ศกึ ษาการปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถาน
ในการปองกันการแพรระบาดของโ
ูค ืมอ
รคโควิด 19
คมู ือการปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศึกษา
ในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19
พมิ พค รง้ั ท่ี 1 พฤษภาคม 2563
จำนวน 2,500 เลม
ผูจ ดั พมิ พและเรยี บเรียง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ทป่ี รึกษา นายแพทยสุขุม กาญจนพมิ าย ปลดั กระทรวงสาธารณสุข
แพทยห ญงิ พรรณพมิ ล วิปลุ ากร อธิบดีกรมอนามยั
บรรณาธิการ นายแพทยส ราวุฒิ บญุ สุข รองอธบิ ดกี รมอนามัย
ภาคีเครอื ขายความรว มมือ กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงศึกษาธกิ าร
ราชวทิ ยาลยั กุมารแพทยแ หง ประเทศไทย
องคก ารอนามยั โลกประจำประเทศไทย (WHO Thailand)
องคก ารทนุ เพอ่ื เด็กแหง สหประชาชาตปิ ระจำประเทศไทย (UNICEF)
สำนกั งานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.)
กองทนุ เพือ่ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.)
พิมพท่ี บริษทั คิว แอดเวอรไ ทซ่งิ จำกัด
เลขท่ี 83 ซอยงามวงศวาน 2 แยก 5 ตำบลบางเขน อำเภอเมืองนนทบรุ ี
จงั หวัดนนทบุรี 11000
โทร. 02 965 9797 แฟกซ. 02 965 9279
www.q-ads.com / Facebook : Q-Advertising / Line : @qadvertising
คูมอื การปฏบิ ัติสำหรับสถานศกึ ษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19
สารจากผูบ รหิ าร
สถานศึกษาเปนสถาบันทางสังคมพื้นฐาน
เปนจุดเริ่มตนของการปลูกฝงความรู ทัศนคติ และ
พฤตกิ รรมในทกุ ดา น มหี นา ทพ่ี ฒั นาเดก็ วยั เรยี นใหเ ตบิ โต
เปนผูใหญที่มีศักยภาพ สามารถดำรงชีวิตในสังคมได
อยา งมคี ณุ ภาพ เนอ่ื งจากสถานศกึ ษาเปน ศนู ยร วมของเดก็
ในชมุ ชนทม่ี าจากครอบครวั ทต่ี า งกนั จงึ เปน ปจ จยั สำคญั
ทีก่ อ ใหเกดิ ปญหาโรคตา ง ๆ เมอื่ นกั เรียนคนใดคนหน่งึ
เจ็บปวยดวยโรคติดตอ และมาเขาเรียนในสถานศึกษา
จงึ มโี อกาสทจ่ี ะแพรก ระจายเชอ้ื โรคไปสนู กั เรยี นคนอน่ื ๆ ได
จากการเลน การใกลชิด และทำกิจกรรมรวมกัน
สถานศกึ ษาจงึ เปน สถานทส่ี ำคญั มากตอ การสง เสรมิ สขุ ภาพ
และปองกันโรคหรืออาจเปรียบไดวา “สถานศึกษา”
นายแพทยสขุ มุ กาญจนพมิ าย นับเปน “Shelter” สำหรับนักเรียน ที่ตองคำนึง และ
ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ใหค วามสำคญั กบั เรอ่ื งดังกลา วเปน อันดบั แรก ๆ
ภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 ซึ่งขณะนี้
ยังไมมีวัคซีนปองกันโรคและไมมียารักษาโรคโดยตรง จำเปนอยางยิ่งที่สถานศึกษาตองเตรียมความพรอม
รับมือกับสถานการณการแพรระบาดของโรคดังกลาว ที่จะสงผลกระทบอยางมากตอระบบการจัดการเรียน
การสอนและสุขภาพของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา สิ่งสำคัญที่สุดในชวงระยะเวลาตอจากนี้ไป
ทั้งผูบริหาร ครู นักเรียน ผูปกครอง และบุคลากรของสถานศึกษา ตองปรับตัวกับการใชชีวิตวิถีใหม
“New Normal” เนน การปฏบิ ตั ภิ ายใตม าตรการการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 อยา งเครง ครดั
เพอ่ื ใหส ถานศกึ ษาเปน สถานทท่ี ป่ี ลอดภยั จากโรคโควดิ 19 สง ผลใหน กั เรยี นสามารถเรยี นรไู ดอ ยา งเตม็ ศกั ยภาพ
และปลอดภัยจากโรค
กระทรวงสาธารณสขุ และผเู ชย่ี วชาญจากทกุ ภาคสว นทเ่ี กย่ี วขอ ง ขอเปน กาํ ลงั ใจใหก บั สถานศกึ ษาทกุ แหง
ทเ่ี ปน กาํ ลงั สาํ คญั ในการรว มแรงรว มใจกนั อยา งเขม แขง็ เพอ่ื รบั มอื กบั สถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคดงั กลา ว
ซึ่งจะสงผลใหนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาไดรับการดูแลอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อเปนทรัพยากร
ที่มคี ณุ ภาพของประเทศชาตติ อไปในอนาคต
ก คมู อื การปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19
สารจากผบู ริหาร
“การเรยี นรนู ำการศึกษา โรงเรียนอาจหยดุ ได
แตก ารเรยี นรูหยุดไมได”
ดว ยสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) มีการระบาดในวงกวางอยางตอเนื่อง
โดยเฉพาะอยางยิ่งแนวโนมที่จะเกิดการแพรระบาดในสถานศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มคี วามตระหนกั ถงึ สถานการณด งั กลา ว และคำนงึ ถงึ
ความปลอดภัยและสุขภาพของนักเรียน นักศึกษา ครูผูสอน และ
บุคลากรทางการศึกษา โดยตระหนักอยูเสมอ ไมวาสถานการณแวดลอม
จะเลวรายและรุนแรงแคไหน การเรียนรูที่เขาถึงและมีคุณภาพสำหรับ
เด็กไทยทุกคนเปนเปาหมายสูงสุด ตามแนวคิด “การเรียนรูนำการศึกษา นายประเสรฐิ บญุ เรอื ง
โรงเรียนอาจหยดุ ได แตการเรียนรหู ยดุ ไมได” ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ทง้ั นเ้ี พอ่ื ใหก ารจดั การเรยี นการสอนสามารถเกดิ ขน้ึ ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ เทา ทส่ี ภาพแวดลอ มจะอำนวย
กระทรวงศึกษาธิการ ไดวางแนวทางการจัดการเรียนการสอนภายใตสถานการณวิกฤตของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โรคโควดิ 19 (COVID-19) บนพน้ื ฐาน 6 ขอ ดงั นี้
1. จัดการเรียนการสอน โดยคำนึงถึงความปลอดภัยสูงสุดของทุกคนที่เกี่ยวของ “การเปดเทอม” หมายถึง
การเรยี นท่ีโรงเรียนหรือการเรียนท่ีบาน ท้งั นีก้ ารตดั สินใจจะขน้ึ อยกู ับผลการประเมินสถานการณอยางใกลช ิด
2. อำนวยการใหนักเรียนทกุ คน สามารถเขา ถงึ การเรียนการสอนได แมจะไมส ามารถไปโรงเรียนได
