The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Zerot Somwang, 2022-05-12 00:58:46

E-Book PDF

E-Book PDF

ตารางที่ 3-13 ปญหา

กลุม เครื่องจกั ร รหัส ระบบ อาก
เครอื่ งจกั ร
แผงยาตัดแ
เครื่องจักร Strip Pack 1PD-SP-002 เชงิ กล แผงยาต
กลมุ บรรจุ Machine
เชงิ ไฟฟา Mold Sea
No.2 เชิงนวิ แม แผงย
แผงย
ติกส
แผงยา

รวม

37

าการขัดของกลมุ เครอ่ื งบรรจุ

การเสยี ปญหาการขัดของ ความถ่ี รวม
(ครง้ั ) (ครั้ง)
แลวกองตดิ ใบมีด ลกู ปนชุดตดั แผงยาแตก
ตัดไมเทากัน โซขับชุดตัดหยอน 2
al หมนุ กระตกุ 1
ยาตัดเฉียง ลูกปนเพลา Mold แตก 1
ยาซลี ไมติด แทนชดุ ตดั เอยี ง 18
2
าตดั ไมขาด Heater Seal ไมรอน
1
กระบอกลมไมทำงาน
8

38

3.10 สภาพปญหา
จากการศึกษา บริษัท อารเอ็กซ แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด ในปจจุบันเกิดปญหาความลาชาในการทำงาน

เนื่องจากเครอื่ งจักรเกิดการขัดของบอย (Breakdown) และเสียเวลานานซึ่งการบำรงุ รักษาเครื่องจักรยังไมมี
การทำ PM อยางเปนระบบสวนใหญจะเปนการแกไขเฉพาะหนา คือ การซอมเมื่อเคร่ืองจักรเกิดขัดของเพื่อลด
ปญหา (Breakdown) ของเครื่องจักรใหนอยลงและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของเครื่องจักรใหมากข้ึน
ทางคณะผูจัดจึงเห็นสมควรใหมกี ารนำระบบ PM มาใชจรงิ จงั ในหนวยงานเพื่อหยุดย้ังการชำรุดหรือเสียหายของ
เครื่องจักร คือ ตองการลดและปองกันไมใหเกิดเสียหายฉุกเฉิน (Breakdown) ขึ้น ทั้งนี้การวิเคราะหปญหาการ
ขดั ของและการจัดทำระบบ PM ของเครอื่ งจักร ที่เลอื กมาจำนวน 6 เคร่อื ง ซงึ่ มีความพรอมใชงานตำ่ กวา 95%
จะไดดำเนนิ การในบทท่ี 4 ตอไป

39

บทท่ี 4

การดำเนนิ การและผล

ในการทำปริญญานิพนธครั้งนี้ปญหาที่พบจากการศึกษาการทำงานของเครือ่ งจกั รในกระบวน การผลิต
นั้นไมวาจะเปนการหยุดการทำงานของเครื่องจักรหรือเกิดเหตุขัดของ เนื่องจากสาเหตุตางๆ ทางผูจัดทำ
โครงการวิเคราะหสาเหตุการขัดของและสาเหตุการหยุดทำงานของเครื่องจักร จึงไดหาแนวทางแกไขเพ่ือ
ปองกันและวางแนวทางปฏิบัติดวยการจัดทำระบบการบำรุงรักษาเชิงปองกัน เพื่อที่จะไมใหเครื่องจักรขัดของ

หรือหยดุ การทำงาน เพ่ือใหเครื่องจักรสามารถทำงานไดเตม็ ประสทิ ธภิ าพตามการใชงาน

4.1 การวเิ คราะหการขดั ของของเคร่ืองจักรของแตละกลุม
สาเหตกุ ารขดั ของของเครื่องจักร หรอื อุปกรณในเครื่องจักรสวนใดสวนหนง่ึ เกิดชำรดุ ทำใหเคร่ืองทำงาน

ไดชาลง หรือไมสามารถทำงานไดตามปกติ ซึ่งพอท่ีจะสรปุ สาเหตุสำคัญไดดังตอไปนี้
4.1.1 แบบเสยี หายฉุกเฉนิ หรอื แตกหกั ชำรุด

ลักษณะดังกลาวทำใหอะไหลเครือ่ งจักรเสียหายแบบทันที สงผลใหเครือ่ งจักรไมสามารถที่จะทำงานได
ตามปกติตองหยดุ เครื่องเพ่ือท่ีทำการแกไข เชน เพลาหมุนกระตุกเปนชวงๆ สาเหตทุ ี่เกิดเฟองยอยโซแตก เปน

ตน
4.1.2 แบบเสื่อมสภาพของอะไหล
ลักษณะที่เกิดขึ้นของเครื่องจักรอาจจะยังใชงานไดเปนครั้งคราวและจะเริ่มลดเปนสิทธิภาพในการ

ทำงานลงจนทำใหเคร่ืองจักรไมสามารถทำงานในที่สุดได เชน มีเศษดำหลนออกมาจากแกนเพลา สาเหตุเกิด

จาก ซีลแกนใบพัดสกึ หรอ เปนตน

ภาพที่ 4-1 วิเคราะหการขัดของของเคร่ืองจกั รก

40

กลุมเคร่อื งผสม Wet Mixer No.1 รหสั 1PD-WM-001

มาตรการการแกไขการขดั ของของเครื่องจักรกลมุ เคร่ืองผสม

ตารางท่ี 4-1 มาตรการการแกไขการขดั ของขอ

มาตรการการแกไขการขัดของของเคร่อื ง

ระบบ สาเหตุหลัก สาเหตรุ อง

เชิงกล • มีน้ำปนอยกู บั จาระบี
- ซีลเพลาขาด
เชิงไฟฟา 1.1 ลูกปนเพลาขับแตก • จาระบีแหง
เชิงนิวแมตกิ ส
- หวั อดั จาระบีเสีย

1.2 ซีลแกนใบพัดสกึ • เพลาหมนุ แกวงเบียดซลี
- ลกู ปนแกนเพลาในแตก

1.3 ลูกปนเกียรแตก • น้ำมนั เกยี รแหง
- ซลี เสอ่ื มสภาพ

2.1 มอเตอรไมทำงาน • เบรกเกอรทิป
3.1 Pressure Switch ตดั - ข้วั ตอสายไฟมอเตอรหลวม
การทำงาน
• ลมอัดเขาเครือ่ งนอย
- สายลมแตก

