The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Krunoo_saowanee, 2021-09-15 03:38:04

Online Skill Coaching

Skill Coaching

Keywords: noonid

1

เนือ้ หาหลักสตู รออนไลน์

จุดประสงค์ของการจดั ทาหลักสูตรอบรมออนไลน์
ทดสอบก่อนการอบรมดว้ ยระบบออนไลน์

1. ท่ีมาของการเปลย่ี นครูผสู้ อนเปน็ โค้ช
2. บทบาทหนา้ ทข่ี องครูในศตวรรษท่ี 21
3. โคช้ การสอนคอื อะไร
4. หลกั การโค้ชการสอน
5. บทบาทหน้าท่ี / ภารกจิ ของโคช้
6. กระบวนการ / ขัน้ ตอนการโค้ช
7. รูปแบบการโคช้
8. เง่ือนไขความสาเร็จ
ทดสอบหลังการอบรมด้วยระบบออนไลน์

2

จดุ ประสงคข์ องการจดั ทาหลักสตู รอบรมออนไลน์

1. เพื่อเปน็ การพฒั นาตนเองในงานวิชาชีพ
2. เพ่ือเผยแพร่ความรู้ดว้ ยระบบออนไลนผ์ า่ นเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต
3. เพอ่ื ให้ครู บุคลากรทางการศึกษา และผทู้ ส่ี นใจได้ทดสอบความรูจ้ าการได้อ่านความรู้
4. เพ่ือพัฒนาทักษะความรดู้ า้ นการจดจา หลงั จากศึกษาเน้ือหา
5. เพือ่ อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารแบบออนไลน์ ศึกษาเนอ้ื หาแล้วทาแบบทดสอบถึงจะไดร้ ับวุฒิบัตร
6. เพ่อื ประเมินตนเองหลังจากศึกษาความรู้
7. เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถในการจดั การเรียนการสอน การเปลีย่ นครผู ู้สอน
เปน็ โค้ชไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ

กลุ่มเป้าหมาย

1. คณะครู บุคลากรทางการศึกษา ในสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1
2. ผูส้ นใจ บคุ ลทว่ั ไป

1. ทีม่ าของการเปลี่ยนครผู ู้สอนเป็นโคช้

กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดให้ผู้เรียนมีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษ ท่ี 21 เป็นทักษะของการเรียนรู้
(learning skills) 3R x 8C เป็นบุคคลที่มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ดังนั้น ครูในฐานะผู้สอนควรให้ความสาคัญ
กบั การจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ ในขณะเดียวกันต้องไม่ลมื ว่าครูเองกเ็ ป็นผู้มีความสาคัญใน
บทบาทที่แตกต่างกันแต่มีเป้าหมายเดียวกันคือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ มีทักษะและมี เจตคติ
ท่ีดีในการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ด้วยเหตุปัจจัยทางสงั คม เทคโนโลยีและการสือ่ สารที่เปลยี่ นแปลง
ไปทาให้การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เน้นพัฒนาผู้เรียนให้ทันกับยุคสมัย ทันกับปัญหาท่ีเกิดขึ้นท้ัง
โดยตรงและโดยอ้อม สามารถก้าวผ่านอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเกดิ ข้ึนได้ดว้ ยการใช้ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติท่ีได้รับ
การพัฒนามาจากห้องเรียนและนอกห้องเรียนโดยมีครูทาหน้าท่ีตามบทบาทต่าง ๆ อย่างเต็มเปี่ยม
ดว้ ยประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล

สานักงานเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๑ ได้ตระหนักถึงความสาคัญของนักเรียน
ในการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVIC-19)
โดยปรับวิธีเรียนเปล่ียนวิธีสอน โดยให้ครูเปลี่ยนบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่จากครูผู้สอนเป็น “coach”
หรือ ผู้อานวยการเรียนรู้ ทาหน้าท่ีกระตุ้นสร้างแรงบันดาลใจ แนะนาวิธีเรียนรู้และวิธีจัดระเบียบสร้างความรู้
ออกแบบกิจกรรมและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน เพื่อให้สถานศึกษามีความเข็มแข็งในการ บริหาร
และการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนท่ีตอบสนองความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล และคณุ ลักษณะของบุคคลในศตวรรษที่ 21 เพ่ือตอบสนองกบั สถานการณ์ปัจจบุ นั

3

2. บทบาทหน้าที่ของครใู นศตวรรษท่ี 21

1. เป็นผู้อานวยความสะดวก (facilitator)
2. ครูเป็นผู้แนะแนวทาง (guide/coach)
3. ครูเปน็ ผูร้ ่วมเรยี นรู้/รว่ มศกึ ษา (co-learner/co-investigator)

http://goo.gl/oXoqaM

บทบาทหน้าที่ของครู

บทบาทของครูยุคใหม่ คือการทาหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือผู้เรียนให้พัฒนาตนเองให้ได้เต็ม ศักยภาพ
และส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพราะเทคโนโลยีในทุกวันนี้มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วและ ล้าสมัย
ผู้คนในยุคใหม่จึงต้องเรียนรู้สิ่งใหม่ตลอดเวลา ดังน้ันครูต้องปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยีและคอย แนะนา
แนวทางการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเด็กอย่างเข้าใจ และพร้อมที่จะทุ่มเทวิชาความรู้ด้วยวิธีการ สมัยใหม่
ตามธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตาม แม้เทคโนโลยีจะเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ความสามารถ
ของครูยุคใหม่อาจจะไม่ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ทันเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้แต่สง่ิ ที่ครูสามารถท่ีจะบอกนักเรยี น
ได้ว่าข้อมูลใดสามารถ นาไปปรับใช้กับชีวิตจริง แต่สิ่งท่ีสาคัญ ท่ีจะหาไม่ได้จากเทคโนโลยีสมัยใหม่คือ
ศีลธรรม คุณธรรมท่ีครูสอนถ่ายทอดให้เด็กซึ่งเป็นส่วนสาคัญอันจะถูก พัฒนาไปพร้อมกับสติปัญญาเพื่อให้
ความรู้แก่อนาคตของชาติอย่างถูกต้องสมบูรณ์ยั่งยืนต่อไป ครูมุ่งมั่น ในศตวรรษท่ี 21 ที่ผมนามาแบ่งออก
เปน็ 6 องคป์ ระกอบ

4

1. ครูเป็นโค้ช
2. เน้นตง้ั คาถาม-ถามตอบ
3. ไมต่ อ้ งอายทจี่ ะบอวา่ “ไม่รู้”
4. สร้างแรงบันดาลใจให้ นักเรยี น
5. ให้ feedback กับนกั เรียน
6. สร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้

http://goo.gl/s3LKE2

ทักษะดา้ นการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม จะเป็นตัวกาหนดความพรอ้ มของนักเรียนเข้าสู่โลกการทางานท่ีมคี วาม
ซบั ซ้อนมากขนึ้ ในปัจจุบัน ได้แก่
* ความริเร่มิ สรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม
* การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา
* การสื่อสารและการร่วมมือ

ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี เน่อื งด้วยในปัจจบุ ันมีการเผยแพรข่ ้อมลู ข่าวสารผา่ นทางส่อื
และเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรยี นจึงตอ้ งมีความสามารถในการแสดงทักษะการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและ
ปฏบิ ัติงานได้หลากหลาย โดยอาศยั ความรใู้ นหลายด้าน ดังน้ี
* ความรู้ดา้ นสารสนเทศ
* ความรเู้ กยี่ วกบั สอ่ื
* ความรู้ด้านเทคโนโลยี

5

ทักษะดา้ นชีวติ และอาชีพ ในการดารงชวี ติ และทางานในยุคปจั จบุ ันให้ประสบความสาเร็จ นักเรยี นจะตอ้ ง
พัฒนาทักษะชีวติ ทสี่ าคญั ดงั ต่อไปน้ี
* ความยืดหยนุ่ และการปรับตัว
* การริเริ่มสรา้ งสรรค์และเปน็ ตัวของตัวเอง
* ทักษะสงั คมและสังคมข้ามวฒั นธรรม
* การเปน็ ผสู้ รา้ งหรือผผู้ ลติ (Productivity) และความรบั ผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability)
* ภาวะผ้นู าและความรับผิดชอบ (Responsibility)

คุณลกั ษณะของครูในยุคศตวรรษท่ี 21
ครูเปน็ บุคคลทสี่ ังคมใหค้ วามสาคญั และยกย่อง ครูเปน็ บคุ คลสาคัญในการจัดกระบวนการเรียนรเู้ ป็น

บคุ คลทส่ี ง่ เสรมิ และสรา้ งสรรคก์ ารเรียนร้ขู องผู้เรียนใหม้ ีคุณภาพ คณุ ภาพของผเู้ รยี นขน้ึ อย่กู ับคุณภาพของครู
ในบนั ทึกน้ี ใคร่ขอเสนอลกั ษะของครูในยุคศตวรรษที่ 21 มาดังน้ี

