The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Zerot Somwang, 2022-05-12 00:58:46

E-Book PDF

E-Book PDF

รายงาน

การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบำรุงรักษาเครอ่ื งจักร
กรณศี ึกษา บรษิ ัท อารเอ็กซ แมนูแฟคเจอริ่ง จำกดั

เสนอ

ผชู วยศาสตราจารย ดร.กุณฑล ทองศรี

จัดทำโดย

นายขวัญชยั นวนเกตุ รหสั นกั ศกึ ษา 640407302784

นายกฤษณะ คำเข่ือน รหสั นกั ศกึ ษา 640407302785

นายชาคริต ธรรมศริ ิ รหัสนกั ศกึ ษา 640407302786

นายอลงกรณ ขวญั พิกลุ รหสั นกั ศึกษา 640407302787
นางสาวจฑุ ามาศ แมลงทับ รหัสนกั ศึกษา 640407302788

นายกษิดิศ นาคกร รหัสนกั ศึกษา 640407302789

นายภีมพศ ศรีมงคล รหัสนกั ศึกษา 640407302790

นายเอกรนิ ทร ศริ เิ ดช รหัสนกั ศึกษา 640407302791

นายสมชาย สมหวัง รหัสนกั ศึกษา 640407302803

นายศราวุธ จนั ทรโพสณ รหสั นกั ศกึ ษา 640407302804

…………………………………………………………………………………………..

รายงานฉบบั น้เี ปนสวนหนึง่ ของรายวิชา ทอ. 375 เทคโนโลยีวิศวกรรมการซอมบำรงุ

โครงการภาคพเิ ศษรนุ ที่ 20/1 สาขาวชิ าเทคโนโลยวี ศิ วกรรมอตุ สาหการ

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา 2565

QR_Code_Powerpoint File QR_Code_E-Book QR_Code_Word File

คำนำ
รายงานฉนับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเปนสวนหน่ึงของรายวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมการซอมบำรุง (IET 375 )
เพือ่ ใหไดศึกษาหาความรูในเรื่องการเพิม่ ประสิทธภิ าพการบำรุงรักษาเครื่องจักรและอปุ กรณในอุตสาหกรรม
กรณศี ึกษา บรษิ ัท อารเอก็ ซ แมนูแฟคเจอร่งิ จำกัด และไดศึกษาอยางเขาใจเพื่อเปนประโยชนกับการเรยี น
คณะผูจัดทำหวงั วา รายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนกับผูอานหรือนกั เรียน นักศึกษา ท่ีกำลังศึกษาหา
ขอมูลเรอ่ื งนีอ้ ยู หากมขี อแนะนำหรือขอผิดพลาดประการใด ผูจดั ทำขอนอมรบั ไวและขออภยั มา ณ ท่ีนด้ี วย

คณะผจู ัดทำ

สารบญั หนา

เรอ่ื ง 1
บทที่ 1 บทนำ 1
1
1.1 ความสำคญั และท่ีมาของโครงงาน 2
1.2 วัตถปุ ระสงคของโครงงาน 2
1.3 ขอบเขตของโครงงาน 2
1.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรบั
1.5 วธิ กี ารดำเนนิ โครงงาน 4
1.6 แผนการดำเนินโครงงาน 4
บทท่ี 2 ทฤษฎที เี่ ก่ียวของ 5
2.1 ที่มาของระบบการบำรงุ รกั ษา (Maintenance) 6
2.2ความหมายของการบำรุงรกั ษา 6
2.3 จดุ มุงหมายของการบำรงุ รักษา 8
2.4 ประเภทของการบำรงุ รกั ษา 9
2.5 ชนดิ ของการบำรุงรกั ษา 9
2.6 ดัชนีชี้วัดประสทิ ธิภาพการบำรงุ รกั ษา 9
2.7 ดชั นชี ีว้ ัดสมรรถนะองคการดานการผลิต 10
10
2.7.1 เวลาเฉลยี่ ระหวางการขดั ของ 10
2.7.2 เวลาเฉลีย่ ในการซอม 13
2.7.3 อัตราความสูญเสียจากการหยดุ เคร่ืองจักร
2.7.4 ความพรอมใชงานของเครอ่ื งจักร
2.8 ดชั นชี ก้ี ารวดั ประสิทธผิ ลโดยรวมของเครอ่ื งจักร
2.9 งานวิจยั ทีเ่ กย่ี วของ

สารบญั (ตอ) หนา

เรอ่ื ง 15
บทท่ี 3 การดำเนนิ งาน 15
16
3.1 ประวัตคิ วามเปนมา 17
3.2 ทอ่ี ยูบรษิ ัท 18
3.3 โครงสรางบรษิ ัท 19
3.4 ผลติ ภัณฑของบรษิ ัท 20
3.5 แผนผังเครือ่ งจักรในแตละกลมุ 21
3.6 การจำแนกเครือ่ งจกั ตามกลุม 22
23
3.6.1 การจำแนกเครอ่ื งจักรตามกลุมเครอ่ื งผสม 23
3.6.2 การจำแนกเครื่องจักรตามกลุมเคร่ืองตอกยา 28
3.6.3 การจำแนกเครือ่ งจักรตามกลุมเคร่ืองบรรจุ 30
3.7 สถติ กิ ารขัดของเครือ่ งจกั รในแตละกลุม 33
3.7.1 สถิติการขดั ของเครื่องจักรในกลุมเครอ่ื งผสม 35
3.7.2 สถติ ิการขดั ของเครอ่ื งจักรในกลุมเคร่อื งตอกยา 38
3.7.3 สถิตกิ ารขดั ของเคร่อื งจักรในกลุมเครอ่ื งบรรจุ
3.8 ดัชนีการบำรงุ รกั ษาเครื่องจักรในการจดั ทำระบบ PM 39
3.9 การจำแนกการขัดของของเคร่อื งจักร 52
3.10 สภาพปญหา 53
บทที่ 4 การดำเนนิ การและผล
4.1 การวิเคราะหการขัดของของเครือ่ งจักรของแตละกลมุ
4.2 การจัดทำระบบ PM
4.3 การนำไปปฎิบตั ิและติดตามผล

สารบัญ (ตอ) หนา
เรอ่ื ง
บทท่ี 5 สรุปผลและขอเสนอแนะ 56
60
5.1 สรุปผลการดำเนนิ โครงการ 60
5.2 ปญหาทพ่ี บในการดำเนินโครงการ 61
5.3 ขอเสนอแนะ 62
บรรณานุกรม
ภาคผนวช

1

บทที่1

บทนำ

1.1 ความสำคญั และที่มาของโครงงาน

ในปจจุบันธุรกิจยาเปนธุรกิจที่คอนขางใหญและมีแนวโนมการขยายตัวอยางตอเนื่องโดยมีอัตราการ
เติบโตเฉลี่ย 15% ตอปปจจุบันบริษัทผลิตยาในประเทศไทยแบงออกเปน 2 กลุมคือบริษัทผูผลิตยาขามชาติ
และบริษัทยาที่ผลิตในประเทศดังนั้นการผลิตยาเพื่อใหสามารถแขงขันไดคือตองผลิตยาท่ีมีคุณภาพ และราคา
ถูกซึ่งสิ่งที่เปนปจจัยนั้นก็คือเครื่องจักรที่ใชในการผลิตยาจะตองมีประสิทธิภาพดี และไมมีการหยุดเพื่อซอม
บอยซึ่งจะเปนสาเหตทุ ีท่ ำใหเกดิ การสูญเสียดานคุณภาพมีตนทนุ ทีเ่ พิ่มข้ึน และยังสงผลตอการสงมอบสนิ คาไม
ทันตามกำหนดดวย

ดังนั้นคณะผูจัดทำโครงงานนจ้ี ึงแกไขปญหาน้ีโดยการวางแผนในการบำรุงรักษาเครื่องจักรตามชวงเวลา
ที่กำหนดใหเหมาะสมกับสภาพการใชงานของเครื่องจักรเพื่อลดเวลาสูญเสียเนื่องจากเครื่องจักรเกิดความ
เสยี หาย

1.2 วัตถุประสงคของโครงงาน

1.2.1 เพือ่ ศึกษาและวิเคราะหปญหาในงานซอมบำรุงเครอ่ื งจกั ร

1.2.2 เพอื่ จดั ทำระบบการบำรงุ รกั ษาเคร่อื งจักรเชงิ ปองกัน โดยมเี ปาหมายเพ่ือลดการขัดของโดยรวมไม
นอยกวา 10%

1.3 ขอบเขตของโครงงาน

การศกึ ษาครั้งน้ี เปนการจัดทำระบบการบำรุงรักษาเชิงปองกันของเครอื่ งจักรในสายการผลิตยาทว่ั ไป (Non
Penicillin) โดยพจิ ารณาเฉพาะเคร่อื งจักรท่มี ีความพรอมใชงานตำ่ กวา 95% เทานน้ั ดงั นี้

1.3.1 เครื่องจักรกลุมเครื่องผสม ไดแก เครื่อง Wet Mixer No.1 รหัส 1PD-WM-001, Hobart Mixer
No.1 รหสั 1PD-HM-001 และเครอ่ื ง High Speed Mixer No.1 รหสั 1PD-HSM-001

1.3.2 เครื่องจักรกลุมเครื่องตอกยา ไดแก Tableting Machine No.1 รหัส 1PD-TB-001 และเครื่อง
Tableting Machine No.2 รหสั 1PD-TB-002

1.3.3 เครอื่ งจักรกลุมเครอ่ื งบรรจุ ไดแก Strip Pack Machine No.2 รหสั 1PD-SP-002

2

1.4 ประโยชนทีค่ าดวาจะไดรบั
1.4.1 เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการทำงานโดยรวมของเครอ่ื งจักรใหสูงข้นึ ตามเปาหมาย
1.4.2 เครอื่ งจกั รสามารถผลติ สินคาไดคณุ ภาพและสงมอบสนิ คาไดทนั ตามกำหนด
1.4.3 เพอื่ ตอบสนองเปาหมายของบริษทั คือ Zero Breakdown
1.4.4 เพอื่ ใชเปนแนวทางขยายผลไปสูเคร่ืองจกั รกลุมอื่นๆ ตอไป

1.5 วิธกี ารดำเนนิ โครงงาน
1.5.1 เกบ็ ขอมูล
1.5.2 ศกึ ษาสภาพปญหาและวิเคราะหปญหาเบ้อื งตน
1.5.3 เสนอปญหาตอคณะกรรมการ
1.5.4 วิเคราะหปญหาเชิงลึก
1.5.5 วางแผนดำเนนิ การและตดิ ตาม
1.5.6 ทบทวนและปรับปรงุ แกไข
1.5.7 ประเมนิ ผลเปรยี บเทียบกบั เปาหมายและสรปุ ผล
1.5.8 จดั ทำรายงานและนำเสนอรายงาน