41

องเครื่องจักร Wet Mixer No.1 รหสั 1PD-WM-001

WET MIXER No.1 รหัส 1PD-WM-001

มาตรการปรับปรงุ แกไข เกณฑมาตรฐาน ผรู ับผดิ ชอบ
ชางซอมบำรงุ
เปลย่ี นซีลเพลาขับใหม เปลยี่ นซีลเพลาปละครั้ง
และตรวจเชค็ ตามรอบ PM อัดจาระบี และตรวจเช็ค
เปลีย่ นลกู ปน และเปลย่ี น หวั อดั ทุก 3 เดอื น/คร้ัง

หัวอดั จาระบีใหม

เปลยี่ นลกู ปนเพลา และ เปล่ยี นลกู ปนเพลาใบพดั
ซีลแกนเพลาใบพดั ใหม และซลี แกนเพลาปละครัง้

เปล่ียนลกู ปนและซลี ใหม ตรวจเช็คระดับน้ำมันเกียร
และซลี ทุก 3 เดือน/คร้งั
กำหนดรอบการเปลย่ี นซีลทุก 2 ป

ทำการขนั ขว้ั ตอสายไฟ ตรวจเช็ค และขนั แนน
มอเตอรใหแนน ทุก 6 เดอื น/ครง้ั

เปล่ียนสายลมเขาเครื่องใหม ตรวจเชค็ สภาพสายลมทุก
3 เดือน/คร้ัง

1. เชงิ กล 1.2 สลกั
ใชสล
ใสซิลกนั ฝนุ เอยี ง
1.3 ซีลกนั ฝุนขาด

ใสเพลาเอยี ง
1.4 เพลาชุดปนยาหกั

ไฟมาไมครบเฟส เบ

สายไฟหลดุ จากขว้ั ตอ
2.2 มอเตอรไมหมุน

2. เชงิ ไฟฟา

ภาพที่ 4-2 วเิ คราะหการขัดของของเคร่ืองจักรกล

42

กลอ็ คใบปนยาหลวม
ลกั ผิดขนาด

ชำรดุ ตามระยะเวลาการใชงาน

1.1 สลักล็อคใบปนยาหัก ปญหาการขัดของ
Hobart Mixer No.1
2.1 มอเตอรหยุดหมุนกะทันหนั
ไฟชอตทีข่ ัว้ ตอ 1PD-HM001

บรกเกอรทปิ

ลุมเครอื่ งผสม Hobart Mixer No.1 รหัส 1PD-HM-001

ตารางที่ 4-2 มาตรการการแกไขการขัดของของ

มาตรการการแกไขการขดั ของของเครือ่ ง HO

ระบบ สาเหตหุ ลัก สาเหตุรอง

1.1 สลักลอ็ คใบปนยาหัก • ชำรุดตามระยะเวลาการ
ใชงาน

1.2 สลกั ล็อคใบปนยาหลวม • ใชสลักผดิ ขนาด

เชิงกล

1.3 ซลี กันฝนุ ขาด • ใสซลี กนั ฝนุ เอียง

เชิงไฟฟา 1.4 เพลาชดุ ปนยาหัก • ใสเพลาเอียง
2.1 มอเตอรหยุดหมุน
กะทนั หัน • เบรกเกอรทปิ
2.2 มอเตอรไมหมนุ - ไฟช็อตที่ขั้วตอ

• ไฟมาไมครบเฟส
- สายไฟหลดุ จากขัว้ ตอ

43

งเคร่ืองจักร Hobart Mixer No.1 รหัส 1PD-HM-001

OBART MIXER No.1 รหัส 1PD-HM-001

มาตรการปรบั ปรงุ แกไข เกณฑมาตรฐาน ผรู ับผดิ ชอบ
ชางซอม
เปลย่ี นสลกั ล็อคใบปนยา เปลี่ยนสลัก 6 เดอื น/ครั้ง บำรงุ
และตรวจเชค็ ตามรอบ PM

เปลี่ยนสลักใหมที่มีขนาด ส่ังซ้อื สลกั โดยกำหนด
ถกู ตอง ขนาดตามคมู ือมาสำรองไว

เปล่ยี นซีลกันฝนุ ใหมและ เปลยี่ นซลี 6 เดอื น/ครงั้
อบรมวธิ กี ารใสใหกับชาง และตรวจสอบทุกเดอื น

เปล่ยี นเพลาใหมและ เปลย่ี นเพลา 2 ป
อบรมวธิ ีการใสใหกับชาง และตรวจสอบ 6 เดือน/ครงั้

ทำการขันขั้วตอสายไฟ ตรวจเช็ค และขันแนน
มอเตอรใหแนน ทุก 6 เดือน/คร้ัง

ทำการตอสายไฟ และขัน ตรวจเชค็ และขันแนน
ขัว้ ตอสายไฟ ทุก 6 เดือน/ครั้ง

1. เชงิ กล

1.1 ซีลแกนเพลาสกึ
ขาดสารหลอลื่น
ลูกปนเพลาแตก

เพลาหมุนแกวง

2.

2. เชงิ ไฟฟา มนี ้ำที่ขั้วตอ

ภาพที่ 4-3 วเิ คราะหการขัดของของเครื่องจักรกลุมเค

44

ปญหาการขัดของ
High Speed Mixer No.1

.1 มอเตอรหยุดหมุนกะทนั หนั

ซีลฝาตู Control ขาด
อไฟ

คร่ืองผสม High Speed Mixer No.1 รหัส 1PD-HSM-001

ตารางท่ี 4-3 มาตรการการแกไขการขัดของของเคร

มาตรการการแกไขการขัดของของเคร่ืองจกั ร Hi

ระบบ สาเหตหุ ลกั สาเหตรุ อง
เชงิ กล
เชิงไฟฟา • เพลาหมุนแกวง

1.1 ซลี แกนเพลาสึก - ลกู ปนเพลาแตก
- ขาดสารหลอลื่น

2.1 มอเตอรหยุดหมนุ • มีน้ำทข่ี ้ัวตอไฟ
กระทันหนั - ซีลฝาตู Control ขาด

45

ร่ืองจักร High Speed Mixer No.1 รหัส 1PD-HSM-001

igh Speed Mixer No.1 รหสั 1PD-HSM-001

มาตรการปรบั ปรุงแกไข เกณฑมาตรฐาน ผรู บั ผิดชอบ
ชางซอม
เปลีย่ นลูกปนและเปลี่ยน เปลย่ี นลกู ปนและเปลี่ยนซลี บำรงุ
ซีลแกนเพลาใหม 6 เดอื น/คร้งั