ต้องเปลี่ยนบทบาทใหม่จากเคยเป็นผู้สอน ผใู้ ห้ความรูม้ าเป็น
1. ครูเป็นผูอ้ านวยความสะดวก (facilitator)
2. ครเู ปน็ ผแู้ นะแนวทาง (guide/coach)
3. ครูเป็นผู้รว่ มเรยี น/ผู้รวมศกึ ษา (co - learning/co - investigator)

ลักษณะของครใู นยุคศตวรรษท่ี 21
ตอ้ งมลี ักษณะตามท่ีทา่ นผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการศกึ ษา ได้แสดงไวเ้ ป็นตัวอยา่ ง ดงั น้ี

ดร.ออ่ งจิต เมธยะประภาส(2557) กล่าววา่ "ครูในยคุ ศตวรรษที่ 21 ต้องมลี ักษณะ E - Teacher"ดังนี้
1. Experience มีประสบการณใ์ นการจัดการเรียนรู้แบบใหม่
2. Extended มที ักษะการแสวงหาความรู้
3. Expended มีความสามารถในการถา่ ยทอดหรอื ขยายความรูข้ องตนสู่นกั เรยี น

ผา่ นสอื่ เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
4. Exploration มคี วามสามารถในการเสาะหาและคดั เลือกเนอ้ื หาความร้หู รือเน้ือหา

ทที่ ันสมัย เหมาะสมและเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้เรียนผ่านทางส่ือเทคโนโลยี
5. Evaluation เป็นนกั ประเมินท่ีดี มีความบริสทุ ธ์ิและยตุ ิธรรม และสามารถใชเ้ ทคโนโลยี

ในการประเมินผล
6. End - User เปน็ ผู้ที่ใชเ้ ทคโนโลย(ี user) อย่างคุ้มคา่ และใชไ้ ด้อย่างหลากหลาย
7. Enabler สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี รา้ งบทเรียน
8. Engagement ตอ้ งร่วมมือและแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ซ่ึงกันผ่านส่อื เทคโนโลยจี นพัฒนา

เปน็ เครือขา่ ยความร่วมมือ เช่น เกิดชมุ ชนครบู น web
9. Efficient and Effective สามารถใชส้ ื่อเทคโนโลยีอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผล

ทง้ั ในฐานะที่เป็นผผู้ ลิตความรู้ผ้กู ระจายความรู้และผู้ใช้ความรู

6

ท่ีมาข้อมูล
บทบาทหนา้ ที่ของครใู นศตวรรษที่ 21. ค้นเมื่อ 13 กรกฎาคม 2563, จาก http://www.vcharkarn.com
/varticle/60454.

นายพนมนคร มรี าคา.(2563). คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย. ครตู อ้ งมีลกั ษณะ
อยา่ งไร...ในศตวรรษท่ี 21. คน้ เมือ่ 13 กรกฎาคม 2563, จาก http://ojs.mbu.ac.th/index.php
/edj/article/download/152/125/.

7

3. โคช้ การสอนคอื อะไร

Jim Knight (2006) ให้คานิยามไว้วา่ โคช้ การสอน หมายถงึ นกั พฒั นามืออาชีพท่ีอยู่เคยี งข้าง
ผู้เป็นหุ้นส่วน (partners) เพ่ือช่วยชี้แนะ และช่วยเหลือด้วยการนาวิธีการสอนที่พิสูจน์แล้วว่าเป็นวิธีการ
ท่ดี ีนาไปส่กู ารปฏิบัตไิ ด้

Gary Bloom, Claire Castagna และ Betsy Warren (2003) กล่าวว่าการโค้ชเป็นการใช้
ภาวะผู้นาเพื่อนาครูไปสู่ความสาเร็จตามความปรารถนาของครูเอง การโค้ชการสอนเป็นไปเพื่อความเจริญ
งอกงามของครู มิใช่การประเมินความสามารถของครู โค้ชการสอนและครูมีสิทธ์ิ มีเสียงเท่ากับครู ท่ีจะนา
นกั เรียนไปสคู่ วามสาเร็จ โคช้ การสอน คือเพ่ือนรว่ มเดินทางของครู

Ellen B. Eisenberg, Dianne Arnold, Tom Sebastian, ไ ด้ ก ล่ า ว ไ ว้ ใ น พ า ว เ ว อ ร์ พ้ อ ย
การนาเสนอเร่ือง CFF Coaches’ Training ว่า โค้ช คือ ครู เพื่อน บ่าท่ีพร้อมจะรับความหนักอกหนักใจ
เพอ่ื นร่วมงาน ผูส้ มรู้รว่ มคิด ผวู้ นิ ิจฉยั ที่ปรึกษา มัคคุเทศก์ เทคนิคเชี่ยนยามฉุกเฉินของครู (an emergency
technician) ผทู้ ่พี รอ้ มจะชว่ ยเหลอื ครู

เมื่อพิจารณาโดยรวมแล้ว โค้ชการสอน ก็คือ หุ้นส่วนและเพ่ือนคู่คิดของครู ผู้นาครูไปสู่ความ
เจริญงอกงามในการเรียนรู้ของนักเรียน ด้วยความพึงพอใจของครู หรือจะสรุปอย่างส้ันๆ ก็คือ เพื่อนคู่คิด
การสอนท่คี รูพงึ พอใจ

การโค้ช (Coaching) ถอื ได้วา่ เป็นวธิ ีการส่งเสริมและให้เวลาแก่ครูและเพื่อนร่วมงาน ไดม้ ีการ
ไตร่ตรองสะท้อนคิด (Reflect) ซึ่งจะประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญเดียวกัน คือ การะประชุมปรึกษาหารือ
การสังเกตการสอน และการให้ข้อมูลย้อนกลับ พร้อมกับช่วยให้ครูได้พูดคุยเก่ียวกับเป้าหมายในการปฏิบัติ
หน้าท่ีเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนให้มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง รวมถึงครูจะต้องให้การเคารพและเชื่อฟัง
คาแนะนาจากผู้ให้คาปรึกษาแนะนาและสอบถามเก่ียวกับปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากการสังเกตการเรียนการสอน
เพ่ือให้ได้ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะที่จะช่วยสะท้อนผลการเรียนการสอนท่ีแตกต่างกันออกไป รวมถึงใช้เป็น
ข้อมูลในการตดั สนิ ใจในครั้งต่อไป

ท่ีมาข้อมูล
โค้ชการสอน(Instructional Coach). สมาคมศึกษานเิ ทศก์แหง่ ประเทศไทย. คน้ เมอื่ 13 กรกฎาคม
2563, จาก https://sites.google.com/site/suksanitheskrun6/home.

นายบญุ ยฤทธิ์ ปยิ ะศรี.(2563). การโค้ช (Coaching) คู่มือการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั
การศึกษา สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 30. คน้ เมือ่ 13 กรกฎาคม 2563,
จาก https://www.sesao30.go.th/module/view.php?manual=01คูม่ อื ปฏิบตั ิงานศน.บญุ ยฤทธ์ิ.pdf.

8

4. หลกั การโค้ชการสอน

ในการโค้ชการสอน The University of Kansus Center for Research on Learning ได้ให้
หลกั การโค้ชการสอน ไว้ 3 ประการ คือ

1. การให้ทางเลือก (Choice) โค้ชการสอนให้ความเคารพในความเป็นมืออาชีพ และการ
ตดั สนิ ใจของครู โค้ชการสอน จะเสนอทางเลือกให้ครูอย่างกว้างๆ เพอ่ื ใหค้ รูนาไปพิจารณาใช้ หรอื ปรับใช้ได้
อย่างเหมาะสมกบั นักเรยี นของตนเอง

2. การสนทนา (Dialogue) โค้ชการสอน และครู จะใช้เวลาในการพูดคุยเกี่ยวกับการเรยี นรู้
และการสอน โดยใชค้ วามคิดร่วมกันอยา่ งอสิ ระ และสร้างสรรค์

3. การนาความคิดสู่การปฏิบัติ (Knowledge in action) โคช้ การสอนจะต้ังสมมติฐานไว้ว่า
การเรียนรทู้ ่เี รว็ ทส่ี ดุ จะเกดิ ข้นึ เม่ือมกี ารปฏิบัตงิ านจริง โค้ชการสอนและครจู ึงร่วมกนั ปฏิบัติอยา่ งสร้างสรรค์

4. ความเป็นหุ้นส่วนการเรียนรู้นอกจากหลักการโค้ชการสอนท้ัง 3 ประการที่กล่าวมา
Jim Knight ได้กล่าวถึง หลักการของ หุ้นส่วนการเรียนรู้ (Partnership Learning) 7 ประการท่ีมีหลักการ
โคช้ ทง้ั 3 ประการอยู่ดว้ ย อกี 4 ประการทย่ี ังไมไ่ ดก้ ลา่ วถงึ มี ดังน้ี