3. ใชสิ่งที่มีอยูแลวใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน ชองดิจิทัล TV ทั้งหมด 17 ชอง เพื่อใหนักเรียนทุกระดับชั้น
สามารถเรยี นผา น DLTV ได ทง้ั น้ี ไมมกี ารลงทนุ เพ่อื จัดซ้ืออุปกรณใด ๆ เพมิ่ เตมิ โดยไมจ ำเปน
4. ตัดสินใจนโยบายตาง ๆ บนพื้นฐานของการสำรวจความตองการ ทั้งจากนักเรียน ครู และโรงเรียน โดยให
การจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพสูงสุดเปนที่ตั้ง และกระทรวงศึกษาธิการจะสนับสนุนเครื่องมือและ
อปุ กรณตามความเหมาะสมของแตล ะพน้ื ท่ี
สส56..าาคบปรรบผวุรคาับูบัญลมปราเหิกหฏรามิททราินาะกงสกามราศรโดศึกยึกษเษวาลขาาทอทุงก่ชีไททดายเนชยใจหจะะเอไคดื้อำรนตับึงอกถกางึ าภรรดาร“ูแะเลรขอียอยนงาทเงพุกตื่อคอรนเู”นแืล่อขะงอกงแาเลรดะไ็กดทมรำาบั ใกคหขวทึ้นาามนรรไวูคดมรรบทับตั้งผปาลมรกชับรวตะงาวทรยั บาขงเอชเรงิงียเลดนบก็ ตจาามก
คำกนาำรเปลย่ี นแปลงนอยที่สดุ
เกร่นิ นำกระทมราวรงศูจ กัึ ษโราคธโกิ คาวรดิ ม-1งุ เ9นน การประสานความรว มมอื อยา งบรู ณาการและเขม แขง็ กบั ทกุ ภาคสว นรวมถงึ
ภกนากัากขรยศาน้ัใใึกชรตตษกเสอตลาถนรไอากยีกนันคมากวเครปสาาควมนรถดัาณรทามกวนรวรพมัพกิกอมรายฤงอือราตแขณมกิทลอรกโี่เะงทรอกผสคีส่ินดปูงโำขเตคกคปึ้นคอวัญด ดิรนคภใอ-ักนว1างเบก9แคราคลยีเรรูะกนขียชับแับนมุ กลเชคา(ะนรRลบสใeื่อนุครนoกลาแpงาาลครeกะดวnรพแูาใinมลนฒั นgตสน)กรัถาะเาปรหนยีรนนะศักเกึ ทนใษหศกั าเใศกนกึ ิดอษคนาวาโาคดมตยรตคออ ำบไนปรงึ ูดถางึ นคสวุขาภมาปพลแอกดนภักยั เสรงู ียสนดุ
ในการปองกนั ควบคมุ การแพรระบาดของโรคโควดิ -19
วิธีกคาูมรือตกราวรจปคฏดั บิ กตั ริสอำงหสรขุ บั ภสาถพานศกึ ษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 ข
แนวปฎิบตั สิ ำหรับสถานศึกษาระหวางเปด ภาคเรยี น
สารจากผบู รหิ าร
แพทยหญงิ พรรณพิมล วปิ ลุ ากร จากสถานการณการแพรระบาดของโรคติด
อธิบดกี รมอนามยั เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โรคโควดิ 19 (Coronavirus
Disease 2019 (COVID-19)) ในขณะนี้ ถึงแมใน
ประเทศไทย พบวา มีรายงานผูปวยโรคโควิด 19
ที่เปนเด็ก มีอุบัติการณคอนขางต่ำ และมักมีอาการ
ไมรุนแรง ซึ่งเกิดจากการติดจากบุคคลในครอบครัว
แตถาหากนักเรียนในสถานศึกษามีการติดเชื้อแลว
อาจทำใหเ กดิ การแพรร ะบาดไปยงั บคุ คลอน่ื ๆ ไดร วดเรว็
(Super Spread) สง ผลกระทบในสงั คมหรอื ผใู กลช ดิ เชน
ครู เพอ่ื น พอ แม ผสู งู อายุ และสมาชกิ ในครอบครวั อน่ื ๆ
ตอไปอีกดว ย
ตามทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารยดึ หลกั การจดั การเรยี นการสอน “โรงเรยี นหยดุ ได แตก ารเรยี นรหู ยดุ ไมไ ด”
ภายใตส ถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ ในฐานะเปน องคก รหลกั
ของประเทศในการอภิบาลระบบสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอมเพื่อใหประชาชนสุขภาพดี
มีความหวงใยและเห็นความสำคัญการดูแลดานสุขภาพกับการศึกษา เปนเรื่องที่มีความเชื่อมโยงบูรณาการ
ตอ งดำเนนิ การควบคกู นั ในลกั ษณะเกอ้ื กลู ซง่ึ กนั และกนั ของทกุ ฝา ยทเ่ี กย่ี วขอ ง เพอ่ื ผลลพั ธท ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ
ตอนักเรียน “คูมือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19” ฉบับนี้
ทมี บรรณาธกิ ารและผเู ชย่ี วชาญจากทกุ ภาคสว นทเ่ี กย่ี วขอ งไดร ว มกนั วเิ คราะหส ถานการณ วางแผน รวบรวม
ตรวจสอบ กำหนดมาตรการและแนวปฏิบัติในการเตรียมความพรอมกอนเปดภาคเรียนและการรับมือ
เพอ่ื ปอ งการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษาทส่ี อดคลอ งกบั บรบิ ท และสามารถนำไปใชเ ปน แนวปฏบิ ตั ิ
ไดจริง โดยยึดความปลอดภัยของนักเรียน รวมถึงบุคลากรของสถานศึกษาเปนที่ตั้ง เพื่อใหสถานศึกษา
มคี วามพรอมในการจดั การเรยี นการสอนท่มี ีคุณภาพตอไป
ค คูม อื การปฏบิ ตั สิ ำหรับสถานศึกษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19
คำนำ
สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus
Disease 2019 (COVID-19) มกี ารระบาดในวงกวา ง องคก ารอนามยั โลก (WHO) ไดป ระกาศใหโ รคโควดิ 19
เปน ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ ระหวา งประเทศ (Public Health Emergency of International Concern)
โดยแนะนำใหทุกประเทศเรงรัดการเฝาระวังและปองกันความเสี่ยงจากโรคโควิด 19 สำหรับประเทศไทย
พบผปู ว ยและผเู สยี ชวี ติ เพม่ิ ขน้ึ อยา งตอ เนอ่ื ง และมโี อกาสขยายวงกวา งขน้ึ เรอ่ื ย ๆ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ แนวโนม
ทจ่ี ะเกดิ การแพรร ะบาดในสถานศกึ ษา ดงั นน้ั การสรา งความตระหนกั รเู ทา ทนั และเตรยี มความพรอ มในการ
รบั มอื กบั การระบาดของโรคอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ มคี วามจำเปน อยา งยง่ิ เพอ่ื ลดความเสย่ี งและปอ งกนั ไมใ ห
สงผลกระทบตอสุขภาพนักเรียน ครู ผูสอน และบุคลากรทางการศึกษา อันเปนทรัพยากรที่สำคัญในการ
ขับเคล่ือนและพฒั นาประเทศในอนาคต
กระทรวงสาธารณสุขรวมกับกระทรวงศึกษาธิการ ราชวิทยาลัยกุมารแพทยแหงประเทศไทย
องคการอนามัยโลกประจำประเทศไทย (WHO Thailand) องคการทุนเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติประจำ
ประเทศไทย (UNICEF) สำนกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) กองทนุ เพอ่ื ความเสมอภาค
ทางการศกึ ษา (กสศ.) และผเู ชย่ี วชาญจากภาคสว นทเ่ี กย่ี วขอ งไดบ รู ณาการและรว มกนั พฒั นา “คมู อื การปฏบิ ตั ิ
สำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19” เพอ่ื เปน แนวทางปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษา
ในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 อยา งตอ เนอ่ื งโดยเนน ความสอดคลอ งกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา
และเออ้ื อำนวยใหเ กดิ การปฏบิ ตั งิ านไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ใหน กั เรยี นและบคุ ลากรในสถานศกึ ษาสามารถ
ดำรงชีวิตอยูไดอยางปลอดภัย โดยมีสาระสำคัญ ประกอบดวยองคความรูเบื้องตนเกี่ยวกับโรคโควิด 19
แนวปฏิบัติสำหรับบุคลากรในสถานศึกษา ไดแก ผูบริหาร เจาของสถานศึกษา ครู ผูดูแลนักเรียน นักเรียน
ผูปกครอง และแมครัว ผูจำหนายอาหาร ผูปฏิบัติงานทำความสะอาด การจัดการดานอนามัยสิ่งแวดลอม
บริเวณตาง ๆ ของสถานศึกษา มาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 และสื่อความรอบรูดาน
สุขภาพนักเรียน ตลอดจนขั้นตอนการดำเนินงานคัดกรองและสงตอแบบประเมินตนเองสำหรับสถานศึกษา
แบบประเมนิ ตนเองสำหรบั นกั เรยี น แบบบนั ทกึ การตรวจคดั กรองสขุ ภาพสำหรบั นกั เรยี น การจดั การเรยี นการสอน
ชวงเปดภาคเรียน บทเรยี นแนวปฏิบตั ิชวงเปดเรียนในตา งประเทศรองรบั สถานการณ โรคโควดิ 19 เปนตน
คณะผูจัดทำ มุงหวังให “คูมือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาด
ของโรคโควดิ 19” ฉบบั น้ี เปน “เครอ่ื งมอื ” สำหรบั สถานศกึ ษาและผเู กย่ี วขอ งสามารถนำไปใชต ามบรบิ ทและ
สถานการณของแตละสถานศึกษาภายใตความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ เพื่อปองกันการแพรระบาด
ของโรคโควดิ 19 ใหเ กดิ ประโยชนสงู สุดตอ ไป
คณะผจู ัดทำ
พฤษภาคม 2563
คมู ือการปฏบิ ัติสำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 ง
สารบญั หนา
ก-ค
สารผูบ รหิ าร ง
คำนำ จ-ช
สารบญั 1
เกรนิ่ นำ 1
2-3
มารจู ักโรคโควิด 19 4 - 17
สถานการณโรคโควิด 19
การเตรยี มความพรอ มกอนเปดภาคเรยี น (Reopening) 18 - 22
สารผูบรหิ ารมาตราการการเตรียมความพรอมกอ นเกดิ ภาคเรียน
สารบญั (Preparation before reopening) 23 - 41
คำนำ แผนผังกลไกการดำเนนิ งานปองกันแพรร ะบาดของโรคโควิด 19
เกริ่นนำ ในมราะรดูจกับโจรังคหโวคัดวใดิ น-1ส9ถานศกึ ษา
บสทถบาานทกบาคุรณลาโ กรครสโคาวธิดาร-1ณ9สุขในการดำเนนิ งานปองกนั แพรระบาด
การเตรยี มขคอวงาโมรคพโรคอ วมิดก1อ9นเใปนดสภถานคศเรกึ ยี ษนา(Reopening)
ข้ันตอนการคัดกรองและสง ตอ นกั เรียนและบคุ ลากรในสถานศึกษา
ในการปองกันควบคุมการแพรระบาดของโรคโควดิ 19
วิธกี ารตรวจคัดกรองสุขภาพ
แนวปฎิบัตสิ ำหรบั สถานศกึ ษาระหวา งเปด ภาคเรยี น
ผูบ รหิ าร เจา ของสถานศึกษา
ครู ผดู แู ลนกั เรยี น
นกั เรยี น
ผูปกครอง
แมค รัว ผจู ำหนายอาหาร ผปู ฏบิ ตั ิงานทำความสะอาด
ดานอนามัยสิ่งแวดลอม
: หองเรียน หองเรียนรวม หองสมุด หองประชุม หอประชุม
โรงยมิ สนามกฬี า สถานทแ่ี ปรงฟน สระวา ยนำ้ สนามเดก็ เลน
หอ งสว ม หอ งพกั ครู หอ งพยาบาล โรงอาหาร รถรบั – สง นกั เรยี น
หอพกั นกั เรยี น หอ งนอนเดก็ เลก็ การเขา แถวเคารพธงชาติ
จ คมู ือการปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19
ดา นอนามัยส่งิ แวดลอม หนา
: หอ งเรยี น หอ งเรยี นรวม หอ งคอมพวิ เตอร หอ งดนตรี หอ งสมดุ 42 - 43
หอ งประชมุ หอประชมุ โรงยมิ สนามกฬี า สถานทแ่ี ปรงฟน 44 - 55
สระวา ยนำ้ สนามเดก็ เลน หอ งสว ม หอ งพกั ครู หอ งพยาบาล
56 - 69
โกรางรอเาขหาาแรถวรถเคราบั ร–พสสธง นงชากั าเรรตยี ิ นบหญั อพกั นกั เรยี น หอ งนอนเดก็ เลก็ 70 - 71
72 - 113
มาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคโควดิ -19 กรณีเกิดการระบาด
บทสรปุ แนวปฏิบตั ิสำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกันการแพรระบาด
ของโรคโควิด 19 ประเทศไทย
สอื่ รอบรดู า นสุขภาพนักเรียน
เอกสารอา งอิง
ภาคผนวก
แบบประเมินตนเองสำหรับสถานศึกษาในการเตรียมความพรอมกอนเปด
ภาคเรยี น เพ่อื เฝาระวังและปองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19
แบบประเมนิ ตนเองสำหรบั นกั เรยี นในการเตรยี มความพรอ มกอ นเปด ภาคเรยี น
เพอื่ เฝาระวงั และปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19
แบบบนั ทกึ การตรวจคดั กรองสขุ ภาพสำหรบั นกั เรยี น บคุ ลากร หรอื ผมู าตดิ ตอ
ในสถานศกึ ษา เพือ่ เฝา ระวงั และปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19
การจดั การเรียนการสอนชวงเปด ภาคเรยี นของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
รองรบั สถานการณโรคโควดิ 19
แนวปฏบิ ตั ิตามแนวทางองคการอนามยั โลก (WHO)และบทเรยี นแนวปฏิบัติ
ชวงเปด เรยี นในตา งประเทศ รองรับสถานการณโ รคโควิด 19
วธิ ปี ฏบิ ตั ิ : วดั ไข สวมหนา กาก ลา งมอื เวน ระยะหา ง ทำความสะอาด ลดแออดั
วิธีการทำเจลลางมือ
คำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการจัดทำมาตรการในการเตรียม
ความพรอมการเปดภาคเรียน (Reopening) และคูมือการปฏิบัติ สำหรับ
สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 และคณะทำงาน
วชิ าการหลกั
คูมือการปฏบิ ตั ิสำหรับสถานศึกษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 ช
เกร่ินนำ
มารูจ กั โรคโควดิ 19
โรคโควดิ 19 คอื อะไร
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19 (Coronavirus Disesse 2019
(COVID-19)) เปนตระกูลของไวรัสที่กอใหอาการปวยตั้งแตโรคไขหวัดธรรมดาไปจนถึง
