณั ฑจ์ ังหวัด
Gross Provincial Product (GPP)

• หมายถงึ มูลคา่ ของสนิ ค้าและบรกิ ารขัน้ สดุ ท้ายทีผ่ ลิต

ได้จากการประกอบการในขอบเขตพ้ืนท่จี ังหวัด
ในรอบระยะเวลาหน่ึง

• เป็นการคานวณด้านการผลติ โดยคานวณมูลค่าเพิม่

จากกิจกรรมการผลิตทุกชนิดท่ีดาเนนิ การในพนื้ ทจี่ ังหวดั
ในรอบระยะเวลา 1 ปี

แนวทางการจดั ทา
ผลิตภณั ฑภ์ าคและจงั หวดั

แนวทางการจัดทาผลติ ภณั ฑภ์ าคและจงั หวดั

• สศช.จัดทาผลิตภัณฑ์ภาค และจงั หวัด

GDP ดว้ ยวิธแี บบบนลงลา่ ง (Top Down)

• เปน็ การกระจายมลู คา่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมใน
ประเทศจากระดบั ภาพรวมทั้งประเทศ
GRP จาแนกย่อยเป็นผลิตภณั ฑ์ภาคและจงั หวดั

• เป็นเคร่ืองชี้วดั ภาวะเศรษฐกจิ และสงั คม

GPP ในระดบั ภาคและจงั หวัด

แนวทางการจดั ทาผลติ ภัณฑภ์ าคและจงั หวัด (ต่อ)

สศช. จดั ทา GDP GRP และ GPP วธิ ี Top Down

GDP

▪ สาขาพชื สานกั งานเศรษฐกจิ
▪ สาขาประมง การเกษตร โดยกองนโยบาย
▪ สาขาปศุสตั ว์ และแผนพัฒนาการเกษตร
GDP GDP ▪ สาขาบรกิ ารทาง ประมาณการ Growth GDP
นอกภาคเกษตร ภาคเกษตร การเกษตร ภาคเกษตร

▪ สาขาป่าไม้ (รายไตรมาส และรายปี)

GRP

GPP

แนวทางการจดั ทาผลิตภัณฑภ์ าคและจงั หวดั (ต่อ)

สศช. จัดทา้ GDP GRP และ GPP วธิ ี Top Down
GDP

GRP

GRP GRP สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร โดย
นอกภาคเกษตร ภาคเกษตร สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 1-12
ประมาณการ GRP ภาคเกษตร
(รายคร่ึงปี และรายปี) เร่มิ ดาเนนิ การใน
ปี 2563

GPP

แนวทางการจัดทาผลิตภณั ฑ์ภาคและจงั หวัด

สศช. จดั ทา GDP GRP และ GPP วิธี Top Down

GDP

GRP

GPP

GPP GPP สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร โดยสานกั งาน
นอกภาคเกษตร ภาคเกษตร เศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 1-12 ประมาณการ
GPP ภาคเกษตร ระดบั จังหวดั (รายไตรมาส
และรายป)ี ในปี 2562 จัดทา 53 จงั หวัด
ในปี 2563 จดั ทา 76 จังหวดั

การประมาณการ และจัดทารายงาน
ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตร ของ สศก.

ใช้วธิ กี ารคานวณการขยายตัวผลติ ภณั ฑ์มวลรวมภาคเกษตร
(Growth GDP ภาคเกษตร)

• ตงั แต่ปี พ.ศ. 2560 กนผ. สศก. / ปี 2562 สศท.1-12 มกี ารเปล่ียนวิธีการคานวณ
จากวิธปี ีฐานคงที่ (Fixed-weighted Volume Measure) เป็นแบบปรมิ าณลูกโซ่
(Chain Volume Measures: CVM) ใหเ้ หมอื นกับ สศช. ที่เริ่มดา้ เนนิ กอ่ นมาหลายปี
แล้ว
เนอ่ื งจากการคานวณดว้ ยวธิ ปี ฐี านคงท่มี ขี ้อจากัดหลายประการ ไดแ้ ก่ 1) ปีที่ถูกเลอื ก
เปน็ ปีฐานควรเป็นปที ่ีเศรษฐกิจมคี วามเป็นปกติ 2) โครงสรา้ งของระบบเศรษฐกิจคงที่
3) ไม่สามารถเพมิ่ กิจกรรมการผลิตใหม่ ๆ ได้ และ 4) มรี ะยะเวลาในแต่ละช่วงปฐี าน
จึงต้องปรับปฐี านอยู่เสมอ