4.1 ความเสมอภาค(Equality) ความเป็นหุ้นส่วนมสี ทิ ธิที่จะเสนอ สนองเทา่ เทยี มกนั
ไม่มีใครเหนือกว่าใครในคิด การแสดงความคิดเห็น การรับประโยชน์จากการกระทาภายใต้บทบาทหน้าท่ีของ
แต่ละคน ที่แต่ละคนต้องเคารพต่อกัน

4.2 เสียง (Voice) ผ้เู ปน็ ห้นุ สว่ นได้รับโอกาสในการแสดงทัศนะ และรับฟังเสยี งของ
ผูอ้ ่ืน เพื่อคน้ หาสิ่งท่ตี ้องการทจี่ ะเขา้ ใจให้เข้าใจจริง ทง้ั เน้ือหาสาระและบคุ ลิกลักษณะ

4.3 การสะท้อนผู้เป็นหุ้นส่วนสามารถตอบสนองต่อส่ิงเร้า เพ่ือแสดงออกถึงความ
เข้าใจ เจตคตวิ า่ เปน็ อย่างไร มากน้อยเพยี งใดเพื่อจะได้รักษา หรอื พฒั นาการเรียนรู้และการปฏบิ ัติทส่ี ืบเนื่อง
จากการเรยี นรตู้ ่อไป

4.4 การเข้าถึง การเข้าถึงเพ่ือให้การนาความรู้ใหม่ไปใช้เพ่ือวัตถุประสงค์อย่างใด
อย่างหน่ึงได้สาเร็จ ผู้ใช้ต้องเข้าใจสภาพความจริงที่เป็นอยู่ ใช้ความล้าลึกในวิธีคิดที่จะปฏิบัติใหเ้ ป็นผลสาเร็จ
การเข้าถึง และเขา้ ใจหนุ้ สว่ น ก็จะชว่ ยรักษาความเปน็ หุ้นส่วน หรอื พัฒนาความเปน็ หนุ้ สว่ น

ทมี่ าข้อมูล
โค้ชการสอน(Instructional Coach). สมาคมศกึ ษานิเทศก์แหง่ ประเทศไทย. ค้นเมือ่ 13 กรกฎาคม
2563, จาก https://sites.google.com/site/suksanitheskrun6/home.

9

5. บทบาทหนา้ ที่ / ภารกจิ ของโค้ช

ภายใต้หลักการโค้ชการสอน และจุดมุ่งหมายท่ีกล่าวมาแล้วโค้ชการสอน จะต้องมีทักษะในหลาย
บทบาท รวมทง้ั มนุษยสัมพันธ์ การสอ่ื สาร การจัดการ และความเป็นผเู้ ช่ียวชาญทางการศกึ ษา เช่น

1) สร้างความเช่ือถือต่อการบริการโค้ชการสอน จัดประชุมครู กลุ่มย่อยโดยใช้ระยะเวลา
ส้ันๆ เพือ่ อธบิ ายเป้าหมาย ปรัชญา กิจกรรมตา่ งๆ ทจ่ี ะนามาใช้ และการสนับสนนุ ท่จี ะนามาใช้ ในฐานะโค้ช
การสอน ให้เวลาในการซักถาม และให้ข้อมลู ท่ที าให้ครูเกิดความสนใจทจี่ ะรว่ มทางานดว้ ย

2) วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการจาเปน็ ของครู โคช้ จะพบกับครใู นเวลาทค่ี รสู ะดวก เพอ่ื ค้นหา
ความต้องการจาเป็นและสนทนาถึงส่งิ สอดแทรก (intervention) เช่น วิธีการ กิจกรรม สื่ออุปกรณ์ ท่ีจะช่วย
แก้ปัญหาความต้องการของครู ในการสนทนาโค้ชจะใช้คาถามปลายเปิด และเสนอทางเลือก จุดประกาย
ความคิด แนะแนวทางโดยใช้คู่มือ รายการตรวจสอบ (checklist) และส่ืออื่นๆ เพ่ือให้ครูได้ตัดสินใจด้วย
ตวั เอง

3) สร้างความร่วมมือในการหากิจกรรมสอดแทรกโค้ชการสอน และครูจะสร้างเป้าหมาย
ร่วมกัน ร่วมกันวางแผนจัดกิจกรรมสอดแทรกที่จะช่วยครูได้ดีท่ีสุด เช่น ระบุว่าวิธีการสอนแบบสร้างองค์
ความรู้ จะสามารถช่วยเสริมสร้างการคิดวิเคราะห์ให้นักเรียนได้ โค้ชการสอน และครูก็จะอภิปรายกัน
ถงึ รายละเอยี ด จนครูมองเห็นแนวทางทจ่ี ะนาไปปฏบิ ตั ิได้

4) เตรียมส่อื อปุ กรณเ์ ปา้ หมายของโคช้ การสอน กค็ อื การทาใหง้ า่ ย และเปน็ ไปได้ที่จะชว่ ย
ให้ครูประสบความสาเร็จในการสอน โค้ชจะพยายามลดภาระของครูให้มากที่สุดเท่าท่ีจะทาได้ในบาง
สถานการณ์ การเตรียม สอ่ื อปุ กรณ์ เป็นส่วนหนึ่งที่โคช้ จะชว่ ยครไู ด้

5) สงั เกตการสอนของครูตามแผนท่วี างไว้ และใหข้ อ้ มูลย้อนกลบั การร่วมกจิ กรรมการเรียน
การสอนครูในชนั้ เรียนเพ่ือให้ครูได้สังเกตการสอน หรอื สงั เกตการสอนของครู เพอื่ ใหข้ ้อมูลย้อนกลับที่ถูกต้อง
ดว้ ยความเปน็ กัลยาณมติ ร และครูรับไปปฏิบัติเป็นบทบาทสาคัญของโค้ช

หน้าท่ีของผู้ที่ทาการโค้ช
1. ผู้โค้ชเปน็ บุคคลคนท่ีเหน็ ส่ิงทีค่ นอน่ื ไม่มองเหน็ และมีความเชี่ยวชาญท่ีให้คาปรกึ ษาและรับฟงั ผ้รู ับ

คาปรกึ ษา
2. ผโู้ คช้ ตอ้ งอยู่ในสถานะผูใ้ ห้ผลสะท้อนกลบั (ผู้มีส่วนรว่ มในการสะท้อนผล) และเปน็ ผเู้ ก็บ

รายละเอยี ดจากสถานการณท์ ี่เกิดขน้ึ ในการจดั การเรยี นการสอนใหก้ ับผูส้ อนเพื่อเติมเต็มในสว่ นทข่ี าดหายไป
3. ตอ้ งเป็นผู้คอยให้ความช่วยเหลอื ครูแต่ละคนดว้ ยความเต็มใจ และให้กาลงั ใจในการทางานที่เกดิ

จากความตงั้ และความคิดในการจดั การเรียนการสอน
4. ตอ้ งเปน็ ผู้คอยช่วยใหค้ รสู ามารถเลอื กรปู แบบ เทคนิควธิ ีการสอนไดด้ ้วยตนเอง ทจี่ ะช่วยใหค้ รู

มีความมน่ั ใจในการเรยี นการสอน (Robert Hargrove, Masterful Coaching. 1995)

10

วัชรา เล่าเรียนดี (2556. 292) ได้กล่าวถึงบทบาทของโคช้ โดยทางานร่วมกบั ครู อานวยความสะดวก
ส่งเสรมิ ผสานผสมความคิด และเพื่อการพัฒนาวิชาชีพและผลการเรยี นรู้ของผู้เรียนในหลายบทบาท เช่น

1. โค้ชในบทของผู้ให้ข้อมลู ช่วยวเิ คราะห์ข้อมลู และใช้ขอ้ มูลในการออกแบบพัฒนาการเรียนรู้
ของนักเรยี น (Data Source)

2. โค้ชในฐานะผู้ให้บริการส่อื แหล่งความรสู้ าหรับการเรียนรู้ (Resource Provider)
3. โค้ชในฐานะผใู้ หก้ ารดูแล บรหิ ารแนะนาแกผ่ มู้ ปี ระสบการณ์นอ้ ย (Mentor)
4. โค้ชในบทผู้เช่ยี วชาญด้านหลักสูตร (Curriculum Specialist) ใหค้ วามรู้เก่ียวกับหลักสูตร
5. โค้ชในบทผู้เชย่ี วชาญดา้ นการสอน (Instructional Specialist) ชว่ ยเหลือสนบั สนุน สาหรบั ครู
เกีย่ วกบั การจดั การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ยทุ ธวธิ ีสอนทเี่ หมาะสมและการจัดการเรียนการสอน
ที่หลากหลายสอดคล้อง
6. โค้ชในบทผอู้ านวยความสะดวก ประสานงาน ส่งเสริมสนับสนุนการเรยี นรู้ (Learning Facilitator)
เชน่ ชว่ ยจดั การ ประสานงาน สนับสนนุ ออกแบบการเรียนรู้
7. เปน็ ผนู้ าการเปล่ียนแปลง (Catalyst for Change)
8. เป็นผู้เรียน (Learner)
9. เปน็ ผู้สนบั สนุนในชนั้ เรยี น (Classroom Support)