3

1.6 แผนการดำเนนิ โครงงาน

ระยะเวลาการดำเนนิ โครงงาน

การดำเนนิ การ ป 2564-ป2565

ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย.
64 64 64 64 64 65 65 65 65 65 65

1. เก็บขอมลู

2. ศึกษาสภาพปญหาและ
วิเคราะหปญหาเบ้ืองตน

3. เสนอปญหาตอ
คณะกรรมการ

4. วิเคราะหปญหาเชงิ ลึก
และกำหนดมาตรการแกไข

5. วางแผน ดำเนนิ การ
และติดตามผล

6. ทบทวนและปรับปรงุ
แกไข

7. ประเมนิ ผลเปรยี บเทียบ
กับเปาหมายและสรปุ ผล

8. จดั ทำรายงานและ
นำเสนอรายงาน

4

บทท่ี 2

ทฤษฎีทเี่ ก่ียวของ

2.1 ทม่ี าของระบบการบำรงุ รักษา (Maintenance)

• ยคุ แรกกอนป พ.ศ. 2493 เปนยุคท่นี ิยมทำการซอมแซมหลงั จากเคร่อื งมอื เคร่ืองจักรเกิด เหตุขดั ของ
แลว (Break down Maintenance) ไมมีการปองกันการชำรดุ เสียหายของเคร่อื งไวกอนเลย เมื่อเกิดขัดของไม
สามารถใชงานไดแลวจึงทำการซอมแซม

• ยุคที่สอง ระหวางป พ.ศ. 2493 ถึงปพ.ศ. 2503 เปนยุคทีเ่ ริ่มนำแนวคิดเกีย่ วกับระบบการบำรุงเชิง
ปองกัน (Preventive Maintenance) มาใช เพื่อปองกันมิใหเครื่องมือเครื่องจักรเกิดการชำรดุ มีเหตุขัดของ
และเพือ่ ยกสมรรถนะของเคร่อื งมือใหดีขึ้น ผทู ำงานมคี วามมนั่ ใจในเคร่ืองมือมากขึ้น

• ยุคท่ีสาม ระหวางป พ.ศ. 2503 ถงึ ป พ.ศ. 2513 เปนยคุ ท่ีนำเอาแนวคิดเก่ียวกบั การ บำรุงรักษาทวี
ผล (Productive Maintenance) ซึ่งแนวคิดนี้จะใหความสำคัญของการออกแบบเครื่องมือ เครื่องจักรใหมี
ความนาเชื่อ (Reliability) มากยิ่งขึ้น โดยคำนึงถึงความยากงายของการบำรุงรักษา และเอาหลักการดาน
เศรษฐศาสตรมาใช รวมดวย

• ยุคที่สี่ หลงั ป พ.ศ. 2513 เปนตนมาจนถงึ ปจจุบันน้ี ไดรวมเอาแนวคิดทุกยุคทุกสมยั เขามา ประกอบ
กัน โดยพยายามใหทุกฝายไดมีสวนรวมในงานการบำรุงรักษา (Total Productive Maintenance) เปน
ลักษณะของการบำรุงรักษาเชิงปองกัน จะไมเนนเฉพาะฝายบำรุงรักษาเทานั้น แตจะเนนใหทุกคนมสี วนรวม
เพอื่ เพ่ิมประสทิ ธิภาพของเครอื่ งจักรเคร่อื งมือเคร่อื งจักรใหมากขน้ึ

2.2 ความหมายการบำรงุ รักษา

การบำรงุ รักษา (Maintenance) หมายถึง :“การพยายามรักษาสภาพของเครื่องมือเครื่องจกั รตางๆ
ใหมสี ภาพท่ีพรอมจะใชงานอยูตลอดเวลา”

การบำรงุ รักษาน้ันครอบคลุมไปถึงการซอมแซม (Repair) เครอื่ งดวย ในงานบรหิ ารการผลติ หรอื การ
บริการ มกั จะหลกี เล่ียงงานเพิ่มเติมท่ีสำคญั งานหน่ึงคอื การซอมและบำรุงรักษา ไปไมได ถึงแมวางานซอมและ
บำรุงรักษาไมใชงานผลติ โดยตรง แตงานซอมและบำรงุ รกั ษากม็ บี ทบาทชวยใหการผลติ และการบริการของ
องคกรนั้นเปนไปอยางราบร่ืน โดยเฉพาะอยางย่งิ ในโลกปจจบุ นั ท่ีการผลติ และการบรกิ ารจำเปนทจ่ี ะตองอาศัย
อุปกรณและเคร่ืองจักรมากขึ้น การทเ่ี คร่อื งจกั รเกดิ ขดั ของขน้ึ มากะทันหันหรือไมสามารถใชงานได จะทำใหมี

5

ผลกระทบโดยตรงตอประสทิ ธิภาพการผลติ และการบริการนั้นๆ การทจ่ี ะไดมาซ่ึงเครื่องจักรทมี่ ีคุณภาพน้ัน
ตองประกอบดวย

(1) มกี ารออกแบบทดี่ ีและตรงตามความประสงคตอการใชงาน มคี วามเทีย่ งตรงแมนยำ รวมทั้ง สามารถ
ทำงานไดเตม็ กำลังความสามารถทอี่ อกแบบไว

(2) มกี ารผลติ (หรือสราง) ท่ีใหความแข็งแรงทนทาน สามารถทำงานไดนานท่สี ุด และ ตลอดเวลา

(3) มีการตดิ ตง้ั ในสถานทที่ เ่ี หมาะสมและสะดวกตอการใชงาน

(4) มกี ารใชเปนไปตามคุณสมบัติและสมรรถนะของเคร่อื ง

(5) มรี ะบบการบำรงุ รกั ษาที่ดีเนือ่ งจากเครื่องมือเครื่องใชเมือ่ ถูกใชงานไปนาน ๆ กต็ องมกี าร เสอ่ื มสภาพ
ชำรดุ สึกหรอ เสียหายขดั ของ ดังน้นั เพ่ือใหอายุการใชงานเครอ่ื งมือเครอ่ื งใชยนื ยาว สามารถใชงานไดตา
ความตองการของผูใช ไมชำรดุ หรอื เสยี บอยๆ ตองมี “การบำรุงรกั ษา เครื่องจักรเครื่องมอื เครื่องใช” ในระบบ
การดำเนินงานดวย จึงจะสามารถควบคมุ การทำงานของเคร่อื งมอื ไดอยางมีประสิทธภิ าพ

2.3 จดุ มุงหมายของการบำรุงรักษา

1. เพื่อใหเคร่ืองมอื ใชทำงานไดอยางมปี ระสทิ ธผิ ล (Effectiveness) คอื สามารใชเคร่อื งมอื เครือ่ งใช
ไดเตม็ ความสามารถและตรงกับวัตถุประสงคท่ีจดั หามามากทส่ี ุด

2. เพ่ือใหเครือ่ งมอื เครอื่ งใชมีสมรรถนะการทำงานสงู (Performance) และชวยใหเคร่อื งมอื เครอ่ื งใช
มีอายุการใชงานยาวนาน เพราะเมื่อเคร่อื งมือไดใชงานไประยะเวลาหน่งึ จะเกิดการสึกหรอ ถาหากไมมีการ
ปรับแตงหรอื ซอมแซมแลว เครอ่ื งมอื อาจเกดิ การขัดของ ชำรดุ เสยี หายหรือ ทำงานผดิ พลาด

3. เพื่อใหเครอ่ื งมอื เครื่องใชมีความเที่ยงตรงนาเชือ่ ถือ (Reliability) คือ การทำใหเครื่องมอื เครื่องใชมี
มาตรฐาน ไมมีความคลาดเคลื่อนใด ๆ เกิดข้ึน

4. เพือ่ ความปลอดภัย (Safety) ซึ่งเปนจดุ มุงหมายทสี่ ำคัญ เครอ่ื งมือเคร่ืองใชจะตองมีความปลอดภัย
เพียงพอตอผใู ชงาน ถาเครื่องมือเครอ่ื งใชทำงานผดิ พลาด ชำรดุ เสียหาย ไมสามารถทำงานได
ตามปกติ อาจจะกอใหเกิดอุบัติเหตุ และการบาดเจบ็ ตอผูใชงานได การบำรุงรักษาทด่ี ีจะชวยควบคุมการ
ผิดพลาด

5. เพ่ือลดมลภาวะของสิง่ แวดลอม เพราะเคร่ืองมอื เครอ่ื งใชทชี่ ำรดุ เสียหาย เกาแก ขาดการ
บำรงุ รักษา จะทำใหเกิดปญหาดานส่งิ แวดลอม เชน มฝี นุ ละอองหรอื ไอของสารเคมีออกมา มเี สียงดงั เปนตน
ซ่งึ จะเปนอนั ตรายตอผปู ฏิบตั งิ านและผูทเ่ี กย่ี วของ

6

6. เพือ่ ประหยดั พลังงาน เพราะเคร่ืองมอื เคร่ืองใชสวนมากจะทำงานไดตองอาศัยพลังงาน เชน
ไฟฟา น้ำมันเช้ือเพลิง ถาหากเคร่อื งมือเคร่ืองใชไดรบั การดูแลใหอยูในสภาพดี เดินราบเรยี บไมมีการรั่วไหล
ของน้ำมัน การเผาไหมสมบรู ณ ก็จะส้ินเปลอื งพลังงานนอยลง ทำใหประหยัดคาใชจายลงได

2.4 ประเภทของการบำรงุ รกั ษา

ในทางปฏิบัติสามารถแยกประเภทของการบำรุงรกั ษาไดเปน 2 ประเภท คือ
1.การบำรุงรักษาตามแผน (Planned Maintenance) หมายถึง การบำรุงรักษาตามกำหนด ตาม

แผนงาน ตามระบบที่วางไวทุกประการ งานที่สามารถคาดการณไดลวงหนา สามารถเตรียมการไวลวงหนา
ได สามารถกำหนดระยะวัน เวลา สถานที่และจำนวนผูปฏิบัติงานที่จะเขาไดดำเนินการได แนวทางการ
บำรุงรกั ษานน้ั อาจเลือกใชชนิดใดชนิดหนึ่งได เชน การบำรงุ รักษาเชิงปองกนั การบำรงุ รักษาเพื่อแกไข เขา
มาดำเนินการ สวนระยะเวลาเขาไปทำการบำรุงรักษา อาจจะกำหนดหรือวางแผนเขาซอมแซมขณะเครื่อง
กำลังทำงานอยูหรือขณะเครื่องชำรุด (Break down Maintenance) หรือหยุดการใชเครื่องเพื่อทำการ
บำรุงรักษา (Shutdown) การซอมบำรุงรักษาประเภทนี้จะมีปญหานอย เพราะมีเวลาเตรียมการลวงหนาได
ทุกข้นั ตอน