อัดจารบีทุก 3 เดอื น/คร้งั

ทำการเปลยี่ นซลี ฝาตใู หม ตรวจเชค็ สภาพซีล และฝาตู
และเปาน้ำออกจากตู Control ทุก 3 เดอื น/ครง้ั

1. เชิงกล น้ำมันเก
ซีลเ
ขาดสารหลอลนื่ 1.2
ไมไดอัดจาระบตี ามแผน

1.1 ลกู ปนเพลาขบั แตก

2. เชงิ ไฟฟา 2.1 ปมนำ้ มนั หลอล่นื ไมท
สายไฟขาด

มอเตอรไมหมุน

ภาพท่ี 4-4 วเิ คราะหการขัดของของเครื่องจักรกลุมเค

46

กยี รแหง
เสอ่ื มสภาพ
2 ลูกปนเกียรฟดเฟรมแตก

ปญหาการขดั ของ
Tableting Machine No.1
ทำงาน 1PD-TB-001

ครือ่ งตอกยา Tableting Machine No.1 รหสั 1PD-TB-001

มาตรการการแกไขการขดั ของของเครือ่ งจกั รกลมุ เครือ่ งตอกยา

ตารางท่ี 4-4 มาตรการการแกไขการขัดของของเค

มาตรการการแกไขการขดั ของของเคร่อื ง

ระบบ สาเหตุหลกั สาเหตุรอง
เชงิ กล
เชงิ ไฟฟา • ขาดสารหลอลน่ื

1.1 ลูกปนเพลาขบั แตก - ไมไดอดั จาระบีตาม
แผน

1.2 ลกู ปนเกียรฟดเฟรม • นำ้ มันเกยี รแหง
แตก - ซีลเสือ่ มสภาพ

2.1 ปมน้ำมนั หลอล่ืนไม • มอเตอรไมหมุน

ทำงาน - สายไฟขาด

47

ครื่องจักร Tableting Machine No.1 รหัส 1PD-TB-001

ง TABLETING No.1 รหสั 1PD-TB-001

มาตรการปรับปรงุ แกไข เกณฑมาตรฐาน ผรู บั ผดิ ชอบ
ชางซอม
เปลีย่ นลูกปน และเปล่ียน อดั จาระบี 3 เดือน/ครัง้ บำรงุ
ซีลแกนเพลาใหม และเปลี่ยนซลี 1 ป

เปลยี่ นลูกปนและซีลใหม ตรวจเชค็ ระดับนำ้ มันเกยี ร
ทกุ 3 เดอื น/คร้ัง
ทำการเปล่ยี นสายไฟ และ
ตอเขามอเตอรใหแนน ตรวจเชค็ สาย และขนั แนน
ทุก 6 เดอื น/ครัง้

1. เชงิ กล

ขนั นอตแนนไป
1.1 นอตล็อครางสไลดหกั

Speed Control ชำรดุ 2
สายไฟเขามอเตอรขาด มอเตอรไม
2.2 มอเตอร Feed ไมหมนุ

2. เชิงไฟฟา

ภาพท่ี 4-5 วิเคราะหการขัดของของเคร่อื งจักรกลุมเค

48

2.1 ปมนำ้ มนั หลอล่ืนไมทำงาน ปญหาการขดั ของ
Tableting Machine No.2
สายไฟขาด
มหมนุ 1PD-TB-002

คร่ืองตอกยา Tableting Machine No.2 รหสั 1PD-TB-002

ตารางท่ี 4-5 มาตรการการแกไขการขดั ของของเค

มาตรการการแกไขการขัดของของเครอ่ื ง

ระบบ สาเหตหุ ลัก สาเหตุรอง
เชงิ กล
1.1 นอตล็อครางสไลดหัก • ขันนอตแนนไป
เชงิ ไฟฟา
2.1 ปมน้ำมนั หลอลื่นไม • มอเตอรไมหมุน
ทำงาน - สายไฟขาด

• Speed Control ชำรุด
2.2 มอเตอร Feed ไมหมนุ

• สายไฟเขามอเตอรขาด

49

คร่ืองจักร Tableting Machine No.2 รหัส 1PD-TB-002

ง TABLETING No.2 รหสั 1PD-TB-002

มาตรการปรบั ปรุงแกไข เกณฑมาตรฐาน ผรู ับผดิ ชอบ
ชางซอม
เปลยี่ นบงเอาเกลียวท่ีขาด ทำการอบรมการขนั นอต บำรุง

คาออกแลวเปล่ียนนอตใหม ใหล็อคอยโู ดยไมขาด

ทำการเปล่ียนสายไฟ และ ตรวจเชค็ สาย และขันแนน
ตอเขามอเตอรใหแนน ทกุ 6 เดอื น/ครง้ั

ทำการเปลีย่ น Speed ตรวจเช็คสาย และเปล่ยี น
Control ใหม ทุก 2 ป
ทำการเปลย่ี นสายไฟ และ ตรวจเช็คสาย และขนั แนน
ตอเขามอเตอรใหแนน ทุก 6 เดือน/ครั้ง

1. เชงิ กล นอตปร
ขัน
ขาดสารหลอลนื่
ไมไดอัดจาระบตี ามแผน 1.4 แทนชุดต
1.3 ลกู ปนเพลา Mold แตก

ตั้งโซตึงนอยไป
1.2 โซขับชุดตัดหยอน

2.1 Heater Se
ชำรุดตามระยะเ
ขดลวดขาด

2. เชิงไฟฟา 3. เชิงนิวแมต

ภาพท่ี 4-6 วเิ คราะหการขัดของของเคร่ืองจักรกลุมเค

50

รบั แทนชดุ ตัดเสยี
นนอตปนเกลยี ว

ตดั เอยี ง

ขาดสารหลอลื่น ปญหาการขัดของ
ไมไดอัดจาระบตี ามแผน Strip Pack MachineNo.2

1.1 ลูกปนชดุ ตดั แผงยาแตก 1PD-SP-002

eal ไมรอน

เวลา 3.1 กระบอกลมไมทำงาน

ขาดสารหลอล่ืน

Valve ขดั ตัว
ติกส

คร่อื งบรรจุ Strip Pack Machine No.2 รหสั 1PD-SP-002

มาตรการการแกไขการขดั ของของเครอ่ื งจกั รกลมุ เครอื่ งบรรจุ

ตารางที่ 4-6 มาตรการการแกไขการขดั ของของเค

มาตรการการแกไขการขดั ของของเครอื่ ง

ระบบ สาเหตหุ ลกั สาเหตรุ อง

1.1 ลูกปนชดุ ตดั แผงยาแตก • ขาดสารหลอล่ืน
- ไมไดอดั จาระบีตามแผน
1.2 โซขับชุดตดั หยอน • ตง้ั โซตึงนอยไป