โรคที่มีความรุนแรงมาก เชน โรคระบบทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS-CoV)
โรคระบบทางเดนิ หายใจเฉยี บพลนั รนุ แรง (SARS-CoV) เปน สายพนั ธใุ หมท ไ่ี มเ คยพบมากอ น
ในมนษุ ย กอ ใหเ กดิ อาการปว ยระบบทางเดนิ หายใจในคนและสามารถแพร เชอ้ื จากคนสคู นได
โดยเชื้อไวรัสนี้พบการระบาดครั้งแรกในเมืองอูฮั่น มณฑลหูเปย สาธารณรัฐประชาชนจีน
ในชวงปลายป 2019 หลังจากนั้นไดมีการระบาดไปทั่วโลก องคการอนามัยโลกจึงตั้งชื่อ
การตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนาสายพันธใุ หมน ีว้ า โรคโควิด 19
อาการของผปู วยโรคโควดิ 19 มีอาการอยางไร
อาการทว่ั ไป ไดแ ก อาการระบบทางเดนิ หายใจ มไี ข ไอ มนี ำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก
เหนื่อยหอบ ไมไดกลิ่น ไมรูรส ในกรณีที่อาการรุนแรงมาก อาจทำใหเกิดภาวะแทรกซอน
เชน ปอดบวม ปอดอักเสบ ไตวาย หรอื อาจเสยี ชีวิต
โรคโควิด 19 แพรกระจายเชื้อไดอยางไร
โรคชนิดนี้มีความเปนไปไดที่มีสัตวเปนแหลงรังโรค สวนใหญแพรกระจายผาน
การสมั ผสั กบั ผตู ดิ เชอ้ื ผา นทางละอองเสมหะจากการไอ นำ้ มกู นำ้ ลาย ปจ จบุ นั ยงั ไมม หี ลกั ฐาน
สนบั สนนุ การแพรก ระจายเชอ้ื ผา นทางการพน้ื ผวิ สมั ผสั ทม่ี ไี วรสั แลว มาสมั ผสั ปาก จมกู และ
ตา สามารถแพรเชื้อผานทางเชื้อที่ถูกขับถายออกมากับอุจจาระเขาสูอีกคนหนึ่งโดยผาน
เขาทางปาก (Feco-oral route) ไดดว ย
โรคโควดิ 19 รักษาไดอยา งไร
ยังไมมียาสำหรับปองกันหรือรักษาโรคโควิด 19 ผูที่ติดเชื้ออาจตองไดรับ
การรกั ษาแบบประคบั ประคองตามอาการ โดยอาการทม่ี แี ตกตา งกนั บางคนรนุ แรงไมม าก
ลกั ษณะเหมอื นไขห วดั ทว่ั ไป บางคนรนุ แรงมาก ทำใหเ กดิ ปอดอกั เสบได ตอ งสงั เกตอาการ
ใกลชิดรวมกับการรักษาดวยการประคับประคองอาการจนกวาจะพนอาการชวงนั้น
และยังไมมยี าตวั ใดท่มี ีหลกั ฐานชัดเจนวา รกั ษาโรคโควดิ 19 ไดโ ดยตรง
ใครบา ง ทเ่ี ส่ยี งสูงตอการติดโรคโควิด 19
กลมุ เสย่ี งโดยตรงทอ่ี าจสมั ผสั กบั เชอ้ื ไดแ ก ผทู เ่ี พง่ิ กลบั จากพน้ื ทเ่ี สย่ี ง สมั ผสั ใกลช ดิ
ผูปวยสงสัยติดเชื้อ กลุมเสี่ยงที่ตองระวัง หากติดเชื้ออาจมีอาการรุนแรง ไดแก
ผูสูงอายุ 70 ปขึ้นไป ผูปวยโรคเรื้อรัง เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ
ภูมแิ พ เดก็ เล็กอายุตำ่ กวา 5 ป
1 คูม อื การปฏิบตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19
สถานการณโรคโควิด 19
มีรายงานผูปวยโรคโควิด 19 ในประเทศที่มีการระบาดทั้งประเทศจีน ประเทศในทวีปยุโรป
ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศไทย แสดงใหเห็นวา เด็กติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ไดทุกอายุ แตอุบัติการณ
นอยกวาผูใหญมาก เด็กมักมีประวัติสัมผัสใกลชิดกับผูที่ติดเชื้อในครอบครัว เด็กที่ปวยเปนโรคไวรัสโควิด 19
จะมเี ชอ้ื ในระบบทางเดนิ หายใจ บทบาทของเดก็ ในการเปน ผแู พรเ ชอ้ื ยงั ไมช ดั เจน แตก ารทพ่ี บเชอ้ื โคโรนาไวรสั
ในทางเดนิ หายใจของผปู ว ยเดก็ และยงั สามารถพบเชอ้ื ในอจุ จาระได ทำใหเ ดก็ มโี อกาสเปน ผแู พรเ ชอ้ื สผู อู น่ื ได
แมรายงานสวนใหญเด็กมักเปนผูรับเชื้อไวรัสโควิด 19 จากผูอื่น มีรายงานวาผูปวยโควิด 19 ที่เปนเด็ก
มกั มอี าการไมร นุ แรง แตอ าจมอี าการรนุ แรงถงึ แกช วี ติ ในกรณที ม่ี โี รคอน่ื อยกู อ น หรอื เปน ผทู มี ภี มู คิ มุ กนั บกพรอ ง
ในระยะหลังมีรายงานผูปวยที่มีอาการคลายโรคคาวาซากิ (Kawasaki Disease) บางรายมีอาการช็อค
และเสยี ชวี ติ เกดิ ขน้ึ ในเดก็ ทม่ี สี ขุ ภาพดมี ากอ น เปน กลมุ อาการ Hyperinflammatory syndrome ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั
การตดิ เชอ้ื โควดิ 19 รายงานจากองั กฤษ สหรฐั อเมรกิ า อติ าลี จะเหน็ ไดว า โรคโควดิ 19 เปน โรคทอ่ี บุ ตั ขิ น้ึ มาใหม
ไมเปนที่รูจักมากอน ความรูในดานอาการ อาการแสดง ความรุนแรงของโรค ยังไมเปนที่รูกันยังคงตองศึกษา
และมีการเปลี่ยนแปลงขอ มลู ตลอดเวลา
COVID-19 and Children
Distribution by Age of COVID-19 Cases Distribution by Age of COVID-19 Cases in
Pediatric Population
5-69,9y5e7ars 10-1104,3y5e7ars Age Group Number of Percentage of
cases cases
<56,y3e3a8rs 15-1168,7y1e7ars
<5 years Under 5 years 6,336 0.45
5-9 years
>_36856,y8e1a4rs 10-14 years 5-9 years 6,957 0.49
15-18 years
194-8474,9y1e5ars 19-44 years 10-14 years 10,357 0.73
45-64 years
455-0644,3y5e2ars >_ 65 years
15-18 years 16,717 1.18
Return to school 1/10
ท่มี า : COVID-19 – safe return to schools. CORONAVIRUS (C0VID-19) UPDATE NO.26. WHO , 15 MAY 2020
คูมอื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 2
สถานศกึ ษาเปน สถานทท่ี ม่ี นี กั เรยี นอยรู วมกนั จำนวนมาก มกั จะมคี วามเสย่ี งสงู หากมรี ะบบการจดั การ
ทีไ่ มดี อาจจะมกี ารแพรร ะบาดของเชื้อไวรสั โควดิ 19 ไดใ นกลมุ เด็ก เนื่องจากพบวา การติดเชื้อไวรัสโควิด 19
สว นใหญจ ะไมค อ ยมอี าการหรอื มอี าการแสดงคอ นขา งนอ ย ความรนุ แรงจะนอ ยมาก แตเ ดก็ นกั เรยี นจะเอาเชอ้ื
กลับบาน อาจทำใหการแพรระบาดเกิดขึ้นไดรวดเร็ว (Super spread) ไปยังบุคคลในบาน หากมีการระบาด
ในกลุมเด็กขึ้น จะมีผลกระทบในสังคมหรือผูใกลชิด เชน ครู พอแม ผูสูงอายุ ที่ติดเชื้อจากเด็ก
จากรายงานสถานการณโ รคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ประเทศไทย พบวา ผปู ว ยยนื ยนั ตดิ เชอ้ื สะสม