2.การบำรุงรักษานอกแผน (Unplanned Maintenance) เปนการบำรุงรักษานอกระบบงานที่วางไว
เนอ่ื งจากเคร่อื งเกิดการขัดของ ชำรดุ เสยี หายอยางกะทันหัน ตองเรงรบี ทำการซอมแซมทันทีใหเสร็จเรยี บรอย
ทันการใชงาน การบำรงุ รักษาประเภทนี้จะเกิดปญหามากกวาการบำรุงรักษาตามแผน เนื่องจากไมสามารถ
ทราบลวงหนามากอน ไมสามารถกำหนดวัน เวลา สถานที่ ที่แนนอนได ทำใหไมสามารถเตรียมจัดหา
ผูปฏบิ ตั งิ าน อปุ กรณ อะไหล ทจี่ ะใชบำรงุ ไดทันที

2.5 ชนดิ ของการบำรงุ รักษา

การบำรงุ รกั ษาสามารถแบงออกได 6 ชนดิ ดังน้ี

1. การบำรงุ รักษาหลงั เกิดเหตขุ ัดของ (Breakdown Maintenance) เปนการบำรงุ รักษาเม่ือ
เครอื่ งจักรเกดิ การชำรุดและหยุดการทำงานโดยฉุกเฉนิ เปนวิธเี ดิมๆ ในการบำรงุ รักษา แตก็หลีกเล่ยี งไมไดทจ่ี ะ
ใชวิธีน้ี เพราะสามารถเกิดเหตขุ ัดของกับเครอื่ งจักรไดตลอดเวลา แมวาจะมกี ารบำรงุ รกั ษาเชงิ ปองกันท่ดี ีเยี่ยม
สกั เพียงใดกต็ าม

2. การบำรุงรักษาเชงิ ปองกัน (Preventive Maintenance: PM) เปนการบำรงุ รกั ษาเพ่ือปองกันการ
เส่อื มสภาพการเกิดเหตุขัดของ หรอื การหยดุ ทำงานของเครื่องจกั รโดยฉกุ เฉิน โดยอาศัยการตรวจสภาพ
เคร่ืองจักร การทำความสะอาด ขันน็อตสกรูใหแนน และหลอล่ืนตามจุดอยางถูกวธิ ี มกี ารปรบั แตงเครือ่ งจักร
รวมถึงการบำรงุ และเปลย่ี นช้ินสวนอะไหลตามระยะเวลาท่ีกำหนดไว โดยการบำรงุ รักษาชนิดนี้

7

สามารถแบงยอยได 2 แบบ คือ
การบำรงุ รักษาตามระยะเวลา (Periodic Maintenance หรอื Time Based Maintenance: TBM)

คอื การดำเนนิ การอยูเปนระยะ ๆ ผานการตรวจสอบ ทำความสะอาดอุปกรณ และเปล่ียนช้นิ สวนอะไหลเพ่ือ
ปองกันความเสยี หายอยางฉบั พลัน หรอื เกิดปญหาตอกระบวนการผลิต

การบำรงุ รักษาแบบคาดการณ (Predictive Maintenance) คอื การใหความสำคัญและใสใจกบั
ชน้ิ สวนทีส่ ำคญั ของเครอื่ งจักร เปนการคาดการณผานการตรวจสอบ หรอื วินจิ ฉัย เพ่อื ที่จะใหชนิ้ สวนน้ัน ๆ
สามารถใชงานไดครบอายกุ ารใชงานจริง ๆ กลาวไดวาเปนการบริหารจดั การแนวโนมของคุณคา (Trend
Values) โดยอาศัยการตรวจวัดและการวิเคราะหขอมลู เกยี่ วกับการเสอ่ื มสภาพ และสามารถกลาวไดอีกอยาง
หนึง่ วาเปน การบำรุงรกั ษาตามสภาพ (Condition Based Maintenance: CBM) ดวย โดยมากแลวจะใช
อุปกรณวเิ คราะหการสัน่ (Vibration Analysers) และมีระบบเฝาตดิ ตาม (Surveillance System) เพ่ือ
ตรวจสอบสภาพผานระบบออนไลน (On–line System)

3. การบำรุงรกั ษาเชิงแกไขปรับปรุง (Corrective Maintenance) เปนการดดั แปลง ปรับปรงุ แกไข
เครอ่ื งจักรหรือชิ้นสวนของเครื่องจักร เพือ่ ขจัดเหตุขัดของเรือ้ รงั ของเครื่องจักรใหหมดไปโดยสิ้นเชิง และ
ปรับปรุงสภาพของเคร่ืองจักรใหสามารถผลิตไดดวยคุณภาพและปรมิ าณทสี่ งู ขน้ึ โดยเปนการพฒั นาความ
นาเชือ่ ถือและงายตอการบำรุงรักษา

4. การปองกนั เพื่อบำรงุ รักษา (Maintenance Prevention) เปนการดำเนินการเพื่อใหไดมาซึ่ง
เครื่องจักรทไี่ มตองมีการบำรงุ รักษา หรอื บำรุงรักษาใหนอยที่สดุ โดยอาศัยการออกแบบเคร่อื งจักรใหมีความ
แขง็ แรง ทนทาน บำรงุ รกั ษาไดงาย มกี ารใชเทคนิคและวัสดุที่จะทำใหเครื่องจักรมีความนาเชอื่ ถือ
(Reliability) รวมถึงเลือกซ้ือเคร่ืองจักรทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ ทนทาน ซอมงายและสมราคา

5. การบำรุงรักษาทวีผล (Productive Maintenance) เปนการบำรุงรกั ษาท่นี ำเอาการบำรงุ รกั ษาท่ี
กลาวมาขางตนมาประกอบเขาดวยกนั เพื่อสงเสรมิ การผลติ ใหเกิดผลสูงสุดเทาทจ่ี ะเปนไปได

6. การบำรุงรกั ษาทวีผลแบบทกุ คนมสี วนรวม (Total Productive Maintenance: TPM)
เปนการบำรุงรกั ษาทเี่ นนการมีสวนรวมของทุกคน ท้ังพนักงานปฏบิ ัตกิ ารในสายการผลติ (Operators) และ
พนักงานฝายซอมบำรงุ (Maintenance group) ซ่งึ จะรบั ผดิ ชอบในการบำรุงรักษาอุปกรณและเครื่องจกั รตาง
ๆ รวมกัน

8

2.6 ดชั นีช้วี ดั ประสิทธภิ าพการบำรุงรักษา

KPI หรือ Key Performance Indicators

 Key : แกน หรือ หวั ใจหลัก

 Performance : ประสทิ ธภิ าพ ประสิทธิผล หรือ ผลของการกระทำ

 Indicators : ตัวชว้ี ัด หรอื ดรรชนี

KPI คือ ตัวบงช้ีประสทิ ธภิ าพหลกั หรือ ดัชนชี ้วี ดั ความสำเรจ็ เปนคาท่จี ะแสดงใหเห็นวา บรษิ ัท บรรลุ
วตั ถปุ ระสงคทางธุรกิจทส่ี ำคัญไดอยางมีประสิทธิภาพเพยี งใด แตละองคกรจะใช KPI ในหลายระดับเพื่อ
ประเมินความสำเร็จ การบรรลเุ ปาหมาย KPI ในผูบริหารระดบั สงู อาจมงุ เนนไปทผี่ ลการดำเนนิ งานโดยรวม
ของธรุ กิจ ขณะท่ี KPI ระดบั ปฎิบัตงิ านอาจเนนที่กระบวนการตางๆ เชน การเพิ่มผลผลติ ของเคร่อื งจักร (ฝาย
ผลติ ) การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพหรือลดระยะเวลาการซอมบำรุงเครือ่ งจักร (ฝายซอมบำรงุ ) ยอดขายท่เี พิม่ ขึ้น (ฝาย
ขายและการตลาด) และอน่ื ๆอกี มากมาย

ดัชนีชีว้ ดั คณุ ภาพของงานซอม (Maintenance KPI’s)

การกำหนดทศิ ทางและบทบาทของงานบำรงุ รักษาในสถานประกอบการเม่อื นำเอาระบบ CMMS มา
ใชนับวาเปนสวนหรือขัน้ ตอนท่สี ำคญั ทส่ี ุด เนื่องจากจะเปนตวั กำหนดความตองการทีจ่ ำเปนในดานอื่นๆ
นอกจากนยี้ ังพบวาปญหาของการนำเอาระบบ CMMS ไปใชงานที่เกดิ ข้ึนเมอื่ มกี ารนำเอาระบบไปใชแลวสวน
ใหญเปนผลมาจากการกำหนดทิศทางและบทบาทของงานบำรุงรกั ษาในสถานประกอบการที่ไมชดั เจน
เนอ่ื งจากไมไดรับการเอาใจใสท่พี อเพยี ง การกำหนดทิศทางและบทบาทของงานบำรุงรกั ษาจะตองครอบคลุม
เรื่องตางๆทง้ั หมดทจ่ี ำเปนเพ่ือใชกำหนดแนวทางในการตดั สนิ ใจเพ่อื ใหการดำเนนิ งานบำรงุ รักษาเม่ือไดนำเอา
ระบบ CMMS มาใชมีประสิทธภิ าพ ดังนั้นทิศทางและบทบาทของงานบำรุงรักษาของสถานประกอบการควร
ประกอบดวย

9

1. การกำหนดดชั นีวดั ผลสำเร็จ ( Key Performance Indicators, KPIs )
2. การกำหนดนยิ ามและรายละเอียดของการลงทนุ และคาใชจายของ การดำเนินงานบำรงุ รักษา
3. การกำหนดหนาท่คี วามรบั ผิดชอบรวมทั้งอำนาจในการอนมุ ัตขิ องแตระดับตำแหนงในหนวยงานบำรุงรักษา
4. การกำหนดนิยามและรายละเอยี ดของงานบำรุงรักษาประเภทตางๆและหลกั เกณฑในการจัดลำดบั
ความสำคัญของงานบำรุงรกั ษาแตละประเภท
5. การกำหนดนยิ ามและรายละเอยี ดของการสง่ั งาน ( Work Order ) และการขอใหทำงาน ( Work Request )
แตละประเภท
6. การกำหนดหลักเกณฑและรายละเอียดรวมทั้งระดับความสำคัญในการใชทรัพยากรการบำรงุ รักษา ( ไดแก
พนกั งาน เครือ่ งมือ และวัสดุ เปนตน )
7. การกำหนดตัวเทยี บวัด ( Benchmarking )
8. กำหนดกระบวนการของการจัดการดานตางๆทจี่ ำเปน