อตั รำกำรเติบโตของภำคเกษตร หรอื Growth GDP ภำคเกษตร

• สศก. มีกำรรำยงำนภำวะเศรษฐกจิ กำรเกษตรเป็นรำยไตรมำสและรำย
ปี พร้อมท้งั คำดกำรณ์แนวโนม้ ปตี ่อไป โดยในแต่ละไตรมำสจะรวบรวม
ข้อมูลเพื่อประมำณกำรอัตรำกำรเตบิ โตของภำคเกษตร หรอื Growth
GDP ภำคเกษตร โดยคำนวณ GDP ทำงด้ำนกำรผลติ ณ รำคำท่แี ทจ้ ริง
หรอื แบบปรมิ ำณลูกโซ่ (Chain Volume Measures: CVM) จำก
กิจกรรมกำรผลติ สินคำ้ และบรกิ ำรทำงกำรเกษตร

ประกอบด้วย 5 สำขำกำรผลติ สำขำพชื สำขำปศุสตั ว์ สำขำประมง สำขำ
บรกิ ำรทำงกำรเกษตร และสำขำปำ่ ไม้

การจดั ทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด ของ สศก.

ดาเนนิ การใน 3 ขัน้ ตอน คือ
ขัน้ ตอนที่ 1 จัดทาฐานข้อมลู โดยใช้ข้อมูลผลิตภณั ฑ์จังหวดั ภาคเกษตร (GPP ภาคเกษตร) 5 สาขาการ
ผลิต (สาขาพชื สาขาปศุสัตว์ สาขาประมง สาขาบริการทางการเกษตร และสาขาป่าไม้) แบบ CVM ของ
สศช. และขอ้ มลู ดชั นีเศรษฐกิจการเกษตร (ดัชนีผลผลิตสินคา้ เกษตร ดชั นีราคาท่ีเกษตรกรขายได้
และดชั นีรายไดเ้ กษตรกร) ของ สศท.1-12
ขั้นตอนท่ี 2 ประมาณการ GPP ภาคเกษตร จากตัวแปรทางเศรษฐกิจท่ีเก่ียวข้อง โดยใช้
แบบจาลองถดถอยอย่างงา่ ย หรือแบบจาลองถดถอยเชงิ ซ้อน รวมทงั้ พิจารณาความสอดคลอ้ ง
ระหวา่ งเคร่อื งชีภ้ าวะเศรษฐกิจการเกษตรกบั อตั ราการเติบโตของ GPPภาคเกษตร และสาขาการผลิต
ตา่ ง ๆ
ขนั้ ตอนท่ี 3 จัดทารายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด เพ่ืออธิบายผลการประมาณ
การและสถานการณภ์ าวะเศรษฐกิจการเกษตรระดบั จงั หวดั นาเสนอในเวทีการประชมุ ระดบั จงั หวดั
เช่น อพก. CoO การประชุมคณะทางานขบั เคล่ือนแผนงานบูรณาการพฒั นาพืน้ ท่ีระดบั ภาค การ
ประชมุ ตรวจราชการของ ผตร.กษ. ฯลฯ

การประมาณการภาวะเศรษฐกิจการเกษตร

GPP ภาคเกษตรรายปี

ใช้ข้อมลู GPP ภาคเกษตร ของ สศช. ดัชนีผลผลิตสนิ ค้าเกษตรรายปี
ใน 5 สาขาการผลติ ไดแ้ ก่ พชื ปศสุ ัตว์ ประมง (คานวณ โดย สศท. 1-12)

บรกิ ารทางการเกษตร และปา่ ไม้
(ขอ้ มูล Top down จาก สศช.)

