ผลการดำเนินงาน
สื่อสารความเสี่ยงใน
ภาวะฉุกเฉินปี 2565
นางพิมพ์พิชชา ขันตี
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จ.นครสวรรค์
รายชื่อกลุ่มภารกิจ
Risk Communication
1. ดร.สันติ เกิดทองทวี ประธาน
2. ดร.นเรศน์ ฐิตินันทิวัฒน์ รองประธาน
3. น.ส.ศศิกานต์ มาลากิจสกุล คณะทำงาน
4. น.ส.อมรรัตน์ กล่ำทัพ คณะทำงาน
5. น.ส.ปณิชกานต์ บุญรมย์ คณะทำงาน
6. นางพิมพ์พิชชา ขันตี คณะทำงานและเลขานุการ
7. น.ส.ธัญญาลักษณ์ โสระฎา คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ
โครงสร้างกลุ่มภารกิจ
ที่ปรึกษา
ดร.สันติ เกิดทองทวี
ดร.นเรศน์ ฐิตินันทิวัฒน์
เฝ้าระวังและตอบโต้ข้อมูล สื่อสารความเสี่ยงตามกฎอนามัย ประเมินผลการรับรู้และHL
ระหว่างประเทศ(IHR 2005)
น.ส.ธัญญลักษณ์ โสระฎา นางพิมพ์พิชชา ขันตี น.ส.อมรรัตน์ กล่ำทัพ
น.ส.ปณิชกานต์ บุญรมย์ น.ส.ศศิกานต์ มาลากิจสกุล
1 เฝ้าระวังข้อมูลข่าวสาร/ข่าวปลอม/ข่าวลือจาก การดำเนินงาน
สื่อต่างๆ จากสื่อทุกช่องทาง และรายงานให้ IC
ทราบ สื่อสารความเสี่ยงใน
ภาวะฉุกเฉินปี 2565
2 จัดทำข่าวเพื่อสื่อมวลชน ตามสถานการณ์ การดำเนินงาน
เผยแพร่ผ่าน facebook/linr gr./ สื่อสารความเสี่ยงใน
Website เดือนละ 2 เรื่อง ภาวะฉุกเฉินปี 2565
เผยแพร่ (ต่อ)
3 ประสานกับทีม SAt & PM เพื่อขอข้อมูลในการ การดำเนินงาน
ผลิตสื่อ ด้วยรูปแบบและภาษาที่เหมาะสม สื่อสารความเสี่ยงใน
ภาวะฉุกเฉินปี 2565
Infographic อุทกภัย
(ต่อ)
5
Infographic โรคไข้เลือดออก การดำเนินงาน
สื่อสารความเสี่ยงใน
ภาวะฉุกเฉินปี 2565
(ต่อ)
5
Infographic โรคโควิด-19 การดำเนินงาน
สื่อสารความเสี่ยงใน
ภาวะฉุกเฉินปี 2565
(ต่อ)
5
คลิปวิดีโอ การดำเนินงาน
โรคไข้ฉี่หนู สื่อสารความเสี่ยงใน
โรคไข้เลือดออก ภาวะฉุกเฉินปี 2565
โรคเมลิออยด์
รณรงค์ฉีดวัคซีนโควิด-19 ในเด็กและผู้สูงอายุ (ต่อ)
Facebook live ร่วมกับศูนย์วิชาการ การดำเนินงาน
ชื่อรายการ "รอบรู้สุขภาพกับหมอเขต 3" สื่อสารความเสี่ยงใน
ภาวะฉุกเฉินปี 2565
(ต่อ)
4 สื่อสารความเสี่ยงผ่านช่องทางต่างๆ การดำเนินงาน
สื่อสารความเสี่ยงใน
ภาวะฉุกเฉินปี 2565
(ต่อ)
ช่องทาง&เครือข่ายสื่อสารเขตสุขภาพที่ 3
1.LINE GROUP ประกอบด้วย กรมควบคุมโรค/ นครสวรรค์ 4,805 คน
ศูนย์วิชาการ /สสจ./ สสอ./ รพ.สต./ อุทัยธานี 1,391 คน
กำแพงเพชร 663 คน
สื่อมวลชน/ ประชาสัมพันธ์จังหวัด/ อสม./ ชัยนาท 499 คน
แกนนำชุมชน / สถานีวิทยุ/ โรงเรียน/ พิจิตร 263 คน
เทศบาลเมือง/ ภาคประชาชน
จำนวน 86 กลุ่ม (7,621 คน)
2.facebook สนง.ป้องกันควบคุมโรค
ที่สาม นครสวรรค์ เพื่อน 4,923 คน
ผู้ติดตาม 1,085 คน
ช่องทาง&เครือข่ายสื่อสารเขตสุขภาพที่ 3(ต่อ)
website TikTok
สคร.3 มีผู้ติดตาม 20 คน
ช่องทาง&เครือข่ายสื่อสารเขตสุขภาพที่ 3(ต่อ)
การสัมภาษณ์ประเด็นโรคและภัย
สุขภาพ ผ่านโทรทัศน์ช่อง Nbt
5 ประเมินการรับรู้/พฤติกรรม/มาตรการ การดำเนินงาน
ต่างๆเป็นระยะ(Dpc3 POll) สื่อสารความเสี่ยงใน
ภาวะฉุกเฉินปี 2565
(ต่อ)
6 พยากรณ์โรคและภัยสุขภาพประจำเดือน การดำเนินงาน
สื่อสารความเสี่ยงใน
ภาวะฉุกเฉินปี 2565
(ต่อ)
7 ให้บริการสายด่วน ตอบคำถามโรคและ การดำเนินงาน
ภัยสุขภาพ สื่อสารความเสี่ยงใน
ภาวะฉุกเฉินปี 2565
(ต่อ)
จุดอ่อน จุดแข็ง
1.การจัดทำสื่อยังไม่ครอบคลุมในกลุ่มที่
มีความเฉพาะหรือกลุ่มเปราะบาง 1.มีบุคลากรที่มีศักยภาพ
2.มีโครงสร้าง การกำหนดบทบาทหน้าที่
2.การสื่อสารความเสี่ยงยังบางครั้งขาด และขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน
การวิเคราะห์และจัดระดับความเสี่ยง 3.มีช่องทางในการสื่อสารความเสี่ยงที่
หลากหลาย
3.การสื่อสารความเสี่ยงยังไม่ 4.ผู้บริหารให้ความสำคัญ คอยกำกับ
ครอบคลุมทุกพื้นที่ ติดตามอย่างต่อเนื่อง
ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ
1.การรับรู้ความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ 1.สำนักสื่อสารฯควรจัดการอบรมพัฒนา
ของประชาชนที่แตกต่างกันไป ศักยภาพบุคลากรด้านการสื่อสารในทุกมิติ
2.ประชาชนบางกลุ่มไม่เข้าถึงเทคโนโลยี อย่างต่อเนื่อง
3.เครื่องมือสื่อสารมีหลากหลายช่อง 2.ควรมีเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน
ทาง ทำให้การตรวจสอบข่าวไม่ทั่วถึง เกี่ยวกับการสื่อสารความเสี่ยงให้
ครอบคลุมในทุกพื้นที่
3.พัฒนาบุคลากรในการดำเนินงานให้
สามารถทำงานทดแทนกันได้
4.จัดทำสื่อที่เข้าใจง่าย ไม่วิชาการมาก
เกินไป
Thank you