การจัดท าภาวะเศรษฐกิจการเกษตรภาคเหนือ สาขาพืช และสาขาบริการทางการเกษตร ส ำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรที่ 2 พิษณุโลก
สาขาพืช ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมร้อยละ เพิ่ม/ลด ของผลผลิตแต่ละสินค้า
สาขาพืช ขั้นตอนที่ 2 น าร้อยละเพิ่ม/ลดแต่ละสินค้า มาถ่วงน้ าหนักตามสัดส่วนของผลผลิต แต่ละจังหวัด จากนั้น หาค่าเฉลี่ยร้อยละเพิ่ม/ลดแต่ละสินค้า โดยพิจารณาข้อมูล จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตส าคัญ
สาขาพืช ขั้นตอนที่ 3 จัดท าฐานข้อมูลผลผลิต และราคารายเดือน ปี 2548 – 2566
สาขาพืช ขั้นตอนที่ 4 น าเข้าข้อมูลในโปรแกรม Excel (Template) เพื่อค านวณหาค่าดัชนีผลผลิต และดัชนีราคา
สาขาพืช ขั้นตอนที่ 5 น าค่าดัชนีผลผลิต ลงใน Excel (Pro Rata) เพื่อประมาณการ GPP ปีที่ยังไม่มีข้อมูล (ปัจจุบัน สศช.มีถึงปี 2563) โดยใช้โปรแกรม Eviews
สาขาพืช ขั้นตอนที่ 6 การตรวจสอบสัดส่วน-source of growth
สาขาพืช ขั้นตอนที่ 7 จัดท ารายงาน ภาวะฯ
สาขาบริการทางการเกษตร ขั้นตอนที่ 1 น าข้อมูลเนื้อที่เก็บเกี่ยวแต่ละสินค้า มาค านวณให้ เป็นเนื้อที่เก็บเกี่ยวรายเดือน โดยใช้ร้อยละผลผลิตจากสาขาพืช
สาขาบริการทางการเกษตร ขั้นตอนที่ 2 น าข้อมูลเนื้อที่เก็บเกี่ยวรายเดือนแต่ละสินค้ามารวมกัน จะได้เนื้อที่เก็บเกี่ยวของทุกสินค้ารวมทั้งหมดรายเดือน ขั้นตอนที่ 3 ค านวณหาร้อยละของเนื้อที่เก็บเกี่ยวรายเดือน เพื่อ น าร้อยละที่ได้ไปค านวณ GPP รายเดือน (เฉพาะรอบครึ่งแรกปี) ขั้นตอนที่ 4 น าข้อมูลเนื้อที่เก็บเกี่ยวสินค้าสาขาพืช (เฉพาะสินค้า ที่ใช้เครื่องจักรกลการเกษตรในการเก็บเกี่ยว) ไปประมาณการ GPP โดยใช้โปรแกรม Eviews
องค์ประกอบที่ส าคัญในการจัดท าภาวะฯ ให้มีประสิทธิภาพ 1. องค์ความรู้ (แนวคิด ทฤษฎี สินค้าเกษตร สถานการณ์ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) และประสบการณ์ของเจ้าหน้าที่ 2. ความรอบรู้ / ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล / เจ้าหน้าที่จังหวัดผู้ให้ข้อมูล 3. การวิเคราะห์โดยบูรณาการร่วมกับหน่วยงานจังหวัด ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ ในพื้นที่
Thank You..