2.7 ดชั นชี วี้ ดั สมรรถนะองคการดานการผลิต
2.7.1. เวลาเฉลีย่ ระหวางการขัดของ (Mean Time between Failure ; MTBF) เปนคาเฉลยี่ ของ

เวลาของการเกิดความบกพรองของเครื่องจักรสามารถนำมาวเิ คราะห เพ่ือใชพจิ ารณาปรับเปลย่ี นความถห่ี รอื
กำหนดเวลาทีเ่ หมาะสมในการบำรงุ รกั ษาเคร่อื งจกั รอุปกรณแตละตัวโดยพจิ ารณากบั แผนการบำรงุ รกั ษาเดิมที่
มอี ยูเพือ่ ความเหมาะสม โดยมสี ตู รดังน้ี

สตู ร MTBF = ผลรวมเวลาท่ีเครอ่ื งจักรทำงาน (เดิน) / ผลรวมจำนวนครง้ั ท่เี ครอ่ื งจกั รหยดุ (ซอม)

ตวั อยาง ผลรวมเวลาท่เี ครอ่ื งจกั รทำงาน (1เดอื น) = 160 ชม. ผลรวมจำนวนครั้งทเ่ี คร่อื งจกั หยดุ = 10 ครง้ั
MTBF คอื 160 / 10 = 16 ชม/ครง้ั

2.7.2. เวลาเฉลี่ยในการซอม (Mean Time To Repair ; MTTR) เปนคาเฉล่ียของเวลาที่ใชในการ
ซอมเมื่อเกิดความบกพรองของเครื่องจักรฝายเทคนิคจำเปนตองทราบคาทางวิศวกรรมตัวนี้เพื่อใชในการ
วางแผนงานซอมบำรงุ รกั ษา โดยมสี ตู รดงั น้ี

สูตร MTTR = ผลรวมเวลาท่เี ครอื่ งจักรหยดุ (ซอม) / ผลรวมจำนวนครั้งทีเ่ ครือ่ งจักรหยุด

ตวั อยาง ผลรวมเวลาที่เครอ่ื งจกั รหยุด (1เดอื น) = 20 ชม. ผลรวมจำนวนครั้งที่เคร่ืองจกั หยดุ = 10 ครัง้
MTTR คือ 20 / 10 = 2 ชม/คร้ัง

10

2.7.3. อัตราความสูญเสียจากการหยุดเครื่องจักร (Mean Time To Failure ; MTTF) เปนการ
วัดผลโดยใชคาเปอรเซ็นตของเวลาที่เครอ่ื งจักรท่เี กิดการขดั ของ หลงั จากทำการปรับปรงุ แลวคาเปอรเซน็ ตของ
เวลาที่เครื่องจักรที่เกดิ การขดั ของมีคาเปอรเซ็นตนอยลงกวาชวงกอนปรับปรงุ หมายถงึ การปรับปรุงน้ีทำใหผล
ดขี ้นึ โดยมสี ูตรดงั นี้

สูตร MTTF = ( เวลาหยุดเคร่อื งจกั รทำงานท้ังหมด / เวลาเครือ่ งจกั รทำงานท้งั หมด ) X 100

ตวั อยาง ผลรวมเวลาทเ่ี คร่อื งจกั รหยุด = 20 ชม. ผลรวมเวลาทเ่ี ครอ่ื งจักรทำงาน =160 ชม.
MTTF คอื 20 / 160 = 12.50 %

2.7.4. ความพรอมใชงานของเครอื่ งจักร (Availability) เปนการวัดผลโดยใชคาเปอรเซ็นตของเวลาที่
มีความพรอมใชงานเครื่องจกั ร หลงั จากทำการปรับปรุงแลวคาเปอรเซ็นตของความพรอมใชงานเคร่ืองจกั รมคี า
เปอรเซน็ ตมากขึ้นกวาชวงกอนปรบั ปรุง หมายถึงการปรบั ปรุงนี้ทำใหผลดีข้ึน โดยมีสตู รดังน้ี

สตู ร Availability = ( เวลาเคร่อื งจกั รทำงานท้งั หมด - เวลาหยุดเคร่ืองจกั รท้ังหมด /
เวลาเครื่องจักรทำงานท้ังหมด ) x 100

2.8 ดัชนชี กี้ ารวัดประสทิ ธิผลโดยรวมของเครอ่ื งจักร
Overall Equipment Effectiveness (OEE): ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร คือวิธีการ

คำนวณความสามารถในการทำงานทง้ั หมดของเคร่ืองจักรภายในโรงงาน โดยอางองิ จากปจจัยตางๆ ทีเ่ ก่ยี วของ
และสรปุ ออกมาเปนตัวเลข โดยการคำนวณ OEE จะมสี วนประกอบหลัก 3 อยาง คอื

1. อตั ราการเดนิ เครื่องจักร (Availability)
2. ประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองจักร (Performance Efficiency)
3. อัตราคุณภาพ (Quality Rate)
ซ่งึ สวนประกอบ 3 อยางน้ีกจ็ ะมีปจจยั แยกยอยลงไป เพื่อใหการคำนวณนนั้ ตรงกับความเปนจรงิ ท่เี กดิ ข้นึ
ภายในโรงงานมากที่สดุ สำหรับการคำนวณ OEE ทางผปู ระกอบการจำเปนตองแยก Factor ยอยๆ ของ OEE
ออกมากอน แลวจึงนำไปเขาสตู รการคำนวณ OEE โดยมีรายละเอยี ดดังนี้

ประสทิ ธผิ ลโดยรวม = อัตราเดินเครอ่ื งจกั ร x ประสทิ ธิภาพการเดนิ เครื่อง x อัตราคุณภาพ
OEE (Availability) (Performance Efficiency) (Quality Rate)

“มาตรฐานการผลิตระดบั โลก (World Class Manufacturing) กำหนดให OEE ˃ 85 %”

11

2.8.1 อตั ราการเดินเคร่ืองจกั ร (Availability)
อตั ราการเดินเคร่อื งจกั ร = ( เวลาเดนิ เครอ่ื งจักร / เวลารับภาระงาน ) X 100

เวลาเดนิ เคร่ืองจกั ร = เวลารับภาระงาน – เวลาในการหยุดเดินเครอื่ งจกั ร

เวลารับภาระงาน = เวลาทำงานท้งั หมด-เวลาหยดุ ตามแผนงาน

ตวั อยางการหาอัตราเดนิ เครือ่ งจกั ร
เครือ่ งจักรในโรงงานตวั หน่ึงมีเวลาทำงานทั้งหมด 36 ชั่วโมงตอสปั ดาห มีการหยดุ ตามแผนงานสัปดาหละ 4
ช่วั โมง มเี วลาสูญเสียจากการที่เครอื่ งจกั รหยดุ 2 ช่ัวโมง ใน 1 สปั ดาหอตั ราการเดนิ เครอื่ งจกั รจะเปนเทาใด

แทนคาตวั แปร เวลารับภาระงาน = เวลาทำงานท้ังหมด – เวลาหยุดตามแผนงาน
= 36 - 4
= 32 ช่วั โมง

เวลาเดนิ เครือ่ งจกั ร = เวลารับภาระงาน – เวลาในการหยุดเดินเครื่องจักร
= 32 - 2
= 30

อตั ราการเดนิ เคร่ืองจกั ร = เวลาเดินเครื่องจักร/เวลารบั ภาระงาน
= 30/32
= 0.9375 x 100 = 93.75%

2.8.2 ประสิทธภิ าพการเดินเครอื่ งจกั ร (Performance Efficiency)
การคำนวณประสทิ ธภิ าพการเดินเคร่อื งจักรสามารถคำนวณได 2 แบบ โดยอางอิงจากเวลาในการใชตวั แปร
ดานเวลาเพอ่ื คำนวณ หรือการคำนวณจากการผลติ ชิ้นงาน โดยจะมีรายละเอียดดังน้ี
การคำนวณประสิทธิภาพโดยคิดจากเวลา

ประสทิ ธิภาพการเดินเคร่ืองจกั ร (P1) = ((เวลาเดนิ เครือ่ งทง้ั หมด - เวลาในการหยดุ เดนิ เครอื่ งจกั ร) /
เวลาเดนิ เครื่องทงั้ หมด) X 100

การคำนวณประสทิ ธิภาพโดยคิดจากการผลิตชน้ิ งาน

ประสิทธภิ าพการเดนิ เครอ่ื งจักร (P2) = (จำนวนชิ้นงานทผ่ี ลติ ได / จำนวนช้นิ งานท่ีควรผลติ ไดตาม
มาตรฐาน) X 100

12

ตวั อยางการหาประสทิ ธิภาพการเดินเครอ่ื งจกั ร เวลาทำงานของเครอ่ื งจักรเครื่องหน่ึง มีการใชเวลาทำงาน
จรงิ ทง้ั หมด 48 ชวั่ โมงตอสัปดาห ซง่ึ ในชวงเวลาการทำงานนน้ั มีการหยดุ ทำงานเคร่ืองจักรไป 10 ช่ัวโมง
ประสทิ ธิภาพการเดินเครื่องจักรน้คี ิดเปนเทาใด
แทนคาตวั แปร

ประสทิ ธิภาพการเดินเคร่ืองจักร (P1) = (เวลาเดินเครอื่ งทง้ั หมด - เวลาในการหยดุ เดนิ เคร่อื งจักร) /
เวลาเดนิ เคร่ืองทั้งหมด
= (48-10)/48
= 0.7916 X100 = 79.16 %

2.8.3 อตั ราคุณภาพ (Quality Rate)
การคำนวณอัตราคุณภาพ เปนอีกตัวแปรทสี่ ามารถคำนวณได 2 รูปแบบ รูปแบบแรกคือการหาอัตราคณุ ภาพ
ผานตวั แปรดานเวลา สวนอีกรปู แบบคอื การหาอัตราคณุ ภาพผานช้นิ งานทผ่ี ลติ ได โดยมกี ารคำนวณดังน้ี

การหาอตั ราคุณภาพโดยคิดจากเวลา

อตั ราคณุ ภาพ (Q1) = ( เวลาเดินเครื่องท่เี กดิ มลู คา / เวลาเดินเคร่ืองสทุ ธิ ) X 100

เวลาเดนิ เครอื่ งท่ีเกิดมูลคา = เวลาเดนิ เคร่ืองสทุ ธิ – เวลาทีเ่ สียไปจากการผลิตของเสยี

