The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สถานการณ์การผลิต การตลาด สินค้าเกษตรที่สำคัญ (ต.ค.-พ.ย. 65)

สศท.2 รวม 6 จังหวัด 65

สถานการณก์ ารผลติ การตลาด สินค้าเกษตรสาคัญ ตามหว้ งฤดกู าล

(ชว่ งเดือนตลุ าคม-พฤศจิกายน ปี 2565)

ในพื้นที่รับผดิ ชอบ 6 จังหวดั ของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2
(พษิ ณโุ ลก สุโขทัย ตาก อุตรดติ ถ์ แพร่ และน่าน)

(ปรับปรุงข้อมลู ณ 11 พฤศจิกายน 2565)

ส่วนสารสนเทศการเกษตร สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2 พิษณุโลก

ชนิดสนิ คา้ เกษตรสาคญั ทอ่ี อกสตู่ ลาด หนา้ 2

ชว่ งเดอื นสิงหาคม-กันยายน 2565

หน้า

ถั่วเหลอื งรนุ่ ท่ี 1 ปี 2565 35-41

สับปะรด ปี 2565 35-41

ลองกอง ปี 2565 52-59

เงาะ ปี 2565 42-51

ยางพารา ปี 2565 60-74

ปาลม์ นามัน ปี 2565 75

ทุเรียน ปี 2565 52-59

ลาไย ปี 2565 52-59

กาแฟ ปี 2565 52-59

มันฝร่ัง ปี 2565 52-59

หอมแดง ปี 2565 52-59

หนา้ 4

ถ่ัวเหลืองร่นุ 1 ปีเพาะปลูก 2565/66 จังหวดั พิษณโุ ลก

(ข้อมูลคาดการณ์ ณ วันท่ี 26 ตลุ าคม 2565)

เนือทเ่ี พาะปลูก ลดลงร้อยละ 14.29 อย่ทู ี่ 396 ไร่ จากปี 2564/65 (462ไร)่ เนอื่ งจากเกษตรกรปรับเปล่ียนไปปลกู ขา้ วนาปี และข้าวโพดเล้ียงสัตว์
เนือที่เกบ็ เกีย่ ว ลดลงร้อยละ 22.94 อยทู่ ่ี 356 ไร่ จากปี 2564/65 (462 ไร)่
ผลผลติ ลดลงเล็กน้อยร้อยละ 23.62 อยู่ที่ 97 ตนั จากปี 2564/65 (127 ตนั ) จากเนอ้ื ที่เกบ็ เกี่ยวทีล่ ดลง
ผลผลติ ตอ่ ไร่ ลดลงร้อยละ 3.64 อยูท่ ่ี 265 กโิ ลกรัม/ไร่ จากปี 2564/65 (275 กโิ ลกรัม/ไร)่ เนอื่ งจากฝนตกชกุ มากเกินไปสง่ ผลใหผ้ ลผลิตเสยี หาย
ระยะการเจรญิ เตบิ โต ณ ปัจจบุ นั อยใู่ นช่วงการเกบ็ เกยี่ ว

ชว่ งที่ผลผลิตออกสตู่ ลาด ชว่ งเดือน พฤศจิกายน – ธนั วาคม 65 โดยออกมากถงึ ร้อยละ 60 ในชว่ งเดอื นพฤศจิกายน

(แหลง่ ข้อมูล : สว่ นสารสารเทศการเกษตร สศท.2 สศก., เศรษฐกจิ การเกษตรอาสา (ศกอ.) และสานกั งานเกษตรจงั หวดั ในเขตพื้นท่ีรบั ผดิ ชอบ)

หนา้ 5

คาดการณ์ภาวะการผลติ ถ่ัวเหลืองร่นุ 1

ปี 2565/2566 จงั หวัดพษิ ณุโลก

(ณ วนั ท่ี 26 ตลุ าคม 2565)

เนอ้ื ท่เี พาะปลูก เนือ้ ทเ่ี กบ็ เก่ียว ผลผลติ ตอ่ ไร่

462ปี 2564 ไร่ 462ปี 2564 ไร่ 275ปี 2564 ก.ก./ไร่

396ปี 2565 ไร่ ปี 2565 356 ไร่ 265ปี 2565 ก.ก./ไร่
ลดลง 66 ไร่ ลดลง 106 ไร่
คิดเปน็ 14.29 % คดิ เปน็ 22.94 % ลดลง 10 ก.ก./ไร่

คิดเป็น 3.64 %

ผลผลิตรวม ผลผลติ รายเดือน

ปี 2564 127 ตนั ผลผลติ /ไร่/เน้อื ท่ีเกบ็ เกี่ยว ปรมิ าณผลผลิตรวม ปี 2565
97ปี 2565 ตนั พ.ย. ธ.ค.
(หนว่ ย : ตนั )
ลดลง 30 ตนั 62.96 41.98
คิดเปน็ 23.62 % ผลผลติ /ไร่ 265.00 ผลผลิต 97 60.00 40.00
เนือ้ ท่เี ก็บเกย่ี ว 365.00
ร้อยละ 100.00

หนา้ 6

เพยี งพอ ถ่ัวเหลืองรุ่น 1 ปีเพาะปลูก 2565/66 จังหวดั ตาก

(ข้อมูลคาดการณ์ ณ วนั ที่ 26 ตุลาคม 2565)

เนือท่ีเพาะปลูก เพ่ิมขึ้นร้อยละ 60.00 อยู่ท่ี 136 ไร่ จากปี 2564/65 (85 ไร่) เพ่ิมข้ึนเนื่องจากเกษตรกรปลูกแทนข้าวโพดเล้ียงสัตว์ และจากท่ีปริมาณฝนดี มีน้า

เนอื ที่เก็บเก่ียว เพิ่มขึ้นร้อยละ 76.62 อยูท่ ่ี 136 ไร่ จากปี 2564/65 (77 ไร)่
ผลผลิต เพมิ่ ข้นึ รอ้ ยละ 82.35 อยู่ที่ 31 ตนั จากปี 2564/65 (17 ตัน) จากเนื้อท่เี กบ็ เกี่ยวทเ่ี พิม่ ขนึ้
ผลผลติ ตอ่ ไร่ เพ่ิมขึนรอ้ ยละ 14.50 อยูท่ ่ี 229 กโิ ลกรัม/ไร่ จากปี 2564/65 (200 กโิ ลกรัม/ไร)่ เนื่องจากฝนตกดีน้าเพียงพอ
ระยะการเจริญเตบิ โต ณ ปจั จบุ นั อยใู่ นช่วงฤดูเกบ็ เกยี่ ว

ชว่ งท่ผี ลผลติ ออกสตู่ ลาด ชว่ งเดอื น พฤศจิกายน 65 โดยออกมากถึง ร้อยละ 100

(แหลง่ ขอ้ มูล : สว่ นสารสารเทศการเกษตร สศท.2 สศก., เศรษฐกจิ การเกษตรอาสา (ศกอ.) และสานกั งานเกษตรจงั หวดั ในเขตพืน้ ท่รี บั ผิดชอบ)

คาดการณ์ภาวะการผลติ ถว่ั เหลืองรุน่ 1 หน้า 7

ปีเพาะปลูก 2565/2566 จงั หวัดตาก

(ณ วนั ท่ี 26 ตุลาคม 2565)

เนือ้ ทเ่ี พาะปลูก เนอ้ื ทีเ่ ก็บเกย่ี ว ผลผลติ ตอ่ ไร่

85ปี 2564 ไร่ 77ปี 2564 ไร่ 240ปี 2564 ก.ก./ไร่

136ปี 2565 ไร่ ปี 2565 136 ไร่ 229ปี 2565 ก.ก./ไร่
เพ่ิมข้ึน 51 ไร่ เพ่มิ ขึน้ 59 ไร่
คิดเปน็ 60.00 % คิดเป็น 76.62 % ลดลง 11 ก.ก./ไร่

คดิ เปน็ 14.50 %

ผลผลติ รวม ผลผลิตรายเดอื น

17ปี 2564 ตัน

31ปี 2565 ตนั

เพม่ิ ข้นึ 14.00 ตนั
คดิ เปน็ 82.35 %

หนา้ 8

ถวั่ เหลอื งร่นุ 1 ปีเพาะปลูก 2565/66 จังหวดั อุตรดิตถ์

(ขอ้ มลู คาดการณ์ ณ วันท่ี 26 ตุลาคม 2565)

เนอื ท่ีเพาะปลกู เพ่มิ ข้ึนร้อยละ 68.00 อยู่ที่ 709 ไร่ จากปี 2564/65 (422 ไร่) เพ่ิมข้ึนเนื่องจากเกษตรกรปลูกแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มีโครงสนับสนุนเมล็ดพันธ์จาก

หนว่ ยงานภาครัฐ และจากที่ปรมิ าณฝนดี มนี ้าเพียงพอ

เนือทเ่ี ก็บเก่ยี ว เพ่มิ ขึน้ รอ้ ยละ 68.00 อย่ทู ่ี 709 ไร่ จากปี 2564/65 (422 ไร)่
ผลผลติ เพม่ิ ข้นึ รอ้ ยละ 61.93 อยูท่ ่ี 164 ตัน จากปี 2564/65 (101.28 ตนั ) จากเนื้อทีเ่ ก็บเกีย่ วทีเ่ พมิ่ ข้นึ
ผลผลติ ตอ่ ไร่ ลดลงรอ้ ยละ 3.75 อยู่ท่ี 231 กโิ ลกรัม/ไร่ จากปี 2564/65 (240 กิโลกรมั /ไร)่ เนื่องจากฝนตกชกุ มากเกนิ ไปส่งผลให้ผลผลิตเสยี หาย
ระยะการเจรญิ เติบโต ณ ปจั จุบนั อยใู่ นช่วงใกล้ฤดูเกบ็ เกย่ี ว

ชว่ งทีผ่ ลผลิตออกสตู่ ลาด ชว่ งเดอื น พฤศจิกายน 65 โดยออกมากถึง รอ้ ยละ 100

(แหล่งขอ้ มูล : สว่ นสารสารเทศการเกษตร สศท.2 สศก., เศรษฐกิจการเกษตรอาสา (ศกอ.) และสานกั งานเกษตรจังหวัด ในเขตพน้ื ท่ีรบั ผิดชอบ)

หนา้ 9

คาดการณ์ภาวะการผลติ ถั่วเหลืองรนุ่ 1

ปี 2565/2566 จังหวดั อุตรดิตถ์

(ณ วนั ท่ี 26 ตลุ าคม 2565)

เนอื้ ท่ีเพาะปลกู เนอ้ื ทเี่ กบ็ เก่ียว ผลผลิตตอ่ ไร่

422ปี 2564 ไร่ 422ปี 2564 ไร่ 240ปี 2564 ก.ก./ไร่

709ปี 2565 ไร่ ปี 2565 709 ไร่ 231ปี 2565 ก.ก./ไร่
เพมิ่ ขน้ึ 287 ไร่ เพ่ิมขึน้ 287 ไร่
คิดเป็น 68.00 % คดิ เป็น 68.00 % ลดลง 9 ก.ก./ไร่

คดิ เป็น 3.75 %

ผลผลติ รวม ผลผลติ รายเดือน

ปี 2564101.28ตัน
164ปี 2565 ตัน

เพมิ่ ข้นึ 61.93 ตนั

คิดเปน็ 38.24 %

ถั่วเหลืองรุ่น 1 ปเี พาะปลูก 2565/66 จังหวดั แพร่ หนา้ 10

เน้อื ทีเ่ พาะปลกู 120 ไร่ ลดลงรอ้ ยละ 16.67 จากปี 2564/65 (144ไร่) เนอ่ื งจาก เกษตรกรปรับเปลย่ี นไปปลูกขา้ วนาปี
เพราะคาดว่าปริมาณน้าจะมีเพียงพอต่อการเพาะปลูกข้าว บางสว่ นปล่อยพนื้ ทวี่ ่าง
สถานการณภ์ ัยแลง้ รุนแรงน้อยกวา่ ปีท่ผี ่านมา
เนือ้ ที่เก็บเกีย่ ว 96 ไร่ เพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 28 จากปี 2564/65 (75 ไร)่ เน่ืองจาก ปริมาณฝนนา้ เพียงพอ ทา้ ให้มพี นื้ ทเ่ี สยี หายจากภัยแล้งลดลง
ผลผลติ 23 ตัน เพม่ิ ขึน้ ร้อยละ 15 จากปี 2564/65 (20 ตนั ) เนื่องจาก มเี นอื้ ท่เี กบ็ เก่ยี วเพิม่ ขน้ึ
ผลผลิตเฉลี่ย 242 กโิ ลกรมั /ไร่ ลดลงรอ้ ยละ 9.36 จากปี 2564/65 (267 กิโลกรมั /ไร)่ เนอื่ งจาก มปี ริมาณฝนตกชกุ มากเกนิ ไป ส่งผลให้
ผลผลติ เกดิ การเน่าเสยี หาย