จำนวน 3,017 ราย เด็ก อายุ 0 - 9 ป เปนผูปวยยืนยันติดเชื้อสะสม จำนวน 60 ราย คิดเปนรอยละ 1.9
เปน เดก็ อายุ 10 - 19 ป เปน ผปู ว ยยนื ยนั ตดิ เชอ้ื สะสม จำนวน 115 ราย คดิ เปน รอ ยละ 3.8 นอ ยกวา กลมุ ผใู หญ
(ขอมูล ณ 12 พฤษภาคม 2563) ไมมีรายงานผูปวยเด็กที่เสียชีวิตในประเทศไทย อยางไรก็ตาม หากมี
การเปดเรียน มีโอกาสสูงที่จะเกิดการติดเชื้อในกลุมเด็กเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเด็กเปนกลุมที่ตองไดรับการดูแลและ
ระมัดระวังในการกระจายเชื้อเปนอยางมาก มาตรการในการเปดเทอม จึงมีความสำคัญมากในการควบคุม
การระบาด การวางแผนเปด เทอม จึงตองม่ันใจวา ควบคุมไมใหเ กดิ การระบาดของโรคในเด็กนกั เรยี นได
ผปู ว ย COVID-19 สะสม ประเทศไทย ถึงวันท่ี 12 พฤษภาคม 2563
ผูปว ยรายใหมว นั น้ี ผูปวยยนื ยนั สะสม หายปวยแลว เสยี ชีวติ
2 ราย 3,017 ราย 2,798 ราย 56 ราย
0/0State Q / ศูนยกักกนั ราย State Q / ศนู ยก กั กนั 90/65 ราย 2เพิ่มขน้ึ (ราย) 9ร2อย.7ละ4 0เพมิ่ ข้ึน (ราย) 1รอ .ย8ล6ะ
(สะสม)
(รายใหม)
จำนวนผูปว ยยนื ยันจำแนกตามเพศ
ชาย 1,638 ชาย กรุงเทพฯ และนนทบุรี ภาคเหนอื ภาคกลาง
หญิง 1,379 หญิง
1,703 94 383
0 200 400 600 800 1K 1.2K 1.4K 1.6K 1.8K
จำนวนผปู วยยืนยัน (ราย) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภาคใต
111 726
จำนวนผูปว ยยนื ยนั จำแนกตามกลุมอายแุ ละเพศ อายนุ อ ยท่ีสุด (เดอื น) อายุเฉล่ีย (ป) อายสุ งู สุด (ป)
ชาย หญิง
จำนวนผู ปวย ืยนยัน (ป) 800 1 39 97
600 460 350
400 อตั ราสว น หญงิ : ชาย
200 387 225 140 สูงสุดในกลุมอายุ จำนวนผูปวยสงู สดุ ในกลมุ
275 1 : 1.19 อายุ 20-29 ป
0 33 27 55 60 312 337 75 31 28 20-29 ป
148 772 ราย
0 - 9 10 - 19 20 - 29 30 - 39 40 - 49 50 - 59 60 - 69 70+
กลมุ อายุ (ป) แหลงขอมูลและจัดทาํ โดย : กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ
ทีม่ า : https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/index.php
3 คูมือการปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศึกษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19
การเตรียมความพรอมกอนเปดภาคเรียน (Reopening)
ทำไมตองเปดเรียน
การหยดุ ชะงกั ของการเรยี นการสอน อาจสง ผลกระทบอยา งรนุ แรงตอ ความสามารถในการเรยี นรขู องนกั เรยี น
โดยเฉพาะกลุม เดก็ ดอยโอกาสหรือเด็กกลุม เปราะบาง หากหยดุ เรยี นนาน แนวโนม จะกลับคนื สถานศกึ ษาก็ยง่ิ ลดลง
เด็กที่มาจากครอบครัวยากจนมีแนวโนมออกจากสถานศึกษาสูงกวาเด็กที่มาจากครอบครัวร่ำรวยเกือบหาเทา
การออกจากระบบการศกึ ษาเพม่ิ ความเสย่ี งตอ การตง้ั ครรภใ นวยั รนุ และการแสวงหาประโยชนท างเพศ รวมทง้ั ปญ หา
ความรุนแรงและการคุกคามอื่น ๆ นอกจากนี้ การปดสถานศึกษายาวนานมาก ทำใหบริการสุขภาพที่สำคัญตาง ๆ
ทใ่ี ชโ รงเรยี นเปน ฐาน ตอ งหยดุ ชะงกั ดว ย เชน การฉดี วคั ซนี การประเมนิ ภาวะโภชนาการ โครงการอาหารกลางวนั และ
การชวยเหลือดานสุขภาพจิตและจิตสังคม ทำใหนักเรียนเครียดและวิตกกังวลเนื่องจากขาดการมีปฏิสัมพันธ
กับเพื่อนและไมไดทำกิจวัตรประจำวันตามปกติ ผลกระทบเชิงลบเหลานี้จะยิ่งรุนแรงมากขึ้นในกลุมเด็กดอยโอกาส
เชน เดก็ พกิ าร เดก็ ในพน้ื ทเ่ี ฉพาะหรอื พน้ื ทห่ี า งไกล เดก็ ทถ่ี กู บงั คบั ใหโ ยกยา ยถน่ิ ฐาน ชนกลมุ นอ ย และเดก็ ในความดแู ล
ของสถานสงเคราะหต า ง ๆ ทง้ั น้ี การเปด เรยี นจะตอ งคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั และสอดคลอ งกบั มาตรการดา นสาธารณสขุ
ในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 พรอ มทง้ั ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการทเ่ี หมาะสมทกุ ประการสำหรบั ผบู รหิ าร
เจาของสถานศกึ ษา นกั เรียน ครู บุคลากรสถานศึกษา และผูปกครอง
ควรเปดเรยี นเมอ่ื ไหร ทไ่ี หน และสถานศึกษาใดบาง
การเลือกเวลาที่เหมาะสมทสี่ ดุ ในการเปดภาคเรยี น ควรพจิ ารณาถึงประโยชนส งู สุดของนักเรียนเปน สำคญั
รวมทงั้ ขอ ควรพจิ ารณาดา นสาธารณสุขโดยรวม บนพ้ืนฐานของการประเมินคณุ ประโยชนและความเสยี่ งทเ่ี กยี่ วขอ ง
ประกอบกบั หลกั ฐานจากภาคสว นตา ง ๆ และบรบิ ทเฉพาะ รวมถงึ ปจ จยั ทส่ี ง ผลตอ การศกึ ษา สาธารณสขุ เศรษฐกจิ
และสังคม การวิเคราะหสิ่งเหลานี้จะชวยจัดลำดับความสำคัญของมาตรการลดความเสี่ยงตาง ๆ นอกจากนี้ ควรให
ผูมีสวนไดสวนเสียในระดับทองถิ่นมีสวนรวมในการตัดสินใจ เพื่อใหการดำเนินงานสอดคลองกับผลการวิเคราะห
บริบทของทองถิ่นอยางแทจริง โดยคำนึงถึงประโยชนของการจัดการเรียนการสอนในหองเรียนเปรียบเทียบกับ
การจัดการเรียนการสอนทางไกล และพิจารณาปจจัยเสี่ยงของการเปดสถานศึกษา รวมทั้งหลักฐานซึ่งยังไมไดสรุป
แนช ดั เกย่ี วกบั ความสัมพันธร ะหวา งความเส่ยี งของการติดเชื้อกบั การเขา เรยี น ประกอบดว ย
การเรียนการสอนในหองเรียนจำเปนเพียงใดตอการบรรลุผลการเรียนรูที่ตองการ (ความรูพื้นฐาน ความรู
ทถ่ี า ยทอดได ความรดู จิ ทิ ลั ความรเู ฉพาะสาขาอาชพี ) โดยตระหนกั ถงึ ประเดน็ ตา ง ๆ เชน ความสำคญั ของ
การมปี ฏสิ มั พนั ธโ ดยตรงกับครใู นการเรยี นรูผ า นการเลนของเดก็ เล็กและการพฒั นา ทักษะพ้ืนฐาน
ความสามารถในการเขาถึงและความพรอมในการเรียนการสอนทางไกลที่มีคุณภาพมีมากนอยเพียงใด
(ทั้งในดานผลการเรียนรู และความเหมาะสมกบั กลมุ อายุตา ง ๆ รวมทั้งกลุม เดก็ ดอยโอกาส)