การหาอัตราคณุ ภาพโดยคิดจากสิง่ ทผ่ี ลติ

อัตราคณุ ภาพ (Q2) = ((จำนวนช้นิ งานทีผ่ ลิตไดทั้งหมด – จำนวนชิน้ งานเสีย) /จำนวน
ช้นิ งานท่ีผลติ ได) X 100

ตัวอยางการหาอัตราคุณภาพ
เคร่ืองจักรเคร่ืองหนึ่ง สามารถผลติ ผลงานได 500 ช้ินตอวัน โดยมีงานที่เสยี จำนวน 50 ชน้ิ อัตราคุณภาพของ
เครอ่ื งจักรนจี้ ะเปนเทาใด

แทนคาตวั แปร อตั ราคุณภาพ = (จำนวนชิ้นงานท่ผี ลติ ได-จำนวนชิ้นงานเสีย)/จำนวนช้นิ งานทผี่ ลิตได
= (500-50)/500

= 0.9000 X 100 = 90.00 %
การหาคา OEE
สมมตโิ จทย โดยคดิ จากการทำงานของเคร่ืองจกั รในตัวอยาง อตั ราเดนิ เคร่ืองจักร ประสิทธภิ าพการเดิน
เครอ่ื งจักร และอตั ราคุณภาพของเครือ่ งจักร

แทนสตู ร OEE = อตั ราเดนิ เคร่อื งจักร x ประสทิ ธภิ าพการเดินเครื่อง x อตั ราคุณภาพ

= 93.75% X 79.16 % X 90.00 %
= 66.79 %

13

ขอควรระวงั ในการใช OEE
ตองมีการเก็บขอมูลที่ครบถวน แมนยำ ทุกการคำนวณในโรงงานอุตสาหกรรม จะตองมีการจดบันทึกที่
ครบถวน ถกู ตอง หากขาดตวั แปรใดตัวแปรหนง่ึ จะทำใหขอมูลในการคำนวณนอยเกนิ ไป ทำใหผลการคำนวณ
ออกมาไมตรงกับความเปนจริง เกดิ ผลเสียในระยะยาว
หนวยการคำนวณตองเหมือนกัน หากขอใดขอหนง่ึ ใชตวั แปรดานเวลาเปนหนวยช่วั โมง ตัวแปรดานเวลาของ
ขอท่ีเหลือจำเปนตองใชหนวยชวั่ โมงเชนกัน หากเปนนาที ก็ตองเปลยี่ นใหเปนนาทเี หมือนกนั ไมเชนนั้นขอมูลที่
คำนวณไดจะผิดเพย้ี น
สำหรบั การทำงานจริงแลว นอกจากการคำนวณดวยบุคคล การใชเครอื่ งมือประเภท Lot ในการเก็บขอมลู การ
ทำงาน กอนทำผานการประมวลผลดวยโปรแกรมคำนวณคาสำหรับโรงงาน อาจจะเปนวิธีที่ดกี วา งายกวา ลด
ความผดิ พลาดไดมากกวา เหมาะสำหรบั การทำงานในระยะยาวเปนอยางยิ่ง

สรุปบทความ OEE ถอื เปนอีกหน่ึงการคำนวณสำหรบั โรงงานอตุ สาหกรรมทม่ี ีการใชงานอยางแพรหลาย และ
ภายในการคำนวณน้ันยงั สามารถแบงสวนประกอบยอยๆ ออกมา เพอ่ื ตรวจสอบการทำงานไดอีกดวย ซึง่ การใช
OEE ใหดีทส่ี ุดนั้น ตองมีการเก็บขอมูลที่ครบถวน และการคำนวณท่ถี ูกตอง

2.9 งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วของ
2.8.1 ศศิวิมล จันทรังษี และรักนอย อัครรุงเรืองกุล (2551) ไดศึกษาเรื่อง “การปรับปรุงประสิทธิภาพ

เครื่องจักร และอุปกรณดวยระบบการบำรุงรักษาเชิงปองกัน กรณีศึกษาโรงงานผลิตยางในรถจักรยานและ
รถจกั รยานยนต” นำมาประยุกตใชเพื่อตงั้ ระบบการบำรงุ รักษาเคร่ืองจักรและอุปกรณเชิงปองกันของเคร่ืองจักร
และอุปกรณแบบรายวัน รายสัปดาห รายเดือนและรายปรวมทั้งปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องจักรและ
อุปกรณดวยดัชนีชี้วัด คือ เวลาที่สูญเสียเนื่องจากการหยุดของเครื่องจักร อัตราการเดินเครื่อง (Availability Rate)
และประสทิ ธภิ าพผลโดยรวม (Overall Equipment Effectiveness: OEE) พรอมกบั การจัดตั้งระบบการบำรุงรักษา
เชิงปองกัน จากการจดั ตง้ั ระบบไดวา เวลาทีส่ ญู เสยี เน่ืองจากการหยุดของเครื่องจักรและอปุ กรณมีคาลดลงโดย
เฉลี่ย 66.44% อัตราการเดนิ เครื่องเพิ่มขึ้น โดนเฉลี่ย 6.78% และประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรและ
อปุ กรณมีคาเพ่มิ ขนึ้ โดยเฉล่ีย 9.76% [3]

2.8.2 ประยูร สุรินทร, อาคม มณีคุณโฑ, โกมิน ใจนนถี, ไพโรจน หนูเงิน และอธิกรัณย จิระวิจิตร
(2551) ไดศึกษาเรื่อง “การเพิ่มผลผลิตโดยการปรับปรุงวิธีการทำงาน กรณี บริษัทเซมิคอนดักเตอร จำกดั ”
เพือ่ ลดเวลาสูญเสียในกระบวนการผลิต และเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตเพื่อแกปญหาในอุตสาหกรรมการผลิต
อุปกรณอิเล็กทรอนิกส (Transistor & Diode) จากการศึกษาพบวาเวลาที่สูญเสียเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ
ดวยกัน ซึ่งคณะผูวิจัยไดเลือกปญหาที่เกิดจากเครื่องมือและอุปกรณไมเหมาะสมหรือไมสะดวกในการ
ปฏิบัติงานมาทำการวิจัยดำเนินการแกปญหาดังกลาวโดยเลือกวิธีการจัดทำอุปกรณชวยในการตรวจสอบท่ี
เหมาะสมกับการปฏิบัติงานและเปนมาตรฐานเดียวกัน ผลจากการวิจัยปรากฏวาเวลาในการตรวจสอบ
เคร่ืองจักรวิธีการใชเวลา 11.51 นาที/เครื่อง/คน ซึ่งภายหลังการทดลองใชอุปกรณชวยในการตรวจสอบแลว

14

เวลาลดลง 6.12 นาท/ี เครื่อง/คน ซึ่งคิดเปนเงนิ 4,395,448.80 บาท/ป และทำใหอัตราการผลิตเพ่ิมขึ้น และ
สามารถทำใหบริษัทลดตนทุนในการผลติ ไดอยางมาก [4]

2.8.3 ยอดนภา เกษเมือง, เถลิง พลเจริญ, ศภุ ชัย แสงจันทร และกิตติพงษ วริศรากุล (2552) ได
ศึกษาเรือ่ ง “การเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมของเคร่ืองจักร กรณีศึกษา หจก.สุจรรยาพาณิชย”งานวจิ ัยเพื่อเพิม่
ประสิทธิภาพของเครื่องจักร ศึกษาจากปญหาตางๆ ทีม่ ีผลใหเครื่องจักรหยดุ ทำงานบอยครั้ง ทำใหเครือ่ งจักร
ขาดประสิทธิภาพในการทำงาน ทั้งนี้ไดมีการนำหลักการปรับปรุงรักษาเชิงปองกัน (Preventive
Maintenance: PM) มาใชในการบำรุงรักษาเคร่อื งจักรทำใหเครอ่ื งจักร สามารถทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
โดยนำคาอัตราความพรอม (Availability) อตั ราการผลติ (Process Rate) และอัตราคุณภาพ (Quality Rate)
ใชคาเฉลี่ยกอนการปรับปรุงเพ่มิ ขน้ึ 4.02% การ Brake Down กอนการปรบั ปรงุ 68 ครง้ั หลงั การปรับปรุงลด
เหลอื 32 ครง้ั [5]

2.8.4 วีรชัย มัฏฐารักษ และวิมล จันนิวงศ (2553) ไดศึกษาเรื่อง “การเพิ่มผลผลิตดวยวิธีการ
ปรับปรุงประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจกั ร : กรณีศึกษา โรงงานผลิตอาหารสัตว” โดยเพิ่มผลผลติ ดวยวธิ ีการ
OEE หรือการปรับปรุงคาประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรอัดเม็ดในโรงงานผลิตอาหารสัตวน้ำโดย
ทำการศึกษาถึงเหตุที่มีผลทำใหคาประสิทธิผลโดยรวมของเคร่ืองอัดเมด็ มีคาต่ำดวยวิธีการแกปญหาแบบคิวซี
สตอรี่ ของ JUSE การวิเคราะหขอมูลกอนปรับปรุงดวยผังกางปลาพบวาตัวแปรที่มีคาต่ำมี 2 ตัวแปร คือ คา
ความพรอมของเครื่องจักรและคาสมรรถนะเครื่องจักร ดังนั้นจึงไดจดั ทำมาตรการตอบโตเหตุเพื่อปรบั ปรุงคา
ประสิทธิผลโดยรวมในสายการผลิตที่ 2 เครื่อง มีคาสูงขึ้นจากเดิมเฉลี่ยอยูที่ 74% สูงขึ้นเปน 84% สวน
สายการผลติ ท่ี 3 เคร่อื ง มคี าเฉลยี่ 75% สูงข้นึ เปน 93% [6]

15

บทที่ 3
การดำเนนิ งาน
3.1 ประวตั ิความเปนมา
บริษัท อารเอ็กซ แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด กอตั้งในป พ.ศ. 2546 ซึ่งมีประสบการณดานธุรกิจยาและ
เครื่องมือแพทยมากวา 30 ป เริ่มสรางโรงงานผลิตยาในเดือนตุลาคม 2546 และสรางโรงงานเสร็จในเดือน
สงิ หาคม 2547 บนเน้อื ท่ี 27 ไร
- โรงงานไดรับการรบั รองมาตรฐานคุณภาพ (GMP Certificate) จากสำนักงานคณะกรรมการอาหาร
และยาตงั้ แตป พ.ศ. 2547 ท่เี รมิ่ การผลติ ยา และผานการตรวจประเมินตามแนวทาง GMP (PIC/s), ISO 9001,
ISO 14001 และISO 17025
บรษิ ัทไดรับรองมาตรฐาน
- ISO 9001:2000 เมอ่ื วันท่ี 18 ธนั วาคม 2549
- ISO 14001:2004 เม่ือวนั ท่ี 29 กรกฎาคม 2551
- ISO 17025 เมอื่ วนั ท่ี 14 ตุลาคม 2553
3.2 ที่อยบู รษิ ทั อารเอ็กซ แมนูแฟคเจอรง่ิ จำกัด
ทอ่ี ยู : 76 หมู 10 ถ. ศาลายา-บางภาษี ต.นราภริ มย อ.บางเลน จ.นครปฐม 73130
โทรศพั ท : (02) 034-298-117-20