ระยะการเจริญเติบโต ณ ปัจจุบนั อยใู่ นชว่ งการเจรญิ เติบโต

ช่วงทผี่ ลผลิตออกส่ตู ลาด อย่ใู นช่วงเดอื น ธนั วาคม 65
(แหล่งขอ้ มลู : ส่วนสารสารเทศการเกษตร สศท.2 สศก., เศรษฐกจิ การเกษตรอาสา (ศกอ.) และสานักงานเกษตรจงั หวัด ในเขตพ้ืนท่รี บั ผิดชอบ)

คาดการณถ์ ่วั เหลืองรุน่ 1 ปเี พาะปลูก หน้า 11
ภาวะการผลิต จังหวัดแพร่
2565/66

( ณ วนั ท่ี 26 ตุลาคม 2565)

เน้อื ทเ่ี พาะปลูก เน้ือท่เี กบ็ เก่ยี ว ผลผลติ ต่อไร่

144ปี 2564 ไร่ 75ปี 2564 ไร่ 267ปี 2564 ก.ก./ไร่

120ปี 2565 ไร่ 96ปี 2565 ไร่ 242ปี 2565 ก.ก./ไร่

ลดลง 24 ไร่ เพมิ่ ขน้ึ 21 ไร่ ลดลง 25 ก.ก./ไร่
คดิ เป็น 16.67 % คดิ เป็น 28 % คิดเปน็ 9.36 %

ผลผลิตรวม ผลผลิตรายเดอื น

20ปี 2564 ตนั
23ปี 2565 ตนั

เพมิ่ ขน้ึ 3 ตัน
คดิ เปน็ 15 %

หน้า 12

ถ่ัวเหลือง รนุ่ 1 ปีเพาะปลกู 2565/66 จงั หวัดนา่ น

(ข้อมลู คาดการณ์ ณ วนั ท่ี 26 ตุลาคม 2565)

เนอื ท่ีเพาะปลกู ลดลงรอ้ ยละ 21.37 อยู่ท่ี 688 ไร่ จากปี 2564/65 (875 ไร)่ เน่ืองจากสถานการณ์ราคาปัจจัยการผลติ (ปุ๋ย- ยา) ท่ีปรับตวั สูงข้นึ มาก เมลด็ พนั ธ์ขุ าดแคลน

ราคาไมจ่ งู ใจ เกษตรกรจึงปรับเปลยี่ นมาปลกู ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ และข้าวนาปีแทน จากสถานการณ์ราคาดีและมีแรงจูงใจจากภาครัฐในโครงการประกันรายได้ฯ บางรายปล่อย
พน้ื ทวี า่ งจากต้นทนุ การผลิตที่ปรับตวั สงู ข้นึ ดูไม่คมุ้ คา่ กับการลงทนุ

เนือทเี่ กบ็ เกย่ี ว ลดลงรอ้ ยละ 21.37 อยูท่ ่ี 688 ไร่ จากปี 2564/65 (875 ไร)่ ลดลงตามเนื้อท่ีเพาะปลูก
ผลผลิต ลดลงร้อยละ 20.72 อยูท่ ่ี 199 ตัน จากปี 2564/65 (251 ตนั ) ลดลงตามเนื้อทีเ่ พาะปลูก
ผลผลิตต่อไร่ เพิ่มข้ึนรอ้ ยละ 0.70 อย่ทู ่ี 289 กโิ ลกรัม/ไร่ จากปี 2564/65 (287 กิโลกรัม/ไร)่ เน่อื งจากคาดวา่ มีปรมิ าณน้าฝนเพยี งพอในช่วงการปลูก

และตกตอ่ เนอ่ื งในชว่ งเวลาที่เหมาะสม ทาให้ต้นถัว่ เหลอื งมคี วามสมบูรณ์ ตดิ ดอกและออกผลดีกว่าปที ีผ่ า่ นมา

ระยะการเจริญเติบโต ณ ปัจจบุ นั อยู่ในช่วงเร่มิ ฤดกู ารเกบ็ เกย่ี ว

ชว่ งท่ผี ลผลิตออกสตู่ ลาด ชว่ งเดอื น ตลุ าคม 2565 - ธนั วาคม 2566 โดยออกมากถึง ร้อยละ 90 ในช่วงเดอื นพฤศจิกายน 2565

(แหล่งขอ้ มลู : ส่วนสารสารเทศการเกษตร สศท.2 สศก., เศรษฐกิจการเกษตรอาสา (ศกอ.) และสานักงานเกษตรจงั หวัด ในเขตพ้นื ที่รับผิดชอบ)

หน้า 13
ถวั่ เหลือง รุ่น 1
คาดการณ์ภาวะการผลิต ปี 2565/2566 จังหวัดนา่ น

(ณ วันท่ี 26 ตลุ าคม 2565)

เนือ้ ที่เพาะปลูก เนอื้ ทเี่ กบ็ เกย่ี ว ผลผลติ ตอ่ ไร่

875ปี 2564 ไร่ 875ปี 2564 ไร่ 287ปี 2564 ก.ก./ไร่

688ปี 2565 ไร่ ปี 2565 688 ไร่ 289ปี 2565 ก.ก./ไร่
ลดลง 187 ไร่ ลดลง 187 ไร่
คิดเปน็ 21.37 % คดิ เปน็ 21.37 % เพม่ิ ข้ึน 2 ก.ก./ไร่

คิดเป็น 0.70 %

ผลผลิตรวม ผลผลิตรายเดอื น

ปี 2564 251 ตนั
ปี 2565 199 ตัน

ลดลง 52 ตนั
คดิ เป็น 20.72 %

สถานการณ์การผลติ สับปะรด ปี 2565 ภาคเหนอื หน้า 14
ภาพรวมในเขตพืนที่รบั ผิดชอบ 2 จงั หวดั ไดแ้ ก่ พษิ ณโุ ลก และอตุ รดิตถ์

(ณ วันท่ี 1 กันยายน 2565)

เนือท่ีเพาะปลูก ลดลงร้อยละ 3.16 อย่ทู ่ี 46,250 ไร่ จากปี 2564 (47,757 ไร)่ เนอื่ งจากราคาทเ่ี กษตรกรขายไดไ้ ม่ดีนกั

ตงั แต่เกดิ การระบาดของไวรัส COVID-19 ทสี่ ง่ ผลกระทบต่อภาคการผลติ ในอุตสาหกรรมแปรรูป การส่งออก

อีกทงั ตน้ ทนุ การผลติ เพ่ิมสงู ขนึ จากราคาปยุ๋ เคมที ่ปี รับตวั เพ่ิมเกือบเทา่ ตัว เกษตรกรจงึ ปรับเปลย่ี นไปทาสวนไม้ผล

ผสมผสาน ทเุ รยี น เงาะ ยางพารา มนั สาปะหลัง และขา้ วโพดเลยี งสตั ว์

เนอื ทเี่ กบ็ เกี่ยว ลดลงรอ้ ยละ 4.19 อยู่ที่ 45,250 ไร่ จากปี 2564 (47,228 ไร)่ จากเนือที่ปลูกทลี่ ดลง

ปรมิ าณผลผลติ รวม เพิ่มขนึ เล็กนอ้ ยรอ้ ยละ 0.85 อยู่ที่ 165,514 ตนั จากปี 2564 (164,115 ตนั )

จากผลผลติ ต่อไรท่ เี่ พ่มิ ขนึ ในขณะที่เนอื ทเ่ี กบ็ เกย่ี วลดลง

ผลผลติ ตอ่ ไร่ เพิ่มขึนร้อยละ 8.14 อย่ทู ่ี 3,758 กโิ ลกรัม/ไร่ จาก 3,475 กโิ ลกรัม/ไรจ่ ากสภาพอากาศที่เหมาะสม

ปริมาณนาฝนทเี่ พียงพอทาให้ลาต้นมีความสมบูรณ์ และการบงั คับการออกดอกได้ผลดี

ผลผลติ ส่วนใหญ่จะออกสตู่ ลาด ตลอดทงั ปี แตอ่ อกมากถึงรอ้ ยละ 60 ในชว่ งเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม 2565 นายประเสรฐิ ศกั ดิ์ แสงสทั ธา
ผอู้ านวยการสานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2
(แหลง่ ขอ้ มลู : สว่ นสารสารเทศการเกษตร สศท.2 สศก., เศรษฐกิจการเกษตรอาสา (ศกอ.) และสานกั งานเกษตรจงั หวัดในเขตพนื ที่รับผดิ ชอบ

ปฏิทนิ ผลผลิตภาพรวม 2 จงั หวัด (พิษณุโลก อุตรดติ ถ์)

สับปะรด 2 จังหวัด รวม ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ผลผลิต 6,000 5,392 5,957 9,309 29,973 42,224 25,725 8,508 5,480 12,650 6,414 7,881
165,514 3.62 3.26 3.60 5.62 25.51 15.54 5.14 3.31 7.64 3.87 4.76
ปี 2565 ร้อยละ 100.00 16,791 5,279 8,642 6,330 18.11 31,212 11,215 10,264 6,047 21,282 8,451 6,183
ปี 2564 ผลผลิต 164,115 10.23 3.22 5.27 3.86 32,419 6.25 3.68 12.97 5.15 3.77
100.00 19.75 19.02 6.83
ร้อยละ

คาดการณ์ หน้า 15

สบั ปะรดภาวะการผลติ (ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2565)
ปี 2565 ภาพรวมในเขตพ้ืนท่ีรับผดิ ชอบ 2 จงั หวัด

เน้ือทเ่ี พาะปลกู เนอื้ ท่เี กบ็ เก่ียว ผลผลิตตอ่ ไร่

ปี 256447,757 ไร่ ปี 256447,228 ไร่ 3,475ปี 2564ก.ก./ไร่
ปี 256456,250 ไร่ ปี 256455,250 ไร่
3,758ปี 2565ก.ก./ไร่
ลดลง 1,507 ไร่ ลดลง 1,978 ไร่
คิดเปน็ 3.16 % คิดเป็น 4.19 % เพิ่มขึ้น 283 ก.ก./ไร่
คดิ เป็น 8.14 %

ผลผลติ รวม

ปี 2516464,115 ตนั
ปี 2516565,514 ตัน

เพม่ิ ขนึ้ 1,399 ตนั
คดิ เปน็ 0.85 %

รายงานราคาสินคา้ เกษตร ณ ไรน่ า ประจำเดือน สิงหำคม 2565 หนา้ 16

ราคาเฉล่ยี เดือน ส.ค. 2565 ราคาเฉล่ยี เดือน ส.ค. 2564 ราคาเฉล่ยี เดอื นทผ่ี ่านมา ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 1 ก.ย. 65

สบั ปะรดโรงงาน ขนาดเล็ก อตุ รดิตถ์ สบั ปะรดโรงงาน ขนาดใหญ่ อุตรดิตถ์ ราคาปรับเพมิ่ ขึน้ จากปที ี่ผ่านมา
เน่ืองจากปีนี้ปริมาณผลผลิตเพิ่มมากข้ึนจาก
พิษณุโลก - พษิ ณุโลก 7.00 แรงจูงใจในด้านราคาในปีท่ีผ่านมา และคาดว่า
1.00 ปริมาณน้าฝนเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของ
2.13 6.13 4.80 ต้นสบั ปะรด

2.00 5.20

(หน่วย : บาท/ กก.) 2.29 6.79 5.90 7.90
(หนว่ ย : บาท/ กก.)

สบั ปะรดบริโภค ขนาดเลก็ (< 1.5 กก.) สับปะรดบรโิ ภค ขนาดใหญ่ (> 1.5 กก.) ราคาปรับเพ่ิมขึ้นจากเดือนที่ผ่านมา เน่ืองจากปีน้ี
คุณภาพผลผลิตดี ไม่ประสบภัยแล้ง ทาให้ผลผลิต
พษิ ณโุ ลก อุตรดติ ถ์ พิษณุโลก อุตรดติ ถ์ คณุ ภาพดี จาหน่ายไดร้ าคาดขี ้นึ

4.56 6.13 7.56 11.38 โดย สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2 พษิ ณุโลก

5.50 4.17 7.50 9.50

(หน่วย : บาท/ กก.) 4.13 5.21 6.44 9.25

(หนว่ ย : บาท/ กก.)