หาความสมั พนั ธร์ ะหว่าง GPP ภาคเกษตร (ตวั แปรตาม)
และดัชนีผลผลติ (ตัวแปรอสิ ระ) โดยใชแ้ บบจาลองรายปี

ประมาณการ GPP ภาคเกษตรรายปี
โดยใชด้ ชั นผี ลผลติ รายปเี ปน็ เคร่ืองช้ี

ผลการประมาณการ ดุลพนิ ิจของผจู้ ดั ทา
GPP ภาคเกษตรรายปี

การเขยี นรายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรรายปี

การประมาณการภาวะเศรษฐกิจการเกษตร

GPP ภาคเกษตรรายไตรมาส

แตกข้อมลู GPP ภาคเกษตรรายปี ให้เปน็ รายไตรมาส ดัชนีผลผลติ สินค้าเกษตรรายไตรมาส
ใน 5 สาขาการผลติ (คานวณ โดย สศท.)

(ข้อมลู รายปจี าก สศช. และคานวณรายไตรมาส โดย สศท.)

หาความสัมพันธ์ระหวา่ ง GPP ภาคเกษตร (ตวั แปรตาม)
และดัชนผี ลผลติ (ตัวแปรอิสระ) โดยใช้แบบจาลองรายไตรมาส

ประมาณการ GPP ภาคเกษตรรายไตรมาส
โดยใชด้ ัชนผี ลผลิตรายไตรมาสเป็นเคร่ืองชี้

ผลการประมาณการ ดลุ พินิจของผจู้ ดั ทา
GPP ภาคเกษตรรายไตรมาส

การเขยี นรายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรรายไตรมาส

การจดั ทารายงานภาวะเศรษฐกจิ การเกษตร

ข้อควรรู้

• กำรรำยงำนภำวะเศรษฐกจิ กำรเกษตรระดับจงั หวัด เปน็ กำรรำยงำนผล
กำรประมำณกำรภำวะเศรษฐกิจกำรเกษตรและสถำนกำรณส์ นิ คำ้
เกษตรที่สำคญั ของแตล่ ะจังหวดั โดยทศิ ทำงกำรเติบโตของเศรษฐกจิ
กำรเกษตรในระดับจงั หวดั อำจไมส่ อดคลอ้ งกับในระดบั ประเทศ ทั้งน้ี
ขึ้นอยกู่ ับสนิ ค้ำหลกั และปจั จัยแวดลอ้ มของแต่ละจังหวัด

การพยากรณ์ อาศยั การบูรณาการ 3 แนวคดิ

1. พยากรณ์โดยอาศัย ประสบการณ์ / ความชานาญท้ังจากผู้พยากรณ์ และ
เจ้าหน้าทีห่ น่วยงานภาครฐั ในการใหข้ อ้ คดิ เห็นตอ่ สถานการณก์ ารผลติ สินคา้

2. พยากรณโ์ ดยอาศัย เหตกุ ารณ์ / หลกั ฐานจากการลงพื้นที่ตดิ ตามสถานการณ์
รายสนิ คา้ จากแหล่งผลติ สินคา้ ท่ีสาคัญ

3. การพยากรณ์ทางสถิติ โดยใช้ ข้อมูลอนุกรมเวลา เป็นเคร่ืองมือในการ
พยากรณ์ ซึ่งค่าพยากรณ์นั้นยืนอยู่บนความถูกต้องของฐานข้อมูลสารสนเทศ
ของ สศก. ซ่ึงเป็นหน่วยงานจัดทา และเผยแพร่ข้อมูลสถิติการเกษตรของ
ประเทศไทย

การจดั ทารายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตร

การนาไปใช้ประโยชน์

• ใชร้ ายงานสถานการณเ์ ศรษฐกจิ การเกษตรของจงั หวดั และเปน็ ขอ้ มลู
สาหรบั เตือนภัย

• ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการเปรยี บเทยี บภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ระดบั การ
พฒั นา และรายไดร้ ะหวา่ งจังหวัด

• ใชใ้ นการจัดทาแผนพฒั นาการเกษตรของจงั หวัด
• ใชเ้ ป็นเครื่องมือในการวางแผนโครงการ กาหนดนโยบาย และมาตรการ