ภาพท่ี 3-1 แผนทต่ี ัง้ บรษิ ัท อารเอก็ ซ แมนูแฟคเจอรง่ิ จำกัด

16

3.3 โครงสรางบรษิ ัท

ภาพที 3-2 โครงสรา้ งบรษิ ทั

17

3.4 ผลิตภัณฑของบรษิ ัท
3.4.1 กลมุ ยาเม็ดและแคปซูล เชน Air-x, Metformin RX, Rexodrin และอ่นื ๆ

3.4.2 กลมุ ยาน้ำและครีม

3.4.3 กลมุ ยาเพนนซิ ิลลิน (Penicillin) เชน Amoxy RX, AMK Tablet

ภาพท่ี 3-3 ผลิตภณั ฑของบริษทั

18

3.5 แผนผังเครือ่ งจักรในแตละกลุม
การตดิ ตง้ั เคร่ืองจักรของกลุมเครื่องผสม, เครอ่ื งตอกยา และเคร่ืองบรรจุ

ภาพท่ี 3-4 แผนผังเคร่ืองจักรกลุมเครื่องผสม, กลมุ เคร่ืองตอกยา และกลุมเครอื่ งบรรจุ

19

3.6 การจำแนกเคร่อื งจกั รตามกลมุ
บรษิ ัท อารเอ็กซ แมนูแฟคเจอร่ิง จำกดั มเี ครอื่ งจักรภายในบริษัทจำนวน 25 เครอื่ ง แบงไดเปน 3 กลมุ

เครอ่ื งจักรผสม
9 12 เครอื่ งจกั รตอกยา

เคร่อื งจักรบรรจุ
4

ภาพที่ 3-5 กลมุ ประเภทเครื่องจักรแบงเปน 3 กลุม
จากภาพที่ 3-5 จะเห็นไดวาจำนวนเครื่องจกั รในกลุมเครื่องผสม มีจำนวน 12 เครือ่ ง และจำนวนเครื่องจักร
ในกลมุ ตอกยา มจี ำนวน 4 เครื่อง และจำนวนเครือ่ งจกั รในกลมุ บรรจุ มจี ำนวน 9 เครอ่ื ง ตามลำดับ

20

3.6.1 การจำแนกเครื่องจกั รตามกลุมเครอ่ื งผสม

ตารางท่ี 3-1 การจำแนกประเภทเครอ่ื งจักรของกลุมเครือ่ งผสม

เคร่อื งจกั ร ภาพเคร่ืองจักร ยี่หอ รนุ รหสั จำนวน
Wet Mixer เครื่องจักร

วนิ ยั การชาง 4PHO 1PD-WM-001 1
S.R. STAINLESS WM300 KG 1PD-WM-002 1

Hobart กลวยน้ำไท 1PD-HM-001
Mixer PHATRA SILPA
-2
Fitz Mill
1PD-HM-002

1PD-FM-001

SF-JR 2

1PD-FM-002

1PD-FB-001
Fluid Bed E-094 2
Dryer KEVIN
1PD-FB-002

FBS 250 1PD-FB-003 1

Hot Air ยู.ดี.แมชชีนเนอร่ี 0001 1PD-HAO-001 1
Oven

High Speed ไทยประดิษฐ เอ็นจิเนยี ริ่ง M200 1PD-HSM-001 1
Mixer
PHATRA SILPA - 1PD-HSG-001 1
High Speed รวม 12
Granulator

21

3.6.2 การจำแนกเครอ่ื งจกั รตามกลมุ เคร่ืองตอกยา

ตารางท่ี 3-2 การจำแนกประเภทเครอื่ งจักรของกลมุ เคร่ืองตอกยา

เคร่ืองจักร ภาพเครอื่ งจักร ย่หี อ รนุ รหัส จำนวน
เครอ่ื งจักร

Film Coat ไทยประดษิ ฐ เอ็นจเิ นยี ร่งิ 4PHO 1PD-FC-001 1
Machine

Tableting ยู.ด.ี แมชชนี เนอรี่ 1PD-TB-001 2
Machine UDT-26B

1PD-TB-002

Tableting Fette P2020 1PD-TB-006 1
Machine รวม 4

22

3.6.3 การจำแนกเครอ่ื งจกั รตามกลุมเครื่องบรรจุ

ตารางที่ 3-3 การจำแนกประเภทเครอื่ งจักรของกลุมเครื่องบรรจุ

เครอื่ งจกั ร ภาพเครื่องจกั ร ยห่ี อ รนุ รหัส จำนวน
เคร่อื งจกั ร
Strip Pack
Machine UD39-4 (020) 1PD-SP-001 1

ย.ู ดี.แมชชนี เนอรี่ UD39-8 (012) 1PD-SP-002 2
1PD-SP-003

SP080-002 1PD-SP-005 1

SP120-001 1PD-SP-006 1

Catch Cover Duan Kwei DK-PSCM-180 1PD-CCV-001 1
Machine Machinery

Auto L Type BAWO LSA-504 1PD-ALS-001 1
Machine

Blister Pack เมคคานิกส รีเสริ ช MR-180 2PD-BP-002 1
Machine
DOMINO A200 Plus 1PD-IJP-004 1
Ink Jet Duo
Printer

รวม 9

3.7 สถติ กิ ารขดั ของของเครอ่ื งจกั รในแตละกลมุ
3.7.1 สถติ กิ ารขดั ของของเคร่อื งจกั รกลุมเครอื่ งผสม

ตารางที่ 3-4 สถติ ิการขดั ของของเครอ่ื งจกั รกลมุ

ส.ค. 2564 ก.ย. 2564 ต.ค. 2564

No. Machine Machine Name เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวล
Code ทำงานขดั ของขดั ของทำงาน ขดั ของ ขดั ของทำงาน ขัดของ ขดั ข
(ชม.) (ครั้ง) (ชม.) (ชม.) (คร้งั ) (ชม.) (ชม.) (คร้ัง) (ชม

1 1PD-WM- Wet Mixer No.1 44.00 2 97.5044.00 0 0.00 44.00 0 0.0
001 0.00 44.00 0 0.00 44.00 0 0.0
1.42 33.00 1 1.00 33.00 1 3.0
2 1PD-WM- Wet Mixer No.2 44.00 0 0.50 33.00 0 0.00 33.00 0 0.0
002 1.00 44.00 0 0.00 44.00 2 1.5
0.00 44.00 0 0.00 44.00 1 2.0
3 1PD-HM- Hobart Mixer 33.00 1 0.83 66.00 2 2.17 66.00 3 3.3
001 No.1

4 1PD-HM- Hobart Mixer 33.00 1
002 No.2

5 1PD-FM- Fitz Mill No.1 44.00 1
001

6 1PD-FM- Fitz Mill No.2 44.00 0
002

7 1PD-FB- Fluid Bed Dryer 66.00 1
001 No.1

23

มเคร่ืองผสม (สงิ หาคม 2564 – มกราคม 2565)

พ.ย. 2564 ธ.ค. 2564 ม.ค. 2565 คาเฉล่ีย

ลา เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา
ของทำงานขัดของขดั ของทำงานขัดของขดั ของทำงานขดั ของขดั ของ ทำงาน ขดั ของ ขัดของ
ม.) (ชม.) (ครั้ง) (ชม.) (ชม.) (ครงั้ ) (ชม.) (ชม.) (ครัง้ ) (ชม.) (ชม/ (ครั้ง/ (ชม./
เดือน.) เดอื น) เดือน)

00 44.00 6 3.33 44.00 0 0.00 44.00 0 0.00 44.00 1.33 16.80

00 44.00 3 0.80 44.00 0 0.00 44.00 0 0.00 44.00 0.50 0.13

00 33.00 1 0.25 33.00 2 3.67 33.00 4 4.95 33.00 1.67 2.38

00 33.00 1 0.33 33.00 0 0.00 33.00 0 0.00 33.00 0.33 0.14

58 44.00 1 0.25 44.00 0 0.00 44.00 0 0.00 44.00 0.67 0.47

00 44.00 0 0.00 44.00 0 0.00 44.00 0 0.00 44.00 0.17 0.33

33 66.00 0 0.00 66.00 0 0.00 66.00 0 0.00 66.00 1.00 1.06

8 1PD-FB- Fluid Bed Dryer 66.00 0 0.00 66.00 0 0.00 66.00 0 0.0
002 No.2 3.00 66.00 1 1.00 66.00 2 1.3
0.00 0.00 0 0.00 64.00 1 1.0
9 1PD-FB- Fluid Bed Dryer 66.00 3 0.00 33.00 2 8.33 33.00 1 4.0
003 No.3 0.75 11.00 0 0.00 11.00 0 0.0

10 1PD- Hot Air Oven 0.00 0
HAO-001 No.1

11 1PD- High Speed 33.00 0
HSM-001 Mixer No.1

12 1PD-HSG- High Speed 11.00 1
001 Granulator No.1

24

00 66.00 0 0.00 66.00 2 2.00 66.00 0 0.00 66.00 0.33 0.33
33 66.00 1 1.17 66.00 0 0.00 66.00 2 0.80 66.00 1.50 1.22
00 0.00 0 0.00 0.00 0 0.00 64.00 0 0.00 21.33 0.17 0.17
00 33.00 0 0.00 33.00 1 0.50 33.00 0 0.00 33.00 0.67 2.14
00 11.00 1 1.00 11.00 1 0.50 11.00 1 0.20 11.00 0.67 0.41

25

ตารางท่ี 3-5 ดชั นีการบำรุงรกั ษาเครอ่ื งจกั รกลุมเครื่องผสม (สิงหาคม 2564 – มกราคม 2565)

ดชั นีการบำรงุ รกั ษาเครอื่ งจักร

เครื่องจกั ร รหสั เครอ่ื งจักร MTBF MTTR อัตราขัดของ ความพรอม
(%) ใชงาน (%)