สับปะรด ปี 2565 จังหวดั พิษณโุ ลก หน้า 17

(ณ วนั ที่ 26 ตลุ าคม 65โดย สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2, เศรษฐกจิ การเกษตรอาสา และสานกั งานเกษตรจงั หวัดพษิ ณโุ ลก)

เนอื ที่เพาะปลูก ลดลงเล็กน้อยรอ้ ยละ 1.94 อยทู่ ี่ 27,839 ไร่ จากปี 2564 (28,391 ไร)่ เนื่องจากสถานการณด์ า้ นราคาสบั ปะรดไม่ค่อยดีนกั ตงั แตเ่ กิด
สถานการณ์การระบาดของโรคไวรสั COVID-19 ทีก่ ระทบตอ่ ภาคการผลติ ในอตุ สาหกรรมแปรรปู และการส่งออก ประกอบกบั ตน้ ทุนการผลติ เพิ่มสงู ขึนจาก
แนวโน้มราคาปยุ๋ เคมที ่ปี รับตวั เพิม่ ขึนเป็นเกอื บเทา่ ตัว ทาใหเ้ กษตรกรปรบั เปลยี่ นไปทาสวนไมผ้ ลผสมผสาน ทเุ รียน เงาะ ยางพารา และมันสาปะหลงั
เนอื ทเ่ี ก็บเกยี่ ว ลดลงเลก็ น้อยร้อยละ 4.67 อยทู่ ่ี 26,839 ไร่ จากปี 2564 (28,153 ไร)่ ตามเนือทีป่ ลูกท่ลี ดลง
การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพชื -ไม่มี – การเกดิ ภัยธรรมชาติ -ไม่มี –ระยะการเตบิ โต : เกบ็ เก่ยี วผลผลิต
บางสว่ นอยูใ่ นระยะการเจริญเตบิ โตของผลหลังจากการราดสารบงั คับการออกดอก
ผลผลิต เพิ่มขนึ ร้อยละ 1.03 อยทู่ ่ี 96,620 ตนั จากปี 2564 (95,636 ตัน) จากผลผลติ ต่อไร่ท่ีเพ่ิมขนึ มาก
ผลผลติ ตอ่ ไร่ เพ่มิ ขึนประมาณรอ้ ยละ 3.36 อย่ทู ่ี 3,511 กิโลกรมั /ไร่ จากปี 2564 (3,397 กิโลกรมั /ไร)่ เนื่องจากปริมาณฝนตกดีในช่วงปลายปี 2564 ทาให้
ปริมาณนาเพยี งพอ เอืออานวยตอ่ การตดิ ดอกออกผลหลงั การราดสารบงั คับการออกดอก และผลมีความสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม ผลผลติ เพมิ่ ขนึ ไดไ้ ม่มากนกั
เพราะเกษตรกรบางรายลดปริมาณการใส่ป๋ยุ จากการปรับตัวเพม่ิ ของราคาป๋ยุ ทีเ่ กษตรกรเหน็ วา่ ส่งผลทาใหต้ น้ ทนุ การผลติ เพม่ิ ขนึ กาไรจากการผลิตอาจลดลง
ช่วงที่ผลผลติ ออกสตู่ ลาด ตลอดทังปี แต่ออกมากถึงรอ้ ยละ 55 ในช่วงเดอื นปลายเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม 2565 เน่อื งจากราคาปจั จัยปุย๋ ยา และฮอร์โมน
ปรบั ตวั เพิม่ ขนึ มาก เกษตรกรส่วนใหญ่จงึ ไม่คอ่ ยหยอดแก๊สบงั คับการออกดอก เพราะเกรงว่าต้นทนุ การผลติ จะเพม่ิ สูงขนึ สง่ ผลทาให้ผลผลิตออกกระจุกตัวเป็น
สับปะรดในชว่ งกลางปี เสย่ี งตอ่ ภาวะปญั หาผลผลิตล้นตลาด ราคาตกต่า อย่างไรกต็ าม ยังคงมีผลผลติ อีกประมาณรอ้ ยละ 11.5 ในเดือนตลุ าคม 2565

หมายเหตุ ข้อมูลปี 2564 เป็นมติของการประชมุ พจิ ารณาขอ้ มลู เอกภาพด้านพืชระดับประเทศ

สับปะรดพิษณุโลก รวม ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
3,382 3,304 4,290 7,952 15,140 22,947 15,053 3,961 3,517 11,121 3,672 2,280
ปฏิทนิ ผลผลิต ปี 2565 ผลผลิต 96,620 3.50 3.42 4.44 8.23 15.67 23.75 15.58 3.64 11.51 3.80 2.36
รอ้ ยละ 100.00 13,504 2,649 7,115 4,734 16,306 14,106 4.10 4,438 19,625 4,610 1,301
95,636 14.12 1,415 5,834 20.52
ปี 2564 ผลผลิต 100.00 2.77 7.44 4.95 17.05 14.75 1.48 4.64 4.82 1.36
ร้อยละ 6.10

คาดการณ์สบั ปะรดภาวะการผลติ หนา้ 18

(ณ วนั ที่ 26 ตุลาคม 2565)
ปี 2565 จงั หวดั พิษณุโลก

เน้ือทเ่ี พาะปลูก เนอื้ ที่เก็บเกยี่ ว ผลผลติ ตอ่ ไร่

ปี 256248,391 ไร่ ปี 256248,153 ไร่ 3,397ปี 2564ก.ก./ไร่
ปี 256257,839 ไร่ ปี 256256,839 ไร่
3,511ปี 2565ก.ก./ไร่
ลดลง 552 ไร่ ลดลง 1,314 ไร่
คดิ เปน็ 1.94 % คิดเปน็ 4.67 % เพ่ิมขนึ้ 114 ก.ก./ไร่
คดิ เป็น 3.36 %

ผลผลิตรวม ผลผลติ รายเดอื น

ปี 25694 5,636 ตนั ผลผลิต/ไร่/เนอื้ ท่เี กบ็ เกย่ี ว ปรมิ าณผลผลติ รวม ปี 2565
ปี 25695 6,620 ตัน
(หน่วย : ตัน) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เพ่ิมขนึ้ 984 ตนั
คิดเป็น 1.03 % ผลผลิต/ไร่ 3,511.00 ผลผลติ 94,232 3,279.26 3,222.73 3,995.43 6,775.26 14,219.57 20,278.67 14,332.65 3,863.50 3,430.03 15,303.23 4,240.43 1,290.97
เนื้อท่เี ก็บเกีย่ ว 26,839.00 ร้อยละ 100.00 3.48 3.42 4.24 7.19 15.09 21.52 15.21 4.10 3.64 16.24 4.50 1.37

สบั ปะรด ปี 2565 จังหวดั อตุ รดิตถ์ หนา้ 19

(ณ วันที่ 26 ตุลาคม 2565 โดย สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2, เศรษฐกิจการเกษตรอาสา และสานักงานเกษตรจังหวดั อุตรดติ ถ์)

เนือที่เพาะปลูก ลดลงรอ้ ยละ 4.93 อยทู่ ่ี 18,411 ไร่ จากปี 2564 (19,366 ไร่) เน่ืองจากสถานการณร์ าคาสับปะรดไมด่ นี กั ประกอบกับตน้ ทนุ การผลติ

เพม่ิ สูงขึนจากราคาปยุ๋ เคมีทป่ี รบั ตวั เพ่มิ ขึนเป็นเกอื บเทา่ ตวั เกษตรกรบางรายจงึ รอื แปลงสบั ปะรดท่อี ายมุ ากใหผ้ ลผลิตนอ้ ยเพ่ือเตรียมปลกู ใหม่
บางรายปรับเปลย่ี นไปปลูกไมผ้ ลไม้ยืนต้น ทุเรยี น เงาะ ยางพารา และขา้ วโพดเลียงสัตว์

เนอื ทีเ่ ก็บเก่ียว ลดลงร้อยละ 3.48 อย่ทู ี่ 18,411 ไร่ จากปี 2564 (19,075 ไร)่ ตามเนือที่ปลูกทลี่ ดลง
การระบาดของโรคและแมลงศัตรพู ชื -ไม่มี - การเกดิ ภยั ธรรมชาติ -ไม่มี -
ระยะการเติบโต ณ ปัจจบุ ัน สว่ นใหญอ่ ยใู่ นระยะเก็บเก่ยี วผลผลติ แล้ว แต่ยงั คงมบี ้างเล็กนอ้ ยทย่ี ังอยูใ่ นระยะการเจริญเตบิ โตของผล
ผลผลิต ลดลงเลก็ นอ้ ยรอ้ ยละ 0.95 อยู่ท่ี 67,826 ตนั จากปี 2564 (68,479 ตัน)เน่อื งจากราคาปจั จยั การผลิตท่ีเพ่ิมราคาสงู ขึนเกษตรกรลด

การใชป้ ๋ยุ ใชย้ าลง

ผลผลติ ต่อไร่ เพิม่ ขนึ ประมาณรอ้ ยละ 2.62 อยทู่ ่ี 3,684 กิโลกรมั /ไร่ จากปี 2564 (3,590 กิโลกรัม/ไร)่ เนือ่ งจากฝนตกมากกว่าปีทีผ่ า่ นมา

ทาให้ปรมิ าณนามนี าเพยี งพอต่อการเตบิ โตของลาตน้ และการบงั คบั การออกดอกไดผ้ ลดี

ชว่ งผลผลติ ออกสู่ตลาด ตลอดทังปี แต่ออกมากถึงร้อยละ 65 ในช่วงเดอื นพฤษภาคม – กรกฎาคม 2565

หมปายฏเหิทตุินขอ้ผมลูลปผี 2ล5ติ 64 เป็นมติของการประชุมพิจารณาขอ้ มูลเอกภาพด้านพืชระดบั ประเทศ

สบั ปะรดโรงงาน รวม 3,684.00 ผลผลิต 67,826 ม.ค. ก.พ. มี.ค . เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
2564 ผลผลิต 18,411.00 ร้ อยละ 100.00 2,602.20 2,074.91 1,657.19 1,349.04 14,743.53 19,160.42 10,607.40 4,519.61 1,951.65 1,520.23 2,725.46 5,567.34
ร้ อยละ 3,684.00 ผลผลิต 68,479 1.97 3.98
2565 ผลผลิต 18,411.00 ร้ อยละ 100.00 3.80 3.03 2.42 1,349.04 21.53 27.98 15.49 6.60 2.85 2.22 2,725.46 8.13
ร้ อยละ 2,602.20 2,074.91 1,657.19 1.97 14,743.53 19,160.42 10,607.40 4,519.61 1,951.65 1,520.23 3.98 5,567.34

3.80 3.03 2.42 21.53 27.98 15.49 6.60 2.85 2.22 8.13

คาดการณ์สบั ปะรดภาวะการผลิต หน้า 20

(ณ วนั ท่ี 26 ตุลาคม 2565)
ปี 2565 จงั หวัดอตุ รดิตถ์

เน้อื ท่เี พาะปลกู เน้ือทเ่ี ก็บเกย่ี ว ผลผลิตตอ่ ไร่

ปี 256149,366 ไร่ ปี 256149,075 ไร่ 3,590ปี 2564ก.ก./ไร่
ปี 256158,411 ไร่ ปี 256158,411 ไร่
3,684ปี 2565ก.ก./ไร่
ลดลง 955 ไร่ ลดลง 664 ไร่
คิดเปน็ 4.93 % คดิ เปน็ 3.48 % เพิ่มขึ้น 94 ก.ก./ไร่
คดิ เปน็ 2.62 %

ผลผลิตรวม ผลผลิตรายเดอื น

ปี 2564 ตนั ปริมาณผลผลติ รวม ปี 2565

6687,,482796ปี 2565 (หนว่ ย : ตนั ) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ตนั

ผลผลิต 67,826 2,577.39 2,055.13 1,641.39 1,336.17 14,602.94 18,977.71 10,506.25 4,476.52 1,933.04 1,505.74 2,699.47 5,514.25