รปู แบบการเรยี นการสอนทางไกลในปจ จบุ นั รวมถงึ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นรู และสขุ ภาวะทางอารมณ และ
สังคม จะยั่งยืนเพยี งใด หากผดู แู ลเด็กไดรับแรงกดดนั ในครอบครัวและปจจัยเชงิ บรบิ ทอ่ืน ๆ
ผดู แู ลเด็กมีเคร่อื งมอื ทจ่ี ำเปนในการปกปองคุมครองเด็กจากการถูกคุกคามและการใชความรุนแรงทางเพศ
ในโลกออนไลน เมื่อเดก็ เรียนผานแพลตฟอรม ออนไลนหรือไม
คูมือการปฏิบตั ิสำหรับสถานศึกษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 4
จุดเปลี่ยนผานสำคัญบนเสนทางของการศึกษา (ความพรอมในการเขาเรียน การสำเร็จชั้น ประถมศึกษา
และเรยี นตอ ระดบั มธั ยมศกึ ษา หรอื การสำเรจ็ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาและเรยี นตอ ระดบั อดุ มศกึ ษา) ไดร บั ผลกระทบ
จากการระบาดของโรคอยา งไร และมีมาตรการตอบสนองอยา งไร
ครูและบุคลากรสถานศึกษา มีความพรอมและสามารถปรับตัวเขากับวิถีการเรียนรูและการบริหารจัดการ
ที่แตกตางออกไปมากนอยเพียงใดและมีความพรอมและสามารถดำเนินมาตรการเพื่อปองกัน และควบคุม
การแพรระบาดหรอื ไม
การที่นักเรียนไมไดไปเรียนในสถานศึกษา มีความเสี่ยงดานการคุมครองเด็กหรือไม เชน ความเสี่ยง
ดานความรนุ แรงในครอบครวั ท่เี พ่มิ ข้นึ หรือการแสวงหาประโยชนท างเพศจากเด็กชายและเดก็ หญงิ
การปดสถานศึกษาเปนอุปสรรคตอโครงการชวยเหลือตาง ๆ สถานศึกษามีบริการใหกับนักเรียน หรือไม
(เชน กจิ กรรมสงเสริมสขุ ภาพและโภชนาการ)
การทน่ี กั เรยี นไมไ ดไ ปเรยี นในสถานศกึ ษาสง ผลกระทบดา นสงั คม เศรษฐกจิ และคณุ ภาพชวี ติ ของ นกั เรยี นอยา งไร
สถานศกึ ษามศี กั ยภาพเพยี งใดในการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการรกั ษาความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา เพอ่ื ลดความเสย่ี ง
เชน การเวน ระยะหา งทางสงั คม (จำนวนนกั เรยี นตอ ขนาดของหอ งเรยี น) สง่ิ อำนวยความสะดวกและแนวปฏบิ ตั ิ
ดา นน้ำ สขุ าภิบาล และสขุ อนามัย เปนตน
สมาชกิ ของสถานศกึ ษามโี อกาสตดิ ตอ สมั ผสั กบั กลมุ ทม่ี คี วามเสย่ี งสงู กวา เชน ผสู งู อายุ และผทู ม่ี โี รคประจำตวั
มากนอ ยเพยี งใด และหากมโี อกาสตดิ ตอ สมั ผสั สงู สถานศกึ ษามกี ารดำเนนิ งานอยา งเพยี งพอเพอ่ื ลดโอกาส
ดังกลา วลงหรือไม
สมาชิกของสถานศกึ ษาเดนิ ทางไป – กลบั อยางไร
ปจ จยั เสย่ี งทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ชมุ ชนมอี ะไรบา ง โดยพจิ ารณาถงึ ปจ จยั ทางระบาดวทิ ยา ศกั ยภาพดา นสาธารณสขุ และ
การดแู ลสขุ ภาพ ความหนาแนน ของประชากร การปฏบิ ตั ติ ามหลกั สขุ อนามยั ทด่ี แี ละการเวน ระยะหา งทางสงั คม
การวิเคราะหคุณประโยชนและความเสีย่ งโดยคำนงึ ถงึ บริบทเฉพาะ จะชวยใหส ถานศกึ ษาสามารถ
1) ความเขา ใจเกยี่ วกับการแพรเ ช้ือโรคโควดิ 19 และความรุนแรงของโรคในประชากรวยั เรียน
2) สถานการณและการระบาดของโรคโควิด 19 ในพ้ืนทที่ ส่ี ถานศกึ ษาตง้ั อยู
3) บริบทและความพรอมของสถานศกึ ษาในการปองกันและควบคมุ โรคในสถานศึกษา
4) การประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับนักเรียน หากสถานศึกษาปด (อาทิ ความเสี่ยงตอการไมกลับ
มาเรียนของนักเรียน การเพิ่มขึ้นของความเหลื่อมล้ำในการไดรับการศึกษา การขาดแคลนอาหาร
ความรุนแรงในครอบครัวที่เพิ่มสูงขึ้นจากความไมแนนอนทางเศรษฐกิจ) และความจำเปนที่จะตอง
เปด สถานศกึ ษา อยา งนอ ยเปนบางสว นใหแ กนักเรียนทีผ่ ูปกครองทำงานในภาคสวนทีม่ ีหนา ทค่ี วบคุม
สถานการณโรคหรอื บริการสาธารณะท่จี ำเปนของประเทศ
หากเปนไปได ควรมีเวลาอยางนอย 14 วัน (ซึ่งสอดคลองกับระยะฟกตัวของโรคโควิด 19) ระหวางแตละ
ระยะ (phase) ของการยกเลกิ ขอ หา มตา ง ๆ เพอ่ื ใหม เี วลาเพยี งพอในการตดิ ตามผลและวางแผนปรบั มาตรการตา ง ๆ
ไดอยา งเหมาะสม
5 คูมอื การปฏิบัตสิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19
มาตรการการเตรียมความพรอมกอ นเปด ภาคเรยี น
(Preparation before reopening)
จากสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 สง ผลกระทบอยา งมากตอ ทกุ ภาคสว น เมอ่ื สถานการณ
เปนไปในทางทดี่ ีข้ึน การเปด สถานศกึ ษาหลังจากปด จากสถานการณ โควดิ 19 มคี วามจำเปนอยา งยง่ิ ในการ
เตรียมความพรอมของสถานศึกษา การปฏิบัติตนของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อลดโอกาส
การตดิ เชอ้ื และปอ งกนั ไมใ หเ กดิ การตดิ เชอ้ื โรคโควดิ 19 ใหเ กดิ ความปลอดภยั แกท กุ คน จงึ ควรมกี ารประเมนิ
ความพรอ มการเปด ภาคเรยี นของสถานศกึ ษา ซง่ึ องคก ารเพอ่ื เดก็ แหง สหประชาชาตแิ ละองคก รภาคี ไดเ สนอ
กรอบแนวทาง 6 มิติ ไดแก การดำเนินงานเพื่อความปลอดภัย การเรียนรู การครอบคลุมถึงเด็กดอยโอกาส
สวัสดิภาพและการคุมครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน จึงมีแนวคิดในการสรางความเชื่อมโยงกับ
มาตรการปอ งกนั โรคเพอ่ื ปอ งกนั การแพรร ะบาดของโควดิ 19 ของศนู ยบ รหิ ารสถานการณก ารแพรร ะบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) (ศบค.) อันจะเปนการวางแผนที่จะชวยสรางเสริมความเขมแข็ง
ดานการคุมครองสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียน โดยมีมาตรการควบคุมหลักในมิติการดำเนินงาน
เพอ่ื ความปลอดภยั จากการลดการแพรเ ชอ้ื โรค 6 ขอ ปฏบิ ตั ใิ นสถานศกึ ษา ไดแ ก 1. คดั กรองวดั ไข 2. สวมหนา กาก
3. ลางมือ 4. เวนระยะหาง 5. ทำความสะอาด 6. ลดแออดั
32.0
1. คดั กรองวดั ไข 2. สวมหนากาก 3. ลา งมอื
เรียนรเู รอ่ื ง
COVID-19
1m. - 2m.