เชงิ กล 1.3 ลูกปนเพลา Mold แตก • ขาดสารหลอลน่ื
1.4 แทนชุดตดั เอยี ง - ไมไดอดั จาระบีตามแผน
เชงิ ไฟฟา 2.1 Heater Seal ไมรอน
เชงิ นิวแมติกส 3.1 กระบอกลมไมทำงาน • นอตปรบั แทนชดุ ตัดเสยี
- ขันนอตปนเกลยี ว

• ขดลวดขาด
- ชำรุดตามระยะเวลา

• Valve ขดั ตวั
- ขาดสารหลอลน่ื

51

ครื่องจักร Strip Pack Machine No.2 รหัส 1PD-SP-002

ง STRIP PACK No.2 รหัส 1PD-SP-002

มาตรการปรับปรุงแกไข เกณฑมาตรฐาน ผรู ับผดิ ชอบ

เปลย่ี นลกู ปน และเปลี่ยน อัดจาระบี 3 เดือน/ครง้ั
ซีลแกนเพลาใหม และเปล่ยี นซีล 1 ป/คร้ัง
ปรบั ตง้ั โซใหมใหตึงตาม ตรวจเชค็ และปรบั ต้งั ทุก

มาตรฐาน 3 เดือน
เปล่ียนลูกปนใหม อัดจาระบี 3 เดือน/ครงั้

เปลยี่ นนอต และทำเกลยี ว ตรวจเช็คทกุ 3 เดือน/ครงั้ ชางซอมบำรุง
ในใหม
ตรวจเช็ค Heater ทุก 3 เดอื น
ทำการเปล่ียน Heater ใหม และเปลย่ี นทุก 1 ป
ตรวจเช็คการหลอล่นื
เปลย่ี น Solenoid Valve ทุก 6 เดือน/ครั้ง
ใหม และปรับเพม่ิ น้ำมนั

52

4.2 การจัดทำระบบ PM
ทางผจู ดั ทำไดกำหนดการจดั ทำระบบ PM ของกลมุ เครอื่ งผสม กลุมเครอ่ื งตอกยา และกลุมเครือ่ งบรรจุ
4.2.1 จัดทำทะเบียนเครอ่ื งจักร
4.2.2 จดั ทำการปรับปรุงระบบคูมอื และมาตรฐาน PM (PM Instruction)
- คมู ือการใชเครอ่ื งจกั ร
- กำหนดวธิ กี ารและมาตรฐานงาน
4.2.3 จัดทำวางแผนระบบงาน (Master Plan)
4.2.4 ทำการนำไปปฏบิ ัติ (Implement)
4.2.5 การตดิ ตามและประเมนิ ผล

4.3 การนำไปปฏิบัตแิ ละติดตามผล
เมื่อมีการจัดทำระบบการบำรุงรักษาตางๆ แลว ทางผูจัดทำไดจดั มีการอบรมทำความเขาใจในเอกสาร

ใหกบั ผูท่ีมสี วนเกีย่ วของ โดยการวางแผนการใชเอกสารระบบงาน PM ที่ไดจัดทำขน้ึ ใหกบั หัวหนาฝายซอมบำรงุ
เพื่อที่จะไดแผนการทำงานใหกับบุคลากรในแผนกไดปฏิบัตติ ามแผนงาน PM และไดทำการอบรมไปยังสวนงาน
ฝายผลิตใหเกดิ ความเขาใจในข้นั ตอนการปฏิบัตใิ หไปในทางอันเดยี วกนั

ภาพท่ี 4-7 การอบรมแผนการใชเอกสารระบบงาน PM

ตารางท่ี 4-7 การขัดของเครือ่ งจักรหลังการน

Machine กุมภาพนั ธ 2565 มนี าคม 2565
Code
No. Machine Name เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา
ทำงาน ขัดของ ขดั ของ ทำงาน ขดั ของ ขัดของ ท
(ชม.) (คร้ัง) (ชม.) (ชม.) (คร้งั ) (ชม.)

1 Wet Mixer 1PD-WM- 44.00 1.00 0.50 80.00 0.00 0.00 9
No.1 001

2 Hobart Mixer 1PD-HM- 33.00 0.00 0.00 60.00 1.00 0.25 7
No.1 001

3 High Speed 1PD-HSM- 11.00 0.00 0.00 20.00 0.00 0.00 2
Mixer No.1 001

4 Tableting 1PD-TB-001 286.00 0.00 0.00 400.00 1.00 2.50
Machine No.1

5 Tableting 1PD-TB-002 286.00 1.00 3.00 400.00 0.00 0.00
Machine No.2

6 Strip Pack 1PD-SP-002 286.00 1.00 1.00 320.00 0.00 0.00
Machine No.2

เฉล่ีย 157.67 0.50 0.75 213.33 0.33 2.75

53

นำระบบ PM มาใช (กุมภาพนั ธ – เมษายน 2565)

เมษายน 2565 คาเฉลยี่ คาดชั นีการบำรงุ รกั ษาเครอ่ื งจักร

เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา MTBF MTTR % อตั รา % ความพรอม
ทำงาน ขดั ของ ขัดของ ทำงาน ขดั ของ ขัดของ การขดั ของ ใชงาน
(ชม.) (ครั้ง) (ชม.) (ชม.) (ครั้ง) (ชม.)

96.00 2.00 2.00 73.33 1.00 0.83 72.50 0.83 1.13 98.87

72.00 0.00 0.00 55.00 0.33 0.08 166.42 0.24 0.15 99.85

24.00 1.00 0.25 18.33 0.33 0.08 55.30 0.24 0.44 99.56

480 1.00 0.00 388.67 0.67 1.17 578.36 1.75 0.30 99.70

480 0.00 0.00 388.67 0.33 1.00 1174.7 3.03 0.26 99.74
6 0.27 99.73

384 1.00 3.00 330 0.67 1.33 490.55 1.99

256 0.83 0.88 209 0.50 0.75 507.22 1.69 0.42 99.58

จากตารางท่ี 4-7 จะเหน็ ไดวาเครอื่ งจกั ร
กลมุ เคร่อื งผสม จำนวน 3 เครอ่ื งไดแก
1. เคร่อื งจักร Wet Mixer No.1 รหัส 1PD-WM-001 มีอัตราการขัดของ
2. เคร่อื งจกั ร Hobart Mixer No.1 รหัส 1PD-HM-001 มีอัตราขัดของ
3. เคร่อื งจักร High Speed Mixer No.1 รหสั 1PD-HSM-001 มอี ัตราก
กลมุ เครอ่ื งตอกยา จำนวน 2 เครื่องไดแก
1. เคร่อื งจกั ร Tableting Machine No.1 รหัส 1PD-TB-001 มอี ัตรากา
2. เครอ่ื งจักร Tableting Machine No.2 รหสั 1PD-TB-002 มีอตั ราขัด
กลมุ เคร่อื งบรรจุ จำนวน 1 เครื่องไดแก
1. เคร่อื งจักร Strip Pack Machine No.2 รหสั 1PD-SP-002 มีอัตราก