เพิม่ ขนึ้ 653 ตนั ร้อยละ 100.00 3.80 3.03 2.42 1.97 21.53 27.98 15.49 6.60 2.85 2.22 3.98 8.13
คิดเป็น 0.95 %

หน้า 21

(ณ วันท่ี 1 กนั ยายน 2565)

เน้อื ท่ยี ืนตน้ ลดลง รอ้ ยละ 0.58 อย่ทู ี่ 39,025 ไร่ จากปี 2564 ( 39,253 ไร่) เนือ่ งจากเกษตรกรโคน่ ตน้ ลองกองทง้ิ

และปรบั เปลยี่ นไปปลูกทเุ รยี นทดแทน เนื่องจากใหผ้ ลตอบแทนดกี วา่ และตลาดมีความตอ้ งการมากกว่า

เน้ือทีใ่ ห้ผล เพิ่มข้นึ รอ้ ยละ 2.84 อยทู่ ่ี 37,174 ไร่ จากปี 2564 ( 36,147 ไร่) เน่ืองจากมสี วนทใ่ี หผ้ ลปีแรกเพิม่ ขนึ้
ปรมิ าณผลผลติ รวม เพม่ิ ข้ึน รอ้ ยละ 8.86 อยทู่ ่ี 20,904 ไร่ จากปี 2564 ( 19,203 ไร่) เน่อื งจากสภาพอากาศเออื้ อานวย

ฝนตกเร็ว สภาพอากาศหนาวเยน็ ทาใหอ้ อกชอ่ ดอกยาว ตดิ ผลได้มากกวา่ ปีท่ีผ่านมา นา้ หนัก และคุณภาพผลผลิตดี

ผลผลติ ต่อไร่ เพิม่ ขน้ึ ร้อยละ 5.84 อยทู่ ี่ 562 ไร่ จากปี 2564 ( 531 ไร่) ผลผลิตออกมากในชว่ งเดอื น
สงิ หาคม-ตลุ าคม 2565 และออกกระจกุ ตวั ในช่วงเดอื นกันยายน มากกว่าร้อยละ 60

นายประเสรฐิ ศกั ด์ิ แสงสทั ธา
ผอู้ านวยการสานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2

ลองกองคาดการณ์ หน้า 22

ภาวะการผลติ ปี 2565 ในแหลง่ ผลติ สาคัญ 3 จังหวัด
(ณ วันท่ี 1 สิงหาคม 2565)

เนือ้ ทยี่ ืนตน้ เนอื้ ทใี่ หผ้ ล ผลผลิตต่อไร่

ปี 256349,253 ไร่ ปี 256346,147 ไร่ 531ปี 2564 ก.ก./ไร่

ปี 256359,025 ไร่ ปี 256357,174 ไร่ 562ปี 2565 ก.ก./ไร่
เพิ่มขึ้น 228 ไร่ เพ่ิมขึน้ 1,027 ไร่
คดิ เป็น 0.58 % คิดเป็น 2.84 % เพ่ิมข้นึ 31 ก.ก./ไร่
คิดเป็น 5.84 %

ผลผลติ รวม

ปี 25614 9,203 ตนั
ปี 25625 0,904 ตัน

เพ่มิ ขนึ้ 1,701 ตนั
คิดเปน็ 8.86 %

หนา้ 23

เน้ือท่ยี นื ต้น ลดลงเล็กน้อยประมาณร้อยละ 0.20 อยทู่ ่ี 27,521 ไร่ จากปี 2564 (27,577 ไร)่ เน่ืองจากสภาพอากาศแหง้ แล้ง สง่ ผลให้ตน้ ลองกอง
ยืนตน้ ตาย ประกอบกับโค่นต้นลองกองอายุมาก ปรับเปล่ยี นไปปลกู ทุเรียน
เน้ือท่ใี ห้ผล เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 0.99 อยทู่ ี่ 26,267 ไร่ จากปี 2564 (26,010 ไร)่ เน่ืองจากมีเนอื้ ที่ให้ผลปีแรกเพ่มิ ข้นึ โดยเฉพาะในพ้นื ท่อี าเภอเมือง
การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช อาจมีผเี สอ้ื กลางคนื และแมลงวนั ทองมาทาลายผลผลิตมากกว่าปที ่ผี า่ นมาในช่วงผลใกล้สุก
เน่ืองจากปนี ีฝ้ นตกชกุ มคี วามชนื้ ในอากาศสูง เอ้อื ต่อการวางไข่ของแมลง
การเกดิ ภัยธรรมชาติ นอ้ ยกว่าปที ี่ผา่ นมา
ระยะการเตบิ โต ณ ปัจจบุ ัน ช่วงเกบ็ เกย่ี วผลผลติ ใกลห้ มด
ผลผลิตรวม เพ่ิมขน้ึ รอ้ ยละ 10.99 อย่ทู ่ี 13,317 ตัน จากปี 2564 (11,998 ตนั ) เนอ่ื งจากเนอื้ ท่ใี หผ้ ลและผลผลติ ตอ่ ไร่ทเ่ี พิ่มขน้ึ
ผลผลิตต่อไร่ เพิ่มข้ึนร้อยละ 9.98 อยู่ที่ 507 กิโลกรัม/ไร่ จากปี 2564 (461 กิโลกรัม/ไร่) เน่ืองจากผลผลิตเพ่ิมขึ้นตามช่วงอายุท่ีให้ผลผลิตเพ่ิมข้ึน
ประกอบกบั ปนี สี้ ภาพอากาศเอ้ืออานวยฝนตกเร็ว อากาศหนาวเยน็ ทาให้ออกช่อดอกยาว ติดผลมากกวา่ ปีทีผ่ า่ นมา น้าหนักและคุณภาพผลผลติ ดี
ผลผลติ ส่วนใหญจ่ ะออกส่ตู ลาด ต้งั แตเ่ ดอื นกรกฎาคม-พฤศจิกายน โดยออกปริมาณมากในชว่ งเดอื นกนั ยายน-ตุลาคม มากถงึ ร้อยละ77.9

คาดการณ์ ลองกอง หนา้ 24

ภาวะการผลติ ปี 2565 จงั หวดั อุตรดติ ถ์
(ณ วนั ท่ี 26 ตุลาคม 2565)

เน้ือท่ียนื ต้น เนอ้ื ท่ใี ห้ผล ผลผลิตต่อไร่

ปี 256247,577 ไร่ ปี 256246,010 ไร่ 461ปี 2564 ก.ก./ไร่

ปี 256257,521 ไร่ ปี 256256,267 ไร่ 507ปี 2565 ก.ก./ไร่
เพม่ิ ขึน้ 56 ไร่ เพม่ิ ขึ้น 257 ไร่
คิดเป็น 0.20 % คดิ เป็น 0.99 % ลดลง 46 ก.ก./ไร่
คดิ เปน็ 9.98 %

ผลผลิตรวม ปริมาณผลผลติ รวม ผลผลิตรายเดอื น พ.ย.
(หนว่ ย : ตนั ) 697.08
ปี 25614 1,998 ตัน ปี 2565
ปี 25615 3,317 ตนั ผลผลิต 13,317 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. 5.81
ร้ อยละ 100.00 419.49 1,749.85 5,642.41 4,731.53
เพม่ิ ข้นึ 1,319 ตนั
คดิ เปน็ 10.99 % 3.15 13.14 42.37 35.53

หน้า 25

เน้ือที่ยืนต้น ลดลงร้อยละ 8.51 อยู่ที่ 1,463 ไร่ จากปี 2564 (1,599 ไร่) เนื่องจากสภาพอากาศแล้งต่อเนื่องในปีก่อนๆท่ีผ่านมา ทาให้ลองกอง
ยนื ต้นตาย บางพนื้ ทีม่ ีการปรบั เปลี่ยนไปปลกู ทุเรียน และไผซ่ างหมน่ ซึ่งมโี ครงการสนบั สนุนตน้ กล้าไผจ่ ากหน่วยงานภาคเกษตร
เนอ้ื ทใ่ี หผ้ ล ลดลงรอ้ ยละ 8.94 อยู่ที่ 1,365 ไร่ จากปี 2564 (1,499 ไร)่ เนื่องจากมตี ้นทใ่ี หผ้ ลแลว้ ยืนต้นตาย
การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช เนอ่ื งจาก ฝนตกชกุ ทาให้เกดิ ราดาบ้าง เลก็ นอ้ ย
การเกิดภัยธรรมชาติ นอ้ ยกวา่ ปที ีผ่ า่ นมา
ระยะการเตบิ โต ณ ปจั จุบนั อยูใ่ นระยะเกบ็ ผลผลติ เริ่มหมดฤดูกาลเกบ็ เกี่ยว
ผ ล ผ ลิ ต ร ว ม ล ด ล ง ร้ อ ย ล ะ 0 . 1 8 อยู่ ท่ี 561 ตั น จากปี 2 5 6 4 ( 5 6 2 ตั น ) เนื่ องจาก มี จ านวนต้ นท่ี เก็ บผลผลิ ตได้ ลดลง
ผลผลิตตอ่ ไร่ เพ่ิมขึน้ ร้อยละ 9.60 อยู่ท่ี 411 กโิ ลกรัม/ไร่ จากปี 2564 (375 กิโลกรัม/ไร่) เน่ืองจาก สภาพอากาศเอ้ืออานวย ฝนตกเร็ว สภาพอากาศหนาวเย็น
ทาให้ออกช่อดอกยาวติดผลมากกวา่ ปีที่ผ่านมา น้าหนักและคุณภาพผลผลิตดี ใกล้เคียงกับจังหวัดอุตรดิตถ์เน่ืองจากสภาพอากาศเอ้ืออานวยทาให้ลองกอง
ติดผลผลติ ดี
ผลผลิตส่วนใหญ่จะออกสตู่ ลาด ตงั้ แตเ่ ดือนกรกฎาคม-ตลุ าคม โดยออกมากท่สี ุดในเดอื น กันยายน (รอ้ ยละ 53)
ราคาทเี่ กษตรขายไดอ้ ยรู่ ะหว่าง 30-35 บาท/กก. สว่ นราคาตลาดอยทู่ ี่ 50-55 บาท/กก.

คาดการณ์ ลองกอง หน้า 26

ภาวะการผลิต ปี 2565 จังหวดั แพร่
(ณ วันที่ 26 ตุลาคม 2565)

เนื้อท่ยี นื ต้น เน้ือทใี่ หผ้ ล ผลผลติ ต่อไร่

ปี 25641,599 ไร่ ปี 25641,499 ไร่ 375ปี 2564 ก.ก./ไร่
ปี 25651,463 ไร่ ปี 25651,365 ไร่
411ปี 2565 ก.ก./ไร่
ลดลง 136 ไร่ ลดลง 134 ไร่
คดิ เปน็ 8.51 % คิดเป็น 8.94 % เพมิ่ ขน้ึ 36 ก.ก./ไร่
คดิ เปน็ 9.60 %

ผลผลติ รวม ผลผลิตรายเดือน

562ปี 2564 ตนั

561ปี 2565 ตนั

ลดลง 1 ตนั

คิดเปน็ 0.18 %

หนา้
75

เน้อื ท่ียืนตน้ ลดลงเลก็ น้อยประมาณร้อยละ 3 อยทู่ ี่ 9,775 ไร่ จากปี 2564 (10,077 ไร่) เนอ่ื งจากเกษตรกรปรบั เปลย่ี นพ้ืนทไี่ ปปลกู ทุเรยี นจากแรงจูงใจดา้ นราคา
เน้ือที่ให้ผล ลดลงประมาณร้อยละ 0.14 อยู่ท่ี 8,626 ไร่ จากปี 2564 (8,638 ไร่) เน่ืองจากเกษตรกรโค่นต้นลองกองท่ีให้ผลแล้วเพ่ือปรับเปล่ียนไปปลูก
ทเุ รียน และไมผ้ ลอืน่ ๆ
การระบาดของโรคและแมลงศัตรพู ชื - ไม่มี -
การเกดิ ภยั ธรรมชาติ - ไมม่ ี -
ระยะการเติบโต ณ ปจั จบุ นั เก็บผลผลติ ใกลห้ มดและคาดว่าเก็บหมดภายในเดือน ต.ค.
ผลผลิตรวม ลดลงประมาณร้อยละ 0.15 อยทู่ ี่ 6,633 ตัน จากปี 2564 (6,643 ตนั ) เน่อื งจากเน้อื ทีใ่ หผ้ ลลดลง
ผลผลิตตอ่ ไร่ เท่าเดมิ กับปี 2564 อยูท่ ่ี 769 กโิ ลกรมั /ไร่
ผลผลิตส่วนใหญ่จะออกสตู่ ลาด ตั้งแตเ่ ดอื นสิงหาคม-ตุลาคม โดยออกกระจุกตวั มากท่ีสุดในเดอื นกันยายนและเดอื นตลุ าคมมากถึงร้อยละ 95