การโค้ช เป็นวิธกี ารที่ชว่ ยในการจัดบรรยากาศการเรียนร้ใู ห้ประสบผลสาเร็จมากย่งิ ขึน้ นอกจากน้ี
การโค้ชเป็นการกาหนดเปา้ หมายสคู่ วามสาเรจ็ ที่เนน้ การปฏิบัติและสะท้อนผลในการจัดกิจกรรมการเรยี น
การสอนการโคช้ ยงั ช่วยในการตง้ั คาถามและปัญหาเพื่อช่วยใหก้ ารจัดการเรียนการสอนใหเ้ ปน็ ไปตามธรรมชาติ
และมคี ุณภาพมากย่ิงขน้ึ Keefe & Jenkins. (1997) , Poe. (2000), Kise (2006) ได้กล่าวถงึ การโคช้ ที่เปน็ ตวั
ชว่ ยในการสนับสนุนการงานประจาของครู (Job-embedded) ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้

1. ต้องเปน็ ผู้นาวิธกี ารใหม่ ๆ มาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน
2. ตอ้ งการวิเคราะห์ความแตกต่างของผ้เู รยี น
3. ตอ้ งศกึ ษารายละเอยี ดใหช้ ัดเจนมากกว่าจะมองภาพรวมของการจดั การเรียนการสอน
4. ตอ้ งมีความชดั เจนเก่ยี วกบั ทฤษฎีและรูปแบบการสอนต่าง ๆ
5. ต้องรกู้ ลวิธีในการนาไปใช้
6. ต้องมกี ารประชุมวางแผน
7. ต้องรูแ้ หลง่ ข้อมูลของนวัตกรรมการเรยี นการสอน
8. ตอ้ งปรบั ปรงุ และพัฒนาให้มคี วามชดั เจนก่อนนาไปเผยแพร่ ซงึ่ ความต้องการจาเป็นในการพฒั นา
วชิ าชพี ประจาสายงานน้นั จะตอ้ งเกิดจากการแลกเปลีย่ นเรียนรแู้ ละการเกิดจากการนเิ ทศแบบเพอื่ นช่วย
เพือ่ น การศกึ ษาเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม การทาวจิ ัยในชน้ั เรียน และผลการเรียนรทู้ ่ีเกิดจากการจดั การเรียน
การสอนท่ปี ฏบิ ตั ิอยูน่ ้นั เอง (Abdal - Haqq. 1996. อา้ งถึงใน McCall. 1997 : 23)

สรุปได้ว่าหน้าท่ีและบทบาทของผู้ทาหนา้ ท่ีการโคช้ สามารถ คือ ผู้ท่ที าหน้าที่ในการโค้ชจะตอ้ งเป็น
ผ้นู าแห่งการเปล่ียนแปลง ตลอดจนตอ้ งเปน็ ผทู้ ่มี ีความรูค้ วามสามารถ มีความชานาญการ มีความเช่ียวชาญ
มีความเป็นผู้นา เป็นผู้คอยอานวยความสะดวกให้กบั ผูร้ บั การโคช้ และต้องเปน็ ผทู้ ่ีมีความรอบรู้และชดั เจน
ในเน้ือหา กลยุทธ์ รูปแบบวธิ ีการสอน การวจิ ัยในชั้นเรียน เพ่อื จัดใหต้ ้องตามความตอ้ งการและตรงตามความ
แตกตา่ งระหว่างบุคคลอยา่ งแท้จรงิ ซ่งึ จะชว่ ยให้ผู้รับการโคช้ สามารถนาความรทู้ ไี่ ด้จากการโคช้ ไปจัดการ

11

เรียนการสอนได้ตรงตามความต้องการและความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผเู้ รียนได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
ตอ่ ไป ซงึ่ สามารถสรุปเป็นแผนภมู ริ ปู ภาพได้ดงั นี้

หนา้ ทแี่ ละบทบาทของโคช้ (Coaching)
ที่มาข้อมูล
โคช้ การสอน(Instructional Coach). สมาคมศึกษานเิ ทศกแ์ ห่งประเทศไทย. คน้ เมื่อ 13 กรกฎาคม
2563, จาก https://sites.google.com/site/suksanitheskrun6/home.
นายบุญยฤทธิ์ ปิยะศรี.(2563). การโคช้ (Coaching) คู่มือการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัด
การศกึ ษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30. คน้ เมื่อ 13 กรกฎาคม 2563,
จาก https://www.sesao30.go.th/module/view.php?manual=01คูม่ อื ปฏบิ ตั ิงานศน.บุญยฤทธ์ิ.pdf.

12

6. กระบวนการ / ข้ันตอนการโค้ช

เพอื่ เปน็ แนวทางการโคช้ การสอน อย่างเป็นกระบวนอาจดาเนนิ การได้ ดังนี้
1. การเตรยี มการ
- ทบทวน หรอื ศกึ ษา หรอื สะสมเชิงลึกเก่ยี วกับหลกั สูตร
- ทบทวน หรอื ศึกษา หรือสะสมเชงิ ลึกเกย่ี วกบั เน้ือหาสาระในกลมุ่ สาระ/วชิ า ทีเ่ ปน็

วชิ าเอก หรือถนัด
- ทบทวน หรอื ทาความเข้าใจ หรือสะสมเชิงลึกเก่ยี วกับหลักการแนวคดิ การสอน

คดิ วเิ คราะห์
- สร้างหรือสะสมเชงิ ลึกเกี่ยวกบั ทักษะในการใช้วธิ กี ารเชิงระบบ ฯลฯ

2. ปฏิบัติการโค้ชการสอนในรูปแบบท่ีเหมาะสมกับโรงเรียน และครูกลุ่มเป้าหมายโดยใช้
วิธีการเชิงระบบ หลักการแนวคิด และกระบวนการวิจัย เป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่ม หรือโรงเรียน
ตามหลกั การโคช้ การสอน โดยใชค้ ณุ ลกั ษณะของโคช้ ที่กลา่ วมาแล้ว

3. บันทกึ ความก้าวหน้า ความสาเร็จ จุดเดน่ จุดด้อย ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
4. สรุปรายงานตอ่ ผู้เกย่ี วขอ้ ง

กระบวนการโคช้ ช่ิง (Coaching Process)

จากที่แนวทางการโค้ชชงิ่ เป็นการดึงศักยภาพของโค้ชช่ดี ว้ ยการทาใหโ้ คช้ ชี่ตระหนักใน
ความสามารถของตนเอง ให้โคช้ ชม่ี ีวิธกี ารในการปฏิบตั ิเพ่ือใหบ้ รรลเุ ป้าหมายด้วยวธิ ขี องตวั เองนน้ั สว่ นหน่ึง
คอื การปรับพฤติกรรมของบคุ คล พฤติกรรมของบุคคลถูกหล่อหลอม และผา่ นขบวนการต่างๆ จนบนั ทึกอยู่
ในความจา ดงั น้ัน การจะปรบั พฤติกรรมจึงจาเป็นที่จะต้องมีขบวนการทีจ่ ะทาให้บุคคลตระหนกั และยอมรับ
และต้องการเปล่ยี นดว้ ยตวั เอง ในการดาเนินการโคช้ ชง่ิ แบบกลมุ่ (Group Coaching) หรือ รายบคุ คล (1:1
Coaching) จะมขี บวนการขั้นตอนหลักคลา้ ยๆ กัน คือ

1. กาหนดหัวขอ้ , ตกลงในเรอื่ งผลลัพธ์/เปา้ หมาย ที่ตอ้ งการ แจ้งให้โค้ชชท่ี ราบถึง บทบาทของ
ผ้เู ป็นโคช้ เพอื่ ให้เข้าใจในวธิ กี ารระหวา่ งการสร้างขบวนการการเปลย่ี นแปลงน้นั

2. การประเมินตัวเองของโค้ชชีเ่ พื่อสรา้ งการตระหนกั รู้ และยอมรบั ในดา้ นท่เี ปน็ จุดเดน่ จุดแข็ง
ของตนเอง

3. สรา้ งความเชอ่ื มั่นระหว่างโคช้ +โคช้ ชี่ จากบทบาทท่ีโคช้ เป็นเพือ่ นผูส้ ะท้อนความคดิ และการ
ประเมนิ สิง่ ต่างๆดว้ ยตัวโค้ชชเี่ อง จนสามารถสรา้ งแนวทางและ แผนการดาเนินงานของตัวเองจากหรืออาจจะ
รว่ มกนั สรา้ งทางแนวทางการดาเนนิ การ (แผน) ,กจิ กรรมต่างๆ และ พจิ ารณาความคืบหนา้ ของผลลัพธ์ ที่
ต้องการว่าเป็นไปตามแผนที่ไดก้ าหนดไวห้ รือไม่