แก้ปญั หาทางดา้ นการเกษตรของภาครัฐระดบั จังหวดั
• ใช้ในการติดตามประเมนิ ผลการพฒั นาดา้ นการเกษตรของจังหวัด

เป้าหมาย ตัวช้วี ดั ประเดน็ การเกษตร
ตามแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี

และขอ้ เสนอแนะของ สศท.2 พิษณุโลก

เป้าหมายผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศสาขาเกษตรเพม่ิ ขึน้ โดยก้าหนดตวั ชวี ัดให้ Growth GDP เทา่ กับ 3.8 เป็นการ

ประมาณการโดย สศช. ซง่ึ เปน็ การกา้ หนดค่าเปา้ หมายด้วยการประมาณการในภาพรวมของประเทศ ไมไ่ ด้กา้ หนดชีเฉพาะเปน็ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมระดับจงั หวดั (GPP) วา่
แตล่ ะจังหวัดจะตอ้ งมี Growth GPP ร้อยละ 3.8 (อา้ งองิ ข้อมูล : ปี 63 ของ สศช. Growth GDP ภาคเกษตรของ สศช. -3.4 % / ปี 63 ของ สศช. Growth GDP ภาค
เกษตรของ สศช. -3.3 % และแนวโน้มปี 64 ของสศก. Growth GDP ภาคเกษตร (+1.3)-(+2.3) (หรือ +1.8%) คาดการณ์ไว้ต่้าเน่อื งจากสถานการณ์ covid/
ผลกระทบตอ่ เนือ่ งจากภยั แลง้ ในปที ผี่ า่ นมา ดงั นัน หากตอ้ งการให้ Growth GDP เท่ากับ 3.8 % จะตอ้ งนา้ ค่าGrowth GDP 5 ปมี าเฉล่ีย) จะท้าให้ทราบวา่ ในปี 64-65
จะตอ้ งมี Growth GDP เทา่ ไหร่ ซง่ึ ณ ขณะนี คาดว่าตอ้ งขับเคลื่อนนโยบาย มาตรการ กิจกรรม ให้ Growth GDP มากกวา่ 5 % ใหไ้ ด้ )
ในการประมาณการ GDP และ GPPภาคเกษตร(คิดผลผลิตหน้าฟารม์ ) ในรายสนิ คา้ จะเกี่ยวขอ้ งทงั ทางดา้ นปริมาณผลผลิต และราคา ซง่ึ Climate Change
ส่งผลกระทบมากกบั Q และสถานการณร์ าคาทีต่ กต่้า หรือผนั ผวน กระทบกบั P เพราะเกย่ี วข้องกับกลไกตลาด ดังนนั้ จงึ เป็นสิง่ ท่ียากหากจะตอ้ งคานวณ
Growth GPP ของแต่ละจงั หวัดว่าควรเป็นเทา่ ไหร่ จึงจะผลักดนั ให้ Growth GDP ให้ได้ 3.8 %

ส่วนเป้าหมายผลิตภาพการผลิตภาคเกษตรเพมิ่ ขนึ้ โดยกำหนดตวั ชีว้ ดั อตั รำผลิตภำพกำรผลติ ภำคเกษตรเพ่มิ ขนึ้ รอ้ ยละ 1.2 หมำยถึง

มีสดั สว่ นของปริมาณผลผลติ /ปัจจัยการผลติ =1.2% ตวั ชีว้ ดั นีด้ ำเนินกำรโดย สศช. เชน่ กนั ซงึ่ เป็ นการประมาณการในภาพรวมประเทศ ส่ิงท่ี
กระทรวงเกษตรฯ สำมำรถทำได้ คอื ส่งเสริมการใช้ปัจจัยการผลิตในปริมาณทเ่ี หมาะสมท่ัง ป๋ ุย และนา้ เพอื่ ให้ไดป้ รมิ าณผลผลติ มาก ซง่ึ จะ
สะท้อนถงึ ผลิตภาพการผลติ ในสินค้าชนิดน้ันๆเพม่ิ มากขนึ้ ดว้ ย