คาดการณ์ ลองกอง หน้า 76

ภาวะการผลติ ปี 2565 จงั หวดั สโุ ขทัย
(ณ วนั ท่ี 27 ตุลาคม 2565)

เนอ้ื ท่ยี นื ตน้ เนื้อทีใ่ ห้ผล ผลผลติ ตอ่ ไร่

ปี 256140,077 ไร่ ปี 25648,638 ไร่ 769ปี 2564 ก.ก./ไร่
ปี 25658,626 ไร่
ปี 25659,775 ไร่ 769ปี 2565 ก.ก./ไร่
ลดลง 302 ไร่ ลดลง 12 ไร่
คิดเปน็ 3.00 % คดิ เป็น 0.14 % เทา่ เดมิ

คิดเป็น 0 %

ผลผลติ รวม ผลผลติ รายเดือน

ปี 25646,643 ตนั
ปี 25656,633 ตนั

ลดลง 10 ตนั
คิดเปน็ 0.15 %

หนา้ 27

เน้อื ที่ยืนต้น เพ่มิ ขน้ึ รอ้ ยละ 2.27 อย่ทู ่ี 16,648 ไร่ จากปี 2564 ( 16,279 ไร่) เน่ืองจาก เพราะราคาจงู ใจให้ปลูกแซมในสวนไม้ผลผสมผสานเพมิ่ ขึน้
แทนการปลูกพชื เชงิ เดี่ยว(สบั ปะรด และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์)

เนื้อท่ีให้ผล เพม่ิ ขนึ้ ร้อยละ 2.48 อยู่ท่ี 13,497 ไร่ จากปี 2564 ( 13,170 ไร่) เนอื่ งจาก เพราะราคาจงู ใจให้ปลกู แซมในสวนไม้ผลผสมผสานเพม่ิ ขึ้น
แทนการปลูกพชื เชงิ เดย่ี ว(สบั ปะรด และข้าวโพดเล้ียงสัตว์)

ปริมาณผลผลิตรวม เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.11 อยู่ท่ี 5,551 ตัน จากปี 2564 ( 5,281 ตนั ) เนื่องจาก

ปริมาณฝนและน้าเพียงพอในชว่ งการเจรญิ เติบโตของผล

ผลผลิตตอ่ ไร่ เพ่มิ ข้ึน รอ้ ยละ 2.49 อยทู่ ี่ 411 กโิ ลกรมั /ไร่ จากปี 2564 ( 401 กโิ ลกรัม/ไร)่ เนื่องจาก

ปริมาณฝนและน้าเพียงพอในชว่ งการเจริญเติบโตของผล

ผลผลิตจะออกสู่ตลาด ชว่ งเดือนมถิ นุ ายน-ตุลาคม 2565

และออกกระจุกตัวในชว่ งเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม มากกว่ารอ้ ยละ 60 นายประเสริฐศักด์ิ แสงสัทธา
ผู้อานวยการสานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2

เงาะภาวะการผลิต ปี 2565 ในแหล่งผลติ สาคัญ 4 จงั หวัด
คาดการณ์ หน้า 28

(ณ วนั ที่ 1 สิงหาคม 2565)

เนื้อที่ยืนตน้ เน้ือทใี่ ห้ผล ผลผลิตต่อไร่

ปี 256146,279 ไร่ ปี 256143,170 ไร่ 401ปี 2564 ก.ก./ไร่

ปี 256156,648 ไร่ ปี 256153,497 ไร่ 411ปี 2565 ก.ก./ไร่
เพ่มิ ขน้ึ 369 ไร่ เพ่ิมขึ้น 327 ไร่
คดิ เปน็ 2.27 % คิดเปน็ 2.48 % เพิ่มขึ้น 10 ก.ก./ไร่
คดิ เปน็ 2.49 %

ผลผลติ รวม ผลผลิตรายเดือน

ปี 25645,281 ตนั
ปี 25655,551 ตนั

เพมิ่ ขน้ึ 270 ตนั
คิดเป็น 5.11 %

หน้า 29

เนอ้ื ท่ียืนตน้ ลดลงเลก็ น้อยประมาณรอ้ ยละ 3 อยูท่ ี่ 1,229 ไร่ จากปี 2564 (1,267 ไร่) เนือ่ งจากเกษตรกรโคน่ ทงิ้ เพราะอายมุ ากและผลผลิตต้า่ ไม่คุ้ม
การลงทุนปรับเปลยี่ นไปปลกู ทุเรียน ไม้ผอื่นๆ ประกอบราคาจูงใจ
เนอ้ื ทีใ่ หผ้ ล ลดลงเลก็ น้อยประมาณร้อยละ 3.92 อย่ทู ี่ 882 ไร่ จากปี 2564 (918 ไร่) เนือ่ งจากมกี ารโคน่ ต้นงาะท่ีให้ผลแล้ว ในพ้ืนทีบ่ ้านหว้ ยไร่ บา้ นปากอา่ ง
ตา้ บลบา้ นตกึ อ.ศรสี ัชนาลยั เกษตรกรบางรายโค่นไปปลูกทุเรียนแทน และเกษตรกรบางรายท้าสาวต้นเงาะท่ีอายุมากท้าใหต้ อ้ งพักต้นเงาะไมใ่ ห้ติดดอกออกผล
การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช - ไม่มี -
การเกดิ ภยั ธรรมชาติ ฝนตกชุกมากในช่วงปลายปี ท้าให้ต้นเงาะแตกใบออ่ นแทนการออกดอก
ระยะการเตบิ โต ณ ปจั จบุ ัน เกบ็ ผลผลติ หมดแล้วก้าลังบา้ รงุ ตน้
ปริมาณผลผลิตรวม ลดลงร้อยละ 8.72 อยู่ที่ 356 ตัน จากปี 2564 (390 ตนั ) เนอ่ื งจากเนือ้ ทีใ่ ห้ผล และผลผลติ ต่อไร่ลดลง
ผลผลติ ตอ่ ไร่ ลดลงรอ้ ยละ 4.94 อยทู่ ี่ 404 กิโลกรัม/ไร่ จากปี 2564 (425 กโิ ลกรัม/ไร่) เน่ืองจากสภาพอากาศไม่เหมาะสมในชว่ งตดิ ดอก โดยมีฝน่ตกชกุ มาก
ในช่วงปลายปี ท้าให้ตน้ เงาะแตกใบอ่อนแทนการออกดอก
ผลผลติ จะออกสตู่ ลาด ตั้งแตเ่ ดือน มิถนุ ายน-กันยายน 2565 ผลผลติ ออกมากท่ีสุดประมาณรอ้ ยละ 80 ในเดอื นสงิ หาคม 2565

คาดการณ์ หน้า 30

เงาะภาวะการผลติ ปี 2565 จงั หวดั สุโขทยั

(ณ วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2565)

เนอ้ื ท่ียืนตน้ เนอื้ ท่ีใหผ้ ล ผลผลติ ตอ่ ไร่

ปี 25641,267 ไร่ ปี 2564 918 ไร่ 425ปี 2564 ก.ก./ไร่
ปี 25651,229 ไร่ 882ปี 2565 ไร่
404ปี 2565 ก.ก./ไร่
ลดลง 38 ไร่ ลดลง 36 ไร่
คิดเปน็ 3.00 % คิดเปน็ 3.92 % ลดลง 21 ก.ก./ไร่
คิดเป็น 4.94 %

ผลผลิตรวม ผลผลิตรายเดอื น
390ปี 2564 ตัน

356ปี 2565 ตนั

ลดลง 34 ตนั
คดิ เป็น 8.72 %

หน้า 31

เน้อื ท่ียนื ตน้ เพ่ิมขน้ึ รอ้ ยละ 2.77 อยู่ท่ี 1,484 ไร่ จากปี 2564 (1,444 ไร่) เน่อื งจากเกษตรกรปลูกแทนมะม่วงหิมพานต์ และปลูก
แซมในสวนไมผ้ ลผสมผสาน
เนอ้ื ทใี่ หผ้ ล เพิม่ ข้ึนเลก็ น้อยร้อยละ 5.98 อยู่ท่ี 1,240 ไร่ จากปี 2564 (1,170 ไร่) เน่อื งจากมีตน้ เงาะทเ่ี ริ่มใหผ้ ลผลติ ปแี รก
การระบาดของโรคและแมลงศตั รูพชื เพลยี้ แปง้ และราด้ารบกวนเลก็ น้อย แต่เกษตรกรสามารถดูแลควบคุมได้
การเกิดภัยธรรมชาติ มพี ายุทา้ ใหผ้ ลเลก็ ท่ีเรมิ่ ตดิ ร่วงหลน่ เล็กน้อย
ระยะการเตบิ โต ณ ปจั จบุ นั เกบ็ เกย่ี วส้ินสุดแลว้
ปรมิ าณผลผลติ รวม เพ่ิมข้ึนประมาณร้อยละ 21.45 อย่ทู ่ี 436 ตัน จากปี 2564 (359 ตนั ) เน่อื งจากเกษตรกรมีการดูแลรกั ษาทดี่ ี
ประกอบกับปรมิ าณฝนและน้าเพียงพอต่อการเจรญิ เติบโตของผลผลติ
ผลผลติ ตอ่ ไร่ เพิ่มขน้ึ ประมาณรอ้ ยละ 14.66 อย่ทู ่ปี ระมาณ 352 กโิ ลกรัม/ไร่ จากปี 2564 (307 กโิ ลกรัม/ไร่)
เน่ืองจากเกษตรกรมกี ารดแู ลรักษาทีด่ ี ประกอบกบั ปริมาณฝนและน้าเพียงพอ ในชว่ งการเจริญเติบโตของผล
ผลผลิตสว่ นใหญ่จะออกสูต่ ลาด อยใู่ นช่วงเดอื น มถิ นุ ายน – กนั ยายน 2565
ผลผลติ จะออกมากท่ีสดุ ประมาณ รอ้ ยละ 56.62 ในชว่ งเดือน กรกฎาคม 2565

เงาะคาดการณ์ หนา้ 32

ภาวะการผลิต ปี 2565 จงั หวดั อตุ รดิตถ์

(ณ วันที่ 26 ตุลาคม 2565)

เนอ้ื ทย่ี นื ต้น เนื้อท่ีใหผ้ ล ผลผลิตต่อไร่

ปี 25641,444 ไร่ ปี 25641,170 ไร่ 307ปี 2564 ก.ก./ไร่
ปี 25651,484 ไร่ ปี 25651,240 ไร่
352ปี 2565 ก.ก./ไร่
เพ่มิ ข้ึน 40 ไร่ เพ่ิมข้นึ 70 ไร่
คดิ เปน็ 2.77 % คิดเปน็ 5.97 % เพม่ิ ขึ้น 45 ก.ก./ไร่
คิดเป็น 14.66 %

ผลผลติ รวม ผลผลติ รายเดือน

359ปี 2564 ตนั ปริมาณผลผลติ รวม ปี 2565

436ปี 2565 ตัน ชนดิ สนิ คา้ (หนว่ ย : ตนั ) มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
เงาะ
ผลผลิต 436 68.71 246.86 96.92 23.50
เพมิ่ ข้นึ 77 ตนั ร้อยละ 100.00 15.76 56.62 22.23 5.39