4. ดาเนนิ การโค้ชช่งิ ตามแนวทางท่ีได้กาหนดไว้ ข้นั ตอนน้ี Coach จะต้องใชท้ ฤษฎตี ่างๆ ความรู้
แนวความคดิ และประสบการณ์ตรงของตัวเองทไ่ี ด้สะสมมาในการฟัง (Listening) การตั้ง
คาถาม (Questioning) เพื่อสะท้อนความคิดของโคช้ ช่ี และให้ ขอ้ มลู ป้อนกลบั (Feed back) ตลอดจน
กระตนุ้ จูงใจ (Motivate) ให้โค้ชช่ี ดาเนนิ การตามแผนการตวั เองท่ีไดก้ าหนดไว้ตรวจสอบ ความก้าวหน้า
ปรบั ปรงุ แผนการตามความเหมาะสม

13

5. การใชแ้ นวความคิดชื่นชมและเห็นคุณค่าในความสาเร็จ (Appreciative approach) สอื่ สาร
ในเชิงบวก เพอ่ื ให้ถงึ เป้าหมาย Appreciative approach เป็นแนวทางที่จะชว่ ยในการปูพื้นฐานตา่ งๆ สาหรับ
การโค้ชชง่ิ ทท่ี าให้เหน็ ว่า สง่ิ ใดที่เหมาะสม, เป็นทตี่ อ้ งการหรอื จาเป็นเพื่อใหโ้ คช้ ชส่ี ามารถไปถึงเป้าหมายได้
เม่ือนามาใชใ้ นการโคช้ จะทาให้เกิดทกั ษะการสอ่ื สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพจากบุคคลส่ทู ีมงาน วิธีการของ
Appreciative approach เป็นการสอบถามเพื่อค้นหาโอกาส,และมงุ่ ไปสู่การกระทา (Proactive) มากกวา่
การต้ังรบั (Reactive) เป็นการกระต้นุ ท้าทายความคดิ และการกระทาของโค้ชช่ี แตใ่ นการดาเนินการจรงิ ๆ
แล้ว ทัง้ การดาเนินการแบบกลุ่ม (Group Coaching) และรายบุคคล (1:1 Coaching) จะมีรายละเอียดที่
แตกตา่ งกัน เน่ืองจาก Group Coaching เป็นการดาเนินการในลักษณะกลุ่มซ่ึงมักนาเทคนคิ Coaching มา
ประยุกตใ์ ช้ในการฝกึ อบรม วัตถปุ ระสงค์หลกั คือการใหโ้ ค้ชชน่ี าสง่ิ ที่ได้รบั การฝึกอบรมน้ันทงั้ ด้านความรู้ และ
แนวความคิดในเรื่องของพฤติกรรม ไปปรบั เปล่ยี นการทางานของโค้ชชีเ่ องในลักษณะกลุ่ม หรอื องคค์ วามรู้
ทวั่ ไป แต่ 1:1 Coaching โดยมากจะเป็นการให้ความรู้/ปรบั พฤติกรรมรายบุคคล ซึง่ พฤติกรรม/ลักษณะของ
แตล่ ะบุคคล ก็จะส่งผลต่อวิธีการในระหวา่ งการโค้ชชิง่ นั้น
อาจสรปุ เป็นภาพรวมของขบวนการโคช้ ช่ิง ได้ดงั นี้

ข้นั ตอน 1 สรา้ งความร่วมมือระหวา่ งโค้ช+โค้ชชี่
- ตกลงหัวข้อและประเมินจุดแข็ง/สภาพแวดล้อมของโค้ชชี่
- ตกลงบทบาทของโคช้
- สร้างความไวว้ างใจในการดาเนินงานระหวา่ งโค้ชและโค้ชชี่

ขน้ั ตอน 2 กาหนดเปา้ หมาย+แผนการดาเนนิ งาน
- กาหนด value ,วิสยั ทศั น์+เป้าหมายทตี่ ้องการ
- สร้าง Action Plan (แผนการดาเนินงาน)

ขั้นตอน 3 ดาเนินงานตามขบวนการ การใชค้ วามถนัดและทฤษฎีต่างๆ
ในการกระตุน้ จูงใจ Coachee โดยใช้กระบวนการ Appreciative
approach

- ทบทวน,ประเมนิ ผล ผลเทียบกบั เปา้ หมาย,ปรับแผน
- การใหข้ อ้ มูลปอ้ นกลบั

ขั้นตอน 4 การประเมินและการติดตามผล
- ประเมิน
- ติดตามผล
- สรปุ ผลการดาเนนิ การ

สาหรับระยะเวลาในการดาเนนิ งานจะสัน้ หรอื ยาว ข้นึ กับข้อตกลงระหว่างโค้ช และ โค้ชช่ี
และระดบั ของเปา้ หมายท่ตี อ้ งการ

14

ทมี่ าข้อมูล
โคช้ การสอน(Instructional Coach). สมาคมศึกษานิเทศกแ์ ห่งประเทศไทย. ค้นเมือ่ 13 กรกฎาคม
2563, จาก https://sites.google.com/site/suksanitheskrun6/home.

ที่มาข้อมูล
Coachatwork.(2563).ความรูท้ ว่ั ไปเกี่ยวกับการโค้ช. คน้ เม่ือ 13 กรกฎาคม 2563,
จาก http://www.coachatwork.in.th/ coach_knowledge4.php.

15

7. รูปแบบการโคช้

การโค้ชแบบเพือ่ นช่วยเพอื่ น (Peer Coaching)

การโคช้ แบบเพือ่ นช่วยเพอื่ นเปน็ กระบวนการท่ีครูหรือผู้มีอาชพี เดยี วกนั ต้ังแต่ 2 คนขนึ้ ไป ร่วมกัน
กาหนด วัตถปุ ระสงค์และเป็นการกาหนดเปา้ หมายในการพัฒนาวชิ าชพี รว่ มกนั รวมถงึ ร่วมกันวางแผน
และสงั เกตการสอน เพ่ือให้ไดข้ ้อมูลท่ไี ดจ้ ากการสงั เกตการสอนและใช้นาข้อมลู ทไี่ ด้มาใช้เป็นข้อมลู สารสนเทศ
ในการสะทอ้ นผลการเรียนการสอน เพื่อปรบั ปรุงและพัฒนาการเรยี นการสอนให้มปี ระสิทธิภาพสงู สดุ
ซง่ึ มนี ักวิชาการและนักการศึกษาไดใ้ ห้แนวคิดและกระบวนการการโคช้ แบบเพอ่ื นชว่ ยเพื่อน (Peer Coaching)
ทนี่ ่าสนใจซึ่งประกอบด้วย

1. การพฒั นาวชิ าชพี ครู ควรเปน็ สว่ นหนึ่งของการปฏบิ ัตงิ านในชีวิตประจาวัน
2. ความรู้และทักษะในเร่ืองต่อไปน้ีมคี วามสาคัญย่ิงสาหรับครู ดังนั้น การใหค้ วามรู้และในเร่อื งที่
จาเป็นอย่างถูกวธิ ีในโรงเรยี นจะชว่ ยพฒั นาความเชยี่ วชาญในวชิ าชพี แก่ครูได้ความรู้ เนื้อหาที่ควรจัดใหค้ รู คือ
1) รูปแบบการสอน การออกแบบระบบการสอน และ 2) หลกั สูตรและการใชห้ ลกั สูตรและครทู ่ีมี
ประสิทธภิ าพ
3. โครงการพัฒนาบคุ ลากรในโรงเรยี น ควรเป็นโครงการที่ต่อเน่อื ง ใหเ้ วลาแก่ครูและผู้บรหิ าร
ในการศึกษา เตรยี มการและร่วมมอื กนั ขบั เคลื่อนโครงการเพือ่ ให้บรรลเุ ป้าหมายและประสบผลสาเร็จ
4. การโค้ชแบบเพ่อื นช่วยเพ่ือน (Peer Coaching) เปน็ ความรว่ มมอื ร่วมใจของครูและเพอื่ นครู
เป็นกจิ กรรมต่อจากการฝกึ อบรมแต่ละคร้ังหรอื จากการร่วมมอื กันวเิ คราะห์ปญั หาและรว่ มกันปฏิบตั ิอยา่ ง
ต่อเนอ่ื งจนกวา่ จะประสบผลสาเร็จ เชน่ วางแผนการสอนรว่ มกนั ร่วมกันพัฒนาส่ือการเรยี นการสอน ตัดสินใจ
ร่วมกนั เกย่ี วกบั วธิ ีการหรือขน้ั ตอนการจัดเกบ็ ข้อมูลอย่างเป็นระบบ เปน็ ต้น นอกจากน้ี จอยซ์ และเชาว์เวอร์
ยังไดก้ ลา่ วถึงความสาคัญของการโค้ชแบบเพื่อนชว่ ยเพ่ือน