Wet Mixer No.1 1PD-WM-001 20.45 12.63 38.18 61.82

Wet Mixer No.2 1PD-WM-002 87.74 0.26 0.30 99.70

Hobart Mixer No.1 1PD-HM-001 18.34 1.43 7.21 92.79

Hobart Mixer No.2 1PD-HM-002 99.58 0.42 0.42 99.58

Fitz Mill No.1 1PD-FM-001 64.97 0.70 1.07 98.93

Fitz Mill No.2 1PD-FM-002 256.88 1.94 0.75 99.25

Fluid Bed Dryer No.1 1PD-FB-001 64.94 1.06 1.61 98.39

Fluid Bed Dryer No.2 1PD-FB-002 199.00 1.00 0.50 99.50

Fluid Bed Dryer No.3 1PD-FB-003 43.19 0.81 1.85 98.15

Hot Air Oven No.1 1PD-HAO-001 124.47 1.00 0.80 99.20

High Speed Mixer 1PD-HSM-001 46.06 3.19 6.48 93.52
No.1

High Speed 1PD-HSG-001 15.81 0.61 3.73 96.27
Granulator No.1

รวม 1,041.42 25.06 62.90 1,137.10

คาเฉลี่ย ( x ) 86.79 2.09 5.24 94.76

100 99.70 92.79 99.58 98.93

90

80

70 61.82

60

50 38.18
40

30

20 0.30 7.21 0.42 1.07 0.75
10

0

% อตั ราขดั ขอ้ ง

ภาพที่ 3-6 อัตราการขัดของและคว

จากภาพที่ 3-6 จะเห็นไดวาอัตราการขดั ของและความพรอมใชงานเครอื่ งจัก
1. เครื่องจกั ร Wet Mixer No.1 รหัส 1PD-WM-001 มอี ตั ราการขดั ของ
2. เครอื่ งจกั ร Hobart Mixer No.1 รหัส 1PD-HM-001 มอี ตั ราการขดั ข
3. เครอ่ื งจักร High Speed Mixer No.1 รหสั 1PD-HSM-001 มอี ัตราก

26

99.25 98.39 99.50 98.15 99.20 93.52 96.27

5 1.61 0.50 1.85 0.80 6.48 3.73

% ความพรอ้ มใชง้ าน

วามพรอมใชงานเคร่ืองจักรกลมุ เคร่ืองผสม
กรกลมุ เคร่อื งผสมทต่ี ำ่ กวา 95% จำนวน 3 เครอ่ื ง ไดแก
ง 38.18% และความพรอมใชงาน 61.82%
ของ 7.21% และความพรอมใชงาน 92.79%
การขดั ของ 6.48% และความพรอมใชงาน 93.52%

27

ตวั อยางการคำนวณ ดัชนกี ารบำรงุ รกั ษาเคร่อื งจกั รกลมุ เคร่ืองผสม

1. เวลาเฉลย่ี ระหวางการขดั ของ (Mean Time Between Failure ; MTBF)

สูตร MTBF = ผลรวมเวลาทเ่ี คร่อื งจักรทำงาน (เดิน) / ผลรวมจำนวนครง้ั ทีเ่ คร่ืองจักรหยุด(ซอม)

MTBF = (44-16.80) / 1.33
= 20.45 ชม./คร้งั

2.เวลาเฉลีย่ ในการซอม (Mean Time To Repair ; MTTR)
สูตร MTTR = ผลรวมเวลาท่เี ครื่องจกั รหยุด(ซอม) / ผลรวมจำนวนคร้งั ท่เี ครอื่ งจกั รหยุด

MTTR = 16.80 /1.33
= 12.63 ชม./ครั้ง

3. อตั ราความสญู เสียจากการหยุดเครื่องจกั ร

สตู ร MTTF = ( เวลาหยุดเครอ่ื งจกั รทำงานทั้งหมด / เวลาเคร่อื งจกั รทำงานทงั้ หมด ) X 100

MTTF = (16.80/44 ) X 100
= 38.18%

4. ความพรอมใชงานเครอ่ื งจกั ร

สูตร Availability = ( เวลาเครื่องจกั รทำงานทงั้ หมด - เวลาหยดุ เคร่อื งจกั รท้ังหมด /
เวลาเครอ่ื งจักรทำงานทั้งหมด ) x 100

Availability =( 44 – 16.80 / 44 ) X 100
= 61.82 %

3.7.2 สถติ กิ ารขดั ของของเคร่ืองจกั รกลุมเครื่องตอกยา

ตารางท่ี 3-6 สถิติการขดั ของของเครอื่ งจกั รกลมุ

ส.ค. 2564 ก.ย. 2564 ต.ค. 2564

No. Machine Machine เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เ
Code Name ทำงาน ขัดของ ขัดของ ทำงาน ขดั ของ ขดั ของ ทำงาน ขดั ของ ขดั
(ชม.) (คร้ัง) (ชม.) (ชม.) (ครัง้ ) (ชม.) (ชม.) (ครง้ั ) (ช

1 1PD-FC- Film Coat 208 1 0.33 208 0 0.00 208 0 0
001 Machine

2 1PD-TB- Tableting 286 0 0.00 286 1 80.00 286 0 0
001 Machine

No.1

3 1PD-TB- Tableting 286 0 0.00 286 0 0.00 286 1 70
002 Machine

No.2

4 1PD-TB- Tableting 286.0 0 0.00 286.00 0 0.00 286.00 0 0
006 Machine 0

No.6

28

มเครื่องตอกยา (สิงหาคม 2564 – มกราคม 2565)

พ.ย. 2564 ธ.ค. 2564 ม.ค. 2565 คาเฉลีย่

เวลา เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา
ดของ ทำงาน ขดั ของ ขัดของ ทำงาน ขดั ของ ขัดของ ทำงาน ขดั ของ ขัดของ ทำงาน ขัดของ ขดั ของ
ชม.) (ชม.) (คร้ัง) (ชม.) (ชม.) (ครง้ั ) (ชม.) (ชม.) (คร้งั ) (ชม.) (ชม/ (คร้งั / (ชม./
เดอื น.) เดอื น) เดือน)

0.00 208 0 0.00 208 0 0.00 208 0 0.00 208 0.17 0.06

0.00 286 0 0.00 286 1 60.00 286 1 0.30 286 0.50 23.38

0.00 286 1 70.00 286 2 65.00 286 0 0.00 286 0.67 34.17

0.00 286.00 0 0.00 286.00 1 0.17 286.00 1 1.00 286.00 0.33 0.19

ตารางที่ 3-7 ดัชนีการบำรุงรักษาเคร่อื งจักรกลมุ เครือ่ งต

เครื่องจักร รหสั เครอื่ งจักร MTBF
1,223.18
Film Coat Machine 1PD-FC-001 525.24
Tableting Machine No.1 1PD-TB-001 375.87
Tableting Machine No.2 1PD-TB-002 866.09
Tableting Machine No.6 1PD-TB-006 2,990.38
747.60
รวม
คาเฉลยี่ ( x)

100 99.97 91.83

80

60

40

20 0.03 8.17
0 1PD-TB-001
1PD-FC-001
% อตั ราขดั ขอ้ ง

ภาพที่ 3-7 อัตราการขัดของและความพ

จากภาพที่ 3-7 จะเห็นไดวาอัตราการขดั ของและความพรอมใชงานเครื่องจัก
1. เครอ่ื งจกั ร Tableting Machine No.1 รหัส 1PD-TB-001 มอี ตั รากา
2. เครือ่ งจักร Tableting Machine No.2 รหัส 1PD-TB-002 มอี ตั ราขัด

29

ตอกยา (สงิ หาคม 2564 – มกราคม 2565)

ดัชนีการบำรงุ รักษาเคร่ืองจักร ความพรอมใชงาน (%)
MTTR อตั ราขดั ของ (%) 99.97
0.35 0.03 91.83
46.76 8.17 88.05
51.00 11.95 99.93
0.58 0.07 379.78
98.70 20.22 94.94
24.68 5.06
99.93
88.05

11.95 0.07
1PD-TB-006
1PD-TB-002

% ความพรอ้ มใชง้ าน

พรอมใชงานเคร่อื งจักรของกลมุ เคร่อื งตอกยา

กรกลมุ เครอ่ื งตอกยาทีต่ ่ำกวา 95% จำนวน 2 เครอ่ื ง ไดแก
ารขัดของ 8.17% และความพรอมใชงาน 91.83%
ดของ 11.95% และความพรอมใชงาน 88.05%

3.7.3 สถติ ิการขดั ของของเคร่ืองจกั รกลมุ เครอื่ งบรรจุ

ตารางที่ 3-8 สถิตกิ ารขดั ของของเคร่ืองจกั รกลมุ

Machin Machine ส.ค. 2564 ก.ย. 2564 ต.ค. 2564
No. e Name
เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน
Code ทำงาน ขดั ของ ขดั ของ ทำงาน ขดั ของ ขัดของ ทำงาน ขัดของ ข
(ชม.) (ครงั้ ) (ชม.) (ชม.) (ครง้ั ) (ชม.) (ชม.) (คร้ัง)

1 1PD-SP- Strip Pack 286 1 0.50 286 0 0.00 286 6
001 Machine No.1

2 1PD-SP- Strip Pack 286 2 12.00 286 1 0.83 286 4
002 Machine No.2

3 1PD-SP- Strip Pack 286 5 3.33 286 2 4.50 286 2
003 Machine No.3

4 1PD-SP- Strip Pack 286 0 0.00 286 1 2.33 286 1
005 Machine No.5

5 1PD-SP- Strip Pack 286 0 0.00 286 0 0.00 286 0
006 Machine No.6

6 1PD-CCV- Catch Cover 32 1 0.50 32 2 2.50 0.00 0
001 Machine

7 1PD-ALS- Auto L Type 286 2 1.00 286 6 9.83 286 8
001 Machine

8 1PD-BP- Blister Pack 0.00 0 0.00 400 1 1.33 0.00 0
002 Machine

9 1PD-IJP- Ink Jet Printer 286 0 0.00 286 0 0.00 286 0
004

30

มเครื่องบรรจุ (สงิ หาคม 2564 – มกราคม 2565)

4 พ.ย. 2564 ธ.ค. 2564 ม.ค. 2565 คาเฉลีย่

เวลา เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา เวลา จำนวน เวลา
ขดั ของ ทำงาน ขัดของ ขัดของ ทำงาน ขดั ของ ขัดของ ทำงาน ขัดของ ขดั ของ ทำงาน ขัดของ ขดั ของ
(ชม.) (ชม.) (ครั้ง) (ชม.) (ชม.) (คร้ัง) (ชม.) (ชม.) (คร้งั ) (ชม.) (ชม.) (คร้ัง) (ชม.)