คดิ เปน็ 21.45 %

หนา้ 33

เนือ้ ที่ยืนตน้ ลดลงเลก็ น้อยประมาณร้อยละ 1.32 อยทู่ ่ี 11,741 ไร่ จากปี 2564 (11,898 ไร่) เน่อื งจากเกษตรกรโคน่ ตน้ เงาะทีเ่ รมิ่ มี
อายมุ ากซ่ึงใหผ้ ลผลติ ต้า่ จากผลตอบแทนที่ไมค่ ้มุ ค่า การเกบ็ เกย่ี วผลผลติ ค่อนข้างยุง่ ยากและประสบปญั หาโรค/แมลงรบกวน จึง
ปรบั เปล่ียนไปปลูกยางพารา และขา้ วโพดเลยี้ งสัตวแ์ ทน คาดวา่ ได้รบั ผลตอบแทนทดี่ ีกวา่
เนือ้ ท่ใี หผ้ ล เพ่มิ ขนึ้ เลก็ ร้อยละ 17.38 อยู่ที่ 11,372 ไร่ จากปี 2564 (9,688 ไร่) เน่อื งจากมตี ้นเงาะที่ปลกู ปี 2561 ท่ีเรม่ิ ใหผ้ ลผลิตปี
แรกเพิ่มขึน้
การระบาดของโรคและแมลงศัตรพู ืช - ไมม่ ี -
การเกิดภยั ธรรมชาติ - ไมม่ ี -
ระยะการเตบิ โต ณ ปจั จุบัน เกบ็ เกี่ยวผลผลติ หมดแล้ว
ปรมิ าณผลผลิตรวม เพิ่มข้นึ ประมาณรอ้ ยละ 23.44 อยทู่ ี่ 4,444 ตนั จากปี 2564 (3,600 ตนั ) เนอ่ื งจากสภาพอากาศเออ้ื อา้ นวย
ปรมิ าณฝนและน้าเพียงพอต่อการเจรญิ เตบิ โตของผลผลิต ประกอบกบั ต้นเงาะสว่ นใหญ่อย่ใู นชว่ งอายทุ ี่ใหผ้ ลผลติ เพิม่ ขึน้
ผลผลติ ต่อไร่ เพิม่ ข้นึ ประมาณรอ้ ยละ 5.11 อยทู่ ีป่ ระมาณ 391 กิโลกรมั /ไร่ จากปี 2564 (372 กโิ ลกรัม/ไร่)
เนือ่ งจากเกษตรกรมีการดแู ลรักษาที่ดี ประกอบกับปริมาณฝนและน้าเพียงพอ ในช่วงการเจริญเติบโตของผล
ผลผลติ จะออกสู่ตลาด ตง้ั แต่เดอื น มถิ นุ ายน – สิงหาคม และออกมากทสี่ ุดรอ้ ยละ 90 ในเดอื นกรกฎาคม-สงิ หาคม 2565

คาดการณ์ หน้า 34

เงาะภาวะการผลิต ปี 2565 จังหวัดนา่ น
(ณ วันท่ี 26 ตุลาคม 2565)

เน้อื ทย่ี นื ตน้ เนอ้ื ทใี่ ห้ผล ผลผลิตตอ่ ไร่

ปี 256141,898 ไร่ ปี 25649,688 ไร่ 372ปี 2564 ก.ก./ไร่
ปี 256151,741 ไร่
ปี 256151,372 ไร่ 391ปี 2565 ก.ก./ไร่
ลดลง 157 ไร่ เพ่มิ ข้นึ 1,684 ไร่
คิดเป็น 1.32 % คดิ เป็น 17.38 % เพ่มิ ขึน้ 19 ก.ก./ไร่
คดิ เป็น 5.11 %

ผลผลิตรวม ผลผลติ รายเดือน

ปี 25643,600 ตนั
ปี 25654,444 ตนั

เพม่ิ ขึ้น 844 ตนั
คิดเปน็ 23.44 %

หนา้ 35

ยางพารา ปี 2565 ภาคเหนือ

ภาพรวมในเขตพืนทีร่ ับผิดชอบ สศท.2 (พิษณุโลก สุโขทยั ตาก อุตรดติ ถ์ แพร่ และน่าน)

(ณ วนั ที่ 1 กนั ยายน 2565)

เนื้อที่ยนื ตน้ เพ่ิมข้นึ ร้อยละ 1.94 อยูท่ ี่ 784,092 ไร่ จากปี 2564 (769,170 ไร)่ เนอื่ งจากเกษตรกรหันมาปลูกแทนข้าวโพดเล้ียงสตั ว์

จากสถานการณ์การปรับเพม่ิ ขน้ึ สงู มากของราคาปยุ๋ เคมี บางพนื้ ท่ีมีการปลูกทดแทนสวนสักท่ีตัดแล้ว และปลูกแซมในสวนส้มที่อายุมาก
ประกอบกับแนวโน้มราคายางพาราปรับตัวเพ่ิมขน้ึ อย่ใู นเกณฑด์ ี จงู ใจให้เกษตรกรหันมาปลูกเพิ่มในพ้ืนที่ว่าง

เนือ้ ที่กรดี เพม่ิ ขนึ้ ประมาณร้อยละ 6.69 อย่ทู ่ี 710,261 ไร่ จากป2ี 564 (665,697 ไร)่ เน่ืองจากมตี ้นยางพาราเปิดกรดี ใหม่เพ่ิมมากข้ึน

ผลผลิต เพ่มิ ข้นึ ประมาณรอ้ ยละ 13.47 อย่ทู ่ี 132,742 ตนั จากปี 2564 (116,986 ตนั ) จากเนื้อทก่ี รดี และผลผลิตตอ่ ไร่เพม่ิ ข้นึ

ผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 6.25 อยู่ที่ 187 กิโลกรัม/ไร่ จากปี 2564 ( 176 กิโลกรัม/ไร่) เน่ืองจากมีฝนตกชุกในช่วง

ปลายปี 2564 ปริมาณนา้ ฝนและสภาพอากาศในปนี ีเ้ ออ้ื อานวยทาให้ต้นยางพารามีความสมบูรณ์สามารถผลิตน้ายางได้ดี ประกอบกับ
แนวโน้มสถานการณ์ราคายางพาราท่ีปรับตัวเพ่ิมข้ึนอยู่ในเกณฑ์ดี จูงใจให้เกษตรกรดูแลสวน และเปิดกรีดยางเป็นระยะเวลานาน
มากกวา่ ปที ่ีผา่ นมา โดยเฉพาะในบางพน้ื ท่ี (จ.แพร)่ มกี ารใชย้ าปา้ ยหนา้ ยาง เพอื่ เรง่ ให้นา้ ยางไหลมากขึ้น

ช่วงที่ผลผลติ ออกสูต่ ลาด ช่วงเดอื นมกราคม –กมุ ภาพันธ์ 2565 และช่วงเดอื นพฤษภาคม-ธนั วาคม 2565

ผลผลติ จะออกมากถงึ รอ้ ยละ 80 ในชว่ งเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2565

(แหล่งขอ้ มลู : ส่วนสารสนเทศการเกษตร สศท.2 สศก., เศรษฐกิจการเกษตรอาสา (ศกอ.) และสานักงานเกษตรจงั หวัดในเขตพ้นื ทร่ี ับผดิ ชอบ)

คาดการณภ์ าวะการผลติ ยางพารา หนา้ 36

ปี 2565 ภาพรวมในเขตพน้ื ทีร่ ับผดิ ชอบ

เนอื้ ทย่ี นื ต้น เน้ือทกี่ รีด ผลผลิตต่อไร่

ปี 2576469,170 ไร่ ปี 265664 5,697 ไร่ 176ปี 2564 ก.ก./ไร่
ปี 25675 84,092ไร่ ปี 2576510,261 ไร่
187ปี 2565 ก.ก./ไร่
เพมิ่ ขึ้น 14,922 ไร่ เพ่ิมขึน้ 44,564 ไร่
คิดเปน็ 1.94 % คิดเป็น 6.69 % เพมิ่ ขน้ึ 11 ก.ก./ไร่

ผลผลติ รวม คิดเปน็ 6.25 %

ปี 2516416,986 ตัน
ปี 2516532,742ตัน

เพิม่ ขึ้น 15,756 ตนั
คดิ เปน็ 13.47 %

รายงานราคาสนิ คา้ เกษตร ณ ไรน่ า ประจำเดอื น สิงหำคม 2565 หน้า 37

ราคาเฉลี่ยเดือน ส.ค. 2565 ราคาเฉล่ียเดอื น ส.ค. 2564 ราคาเฉลีย่ เดือนทผ่ี ่านมา ขอ้ มูล ณ วันท่ี 1 ก.ย. 65

ยางพารา (ยางก้อนถว้ ย) (หน่วย : บาท/ กก.) ราคาปรับตัวลดลงเล็กน้อย เน่ืองจากราคาซ้ือขายยางพารา
พิษณุโลก สโุ ขทัย ตาก แพร่
น่าน ลว่ งหน้าในตลาดซอ้ื ขายล่วงหน้าโตเกียวปรับตัวลดลง จากการ

25.34 28.28 26.94 27.13 27.29 ปรบั เพิ่มอัตราดอกเบ้ียนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา
และสถานการณ์ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกมีแนวโน้มลดลง

27.20 25.54 27.00 - 27.38 ประกอบกับจีนซึ่งเป็นผู้นาเข้ายางพาราอันดับ 1 ของโลก มี
มาตรการเข้มงวดควบคุมการแพร่ระบาดโควิด-19 ในประเทศ

26.35 28.68 24.17 27.06 28.04 อีกคร้ัง ซ่ึงอาจทาให้จีนมีชะลอการนาเข้ายางพาราจากไทย

อย่างไรก็ตาม ภาวะเงนิ บาททอ่ี อ่ นคา่ ลงอย่างมาก จะเป็นปัจจัย

ปาลม์ นา้ มัน (ผลท้งั ทะลายคละ นา้ หนัก 11-15 กก. (หน่วย : บาท/ กก.) สนบั สนนุ การส่งออกยางพาราของไทย

พษิ ณุโลก ราคาลดลงจากเดอื นทผี่ ่านมา เน่อื งจากราคาน้ามันดบิ มีแนวโนม้ ปรบั ตวั ลดลงจากสมาชิกสหภาพยุโรป
(EU) แกไ้ ขมาตรการคว่าบาตรดา้ นการสง่ ออกน้ามนั และพลังงานจากรสั เซยี บรษิ ทั จาหนา่ ยพลังงานราย
6.07 ใหญข่ องรสั เซยี ไดแ้ ก่ Rosneft และ Gazprom สามารถสง่ ออกน้ามันเชอ้ื เพลงิ และกา๊ ซธรรมชาติไป
ประเทศทส่ี ามได้ สง่ ผลต่อความตอ้ งการปาล์มน้ามัน เพอ่ื ใช้เปน็ วัตถุดบิ ในการผลติ ไบโอดีเซลและราคา
6.08 ปาล์มน้ามนั ทเี่ กษตรกรขายไดป้ รบั ตวั ลดลง

7.42

โดย สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2 พษิ ณโุ ลก

หนา้ 38

ยางพารา ปี 2565 จงั หวัดพษิ ณโุ ลก (ณ วนั ที่ 26 ตุลาคม 2565)

เนื้อท่ียืนต้น เพิ่มขึ้นเล็กน้อยร้อยละ 0.03 อยู่ที่ 339,409 ไร่ จากปี 2564 (339,324 ไร่) เนื่องจากมีเกษตรกรบางรายหันมาปลูกยางพาราทดแทนพื้นที่ข้าวโพดเล้ียงสัตว์

เพราะปญั หาต้นทุนการผลติ ทเี่ พิ่มสงู ขน้ึ จากราคาปจั จยั การผลติ (ปุ๋ย) ที่ราคาเพ่มิ ข้นึ มากกวา่ รอ้ ยละ 50 ประกอบกบั แนวโน้มราคายางพาราปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ดี และ
บางพ้นื ท่มี กี ารปลูกเพ่มิ ในพ้นื ทป่ี ลอ่ ยว่าง

เน้ือท่กี รีด เพิม่ ข้ึนประมาณรอ้ ยละ 10.48 อยู่ที่ 357,505 ไร่ จากปี 2564 (323,602 ไร)่ เนือ่ งจากมีพน้ื ที่ครบกาหนดในการกรีดเพ่มิ ขนึ้

ผลผลิต เพ่ิมข้ึนประมาณร้อยละ 23.54 อยู่ที่ 69,713 ตัน จากปี 2564 (56,428 ตัน) เนื่องจากปริมาณน้าฝนเพียงพอ ฤดูแล้งสั้นและมีฝนตกตลอดในช่วงฤดูแล้ง และ

ประกอบกบั ราคาผลผลิตค่อนขา้ งสงู ทาให้ผขู้ ายแรงงานตา่ งถิ่นกลบั มากรดี ยาง เพราะการกรดี ยางสามารถสรา้ งรายได้ 8-10 เดอื นต่อปี อยา่ งนอ้ ย 2 ครง้ั ตอ่ เดือน