54

ง 1.13% และความพรอมใชงาน 98.87%
0.15% และความพรอมใชงาน 99.85%
การขดั ของ 0.44% และความพรอมใชงาน 99.56%
ารขัดของ 0.30% และความพรอมใชงาน 99.70%
ดของ 0.26% และความพรอมใชงาน 99.74%
การขดั ของ 0.27% และความพรอมใชงาน 99.73%

55

ตารางท่ี 4-8 การเปรียบเทยี บดัชนีการขดั ของกอนปรับปรงุ และหลงั ปรบั ปรุงการนำระบบ PM มาใช

คาดชั นกี ารบำรงุ รกั ษาเคร่ืองจักร

No. Machine Machine Code MTBF MTTR % อตั ราการ % ความพรอม
Name ขัดของ ใชงาน

กอน หลงั กอน หลงั กอน หลัง กอน หลัง

1 Wet Mixer 1PD-WM-001 20.45 72.50 12.63 0.83 38.18 1.13 61.82 98.87
No.1

2 Hobart Mixer 1PD-HM-001 18.34 166.42 1.43 0.24 7.21 0.15 92.79 99.85
No.1

3 High Speed 1PD-HSM-001 46.06 55.30 3.19 0.24 6.48 0.44 93.52 99.56
Mixer No.1

4 Tableting 1PD-TB-001 525.24 578.36 46.76 1.75 8.17 0.30 91.83 99.70
Machine No.1

5 Tableting 1PD-TB-002 375.87 1174.76 51.00 3.03 11.95 0.26 88.05 99.74
Machine No.2

6 Strip Pack 1PD-SP-002 171.91 995.97 18.76 4.03 9.84 0.40 90.16 99.90
Machine No.2

เฉล่ยี 192.98 507.22 22.30 1.69 13.64 0.42 86.36 99.58

จากตารางที่ 4-8 จะเห็นไดวากอนนำระบบ PM มาใชเครอื่ งจักรมีคา MTBF โดยรวมเฉลย่ี กอนปรับปรุง
คือ 192.98 ชม./ครัง้ หลงั ปรบั ปรุง MTBF คอื 507.22 ชม./ครั้ง เพม่ิ ข้ึนโดยรวมเฉลย่ี 61.95%

มีคา MTTR โดยรวมเฉลี่ยกอนปรับปรุงคอื 22.30 ชม/ครั้ง หลังปรับปรุง MTTR คอื 1.69 ชม/ครั้ง ลดลง

โดยรวมเฉลย่ี 92.42%
มคี าอตั ราการขดั ของโดยรวมเฉล่ยี กอนปรบั ปรุงคอื 13.64 ชม./คร้งั มคี าอตั ราการขัดของหลังปรบั ปรุงมี

คาคือ 0.42 ชม./ครั้ง ลดลงโดยรวมเฉล่ีย 69.92%
มีคาความพรอมใชงานโดยรวมเฉลี่ยกอนปรับปรุงคือ 86.36 ชม./ครั้ง มีคาความพรอมใชงานหลัง

ปรับปรงุ มีคาคือ 99.58 ชม./ครง้ั เพ่มิ ข้ึนโดยรวมเฉลยี่ 15.31% ตามลำดบั

56

บทที่ 5
สรุปผลและขอเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการดำเนนิ โครงการ
จากการท่คี ณะผูจดั ทำโครงงานไดทำโครงงานเร่ือง การจัดทำระบบการบำรุงรักษาเชงิ ปองกันเคร่ืองจักร
ของ บริษัท อารเอ็กซ แมนูแฟคเจอรง่ิ จำกัด
ซง่ึ เก็บขอมูลของเคร่อื งจกั รกอนการปรบั ปรุงในระยะเวลาต้งั แตเดอื น สิงหาคม 2564 ถงึ เดือน มกราคม
2565 พบวาเครอ่ื งจักรมปี ญหาการขัดของ ดงั น้ี
กลมุ เคร่อื งผสม จำนวน 3 เคร่อื ง ไดแก
1. เคร่อื งจกั ร Wet Mixer No.1 รหัส 1PD-WM-001
2. เครอ่ื งจักร Hobart Mixer No.1 รหสั 1PD-HM-001
3. เคร่อื งจักร High Speed Mixer No.1 รหสั 1PD-HSM-001
กลมุ เครอ่ื งตอกยา จำนวน 2 เครอ่ื ง ไดแก
1. เคร่อื งจกั ร Tableting Machine No.1 รหัส 1PD-TB-001
2. เครอ่ื งจักร Tableting Machine No.2 รหัส 1PD-TB-002
กลมุ เคร่อื งบรรจุ จำนวน 1 เครอ่ื ง ไดแก
1. เครอ่ื งจักร Strip Pack Machine No.2 รหสั 1PD-SP-002
จะเห็นไดวามีเครื่องจักรเหลานี้มีอัตราความพรอมใชงานต่ำ ดวยเหตนุ ี้ทางคณะผูจัดทำโครงการจึงได
จดั ทำระบบการบำรุงรักษาเชิงปองกันขึ้นมาใชเพื่อชวยแกปญหาเครื่องจักรดังกลาว ดังนั้นเม่ือหลังจากทราบ
ปญหาและมีการประชุม สรุปปญหา สาเหตุกับหนวยงานฝายซอมบำรุงของ บริษัท อารเอ็กซ แมนแู ฟคเจอร่ิง
จำกดั มีขอสรปุ เปนอันเดียวกันวาควรทำระบบการบำรุงรักษาเชิงปองกันใหกบั เครอ่ื งจักรทั้ง 6 เครอ่ื ง ดังกลาว
ที่พบปญหามากทีส่ ุด เพื่อที่จะลดปญหาการขัดของใหลดลง และขยายผลการจดั ทำระบบไปใชกับเครื่องจักร
อ่ืนๆ ในองคกรอีกตอไป
หลงั จากไดจดั ทำระบบการบำรงุ รักษาเชิงปองกันใหกับเครอ่ื งจักร
กลมุ เครอ่ื งผสม จำนวน 3 เครอ่ื ง ไดแก
1. เคร่อื งจักร Wet Mixer No.1 รหสั 1PD-WM-001
2. เคร่อื งจักร Hobart Mixer No.1 รหสั 1PD-HM-001
3. เคร่อื งจักร High Speed Mixer No.1 รหสั 1PD-HSM-001
กลมุ เคร่ืองตอกยา จำนวน 2 เคร่อื ง ไดแก
1. เครอ่ื งจักร Tableting Machine No.1 รหัส 1PD-TB-001
2. เครอ่ื งจกั ร Tableting Machine No.2 รหัส 1PD-TB-002
กลมุ เครอ่ื งบรรจุ จำนวน 1 เครอ่ื ง ไดแก
1. เครอ่ื งจกั ร Strip Pack Machine No.2 รหัส 1PD-SP-002
และรวบรวมผลสรุปที่ได จะเห็นไดปญหาการขัดของ อัตราสูญเสีย ไดลดลงอยางเห็นไดชัด อีกทั้ง
เคร่ืองจักรมคี วามพรอมใชงานขนึ้ ตามขอมลู ทีจ่ ะแสดงดานลางดงั ตอไปนี้