11.97 286 1 0.25 286 5 7.50 286 1 4.30 286 2.33 4.09

140 286 0 0.00 286 1 15.00 286 1 1.00 286 1.50 28.14

4.00 286 0 0.00 286 0 0.00 286 5 5.35 286 2.33 2.86

3.00 286 0 0.00 286 0 0.00 286 1 1.28 286 0.50 1.10

0.00 286 0 0.00 286 1 1.00 286 0 0.00 286 0.17 0.17

0.00 0.00 0 0.00 0.00 0 0.00 32 2 1.00 16 0.83 0.67

7.95 286 2 3.00 286 1 6.00 286 0 0.00 286 3.17 4.63

0.00 0.00 0 0.00 0.00 0 0.00 0.00 0 0.00 66.67 0.17 0.22

0.00 286 0 0.00 286 1 0.83 286 0 0.00 286 0.17 0.14

31

ตารางที่ 3-9 ดชั นกี ารบำรุงรกั ษาเครอื่ งจักรกลุมเครือ่ งบรรจุ (สงิ หาคม 2564 – มกราคม 2565)

รหสั ดัชนกี ารบำรงุ รกั ษาเครื่องจักร
เคร่ืองจกั ร
เครื่องจกั ร MTBF MTTR อัตราขัดของ ความพรอมใช
(%) งาน (%)

Strip Pack Machine 1PD-SP-001 120.99 1.76 1.43 98.57
No.1

Strip Pack Machine 1PD-SP-002 171.91 18.76 9.84 90.16
No.2

Strip Pack Machine 1PD-SP-003 121.52 1.23 1.00 99.00
No.3

Strip Pack Machine 1PD-SP-005 569.80 2.20 0.38 99.62
No.5

Strip Pack Machine 1PD-SP-006 1,681.35 1.00 0.06 99.94
No.6

1PD-CCV- 4.19 95.81
Catch Cover Machine 001 18.47 0.81

1PD-ALS- 1.62 98.38
Auto L Type Machine 001 88.76 1.46

Blister Pack Machine 1PD-BP-002 390.88 1.29 0.33 99.67

Ink Jet Printer 1PD-IJP-004 1,681.53 0.82 0.05 99.95

รวม 4,845.21 29.33 18.90 881.10

คาเฉลยี่ ( x) 538.36 3.26 2.10 97.90

100 98.57 90.16 99.00 99.62
90

80

70

60

50

40

30

20 9.84
1.00 0.38
10 1.43
0

1PD-SP-001 1PD-SP-002 1PD-SP-003 1PD-SP-005

% อตั ราขดั ขอ้ ง

ภาพที่ 3-8 อัตราการขัดของและคว
จากภาพที่ 3-8 จะเหน็ ไดวาอัตราการขัดของและความพรอมใชงานเครอ่ื งจัก

1. เคร่ืองจกั ร Strip Pack Machine No.2 รหสั 1PD-SP-002 มีอตั ราก

32

99.94 95.81 98.38 99.67 99.95

0.06 4.19 1.62 0.33 0.05
1PD-SP-006 1PD-CCV-001 1PD-ALS-001 1PD-BP-002 1PD-IJP-004

% ความพรอ้ มใชง้ าน

วามพรอมใชงานเครื่องจักรกลมุ เครื่องบรรจุ
กรกลมุ เครอ่ื งบรรจทุ ต่ี ำ่ กวา 95% จำนวน 1 เคร่อื ง ไดแก
การขัดของ 9.84% และความพรอมใชงาน 90.16%

33

3.8 ดัชนกี ารบำรุงรักษาเครือ่ งจกั รในการจัดทำระบบ PM
จากการวิเคราะหดชั นีการบำรุงรกั ษาทม่ี กี ารใชงานตำ่ กวา 95 % ไดแก กลมุ เคร่อื งผสม กลุมเครื่องตอก

ยา และกลุมเครอ่ื งบรรจุ

ตารางท่ี 3-10 การวเิ คราะหดัชนกี ารบำรงุ รักษาของเครื่องจักรในการจดั ทำระบบ PM
ที่มีความพรอมใชงานต่ำกวา 95%

กลุม เครื่องจักร รหัสเคร่อื งจักร MTBF MTTR อัตราขัดของ ความพรอมใชงาน
(%) (%)

Wet Mixer No.1 1PD-WM-001 20.45 12.63 38.18 61.82
1.43 7.21 92.79
เครอื่ งจกั ร Hobart Mixer No.1 1PD-HM-001 18.34 3.19 6.48 93.52
ผสม

High Speed Mixer No.1 1PD-HSM-001 46.06

เครอ่ื งจกั ร Tableting Machine No.1 1PD-TB-001 525.24 46.76 8.17 91.83
ตอกยา Tableting Machine No.2 1PD-TB-002 375.87 51.00 11.95 88.05

เครอ่ื งจกั ร Strip Pack Machine 1PD-SP-002 171.91 18.76 9.84 90.16
บรรจุ No.2

รวม 1,157.86 133.77 81.83 518.17

คาเฉลีย่ ( x) 192.98 22.30 13.64 86.36

34

100 92.79 93.52 91.83 88.05 90.16
90

80

70 61.82

60

50 38.18
40

30

20 7.21 6.48 8.17 11.95 9.84
10

0

1PD-WM-001 1PD-HM-001 1PD-HSM-001 1PD-TB-001 1PD-TB-002 1PD-SP-002
กลุมเคร่อื งผสม กลุมเครือ่ งบรรจุ
กลุมเครอ่ื งตอกยา

% อตั ราขดั ขอ้ ง % ความพรอ้ มใชง้ าน

ภาพท่ี 3-9 กลมุ เครือ่ งจักรในการจัดทำระบบ PM

จากภาพที่ 3-9 จะเห็นไดวาอตั ราการขดั ของและความพรอมใชงานเครือ่ งจักรทีต่ ่ำกวา 95% จำนวน 6

เครอ่ื ง ดังน้ี
กลมุ เครอ่ื งผสมมจี ำนวน 3 เครือ่ ง ไดแก

1. เคร่ืองจักร Wet Mixer No.1 รหัส 1PD-WM-001 มีอัตราการขัดของ 38.18% และความพรอม
ใชงาน 61.82%

2. เคร่ืองจักร Hobart Mixer No.1 รหสั 1PD-HM-001 มีอตั ราขัดของ 7.21% และความพรอมใช
งาน 92.79%

3. เครื่องจักร High Speed Mixer No.1 รหัส 1PD-HSM-001 มีอัตราการขัดของ 6.48% และ
ความพรอมใชงาน 93.52%

กลมุ เคร่อื งตอกยามีจำนวน 2 เครื่อง ไดแก
1. เครอ่ื งจักร Tableting Machine No.1 รหสั 1PD-TB-001 มอี ตั ราการขัดของ 8.17% และความ

พรอมใชงาน 91.83%
2. เครือ่ งจักร Tableting Machine No.2 รหัส 1PD-TB-002 มีอัตราขัดของ 11.95% และความ

พรอมใชงาน 88.05%
กลมุ เครอ่ื งบรรจุมีจำนวน 1 เครอ่ื ง ไดแก

1. เครื่องจกั ร Strip Pack Machine No.2 รหสั 1PD-SP-002 มีอตั ราการขัดของ 9.84% และความ
พรอมใชงาน 90.16%

3.9 การจำแนกการขดั ของของเครอ่ื งจกั ร ตารางท่ี 3-11 ปญหา
อาก
กลุม เครอื่ งจกั ร รหัส ระบบ
เครอื่ งจักร

Wet Mixer 1PD-WM- เชงิ กล มีเสยี งดงั ผิดปก
No.1 001 มเี ศษผงดำหลนอ
เชงิ ไฟฟา
เชิงนิวแมตกิ ส เพลาหมนุ กร
ชุดเอยี งถงั
เครอ่ื งจักร Hobart 1PD-HM- เชงิ กล
กลมุ ผสม Mixer No.1 001 เคร่อื งตดั
ใบปนยาหมนุ
เชิงไฟฟา สลกั ลอ็ คใบปน
มเี ศษผงดำหลนอ
High Speed 1PD- เชงิ กล ใบปนยาหยดุ ห
Mixer No.1 HSM-001 เชงิ ไฟฟา เคร่อื งหยดุ การ

เครือ่ ง
มีเศษผงดำปนออ
เครื่องหยดุ การท

รวม

35

าการขัดของกลมุ เคร่อื งผสม ปญหาการขดั ของ ความถ่ี รวม
การเสยี (ครั้ง) (คร้ัง)

กติขณะเดนิ เครื่อง ลูกปนเพลาขับแตก 1 8
ออกมาจากแกนเพลา ซีลแกนใบพัดสกึ 2
กระตุกเปนชวงๆ ลูกปนเกยี รแตก 2 10
งผสมไมทำงาน มอเตอรไมทำงาน 2
ดการทำงาน Pressure Switch ตัดการทำงาน 1 4
นกระตุกเปนชวงๆ สลักล็อคใบปนยาหัก 2 22
นยาหลดุ ลงไปในยา สลกั ล็อคใบปนยาหลวม 2
ออกมาจากแกนเพลา ซลี กันฝนุ ขาด 3
หมุนขณะเดนิ เคร่อื ง เพลาชุดปนยาหัก 1
รทำงานขณะปนยา มอเตอรหยดุ หมุนกะทนั หัน 1
งเปดไมติด มอเตอรไมหมุน 1
อกมาจากแกนเพลา ซลี แกนเพลาสึก 1
ทำงานขณะผสมยา มอเตอรหยดุ หมุนกะทันหนั 3

ตารางที่ 3-12 ปญหาก

กลุม เครอื่ งจักร รหสั ระบบ อาก
เคร่อื งจักร Tableting เครอื่ งจกั ร
กลมุ ตอก Machine 1PD-TB-001 เชิงกล ชุดลกู โม
เชิงไฟฟา มเี สยี งดังและเคร
ยา No.1 1PD-TB-002 เชิงกล
Tableting เชิงไฟฟา นำ้ มันหลอล
Machine ถอดรางส

No.2 นำ้ มนั หลอล
Feed Fra
รวม

36

การขัดของกลมุ เครื่องตอกยา

การเสยี ปญหาการขดั ของ ความถี่ รวม
(คร้ัง) (ครั้ง)
มหมุนแกวง ลกู ปนเพลาขับแตก
รื่องหยดุ การทำงาน ลูกปนเกียรฟดเฟรมแตก 1
ล่ืนรางสไลดแหง ปมน้ำมันหลอลืน่ ไมทำงาน 13
สไลดไมออก นอตลอ็ ครางสไลดหัก 1
ลื่นรางสไลดแหง ปมนำ้ มนั หลอล่ืนไมทำงาน 1
ame ไมหมุน มอเตอร Feed ไมทำงาน 14
2

7


Click to View FlipBook Version