ความสาคัญการโค้ชแบบเพื่อนช่วยเพอ่ื น
จอยซ์ เชาเวอร์ (วชั รา เลา่ เรียนดี. 2544 : 147 ; อ้างถงึ ใน Joyce Showers. 1996 : n.d.) ได้

สรุปสาระสาคญั ของการนิเทศการสอนแบบเพ่ือนนเิ ทศเพ่ือนได้ดังน้ี คือ
1. การนิเทศการสอนแบบเพื่อนนเิ ทศเพื่อน (Peer Coaching) เป็นกระบวนการ การทางาน

เคยี งคู่กนั ระหว่างเพอื่ นร่วมงาน ตอ้ งช่วยเหลือซ่งึ กนั และกันโดยตลอด ซงึ่ จะช่วยให้มกี ารนาเทคนคิ ทักษะ
ใหม่ ๆ ไปใช้จรงิ มากขน้ึ

2. เปน็ การส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหม้ กี ารนาความรู้ นวัตกรรมใหม่ ๆ เกี่ยวกบั หลักสตู รและการ
จัดการเรียนการสอนไปใช้ในโรงเรยี น

3. เปน็ การสร้างความสนทิ สนมคนุ้ เคยกันระหว่างบุคลากรรว่ มอาชพี
4. เปน็ การช่วยใหค้ รูมกี ารเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนของตนเอง
5. เป็นวิธกี ารทเ่ี หมาะสมสาหรับครผู ู้สอนโดยตรง และมปี ระโยชนม์ ากสาหรับผ้นู ิเทศ
ผู้ทาหน้าทีน่ เิ ทศ หรือผูบ้ รหิ ารที่ตอ้ งรบั ผิดชอบโดยตรง เก่ียวกับการพัฒนา ปรับปรุงการเรียนการสอนใหม้ ี
ประสิทธิภาพยง่ิ ขนึ้

16

สรุปความสาคัญการนเิ ทศการสอนแบบเพอื่ นนิเทศเพ่ือน คอื เปน็ กระบวนการของการปฏบิ ัตงิ าน
ร่วมกันระหว่างครูและเพ่อื นครดู ้วยกนั เปน็ การเสริมสร้างช่วยเหลือและสนบั สนุนของเพ่ือนครดู ้วยในการ
เปน็ ผ้นู เิ ทศและผรู้ ับการนเิ ทศ

กระบวนการโคช้ แบบเพอ่ื นช่วยเพ่ือน (Peer Coaching Process)
ตามแนวคิดของจอยซ์และเชาว์เวอร์ (Joyce and Shower. 1995, 1996 อ้างอิงถึงใน วชั รา

เลา่ เรียนดี. 2556 : 295) ไดก้ ลา่ วถึง กระบวนการโค้ชได้ดงั น้ี

กระบวนการโค้ชโดยทั่วไปจะประกอบด้วย
1. การประชุมก่อนการสังเกตการสอน (Pre Conference)
2. การสังเกตการสอน (Observation)
3. การประชมุ หลังการสงั เกตการสอน (Post Conference) และกระบวนการโค้ชแบบเพื่อนชว่ ย

เพอื่ นจะประกอบดว้ ย
1. การศกึ ษาทาความเขา้ ใจ (Studies) เทคนิควิธีสอนใหม่ รปู แบบการสอนใหม่ ๆ

และอภปิ รายรว่ มกันกับเพื่อนครู ใช้สอนในรายวิชาเดียวกนั ระดับช้ันเดยี วกนั มาตรฐานการเรียนรูเ้ ดียวกัน
2. การสังเกตการสาธติ การสอนดว้ ยวิธีสอนใหม่ ๆ โดยผู้เชย่ี วชาญ (Demonstration)

หรอื ดูจาก VDO การสอนแบบต่าง ๆ
3. การฝกึ ปฏบิ ัตแิ ละข้อมูลย้อนกลับ (Practice and Feedback) ร่วมกนั ฝกึ ปฏบิ ัติวางแผนรว่ มกัน

เตรยี มส่ือและทดลองใชย้ ทุ ธวิธีตา่ ง ๆ กบั เพื่อนครูดว้ ยกนั
4. การโค้ช (Coaching) ครูนาเทคนคิ ยุทธวิธีไปปฏิบตั ิในช้ันเรียน โดยมีเพื่อนหรือคณะที่ร่วมโค้ช

ให้การช่วยเหลอื สังเกต และบนั ทึกผลการปฏิบัติ

นอกจากนี้ Glickman, Gordon and Ross Gordon. 2010 : 296) ไดก้ ลา่ วถึงกระบวนการการ
โคช้ แบบเพอ่ื นชว่ ยเพื่อนไวด้ ังน้ี

1. การกาหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องการโคช้ แบบเพ่ือนช่วยเพอ่ื น
2. การประชมุ กอ่ นการสังเกต
3. สรปุ ผลและวิเคราะห์ผลการสงั เกตการสอนโดยการแลกเปล่ียนข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
การสอน
4. การประชมุ หลงั การสังเกตการสอน เพ่ือเปรียบเทียบความแตกต่างท่ีไดจ้ ากการวางแผน
การโค้ชแบบเพ่ือนช่วยเพื่อนกับการวางแผนการสังเกตการสอนแบบปกติ

จากกระบวนการการโคช้ แบบเพือ่ นชว่ ยเพ่ือนทง้ั ของ จอยซ์ และเชาวเ์ วอร์ (Joyce and
Shower.1995, 1996 อา้ งองิ ถึงใน วัชรา เลา่ เรยี นดี. 2556 : 295), Glickman, Gordon and Ross
Gordon. 2010 : 296) สามารถสรปุ กระบวนการโคช้ แบบเพือ่ นช่วยเพ่ือนไดด้ ังน้ี

1. การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ของการโคช้ แบบเพื่อนชว่ ยเพื่อน ( Objective of Peer
Coaching) 2. การประชุมก่อนการสงั เกตการสอน (Pre Conference) 3. การสังเกตการสอน
(Observation) 4. การประชุมหลังการสงั เกตการสอน (Post Conference) ซึ่งสามารถนาไปใช้ในการจัด
พฒั นาวชิ าชีพได้อกี กระบวนการหน่งึ ของการจดั การเรียนการสอนในชน้ั เรยี น

17

นอกจากนี้ วัชรา เลา่ เรยี นดี (2556 : 298) ได้กล่าวถงึ กจิ กรรมการโค้ชแบบเพ่ือนช่วยเพ่อื น(Peer
Coaching Activities) เปน็ กิจกรรมทีส่ ามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้ท้งั ในและระหวา่ งการดาเนินการหรอื ก่อนการ
ดาเนินการเพ่อื ให้รู้จักและสร้างความคนุ้ เคยและยอมรับการโคช้ แบบเพื่อนช่วยเพ่ือน หรือนาไปปฏบิ ัติทนั ที
เฉพาะเรื่อง เฉพาะปญั หาดว้ ยการร่วมมอื กันทัง้ 2 ฝ่าย ซ่งึ กิจกรรมการโคช้ แบบเพื่อนชว่ ยเพอื่ นมี 2 กิจกรรม
ดังตอ่ ไปน้ี

กจิ กรรมการโค้ชแบบเพื่อนช่วยเพ่ือนแบบไม่เปน็ ทางการ (Information Activity)
1. การรว่ มกนั แกป้ ญั หาเฉพาะด้านหรือเฉพาะเร่ือง (Problem Solving)
2. การร่วมกันศึกษาความรแู้ ละการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ (Study Group)
3. การพฒั นาส่อื การเรยี นการสอนร่วมกนั (Material Development)
4. การพฒั นาหลกั สูตรร่วมกัน (Curriculum Development)
5. การใช้กจิ กรรมเล่าประสบการณก์ ารสอน (Story Telling)
6. การรว่ มกันวเิ คราะห์ VDO ตา่ ง ๆ เกยี่ วกบั การเรยี นการสอน
7. การร่วมกนั วางแผนหนว่ ยการเรียนแบบบูรณาการข้ามสาระ (Planning Interdisceplingy Units)
8. การช่วยสงั เกตการสอนบนั ทึกข้อมูล (Mirror Coaching)
9. การใชเ้ ครื่องมือ 2+2

กจิ กรรมการโคช้ แบบเพื่อนช่วยเพอ่ื นแบบเปน็ ทางการ (formation Activity) เชน่ การนาไปปฏบิ ตั ิ
ในกระบวนการหรอื ระบบการพฒั นาวิชาชพี ท่ีมีอยแู่ ลว้ หรือเปน็ กจิ กรรมท่ีปรากฏอยู่ในระยะใดระยะหนึง่
ข้ันตอนใดขัน้ ตอนหนงึ่ ของการโค้ชและพัฒนาวชิ าชีพ เช่น