57

100

80

60
40 38.18

20 7.21 6.48 0.44 8.17 11.95 9.84
0.15 0.30 0.26 0.40
0 1.13
1PD-TB-002 1PD-SP-002
1PD-WM-001 1PD-HM-001 1PD-HSM-001 1PD-TB-001

% อตั ราขดั ขอ้ ง (กอ่ นปรบั ปรุง) % อตั ราขดั ขอ้ ง (หลงั ปรบั ปรุง)

ภาพท่ี 5-1 การเปรยี บเทียบการขัดของเครือ่ งจักรกอนและหลังการจดั ทำระบบ PM

จากภาพท่ี 5-1 การเปรียบเทียบการขัดของเครือ่ งจกั รกอนและหลังการจดั ทำระบบ PM
กลุมเครือ่ งผสม จำนวน 3 เคร่อื ง ไดแก
1. เคร่อื งจักร Wet Mixer No.1 รหสั 1PD-WM-001 เปอรเซน็ ตการขัดของอยูที่ 38.18% หลังการ

ปรับปรุงเปอรเซ็นตการขัดของลดลงเหลอื 1.13%
2. เครื่องจักร Hobart Mixer No.1 รหัส 1PD-HM-001 เปอรเซ็นตการขัดของอยูที่ 7.21% หลัง

การปรับปรงุ เปอรเซ็นตการขดั ของลดลงเหลือ 0.15%
3. เครื่องจักร High Speed Mixer No.1 รหัส 1PD-HSM-001 เปอรเซน็ ตการขัดของอยูที่ 6.48%

หลังการปรบั ปรุงเปอรเซ็นตการขดั ของลดลงเหลอื 0.44%
กลุมเคร่ืองตอกยา จำนวน 2 เครือ่ ง ไดแก
1. เครื่องจักร Tableting Machine No.1 รหัส 1PD-TB-001 เปอรเซ็นตการขัดของอยูที่ 8.17%

หลังการปรับปรุงเปอรเซ็นตการขัดของลดลงเหลอื 0.30%
2. เครื่องจักร Tableting Machine No.2 รหัส 1PD-TB-002 เปอรเซ็นตการขัดของอยูที่ 11.95%

หลังการปรบั ปรงุ เปอรเซ็นตการขัดของลดลงเหลอื 0.26%
กลุมเครือ่ งบรรจุ จำนวน 1 เครอื่ ง ไดแก
1. เครื่องจักร Strip Pack Machine No.2 รหัส 1PD-SP-002 เปอรเซ็นตการขัดของอยูที่ 9.84%

หลงั การปรบั ปรงุ เปอรเซ็นตการขดั ของลดลงเหลือ 0.40%
ตามลำดบั จะเหน็ ไดวามีเปอรเซน็ ตการขดั ของหลงั การจดั ทำระบบ PM ของเครอ่ื งจักรลดลง

58

100 98.87 92.79 99.85 93.52 99.56 91.83 99.70 99.74 90.16 99.90
88.05

80 61.82
60

40

20

0
1PD-WM-001 1PD-HM-001 1PD-HSM-001 1PD-TB-001 1PD-TB-002 1PD-SP-002

% ความพรอ้ มการใชง้ าน (กอ่ นปรบั ปรุง) % ความพรอ้ มการใชง้ าน (หลงั ปรบั ปรุง)

ภาพท่ี 5-2 การเปรยี บเทียบความพรอมการใชงานเคร่อื งจักรกอนและหลังการจัดทำระบบ PM

จากภาพที่ 5-2 การเปรยี บเทียบการขัดของเครอื่ งจกั รกอนและหลังการจัดทำระบบ PM
กลุมเคร่อื งผสม จำนวน 3 เคร่ือง ไดแก
1. เครื่องจักร Wet Mixer No.1 รหัส 1PD-WM-001 เปอรเซ็นตความพรอมการใชงานเครื่องอยูที่

61.82% หลังการปรับปรงุ เปอรเซ็นตความพรอมการใชงานของเคร่อื งอยูท่ี 98.87%
2. เครื่องจักร Hobart Mixer No.1 รหัส 1PD-HM-001 เปอรเซ็นตความพรอมการใชงานเคร่ืองอยู

ที่ 92.79% หลังการปรับปรงุ เปอรเซน็ ตความพรอมการใชงานของเคร่ืองอยูท่ี 99.85%
3. เครื่องจักร High Speed Mixer No.1 รหัส 1PD-HSM-001 เปอรเซ็นตความพรอมการใชงาน

เครอ่ื งอยูที่ 93.52% หลงั การปรบั ปรุงเปอรเซ็นตความพรอมการใชงานของเครื่องอยูท่ี 99.56%
กลุมเครอื่ งตอกยา จำนวน 2 เคร่ือง ไดแก
1. เครื่องจักร Tableting Machine No.1 รหัส 1PD-TB-001 เปอรเซ็นตความพรอมการใชงาน

เครือ่ งอยูที่ 91.83% หลงั การปรบั ปรุงเปอรเซ็นตความพรอมการใชงานของเครื่องอยูท่ี 99.70%
2. เครื่องจักร Tableting Machine No.2 รหัส 1PD-TB-002 เปอรเซ็นตความพรอมการใชงาน