ผลผลิตต่อไร่ เพมิ่ ข้ึนประมาณร้อยละ 12.07 อยู่ท่ี 195 กโิ ลกรมั /ไร่ จากปี 2564 (174 กิโลกรัม/ไร)่ เน่ืองจากปริมาณน้าฝนเพยี งพอจากช่วงปลายปีท่ผี ่านมา ทาให้

ต้นยางพารามีความสมบูรณ์ ประกอบกับในปีนี้มีช่วงฤดูแล้งสั้นกว่าปีท่ีผ่านมา เกษตรกรจึงหยุดกรีดยาง (ปิดหน้ายาง) เพียงช่วงส้ันๆ ทาให้มีช่วงกรีดยางยาวนานถึง 8-10
เดือน ทาให้มีจานวนวนั กรดี เพ่ิมมากขนึ้ ประกอบกบั แนวโนม้ สถานการณ์ราคาทปี่ รับตวั เพ่มิ ข้นึ กว่าปีทีผ่ ่านมา จงู ใจให้เกษตรกร และแรงงานต่างถิ่นกลับมาดูแลสวนยาง และ
กรีดยางมากขนึ้ เพอื่ สร้างรายได้

ช่วงทผ่ี ลผลิตออกส่ตู ลาด เดอื นมกราคม –กมุ ภาพันธ์ 2565 และช่วงเดอื นมิถนุ ายน - ธันวาคม โดยผลผลิตออกส่ตู ลาดมากถึงร้อยละ 50 ในชว่ งตุลาคม-ธนั วาคม

(แหล่งขอ้ มลู : สว่ นสารสารเทศการเกษตร สศท.2 สศก.,
เศรษฐกิจการเกษตรอาสา (ศกอ.) และสานักงานเกษตรจังหวัด
ในเขตพนื้ ที่รับผิดชอบ)

ยางพาราคาดการณ์ภาวะการผลิต หนา้ 39

ปี 2565 จงั หวัดพษิ ณุโลก
(ณ วนั ท่ี 26 ตุลาคม 2565)

เนอื้ ที่ยนื ตน้ เน้ือท่กี รีด ผลผลติ ตอ่ ไร่

ปี 2536439,324 ไร่ ปี 235624 3,602 ไร่ 174ปี 2564 ก.ก./ไร่
ปี 25635 39,409ไร่ ปี 2536557,505 ไร่
195ปี 2565 ก.ก./ไร่
เพ่ิมขึ้น 85 ไร่ เพิ่มขึ้น 33,903 ไร่
คิดเปน็ 0.03 % คิดเป็น 10.48 % เพ่มิ ขน้ึ 21 ก.ก./ไร่

คิดเปน็ 12.07 %

ผลผลติ รวม ผลผลิตรายเดือน

ปี 2564 ตัน ปริมาณผลผลติ รวม ปี 2565
56,428
ผลผลติ /ไร่/เนื้อที่เกบ็ เกย่ี ว (หน่วย : ตัน) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ปี 2565 ตัน ผลผลติ /ไร่ 195.00 ผลผลติ 69,713 7,982.19 5,632.85 620.45 41.83 2,314.49 3,632.07 4,747.49 5,772.28 7,027.12 9,397.38 11,223.87 11,321.47
69,713
เพ่มิ ขึน้ 13,285 ตนั เนอื้ ทีก่ รดี 357,505.00 ร้อยละ 100.00 11.45 8.08 0.89 0.06 3.32 5.21 6.81 8.28 10.08 13.48 16.10 16.24

คดิ เป็น 23.54 %

หน้า 40

สศท.2 คาดการณภ์ าวะการผลติ ยางพารา ปี 2565 จงั หวัดตาก (ณ วนั ที่ 26 ตุลาคม 2565)
เนอ้ื ทย่ี ืนตน้ เท่าเดิม จากปี 2564 (14,460 ไร่) เน่ืองจาก อ.แม่สอด อ.อุ้มผาง แหล่งผลิตหลักยังคงสถานการณ์เดิมไม่มีปลูกเพมิ่ และไม่มีการ

โค่นทง้ิ

เนื้อที่กรีด ลดลง ร้อยละ 0.36 อยู่ที่ 9,387 ไร่ จากปี 2564 (9,421 ไร่) เน่ืองจากสถานการณ์การระบาดของCovid -19 ท่ียังคงมกี ารระบาด

ในพื้นท่ี แรงงานกรีดยางไมส่ ามารถเขา้ มาทางานในพืน้ ทไ่ี ด้ ทาใหส้ วนยางพาราทป่ี ดิ หนา้ ยางไว้ตง้ั แต่ชว่ งฤดแู ล้ง ยังไม่มีการเปิดกรีด

ผลผลิต เพ่มิ ขึ้นประมาณร้อยละ 1.68 อยูท่ ี่ 1,690 ตัน จากปี 2564 (1,662 ตนั ) เนือ่ งจากเนือ้ ที่กรดี และผลผลิตต่อไรท่ ่ีเพม่ิ ขึน้
ผลผลิตตอ่ ไร่ เพม่ิ ข้ึน ร้อยละ 2.27 อยู่ที่ 180 กิโลกรัม/ไร่ จากปี 2564 (176 กิโลกรัม/ไร่) เนื่องจากสภาพภูมิอากาศเอื้ออานวย ปริมาณ

น้าฝนดี

ชว่ งที่ผลผลติ ออกสู่ตลาด ช่วงเดือนมกราคม –กุมภาพันธ์ 2565 และช่วงเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม 2565 โดยจะออกมากถึงร้อยละ 50

ในช่วงเดอื น ตลุ าคม - มกราคม 2565
(แหล่งขอ้ มูล : ส่วนสารสารเทศการเกษตร สศท.2 สศก., เศรษฐกจิ การเกษตรอาสา (ศกอ.) และสานกั งานเกษตรจงั หวัด ในเขตพืน้ ทร่ี บั ผิดชอบ)

คาดการณ์ภาวะการผลิต ยางพารา หน้า 41
ปี 2565 จงั หวัดตาก
(ณ วันที่ 26 ตลุ าคม 2565)

เนอ้ื ที่ยนื ต้น เนื้อท่กี รีด ผลผลิตต่อไร่

ปี 25614 4,460 ไร่ ปี 25694 ,421 ไร่ 176ปี 2564 ก.ก./ไร่
ปี 256514,460 ไร่ ปี 25659,387 ไร่
180ปี 2565 ก.ก./ไร่
เท่าเดิม ลดลง 34 ไร่
คดิ เปน็ 0 % คดิ เป็น 0.36 % เพมิ่ ขนึ้ 4 ก.ก./ไร่

คิดเปน็ 2.25 %

ผลผลิตรวม ผลผลติ รายเดอื น

ปี 2564 1,662 ตัน
ปี 2565 1,690 ตัน

เพิม่ ขึน้ 28 ตนั
คิดเป็น 1.68 %

หน้า 42

ยางพารา ปี 2565 จังหวัดน่าน (ณ วนั ที่ 26 ตุลาคม 2565)

เนือ้ ทย่ี ืนต้น เพิม่ ข้ึน ร้อยละ 4.74 อยู่ท่ี 315,286 ไร่ จากปี 2564 ( 300,999 ไร่) เน่ืองจากเกษตรกรในบางพื้นท่ีของ อ.เมืองน่าน หันมาปลูกแทนลาไย และมะม่วงท่ีราคาไม่ดีนัก

ประกอบกับแนวโน้มราคายางพาราปรับตัวเพ่ิมข้ึนอยู่ในเกณฑ์ดี จูงใจให้เกษตรกรบางราย ในพื้นที่ อ.เวียงสา และอ.นาน้อย ปลูกเพ่ิมในพ้ืนท่ีว่าง และลดพ้ืนท่ีปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
เพราะเหน็ วา่ ต้นทนุ การผลิตข้าวโพดเล้ยี งสัตวเ์ พมิ่ สงู ข้ึนจากราคาปุย๋ เคมที ่ปี รับตัวเพม่ิ สูงขน้ึ มากกว่าร้อยละ 50

เนอ้ื ทก่ี รีด เพ่มิ ข้นึ รอ้ ยละ 1.58 อย่ทู ่ี 245,041 ไร่ จากปี 2564 (241,241 ไร)่ เน่อื งจากตน้ ยางพาราท่เี ปดิ กรดี เปน็ ปีแรก
ระยะการเจริญเตบิ โต ณ ปัจจบุ ัน อย่ใู นระยะการกรีด
ผลผลติ เพ่ิมขน้ึ ประมาณร้อยละ 5.25 อยูท่ ี่ 44,352 ตนั จากปี 2564 (42,141 ตัน) เนื่องจากมีตน้ ยางทม่ี อี ายมุ ากข้ึนให้ผลผลิตเพ่ิมมากขนึ้
ผลผลติ ตอ่ ไร่ เพม่ิ ขึ้น ประมาณร้อยละ 3.43 อยูท่ ่ี 181 กิโลกรมั /ไร่ จากปี 2564 (175 กโิ ลกรัม/ไร)่ เนอื่ งจากมีต้นยางท่ีมีอายุมากข้นึ ให้ผลผลติ เพ่มิ มากขึน้

ชว่ งทผี่ ลผลิตออกสู่ตลาด ชว่ งเดอื นมกราคม 2565 และชว่ งเดอื นตุลาคม-ธันวาคม65 โดยผลผลิตออกสู่ตลาดมากถึง ร้อยละ 55

ในช่วงตลุ าคม-ธันวาคม 2565
(แหลง่ ข้อมลู : สว่ นสารสารเทศการเกษตร สศท.2 สศก., เศรษฐกจิ การเกษตรอาสา (ศกอ.) และสานักงานเกษตรจงั หวัด ในเขตพน้ื ทรี่ บั ผิดชอบ)

คาดการณภ์ าวะการผลติ ยางพารา หนา้ 43
ปี 2565 จังหวัดนา่ น
(ณ วันที่ 26 ตลุ าคม 2565)

เนือ้ ทีย่ ืนตน้ เน้อื ทีก่ รดี ผลผลิตต่อไร่

ปี 2536400,999 ไร่ ปี 225644 1,241 ไร่ 175ปี 2564 ก.ก./ไร่
ปี 25635 15,286ไร่ ปี 2526545,041 ไร่
181ปี 2565 ก.ก./ไร่
เพิ่มขนึ้ 14,287 ไร่ เพิ่มขึน้ 3,800 ไร่
คิดเป็น 4.74 % คิดเป็น 1.58 % เพ่ิมขน้ึ 6 ก.ก./ไร่

คิดเปน็ 3.43 %

ผลผลติ รวม ผลผลติ รายเดือน

ปี 256442,141ตัน
ปี 256544,352ตัน

เพ่มิ ขึ้น 2,211 ตนั
คิดเปน็ 5.25 %

หน้า 44

ยางพารา ปี 2565 จงั หวดั แพร่ (ณ วันที่ 26 ตลุ าคม 2565)

เน้ือที่ยืนต้น เพิ่มข้ึน ร้อยละ 6.83 อยู่ท่ี 32,885 ไร่ จากปี 2564 (30,783 ไร่) เนื่องจากเกษตรกรหันมาปลูกทดแทนพ้ืนท่ีข้าวโพดเล้ียงสัตว์ เพราะปัญหาต้นทุนการผลิตข้าวโพดฯสูง

จากราคาปุ๋ย-ยา ที่ปรับตัวสูงขึ้นมาก บางพืน้ ที่ของ อ.ลอง ต.ทงุ่ แลง้ มีการปลูกทดแทนสวนสักทีม่ ีการตัดผลผลติ ไปแล้ว ปลกู แซมในสวนส้มทีอ่ ายมุ ากแลว้ เนอื่ งจากผลติ ไดน้ อ้ ย
และราคาส้มตกต่า และปลูกเพม่ิ ในพ้ืนที่สวนปา่ วา่ งเปล่าบางส่วน

เนอ้ื ท่กี รดี เพมิ่ ขึ้น รอ้ ยละ 2.43 อยทู่ ่ี 22,017 ไร่ จากปี 2564 (21,495 ไร)่ เนอื่ งจากมีตน้ ยางพาราเปิดกรดี ใหมเ่ พ่มิ มากข้ึน
ผลผลิต เพ่ิมขึ้น ประมาณร้อยละ 19.07 อยู่ท่ี 4,595 ตัน จากปี 2564 (3,859 ตัน) เนื่องจากปริมาณน้าฝนดีกว่าปีท่ีผ่านมา ต้นยางสมบูรณ์ส่งผลให้น้ายางไหลดี ประกอบกับ