1. การร่วมสอนบทเรียน (Co-Teaching Unison)
2. การรว่ มกนั เรยี นรโู้ ดยโค้ชเป็นผู้ร่วมเรยี น (Coach as Collaboration or Team Learning)
3. การโค้ชโดยผเู้ ชี่ยวชาญ (Coach as Expert Advisor)
4. การโค้ชคอื ผูม้ ปี ระสบการณ์สูงกว่า (Mentoring) โดยให้คาปรึกษาแนะนา และชว่ ยเหลอื
5. การร่วมวางแผนการสอน (Co-Planning Lessons)
6. การรว่ มกันไตร่ตรองสะท้อนคิด (Reflection) เปน็ การร่วมสอนปฏบิ ตั ิเป็นครัง้ คราว ในเวลาท่ี
เหมาะสม ไม่ไดว้ างแผนไวล้ ว่ งหน้า หรือจัดตารางเวลาไวแ้ น่นอน ขน้ึ อยู่กบั ความสะดวกของทง้ั 2 ฝา่ ย
จากกจิ กรรมการโคช้ แบบเพ่ือนชว่ ยเพือ่ นทั้งที่เป็นทางการและไม่เปน็ ทางการของ วัชรา เล่าเรยี นดี
(2556 : 298) ทีไ่ ดก้ ล่าวมาขา้ งตน้ นั้น ผวู้ ิจัยสามารถสรุปกจิ กรรมการโค้ชแบบเพื่อนชว่ ยเพอ่ื นทง้ั ท่เี ป็น
ทางการและไมเ่ ป็นทางการ คือ ผโู้ คช้ หรือผู้รับการโค้ชต้องร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอนร่วมกัน
พร้อมทีจ่ ะเรียนรูเ้ ทคนิควิธีการสอนใหม่ ๆ และรว่ มกนั คดิ ไตร่ตรองสะทอ้ นคดิ เพอื่ หาแนวทางในการปรับปรุง
และพัฒนาการวชิ าชีพซึ่งไดจ้ ากการโคช้ เพื่อใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพสงู สดุ ในการจดั การเรยี นการสอนท่ีม่งุ
ผลสมั ฤทธ์ติ อ่ ผู้เรยี นโดยตรง ทัง้ น้ผี นู้ ิเทศจงึ สรุปผลกจิ กรรมการโค้ชแบบเพ่ือนช่วยเพื่อนทงั้ ทเ่ี ปน็ ทางการ
และไมเ่ ปน็ ทางการดงั แผนภมู ภิ าพ ต่อไปนี้

สรุปกจิ กรรมการโคช้ แบบเพื่อนชว่ ยเพ่อื นทั้งทเ่ี ป็นทางการและไม่เปน็ ทางการ

18

การโคช้ โดยพ่เี ล้ยี ง (Mentor Coaching)

ผู้ทาหน้าทเี่ ปน็ พ่ีเล้ียง หรือผใู้ หค้ าปรึกษานั้นจะต้องเป็นบคุ คลที่มปี ระสบการณ์ในการทางานมาแล้ว
ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี ทั้งนีย้ ังต้องมคี วามเช่ยี วชาญ มคี วามรู้ความสามารถและคณุ สมบัตคิ ุณลกั ษณะทเ่ี หมาะสมท่ี
จะทาหนา้ ที่เป็นพ่ีเล้ยี ง ซึง่ ต้องไดร้ ับการแตง่ ตงั้ จากผูบ้ รหิ ารการศึกษา และการโค้ชโดยพ่เี ล้ยี งจะต้องใช้เทคนคิ
วิธีการในโคช้ จงึ จะทาให้การจัดการเรียนการสอนประสบผลสาเรจ็ ซ่งึ ประกอบดว้ ย การประชมุ (Conferring)
การซกั ถาม (Questioning) การสะท้อนผล (Mirroring and Reflect) คณุ ลักษณะท่ีสาคญั ของ Mentor
Mentor คอื ผูท้ ่ีต้องทาหน้าที่ในการช่วยพฒั นาวชิ าชพี ใหก้ ับครู บุคลากรท่ีใหมต่ ่ออาชีพ มปี ระสบการณ์
ในการสอนน้อย หรือเขา้ สู่อาชพี ใหม่หลงั จากทีล่ าออกปฏิบัติหน้างานอ่ืน ดงั น้นั Mentor อาจจะต้องทางาน
กับครหู ลายระดับความรแู้ ละประสบการณ์ และหลายชว่ งอายุ ผูท้ ี่ทาหนา้ ทีเ่ ปน็ Mentor ควรมีคุณลกั ษณะ
พิเศษมคี วามรบั ผดิ ชอบ และปฏบิ ตั ิ ดังนี้

ทมี่ า Corria, M.P., and McHenry, J.M. (2002) อา้ งถงึ ใน วชั รา เลา่ เรยี นดี. (2556 : 276)

วัชรา เลา่ เรยี นดี (2556 : 2730) ได้เสนอแนวทางในรูปแบบการพฒั นาวิชาชพี ครูใหม่ (Mentoring
Model) ดงั นี้

1. การเตรยี มความพร้อม (Preparation) ได้แก่ ด้านความรู้ เทคนคิ และทักษะดา้ นหลกั สูตร และการ
จัดการเรยี นรู้

2. ประชุมวางแผนการพัฒนาสมรรถนะการสอนและแผนการจดั การเรียนรู้ (Planning) ไดแ้ ก่
กาหนดปญั หาและประเด็นในการปรบั ปรุงและพัฒนา และจัดทาแผนการนิเทศและแผนการจดั การเรยี นรู้

19

3. ประชมุ กอ่ นการสงั เกตการสอน (Pre-Observation Conference) ได้แก่ ทบทวนแผนการจัดการ
เรยี นรู้ กาหนดประเดน็ สังเกตและบนั ทึก และเลือกเครื่องมือสงั เกตการสอน

4. สังเกตการสอนในชน้ั เรยี น (Observation) ไดแ้ ก่ สังเกตบันทึกพฤติกรรมการจดั การเรียนรู้
และสงั เกตและบนั ทึกพฤติกรรมการเรียนของนักเรยี น

5. ประชุมเพื่อให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั ( Post-Observation Conference) ได้แก่ ทบทวนข้อมลู
สังเกตการณส์ อน อภิปราย วิเคราะห์ข้อมลู ร่วมกัน ผนู้ ิเทศใหข้ ้อเสนอแนะ และทบทวนแผนการปฏิบตั คิ ร้ัง
ต่อไป
จากแนวทางในรปู แบบการพัฒนาวชิ าชพี ครใู หม่ (Mentoring Model) ทกี่ ลา่ วมาข้างตน้ ผ้นู เิ ทศ
ไดส้ รปุ กระบวนการในการพัฒนาวชิ าชพี ครเู ป็นแผนภูมริ ปู ภาพ ดังน้ี

แนวทางในรปู แบบการพฒั นาวชิ าชพี ครใู หม่ (Mentoring Model)

เง่ือนไขสาหรบั การช่วยพัฒนาวิชาชพี แบบ Mentor Coaching
1. ผทู้ าหน้าท่ีพี่เลี้ยง (Mentor) มีความรู้ความเชย่ี วชาญสงู กว่าผรู้ ับการพัฒนา (Mentee)

Mentoring จึงเหมาะสาหรับครใู หม่และมปี ระสบการณส์ อนน้อย
2. ผู้ทาหนา้ ที่พเ่ี ลีย้ ง (Mentor) ยอมรบั เต็มใจ ท่ีจะทาหน้าท่ดี ังกล่าว และมีความสามารถทจี่ ะชว่ ย

ใหผ้ รู้ ับการพฒั นาความสามารถและพัฒนาตนเองจนเช่ียวชาญได้
3. ผูท้ าหน้าที่พี่เลีย้ ง (Mentor) มีบทบาทหนา้ ท่หี รือแตกตา่ งจากศึกษานเิ ทศก์หรือผนู้ เิ ทศโดยทัว่ ไป

โดยเปน็ สอ่ื กลาง (Mediator) มากกว่าเปน็ ผู้แนะนาชว่ ยเหลือ
4. ท้ังผู้ทาหน้าที่พ่เี ลยี้ ง (Mentor) และรับการพฒั นาม่งุ เน้นการพัฒนาในวิชาชีพไปพร้อมกันทง้ั 2

ฝ่าย

20

การโค้ชเพ่อื พัฒนาความรแู้ ละสตปิ ัญญา (Cognitive Coaching)

การโค้ชเพ่อื พฒั นาความรแู้ ละสตปิ ัญญา (Cognitive Coaching) เป็นกระบวนการหน่งึ ในการรว่ ง
สรา้ งบุคคลากรใหเ้ ปน็ ผ้ทู ่ีสามารถเรียนรอู้ ย่างสรา้ งสรรค์ด้วยตัวเอง พฒั นาความรูแ้ ละสติปญั ญาท่ีจะทาให้
ปฏบิ ตั งิ านไดม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลสูงข้ึนทั้งสว่ นตัวเองและในฐานะสมาชกิ ทม่ี คี ุณภาพของสังคม