เคร่อื งอยูที่ 88.05% หลังการปรบั ปรุงเปอรเซ็นตความพรอมการใชงานของเคร่ืองอยูท่ี 99.74%
กลุมเครอ่ื งบรรจุ จำนวน 1 เครอื่ ง ไดแก
1. เครื่องจักร Strip Pack Machine No.2 รหัส 1PD-SP-002 เปอรเซ็นตความพรอมการใชงาน

เครื่องอยูที่ 90.16% หลังการปรบั ปรงุ เปอรเซ็นตความพรอมการใชงานของเคร่ืองอยูที่ 99.90%
ตามลำดับจะเหน็ ไดวามเี ปอรเซน็ ตความพรอมการใชงานการจัดทำระบบ PM ของเครื่องจกั รเพิม่ ขึน้

59

100 99.58
90 86.36

80 +13.22 คดิ เป็ น 15.31%

70

60

50

40

30 -13.22 คดิ เป็ น 96.92%

20 13.64

10 0.42
0

% อตั ราการขดั ขอ้ ง % ความพร้อมใชง้ าน

ก่อนทาํ การปรบั ปรุง หลงั การปรบั ปรุง

ภาพที่ 5-3 การเปรยี บเทียบเปอรเซ็นตการขดั ของและความพรอมการใชงานเคร่ืองจกั ร
โดยรวมเฉลยี่ กอนและหลงั การจดั ทำระบบ PM

จากภาพที่ 5-3 การเปรียบเทียบเปอรเซ็นตและความพรอมการใชงานเครื่องจักรโดยรวมเฉลี่ย กอนและ
หลงั การจัดทำระบบ PM จากการเกบ็ ขอมลู ของเครอ่ื งจักร

กลุมเครื่องผสม จำนวน 3 เครือ่ ง ไดแก

1. เครอ่ื งจักร Wet Mixer No.1 รหสั 1PD-WM-001
2. เครอ่ื งจักร Hobart Mixer No.1 รหสั 1PD-HM-001
3. เคร่อื งจกั ร High Speed Mixer No.1 รหสั 1PD-HSM-001

กลุมเครอื่ งตอกยา จำนวน 2 เครื่อง ไดแก
1. เครอ่ื งจกั ร Tableting Machine No.1 รหสั 1PD-TB-001

2. เครอ่ื งจกั ร Tableting Machine No.2 รหัส 1PD-TB-002
กลุมเครื่องบรรจุ จำนวน 1 เครื่อง ไดแก

1. เครอ่ื งจักร Strip Pack Machine No.2 รหสั 1PD-SP-002

กอนทำระบบ PM จะเห็นไดวาอัตราการขดั ของโดยรวมเฉล่ียของเคร่อื งจักรอยูที่ 13.64% และเมอื่ หลังจากการ
จัดทำระบบ PM อัตราการขัดของของเครื่องจักรลดลงเปน 0.42% ลดลง 13.22% คิดเปน 96.92% และความ

พรอมการใชงานโดยรวมเฉลี่ยอยูที่ 86.36% หลังจากการจัดทำระบบ PM ความพรอมการใชงานเครื่องจักร
เพม่ิ ขึน้ เปน 99.58% เพิม่ ขึน้ 13.22% คิดเปน 15.31% ตามลำดบั

60

5.2 ปญหาท่ีพบในการดำเนินโครงการ
เคร่ืองจักรทำงานตลอดเวลา มีปญหาในการจัดเก็บขอมลู
การเก็บขอมลู และการวเิ คราะหขอมูลตามใบแจงซอม
การเดนิ ทางไปเก็บขอมูล เนอื่ งจากโรงงานมีพนื้ ทต่ี งั้ อยูไกล

5.3 ขอเสนอแนะ
ความซับซอนในการทำโครงการดานการบำรุงรักษาเปนงานที่คอยขางยุงยาก เพราะตองอาศัยความรู

ความสามารถในการวิเคราะหและแกไขปญหาตางๆ ดังนั้นในการทำโครงงานการบำรุงรักษาเชิงปองกันของ
เครื่องจักร อาจจะมีขอบกพรองที่ผิดพลาดทางผูจัดทำโครงงานจึงขอเสนอแนะใหผูจัดทำโครงการในเรื่อง

เดียวกนั ตองวางแผนในเร่ืองความเหมาะสมเวลาการจะดำเนินการทำระบบการบำรุงรักษาที่ตองมีความชัดเจน
และสม่ำเสมอ

5.3.1 ขอเสนอแนะสำหรับผูท่จี ะทำการศกึ ษาตอไป
1. ตองทำการศึกษาการทำระบบการบำรงุ รกั ษาใหเปนอยางดี

2. ทางบริษทั ตองใหความรวมมือและสนบั สนุน
3. ผูจัดทำโครงงานควรมีเวลาในการรวมมือกันทำงานวเิ คราะหการทำงาน

4. ตองเขาพบท่ปี รึกษาเพ่ือรบั คำแนะนำในการจดั ทำโครงงาน
5. ระยะเวลาที่ใชทดลองระบบควรเทากันกับเวลาท่ีเกบ็ ขอมูลเพ่ือใหระบบมีความนาเชื่อถือ
5.3.2 ขอเสนอแนะสำหรับบริษัท
1. ทุกคนตองมสี วนรวมในการทำระบบการบำรงุ รักษาเชิงปองกัน

2. ทางบริษัทควรจดั การฝกอบรมระบบบอยๆ
3. ตองติดตามผลการปฏิบัติเพื่อปรับปรงุ และหาทางแกไขใหมีประสิทธภิ าพสูงสุด

61

บรรณานุกรม

บริษทั อารเอ็กซ แมนแู ฟคเจอร่งิ จำกดั : คนเมื่อ 20/04/65
ความหมายของการซอมบำรงุ คนเมื่อ 28/04/65 เวบ็ https://www.oilservethai.com
ดชั นีช้วี ัดคณุ ภาพในงานซอมและการบำรงุ รักษา คนเมื่อ 28/04/65 เว็บ https://www.ieprosoft.com