4. เวนระยะหาง 5. ทำความสะอาด 6. ลดแออดั
คูมอื การปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 6
โดยมีรายละเอียดแนวปฏิบัติแตละมาตรการ มาตรการควบคุมหลักในมติอื่น อาทิ การเรียนรู
การครอบคลุมถึงเด็กดอยโอกาส สวัสดิภาพและการคุมครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน ตลอดจน
มาตรการเสริมในแตละมิติ ดังนั้น จึงมีความเชื่อมโยงตามกรอบแนวทาง 6 มิติกับมาตรการการปองกันโรค
เพอ่ื ปองกนั การแพรระบาดของโควดิ 19 ในการเตรียมความพรอมกอ นเปดภาคเรียน มีดงั น้ี
ความเชอ่ื มโยง 6 มิตกิ ับมาตรการการเตรยี มความพรอ มกอนเปด ภาคเรยี น
มติ ิ มาตรการควบคุมหลกั มาตรการเสรมิ
1. ความปลอดภัย 1. มีมาตรการคัดกรองวัดไขและ 1. ทำความสะอาดพื้นที่ที่นักเรียน
จากการลดการ อาการเสย่ี ง กอ นเขา สถานศกึ ษา ใชรวมกัน กอนและหลังใชงาน
แพรเ ชอื้ โรค พรอ มสงั เกตอาการไข ไอ มนี ำ้ มกู ทุกครั้ง เชน หองคอมพิวเตอร
เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ หองดนตรี ลฟิ ต อปุ กรณกฬี า
ไมไ ดก ลน่ิ ไมร รู ส สำหรบั นกั เรยี น
บุคลากรของ สถานศึกษา และ 2. จัดใหมีพื้นที่ในการเขาแถว
ผมู าตดิ ตอ ทกุ คน ทำกิจกรรม หรือเลนกลุมยอย
เวนระยะหางระหวางบุคคล
2. ใหน กั เรยี น บคุ ลากร และผเู ขา มา อยา งนอย 1 - 2 เมตร
ในสถานศึกษา ทุกคนตองสวม
หนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั 3. ใหนักเรียนใชของใชสวนตัว
ตลอดเวลาเมอ่ื อยใู นสถานศกึ ษา ไมใชสิ่งของรวมกับผูอื่น เชน
แกวน้ำ ชอน สอม แปรงสีฟน
3. ใหม จี ดุ บรกิ ารลา งมอื ดว ยสบแู ละนำ้ ยาสีฟน ผาเช็ดหนา
หรอื เจลแอลกอฮอลอ ยา งเพยี งพอ
ในบรเิ วณตา งๆ เชน ทางเขา อาคาร 4. จัดใหมีหองพยาบาลสำหรับ
หองเรียน โรงอาหาร แยกผมู อี าการปว ยระบบทางเดนิ
หายใจออกจากผูมีอาการปวย
4. ใหจัดเวนระยะหางระหวาง ระบบอื่น ๆ หรือพิจารณาสงไป
บุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร สถานพยาบาล
เชน ระหวา งโตะ เรยี น ทนี่ ัง่ เรยี น
ทน่ี ง่ั ในโรงอาหาร ทน่ี ง่ั พกั ทางเดนิ
จุดรอคอย หองนอนเด็กเล็ก
กรณีหองเรียนไมเพียงพอในการ
จัดเวนระยะหางระหวางบุคคล
ควรจัดใหมีการสลับวันเรียน
แตละชั้นเรียน การแบงจํานวน
นักเรียน หรือการใชพื้นที่ใชสอย
บริเวณสถานศึกษา ตามความ
เหมาะสม ทั้งนี้อาจพิจารณวิธี
ปฏบิ ตั อิ น่ื ตามบรบิ ทความเหมาะสม
โดยยดึ หลัก Social distancing
7 คูมือการปฏิบัติสำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19
มิติ มาตรการควบคมุ หลกั มาตรการเสริม
5. เปดประตู หนาตางให อากาศ 5. จัดใหมีการสื่อสารความรู
ถา ยเท ทำความสะอาดหอ งเรยี น การปองกันโรคโควิด 19 แก
และบริเวณตาง ๆ โดยเช็ด นกั เรยี น บคุ ลากร เพอ่ื ใหส ามารถ
ทำความสะอาดพนื้ ผวิ สมั ผสั ของ ลางมือ สวมและถอดหนากาก
โตะ เกาอี้ และวัสดุอุปกรณ อยา งถกู วธิ ี การเกบ็ รกั ษาหนา กาก
กอนเขาเรียน พักเที่ยง และ ชวงพักเที่ยงและการทำความ
หลังเลิกเรียนทุกวัน รวมถึงจัด สะอาดสถานทแ่ี ละอปุ กรณข องใช
ใหมีถังขยะมูลฝอยแบบมีฝาปด ที่ถูกสุขลักษณะ ตลอดจนจัด
และรวบรวมขยะ ออกจาก ใหม นี กั เรยี นแกนนำดา นสขุ ภาพ
หองเรียนเพื่อนำไปกำจัดทุกวัน นักเรียนที่มีจิตอาสาเปน
อาสาสมัครในการชวยดูแล
6. ใหพ จิ ารณาควบคมุ จำนวนนกั เรยี น สขุ ภาพเพอ่ื นนกั เรยี นดว ยกนั หรอื
ทม่ี ารว มกจิ กรรม ลดแออดั หรอื ดูแลรุนนอ งดวย
ลดเวลาทำกิจกรรมใหสั้นลง
เทาที่จำเปน หรือเหลื่อมเวลา 6. กรณี มีรถรับ - สงนักเรียน
ทำกจิ กรรม โดยถอื หลกั หลกี เลย่ี ง เนนใหผูโดยสารทุกคน สวม
การตดิ ตอ สัมผสั ระหวา งกัน หนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั
ทำความสะอาดยานพาหนะและ
บริเวณจุดสัมผัสรวมกัน เชน
ราวจบั เบาะนง่ั ทว่ี างแขน กอ นรบั
และหลงั จากสง นกั เรยี นแลว ทกุ ครง้ั
ลดการพูดคุยหรือเลนกันบนรถ
ตลอดจนการจัดเวนระยะหาง
ระหวางทีน่ ัง่
คูมือการปฏบิ ัตสิ ำหรบั สถานศึกษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19 8
มิติ มาตรการควบคุมหลกั มาตรการเสริม
2. การเรียนรู 1. จัดหาสื่อความรูในการปองกัน 1. กรณีเด็กเล็ก ไมแนะนำใหใช
ควบคุมโรคโควิด 19 สำหรับ สอ่ื การเรยี นการสอนแบบออนไลน
ใชใ นการเรยี นการสอน การเรยี นรู โดยขาดปฏิสัมพันธกับผูสอน
นอกหอ งเรยี น หรอื กจิ กรรมพฒั นา ครู ผปู กครอง
ผเู รยี น ในรปู แบบของสอ่ื ออนไลน :
VTR , Animation , Infographic 2. ไมปลอยใหเด็กและวัยรุนอยูกับ
และสอ่ื สง่ิ พมิ พ : โปสเตอร แผน พบั สอื่ ออนไลน (ทีไ่ มใชส ื่อการเรยี น
ภาพพลกิ คูม ือ แนวปฏบิ ัติ การสอน) นานเกินไป โดยทั่วไป
กำหนดระยะเวลา
2. เตรยี มความพรอ มดา นการเรยี นรู - 1 ชว่ั โมงตอ วนั สำหรบั เดก็ เลก็ /
ของเดก็ ตามวยั และสอดคลอ งกบั ประถมศกึ ษา
พฒั นาการดา นสงั คม อารมณ และ - 2 ชว่ั โมงตอ วนั สำหรบั เดก็ โต /
สติปญญา มธั ยมศึกษา
3. สรา งความเขม แขง็ ของระบบดแู ล 3. สง เสรมิ ใหส ถานศกึ ษาและนกั เรยี น
ชว ยเหลอื นกั เรยี น โดยบรู ณาการ ประเมินตนเองในการเตรียม
กิจกรรมสงเสริมพัฒนานักเรียน ความพรอมกอนเปดภาคเรียน
ดา นทกั ษะชวี ติ และความเขม แขง็ รองรบั สถานการณก ารแพรร ะบาด
ทางใจเขา ในการเรยี นการสอนปกติ ของโรคโควิด 19 รวมถึงมี
เพื่อชวยใหนักเรียนจัดการ การตรวจคดั กรองสขุ ภาพนกั เรยี น
ความเครียดและรับมือกับการ อยางตอ เน่ือง