กระบวนการในการโคช้ เพ่ือพฒั นาความรแู้ ละสตปิ ญั ญา (Cognitive Coaching )
Costa, Garmston. (1994 : 168) ไดก้ าหนดขัน้ ตอนการกระบวนการในการโค้ชเพ่ือพฒั นา
ความร้แู ละสตปิ ัญญา ซึ่งจะมีการกระบวนการเดยี วกนั กบั การนิเทศแบบคลินิก ดงั นี้

1. การประชมุ กอ่ นการสงั เกตการสอน (Pre-Observation Conference)
2. การสงั เกตการสอน (Classroom observation)
3. การประชุมหลังการสังเกตการสอน (Post- Observation Conference)
วชั รา เล่าเรียนดี. (2556 : 307) ได้กลา่ วถึงกระบวนการการโคช้ เพ่ือพฒั นาความร้แู ละสติปญั ญา
(Cognitive Coaching) ซง่ึ ประกอบด้วย
1. การสนทนาวางแผน (Planning Conversation) ครแู ละโค้ชรว่ มกันวางแผนก่อนการสอน
ของครู
2. เหตุการณ์ สถานการณ์ (Event) ซ่งึ จะต้องมีการสังเกตโดยโค้ช
3. การสนทนาเพ่ือไตรต่ รองสะท้อนคดิ เกี่ยวกบั ข้อมูล การปฏิบตั ิ และวธิ คี ดิ ของผรู้ ับการโค้ช
และการโค้ช(Reflecting Conversation)
Costa, Garmston. (2002) อา้ งถงึ ใน วัชรา เล่าเรียนดี. (2556 : 311) ไดก้ ล่าวถงึ
กระบวนการการโค้ชเพื่อพฒั นาความรู้และสติปัญญา (Cognitive Coaching) มีลกั ษณะเปน็ วงจร 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 การวางแผน (Planning)
ระยะท่ี 2 การสังเกตเหตุการณ์สาคัญ หรอื การสอนและการปฏิบตั ิ (Event)
ระยะที่ 3 การไตร่ตรองสะท้อนคิด (Reflecting)
จากกระบวนการการโค้ชเพื่อพฒั นาความรู้และสตปิ ญั ญา ( Cognitive Coaching) ของ Costa,
Garmston. (1994 : 168), Costa, Garmston. (2002) อา้ งถึงใน วัชรา เล่าเรยี นดี. ( 2556 : 311)
และวัชรา เล่าเรยี นดี. (2556 : 307) ซงึ่ สามารถสรปุ กระบวนการการโค้ชเพื่อพฒั นาความรู้และสติปญั ญา
(Cognitive Coaching) ประกอบดว้ ย 1. การประชุมก่อนการสงั เกตการสอน (Pre-Observation
Conference) ซง่ึ จะประกอบดว้ ยการสนทนาวางแผน และการวางแผนวางแผน (Planning) 2. การสงั เกต
การสอน (Classroom observation) หรอื การสงั เกตเหตุการณ์สาคญั หรือการสอนและการปฏิบตั ิ (Event)
3. การไตร่ตรองสะท้อนคดิ (Reflecting) 4. การประชมุ หลังการสังเกตการสอน (Post- Observation
Conference) จึงถือได้วา่ กระบวนการการโคช้ เพอ่ื พฒั นาความร้แู ละสตปิ ัญญา (Cognitive Coaching)
เป็นกระบวนการหน่ึงในการร่วงสรา้ งบคุ คลากร ใหเ้ ปน็ ผทู้ ี่สามารถเรยี นรอู้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ดว้ ยตัวเอง พฒั นา
ความรู้และสตปิ ัญญาที่จะทาให้ปฏบิ ตั ิงานไดม้ ีประสทิ ธิภาพ และประสิทธผิ ลสูงขึน้ ทั้งส่วนตวั เองและในฐานะ
สมาชิกที่มีคุณภาพของสงั คม นอกจากนี้ผู้นิเทศได้ขอสรปุ ผลการสังเคราะห์กระบวนการการโคช้ เพื่อพฒั นา
ความรู้และสติปัญญา (Cognitive Coaching) เป็นแผนภมู ิรปู ภาพไดด้ งั นี้

21

กระบวนการการโคช้ เพือ่ พัฒนาความร้แู ละสติปัญญา (Cognitive Coaching)
ทม่ี าข้อมลู
นายบญุ ยฤทธิ์ ปิยะศรี.(2563). การโคช้ (Coaching) คู่มอื การนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัด
การศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 30. ค้นเมอื่ 13 กรกฎาคม 2563,
จาก https://www.sesao30.go.th/module/view.php?manual=01คู่มอื ปฏิบัติงานศน.บุญยฤทธ์ิ.pdf.

22

8. เง่ือนไขความสาเรจ็

โคช้ การสอน เป็นมติ ิหน่ึงของการนิเทศการศึกษา ที่เปน็ การนเิ ทศเชิงลึก เปน็ การนิเทศในระดับ
ห้องเรยี นที่ผ้นู ิเทศต้องสมั ผสั กบั ครู และการเรียนการสอนโดยตรง ซึง่ ศึกษานิเทศกส์ ่วนหนึ่งปฏบิ ตั ิอยแู่ ลว้
ซ่งึ สว่ นนจ้ี ะรู้สึกว่าไม่ยากต่อการปฏิบัติ เพราะมีความความชานาญการ หรอื เช่ยี วชาญในกลมุ่ สาระ หรอื วชิ า
ท่จี ะทาการนิเทศ และมีพฤติกรรมการเปน็ ผนู้ ิเทศที่พร้อมอยูแ่ ล้ว แตอ่ าจะยากลาบากสาหรบั ศกึ ษานิเทศก์
อกี สว่ นหน่ึงที่ยังไมช่ านาญการเฉพาะเรื่องเฉพาะวิชา แต่ก็ไมย่ ากเกินไป ทีจ่ ะพฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ ผู้นเิ ทศ
เชงิ ลึก หรือเปน็ โค้ชการสอนได้ อย่างไรก็ดี ก็อาจจะยากลาบากอยบู่ ้างในการทาให้ผู้บรหิ าร และครู เขา้ ใจ
ในบทบาทใหม่ของศึกษานิเทศก์ ท่ีต้องใชค้ วามสมั พันธเ์ ชิงลกึ และใชเ้ วลายืดเย้อื เกาะติดกับการปฏบิ ตั งิ าน
การปฏบิ ตั ิหน้าทโ่ี ค้ชการสอน หรือ นเิ ทศแบบพาทาตามความคาดหวังของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขั้นพนื้ ฐาน จงึ ตอ้ งอาศยั นโยบายการใชโ้ ค้ชการสอนอยา่ งชัดเจน มีการทาความเขา้ ใจกับโรงเรียน
และผบู้ รหิ าร มกี ารกาหนดแนวปฏิบตั ิของผบู้ รหิ าร ครู และโคช้ การสอนเองไว้รองรับ มียทุ ธศาสตร์
ในการพัฒนาในระดับชาติ หรือระดบั เขตพืน้ ท่เี ก้ือหนนุ ความสาเร็จการโคช้ การสอน และในการขับเคลื่อน
การคดิ เช่น 9 ยุทธศาสตร์ ของเขตพ้ืนที่ Spokane รัฐ Washington ดงั นี้

· ใชว้ ธิ ีการเชิงระบบ
· ยกระดบั ความคาดหวังของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นรู้
· สรา้ งความร่วมมือ และความสมั พนั ธ์
· ใชข้ อ้ มลู เพ่ือขบั เคล่ือนการสอน
· พฒั นาความเปน็ มืออาชพี
· พัฒนาภาวะผู้นา
· ใชห้ ลักสูตรระดบั เขตพื้นท่ี
· สรา้ งความร่วมมอื จากชุมชน
· เฉลมิ ฉลองความสาเรจ็

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน หรือ เขตพื้นท่พี รอ้ มส่ือสารนโยบาย และแนวปฏิบตั ขิ องผ้มู ี
สว่ นเกย่ี วข้องทุกฝ่ายให้เกิดความเข้าใจตรงกนั ทกุ ฝา่ ยสามารถปฏบิ ัตงิ านร่วมกันได้ มีผลงานรว่ มกัน
ไดเ้ จริญกา้ วหน้าในวชิ าชีพร่วมกันได้ และท่ีขาดเสยี ไมไ่ ด้คือการพฒั นาใหศ้ ึกษานิเทศก์เป็นโคช้ การสอน
มอื อาชพี ท่เี ปน็ ที่ยอมรับของโรงเรียน และเปน็ แบบอย่างของโคช้ การสอนใหผ้ ู้ท่ีจะมาทาหนา้ ท่โี ค้ชการสอน
อ่นื ๆ

ทีม่ าข้อมลู
โคช้ การสอน(Instructional Coach). สมาคมศึกษานิเทศกแ์ ห่งประเทศไทย. ค้นเม่ือ 13 กรกฎาคม
2563, จาก https://sites.google.com/site/suksanitheskrun6/home.


Click to View FlipBook Version