62

ภาคผนวช
เครื่องมือและอุปกรณความปลอดภัย

ความหมายและความสำคญั ของเคร่ืองมือและอุปกรณความปลอดภัย

เครอื่ งมือและอุปกรณความปลอดภัย (Personal Protective Devices (PPP) หรอื Personal
Protective Equipment (PPE)) หมายถึงอุปกรณสาหรบั ผูปฏิบัตงิ านในการสวมใสขณะทางานเพื่อปองกัน
อนั ตรายเพราะสง่ิ เหลาน้จี ะชวยปองกันการเกดิ อบุ ตั ิเหตุได หรือชวยลดอาการบาดเจ็บจากหนกั ใหเปนเบา เชน
ถาใชเครอ่ื งมืออปุ กรณความปลอดภยั กจ็ ะทำใหลดความเสี่ยงในการทำงานมากกวาเดิมการใชเคร่อื งมือและ

อปุ กรณความปลอดภยั เปนวิธกี ารหนึ่งในหลายวิธใี นการปองกันอนั ตรายจากการทางานซึ่งโดยท่วั ไปจะมีการ
ปองกันและควบคมุ ท่ีสภาพและสิง่ แวดลอมของการทางานกอนโดยการแกไขปรบั ปรงุ ทางวศิ วกรรมการก้นั แยก

ไมใหปะปนกับสง่ิ อ่ืนหรอื การใชเซฟการดแบบตางๆหรือการทจี่ ะตองปรบั เปล่ียนเครื่องจกั รเปลยี่ นกรรมวิธีการ
ทำงานสวนในกรณที ไี่ มสามารถดำเนินการดังกลาวไดกจ็ ะนำกลวิธกี ารใชอุปกรณปองกนั อนั ตรายมาใช
ประกอบดวยเพื่อชวยปองกนั อวยั วะของรางกายในสวนท่ตี องสัมผสั งานมิใหประสบอนั ตรายจากภาวะอนั ตราย
ท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ขณะทำงาน

หมวกปองกนั ศีรษะ (Head Protection Devices)

ใชสำหรับปองกันศรี ษะจากการถูกกระแทกชนหรอื วตั ถุตกจากท่ีสูงมากระทบศรี ษะมลี ักษณะแขง็ แรง
และทำดวยวสั ดทุ ีแ่ ตกตางกันออกไปคือใชในงานอสุ าหกรรมทกุ ประเภทเปนตน

63

อุปกรณปองกันหู (Ear Protection)
ใชสำหรับการทำงานในอุตสาหกรรมตางๆ เชน อุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรมกอสราง
อุตสาหกรรมการผลิต รวมทั้งการทำงานกับเครื่องจักรกล เชนเครื่องถลุงเหลก็ เครื่องเจาะปูน เครื่องปาด
คอนกรีต เครื่องจักรกลอัตโนมัติ ขนาดใหญที่มเี สียงเกินดังที่หูจะรับไดหรือไมก็ในพื้นที่ๆ ควรระมัดระวัง
เรอื่ งเสยี งเปนพเิ ศษ

แวนนิรภัย
อุปกรณปองกันดวงจากสารเคมีหรือวัสดุอ่ืนขณะปฏิบตั ิงานซ้ึงอาจกระเด็นเขาตาทำใหตาบอดไดโดย
ปกติแวนตานิรภัยใชในวงการอุตสาหกรรมเคมีอุตสาหกรรมงานไม อุตสาหกรรมงานเครื่องมือ
เครอ่ื งจกั รกล งานเช่ือมไฟฟา และงานเชอื่ มแกส็ โดยแวนตานริ ภัยทำจากพลาสตกิ หรอื กระจกนริ ภัยไมแตก
กระเด็นเขาตาผูปฏบิ ตั ิงาน

64

ชดุ ปองกันสารเคมี
ใชสำหรับปองกันสวนตางๆของรางกาย กรณีเขาไปปฏิบัตงิ านเขตพ้นื ทท่ี ี่เปนกรดมกี ารสวมใสโดยแบง
ระดบั ของความรุนแรงของสารเคมีแลเปนไปตาม ขอกำหนดของสำนกั บรหิ ารการปองสิ่งแวดลอมแหงชาติ
สหรฐั อเมรกิ าโดยมีรับความรนุ แรงตัง้ แตระดับABC และ D

หนา้ กากกรองฝ่ นุ ละออง

เปนอุปกรณปองกันการหายใจเมื่อปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานที่เปนอนั ตรายตอสุขภาพ เชน ใชกรองฝุน
ควัน ฟมู โลหะ กรองกาซไอระเหยท่ีแขวนในอากาศโดยแบงไปตามประสิทธิภาพการกรองอากาศและชนิด
ของไสกรอง

65

ถงุ มอื นิรภัย
ใชเพื่อปองกันมือจากการถูกความรอน ความสกปรก การกระแทกสะเก็ดไฟ การเสียดสีหรอื การบาด
คม ถุงมอื นิรภยั มีหลายประเภท เชน ถุงมือปองกันงานเลื่อยดวยมอื ถุงมือปองกันงานเครือ่ งจกั ร ถุงมือปองกัน
ทั่วไป ถุงมอื ปองกนั งานเยน็ ถุงมือปองกันงานเชอ่ื มและวัสดุท่ีใชทำถุงมอื เชน หนงั ววั หนังกวาง หนังหมู และ
หนังแพะ

รองเทานิรภัย
เปนอปุ กรณที่ถูกออกแบบมาเพ่ือตานทานแรงกระแทกและแรงบีบบริเวณหัวประกอบดวยโครงเหลก็
ใชสำหรับวัตถุหลนใสปองกันกระดูกสวนบนปองกันอันตรายจากระแสไฟฟาปองกันแรงกระแทกผานการ
ทดสอบแรงบีบ พน้ื รองเทาปองกันนำ้ มนั และ กรด สวนบนปองกันน้ำซมึ เขารองเทา

66

กระบังหนา
ใชปองกนั เศษโลหะกระเดน็ ถูกใบหนาในเวลาทีท่ ำงาน

เขม็ ขดั นริ ภัย

เปนอุปกรณชวยปองกันอันตรายจากการทางานในทีส่ งู จะมีสายรัดลำตัวคาดตั้งแตหัวไหลหนาอกเอว
และขาเกี่ยวติดกับสายชวยชีวิตเพิ่มความปลอดภัยไดมากเนื่องจากจะเฉลี่ยแรงกระตุกหรือกระชากไปทีล่ ำตัว
ดวยและมกั ทำจากวัสดทุ ่มี ีความออนนมุ เพ่ือชวยลดแรงกระแทกของลาตัวอีกชั้นหน่ึงดวย

ฝกบัวฉกุ เฉิน
ใชปองกันหรอื อนั ตรายทอี่ าจจะเกิดจาการกรดหรอื สารเคมี

67


Click to View FlipBook Version