February 25, 2021 31

ปัจจยั ทสี่ ่งผลต่อกำรขยำยตวั ของ GDP ภำคเกษตร

• กำรท่ี GDP ภำคเกษตรจะขยำยตวั มำกหรอื น้อย ขึ้นอยกู่ บั หลำยปจั จยั
ไดแ้ ก่ ปรมิ ำณผลผลิตสินค้ำเกษตร รำคำผลผลิต ต้นทนุ กำรผลติ ปัจจยั
ทำงธรรมชำติในแตล่ ะปี (สภำพภูมิอำกำศ ปริมำณนำ้ ภยั แลง้ น้ำท่วม
วำตภยั กำรระบำดของโรคและแมลงศตั รพู ชื /สัตว์ รวมทงั้ ปจั จัย
แวดลอ้ ม ภำวะเศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศ กำรขบั เคลอ่ื นงำนเพอื่
สง่ เสริมสนับสนุนด้ำนกำรผลติ ของหนว่ ยงำนต่ำงๆในระดับพน้ื ที่ และ
ปัจจยั ภำยนอก อำทิ เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจของประเทศคคู่ ำ้ ซง่ึ ส่งผล
ตอ่ กำรผลิต และกำรค้ำสินคำ้ เกษตร

ขอ้ เสนอแนะทีส่ นับสนุนให้ Growth GPP ภาคเกษตร และผลติ ภาพการผลติ สินคา้ เกษตร เพมิ่ ขึ้น
คอื ตอ้ งผลักดนั /ดาเนินกิจกรรม ที่ทาให้มลู คา่ (Y) = P * Q เพิ่มข้นึ ใหไ้ ด้

(ที่มา : ผลการพยากรณ์ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ของ สศก.) ไดแ้ ก่

1. เพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลิตสนิ ค้าเกษตรท่สี าคัญ โดยเพิม่ ผลผลติ ตอ่ ไร่ ดว้ ยการปรับปรุงคณุ ภาพ

ดิน ลดต้นทุนการผลิตและใช้ปจั จัยการผลติ ต่างๆในปรมิ าณท่ีเหมาะสมเพ่ือเพ่ิมอัตราผลิตภาพ

การผลติ (เปน็ การดาเนินกจิ กรรมทีท่ าใหป้ รมิ าณผลผลติ (Quatity : Q) เพ่มิ )

2. พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน : โดยสรา้ ง/ปรบั ปรุงซ่อมแซมแหล่งกกั เกบ็ นา้ ให้เพียงพอและใชก้ ารได้

ในพื้นท่ีทาการเกษตร อีกทงั้ สนบั สนุนให้เกษตรกรเพม่ิ จานวนแหล่งนา้ ในไร่นาของตนเอง

เพราะน้าเป็นปัจจยั ทมี่ อี ิทธิพลต่อปรมิ าณและคณุ ภาพของผลผลิต ซึ่งสง่ ผลต่อรายไดท้ ่เี กษตรกร

จะได้รบั (เปน็ การดาเนินกจิ กรรมทท่ี าใหป้ ริมาณผลผลติ (Quatity : Q) เพิ่ม )

3. เพม่ิ มูลค่าสินคา้ เกษตร : โดยปรับปรุงคุณภาพผลผลติ ก่อนจาหน่าย เนน้ ผลติ ตามมาตรฐาน

GAP/อินทรยี ์ และแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ ส่งเสรมิ การผลิตสินคา้ อัตลกั ษณ/์ GI เพ่ือสร้างมูลค่าเพม่ิ

(เป็นการดาเนนิ กจิ กรรมทท่ี าให้ ราคา (Price : P) เพิ่ม )

4. เน้นการตลาดนาการผลติ โดยวางแผนการผลิตและบริหารจดั การสินค้าให้สอดคลอ้ งกบั ปริมาณ

ความตอ้ งการ (Demand) และชว่ งเวลาท่ีตลาดตอ้ งการ (เป็นการดาเนนิ กิจกรรมท่ีทาให้ ราคา (Price

: P) เพมิ่ ) สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 พษิ ณุโลก

Thank You...


Click to View FlipBook Version