ราคายางพาราดี จูงใจให้เกษตรกรมีการดูแลสวนมากขึ้น และมีการใช้ยาป้ายหน้ายาง เพ่ือเร่งให้น้ายางไหลมากข้ึน ฝนตกเร็ว ทาให้เกษตรกรเ ปิดกรีดยางได้เร็วข้ึน ทาให้มี
จานวนวนั กรดี ยางเพ่มิ มากขนึ้

ผลผลติ ต่อไร่ เพิ่มขนึ้ ประมาณร้อยละ 19.44 อยูท่ ี่ 215 กิโลกรัม/ไร่ จากปี 2563 (180 กิโลกรมั /ไร)่ เนอื่ งจากปริมาณนา้ ฝนดกี วา่ ปที ่ีผ่านมา ต้นยางสมบูรณ์ส่งผลให้น้ายางไหลดี

ประกอบกบั ราคายางพาราดี จูงใจให้เกษตรกรใส่ใจดูแลสวนและมีการใชส้ ารปา้ ยหนา้ ยางเพอื่ เรง่ ให้น้ายางไหลเพ่มิ มากขน้ึ ฝนตกเร็วทาให้เกษตรกรเปิดกรดี ยางไดเ้ รว็

ช่วงทผี่ ลผลิตออกส่ตู ลาด ตงั้ แต่เดือน มกราคม 2565 ถงึ ธันวาคม 2565 โดยจะออกมากถงึ ร้อยละ 50 ในช่วงเดอื น ตุลาคม - ธันวาคม 2565

(แหลง่ ข้อมลู : สว่ นสารสารเทศการเกษตร สศท.2 สศก., เศรษฐกจิ การเกษตรอาสา (ศกอ.) และสานกั งานเกษตรจังหวัด ในเขตพนื้ ท่ีรบั ผิดชอบ)

ยางพาราคาดการณ์ภาวะการผลิต หน้า 45

ปี 2565 จังหวดั แพร่
(ณ วนั ที่ 26 ตลุ าคม 2565)

เน้ือที่ยนื ตน้ เนอ้ื ทก่ี รดี ผลผลติ ตอ่ ไร่

ปี 25634 0,783 ไร่ ปี 252641,495 ไร่ 180ปี 2564 ก.ก./ไร่
ปี 256532,885 ไร่
ปี 256252,017 ไร่ 215ปี 2565 ก.ก./ไร่
เพม่ิ ข้นึ 2,102 ไร่ เพม่ิ ขนึ้ 522 ไร่
คดิ เปน็ 6.83 % คดิ เป็น 2.43 % เพ่ิมขึ้น 35 ก.ก./ไร่

คิดเป็น 19.44 %

ผลผลติ รวม ผลผลติ รายเดอื น

ปี 25643,859 ตนั

ปี 25654,595 ตัน

เพิม่ ข้นึ 736 ตนั
คดิ เปน็ 19.07 %

หนา้ 46

สศท.2 คาดการณ์ภาวการณ์ผลิต ยางพารา ปี 2565 จงั หวดั สุโขทยั (ณ วันท่ี 1 กรกฎาคม 2565)

เนื้อท่ียืนต้น เพิ่มข้ึน ร้อยละ 2 อยู่ที่ 53,919 ไร่ จากปี 2564 (52,862 ไร่) เนื่องจากเกษตรกรในบางพื้นที่หันมาปลูกยางพาราแทนเงาะ ส้มเขียวหวาน และข้าวโพด

เลี้ยงสตั ว์ เพราะเหน็ ว่าการผลติ ยางพารามตี ้นทุนการผลติ ท่ีต่ากว่า จากสถานการณก์ ารปรับเพม่ิ ข้ึนของราคาปุ๋ยเคมีมากถึงร้อยละ 50 ประกอบกับปีน้ีแนวโน้มราคายางพารา
ปรบั ตัวเพ่ิมขึ้นอยู่ในเกณฑ์ดี มีปริมาณน้าฝนมาก สภาพอากาศเอื้ออานวย มีช่วงฤดูแล้งสั้น ทาให้ดินมีความชื้นท่ีเพียงพอเหมาะสมต่อกา รบารุงลาต้นในช่วงปลูกใหม่จูงใจให้
เกษตรกรหันมาปลูกเพ่ิมในพน้ื ทว่ี ่าง และประการหนงึ่ คือการยางเปดิ ใหพ้ วกไม่มีเอกสารสทิ ธร์ิ บั ข้ึนทะเบยี นดว้ ย

เนื้อท่ีกรีด เพม่ิ ขึ้น ร้อยละ 0.72 อย่ทู ่ี 51,897 ไร่ จากปี 2564 (51,527 ไร)่ เนอ่ื งจากมีตน้ ยางพาราที่เปิดกรีดปีแรกเพิม่ มากขน้ึ
ผลผลิต ลดลงร้อยละ 1.21 อยทู่ ่ี 9,809 ตนั จากปี 2564 (9,692 ตัน) เนื่องจากเนอ้ื ที่กรดี และผลผลติ ต่อไร่ท่ีเพม่ิ ขึ้น
ผลผลิตต่อไร่ เพ่ิมข้ึน ร้อยละ 0.53 อยู่ท่ี 189 กิโลกรัม/ไร่ จากปี 2563 (188 กิโลกรัม/ไร่) เน่ืองจากมีฝนตกชุกในช่วงปลายปี 2564 ทาให้ต้นยางพารามีความสมบูรณ์

ประกอบกับสภาพอากาศเอ้ืออานวยตอ่ การอัตราการผลิตนา้ ยางของลาตน้ อย่างไรกต็ าม ยังคงตอ้ งติดตามสถานการณ์การปรับเพิ่มข้ึนอย่างมากของราคาปุ๋ยเคมี ท่ีอาจทาให้
เกษตรกรบางรายลดปรมิ าณการใส่ปยุ๋ ซงึ่ สง่ ผลกระทบตอ่ ผลผลติ ตอ่ ไร่

ช่วงท่ีผลผลิตออกสู่ตลาด ช่วงเดือนมกราคม –กุมภาพันธ์ 2565 และช่วงเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม โดยผลผลิตออกสู่ตลาดมากถึงร้อยละ 50 ในช่วงตุลาคม-

ธันวาคม 2565
(แหลง่ ข้อมูล : ส่วนสารสารเทศการเกษตร สศท.2 สศก., เศรษฐกจิ การเกษตรอาสา (ศกอ.) และสานกั งานเกษตรจังหวัด ในเขตพืน้ ทรี่ บั ผิดชอบ)

คาดการณภ์ าวะการผลิตยางพารา หนา้ 47

ปี 2565 จังหวดั สุโขทยั
(ณ วันท่ี 1 กรกฎาคม 2565)

เนื้อท่ียืนตน้ เนอื้ ทีก่ รีด ผลผลติ ต่อไร่

ปี 25654 2,862 ไร่ ปี 255641,527 ไร่ 188ปี 2564 ก.ก./ไร่
ปี 256553,919 ไร่
ปี 256551,897 ไร่ 189ปี 2565 ก.ก./ไร่
เพิ่มขึ้น 1057 ไร่ เพิม่ ขึ้น 370 ไร่
คิดเป็น 2.0 % คิดเป็น 0.72 % เพม่ิ ขึน้ 1ก.ก./ไร่

คิดเปน็ 0.53 %

ผลผลิตรวม ผลผลิตรายเดอื น

ปี 2564 9,692 ตัน
ปี 2565 9,809 ตัน

เพ่ิมขน้ึ 117 ตนั
คิดเปน็ 1.21 %

หน้า 48

ยางพารา ปี 2565 จงั หวดั อุตรดติ ถ์ (ขอ้ มูลคาดการณ์ ณ วนั ท่ี 26 ตลุ าคม 2565)

เนื้อทย่ี นื ตน้ เพ่ิมข้นึ รอ้ ยละ 9.24 อยู่ที่ 29,435 ไร่ จากปี 2564 (26,945 ไร)่ เนือ่ งจากเกษตรกรบางส่วน ในพนื้ ท่ี อ.นา้ ปาด อ.ฟากท่า อ.บา้ นโคก หนั มาปลกู ยางพารา

แทนพน้ื ทข่ี า้ วโพดเลี้ยงสัตว์ จากสถานการณก์ ารปรบั เพิ่มข้นึ ของราคาปยุ๋ เคมีมากส่งผลทาใหต้ น้ ทุนการผลติ ข้าวโพดเลี้ยงสตั วเ์ พิม่ สูงข้ึน กาไรจากการผลิตลดลง อีกทัง้ ในบาง
พื้นท่ขี อง อ.นา้ ปาด มีการปรบั เปลย่ี นพน้ื ที่ปลูกยางพาราแทนสบั ปะรด ทร่ี าคามคี วามผนั ผวน และปรบั ตัวลดลงอย่างมาก และแนวโน้มสถานการณ์ราคายางพาราทป่ี รับตัว
เพม่ิ ขึน้ อยูใ่ นเกณฑด์ ี จูงใจให้เกษตรกรหันมาปลกู เพิ่มในพืน้ ท่วี า่ ง เพราะคาดวา่ กาไรจากการผลติ น่าจะสงู กว่าพืชชนดิ อนื่

เนือ้ ท่กี รดี เพ่มิ ข้ึน รอ้ ยละ 7.21 อยู่ท่ี 18,927 ไร่ จากปี 2564 (17,654 ไร)่ เนื่องจากมตี ้นยางพาราเปดิ กรีดใหม่เพิ่มขึ้น

ผลผลติ เพมิ่ ขึน้ ประมาณรอ้ ยละ 13.10 อยทู่ ่ี 2,744 ตัน จากปี 2564 (2,426 ตนั ) เนอื่ งจากมสี วนยางพาราเปดิ กรีดเพมิ่ ขนึ้ และมตี น้ ยางพาราที่อายอุ ยูใ่ นช่วงให้ผลผลติ

สงู เพม่ิ มากขนึ้ ทาให้ผลผลติ ภาพรวมเพมิ่ ขน้ึ

ผลผลติ ตอ่ ไร่ เพิม่ ขึ้น ประมาณรอ้ ยละ 5.84 อยูท่ ี่ 145 กโิ ลกรัม/ไร่ จากปี 2564 (137 กิโลกรัม/ไร่) เน่ืองจากมีฝนตกชุกในช่วงปลายปี 2564 ประกอบกับสภาพอากาศ

เอ้อื อานวยทาให้ต้นยางพารามีความสมบูรณ์สามารถผลติ น้ายางได้ดี ประกอบกบั แนวโน้มสถานการณ์ราคายางพาราที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑด์ ี จูงใจให้เกษตรกรดแู ลสวน และเปิด
กรีดยางเปน็ ระยะเวลานานมากกวา่ ปีท่ผี ่านมา

ชว่ งทผ่ี ลผลติ ออกส่ตู ลาด ชว่ งเดอื นมกราคม –กุมภาพันธ์ 2565 และช่วงเดอื นพฤษภาคม-ธนั วาคม 2565 โดยจะออกมากถึงร้อยละ 55 ในชว่ งเดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2565

(แหลง่ ข้อมูล : ส่วนสารสารเทศการเกษตร สศท.2 สศก., เศรษฐกจิ การเกษตรอาสา (ศกอ.) และสานกั งานเกษตรจงั หวดั ในเขตพื้นทร่ี ับผิดชอบ)

คาดการณภ์ าวะการผลติ ยางพารา หนา้ 49
ปี 2565 จงั หวดั อุตรดิตถ์
(ณ วนั ท่ี 26 ตุลาคม 2565)

เนอ้ื ท่ยี นื ต้น เนื้อท่กี รดี ผลผลิตต่อไร่

ปี 25624 6,945 ไร่ ปี 251647,654 ไร่ 137ปี 2564 ก.ก./ไร่
ปี 256529,435 ไร่
ปี 256158,927 ไร่ 145ปี 2565 ก.ก./ไร่
เพ่ิมข้ึน 2,490 ไร่ เพมิ่ ขน้ึ 1,273 ไร่
คิดเปน็ 9.24 % คิดเปน็ 7.21 % เพิม่ ขนึ้ 8 ก.ก./ไร่

ผลผลติ รายเดือน คิดเป็น 5.84 %

ผลผลติ รวม

ปี 25642,426 ตัน
ปี 2565 2,744 ตนั

เพิ่มข้ึน 318 ตนั
คิดเป็น 13.10 %


Click to View FlipBook Version