เปล่ียนแปลงไดอ ยางเหมาะสม
4. สนับสนุนใหนักเรียนใชสื่อรอบรู
ดานสุขภาพในรูปแบบและผาน
ชองทางหลากหลายที่สามารถ
เขาถึงได อันจะชวยสงเสริมให
เกิดความรอบรูดานสุขภาพ
นำไปสกู ารปฏบิ ตั ติ นดา นสขุ ภาพ
ที่เหมาะสม สะทอนถึงการมี
พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค
ลดโรคและปลอดภัย
9 คมู ือการปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19
มิติ มาตรการควบคมุ หลกั มาตรการเสริม
3. การครอบคลมุ 1. จัดหาวัสดุสิ่งของเครื่องใช 1. ประสานและแสวงหาการ
ถงึ เดก็ ดอย และอุปกรณลางมือ เชน สบู สนบั สนนุ วสั ดอุ ปุ กรณก ารปอ งกนั
โอกาส เจลแอลกอฮอล หนา กากผา หรอื โรคโควดิ 19 จากหนวยงานของ
ก. เด็กพเิ ศษ หนากากอนามัยอยางเพียงพอ จังหวัดและผูเกี่ยวของ เชน
ข. เดก็ ในพ้นื ท่ี สำหรับนักเรียนและบุคลากรใน ศบค.จ. ทองถิ่น เอกชน บริษัท
เฉพาะหา งไกล สถานศึกษา ควรมีสำรอง หา งรา น ภาคประชาชน เปน ตน
มาก โดยเฉพาะเด็กเล็กที่เปอนงาย
เพราะถาชื้นแฉะจะไมสามารถ 2. ประสานการดำเนินงานตาม
ปองกนั เช้ือได แนวทางพัฒนากิจกรรมผูเรียน
ของกระทรวงศึกษาธิการ
2. มีการปรับรูปแบบการเรียน กรณีมีขอจำกัดดานเทคโนโลยี
การสอนให สอดคลองกับบริบท ทางการศึกษา
การเขา ถงึ การเรยี นรใู นสถานการณ
การระบาดของโรคโควิด 19 3. ใชสื่อสรางความเขาใจเรื่อง
โรคโควิด 19 และแนวทาง
3. มีมาตรการสงเสริมใหนักเรียน การดูแลตัวเอง โดยคำนึงถึง
ไดรับบริการสุขภาพขั้นพื้นฐาน ขอจำกัดทางภาษาและสังคม
อยางทั่วถงึ กลุมนักเรียน พิการเรียนรวม
เลือกใชสื่อที่เปนรูปภาพ หรือ
4. มีมาตรการการทำความสะอาด เสียงที่เขาใจงายมากกวา
และจัดสภาพแวดลอมของที่พัก ใชต วั อกั ษรเพยี งอยางเดียว
และเรือนนอนใหถูกสุขลกั ษณะ
5. มีมาตรการการทำความสะอาด
และจดั สภาพแวดลอ มใหส อดคลอ ง
กับขอบัญญัติการปฏิบัติดาน
ศาสนกจิ
6. มีมาตรการดูแลนักเรียนที่มี
ความบกพรอง ดานพัฒนาการ
การเรียนรู หรือดานพฤติกรรม
อารมณ ที่สามารถเรียนรวมกับ
เด็กปกติ ไดแกน กั เรียนที่มีภาวะ
บกพรอ งทางสตปิ ญ ญา บกพรอ ง
ทางการเรียนรู บกพรองดาน
พฤติกรรมอารมณ รวมถึงภาวะ
สมาธสิ นั้ และเด็กออทสิ ตกิ
คมู อื การปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 10
มิติ มาตรการควบคุมหลัก มาตรการเสรมิ
4. สวัสดภิ าพ และ 1. จดั เตรยี มแผนรองรบั ดา นการเรยี น 1. สื่อสารทำความเขาใจกับบุคคล
การคุม ครอง การสอนสำหรับนักเรียนปวย ทกุ ฝา ย ใหข อ มลู ทใ่ี หค วามเชอ่ื มน่ั
กักตัวหรือกรณีปดสถานศึกษา ในมาตรการปอ งกนั และการดแู ล
ชว่ั คราว ตามระบบการดูแลชวยเหลือ
ในสถานศึกษา โดยเฉพาะ
2. จัดเตรียมแนวปฏิบัติเพ่ือลดการ การระมัดระวัง การสื่อสารและ
รังเกียจและการตีตราทางสังคม คำพูดที่มีผลตอทัศนคติ เพื่อลด
(Social stigma) การรังเกียจ การตีตราทางสังคม
(Social stigma) กรณีที่อาจพบ
3. จัดเตรียมแนวปฏิบัติดาน บคุ ลากร ในสถานศกึ ษา นกั เรยี น
การจัดการความเครียดของครู ผูปกครองตดิ โรคโควิด 19
และบคุ ลากร
2. กรณนี กั เรยี นหรอื บคุ ลากรปว ยจรงิ
4. ตรวจสอบประวัติเสี่ยงของ ตองใหหยุดรักษาจนกวาจะหาย
บคุ ลากรและนกั เรยี น ตรวจสอบ เปนปกติ โดยนำหลักฐาน
เรื่องการกักตัวใหครบ 14 วัน ใบรบั รองแพทยม ายนื ยนั เพอ่ื กลบั
กอนมาทำการเรียนการสอน เขาเรียนตามปกติ โดยไมถือวา
ตามปกตแิ ละทุกวนั เปด เรยี น ขาดเรียนหรอื ขาดงาน
5. กำหนดแนวทางปฏิบัติตาม 3. กกั ตวั ผใู กลช ดิ กบั ผปู ว ยตามเกณฑ
ระเบียบสำหรับบุคลากรและ ควบคมุ โรคและดำเนนิ การชว ยเหลอื
นักเรียนที่สงสัยติดเชื้อหรือปวย เชนเดียวกับผูปวย
ดวยโรคโควิด 19 โดยไมถือเปน
วนั ลาหรือวนั หยดุ เรียน
11 คูมือการปฏบิ ตั ิสำหรับสถานศึกษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19
มิติ มาตรการควบคมุ หลกั มาตรการเสริม
5. นโยบาย 1. สอ่ื สารประชาสมั พนั ธแ กค รแู ละ 1. จดั ระบบใหน กั เรยี นสามารถเขา ถงึ
บคุ ลากรในสถานศกึ ษาใหม คี วามรู การศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพอยา งตอ เนอ่ื ง
ความเขาใจเบื้องตน เกี่ยวกับ กรณขี าดเรยี น ลาปว ย ปด สถาน
โรคโควิด 19 ทักษะการลางมือ ศึกษา เชน จัดรูปแบบการเรียน
การสวมหนา กากผา หรอื หนา กาก ออนไลน ผานสื่ออิเล็กทรอนิกส
อนามยั สขุ ลกั ษณะสว นบคุ คลทด่ี ี การติดตอทางโทรศัพท Social
รวมทง้ั การทำความสะอาดอยา ง media การติดตามเปนรายวัน
ถกู วธิ ี หรือ รายสัปดาห
2. ประชมุ ชแ้ี จงคณะกรรมการสถาน 2. พิจารณาปดสถานศึกษาตาม
ศึกษาขั้นพื้นฐานแบบออนไลน สถานการณและความเหมาะสม
หรอื กลมุ ยอ ยตามความจำเปน กรณีนักเรียน ครู หรือ บุคลากร
ในสถานศกึ ษาอยใู นกลมุ เสย่ี งหรอื
3. มแี ผนงาน โครงการ และกจิ กรรม เปนผูปวยยืนยันติดเชื้อเขามา
รองรับนโยบายและแนวทาง ในสถานศกึ ษา ใหป ระสานองคก ร
การปองกันโรคโควิด 19 ของ ปกครองสวนทองถิ่น เพื่อทำ
สถานศึกษา ความสะอาดอาคารสถานที่
ทั้งภายในภายนอกอาคาร และ
4. แตงตั้งคณะทำงานรับผิดชอบ สิ่งของเครื่องใช รวมทั้งรีบแจง
เกย่ี วกบั โรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษา หนวยงานสาธารณสุขในพื้นที่
ประกอบดว ยครูบคุ ลากรสถานศกึ ษา เพ่ือทำการสอบสวนโรค
นักเรียน ผูปกครอง เจาหนาที่
สาธารณสุข และผเู กย่ี วของ 3. สื่อสารใหมีความรูเกี่ยวกับ
การสังเกต อาการเสี่ยง การมี
5. กำหนดบทบาทหนาที่ โดยมอบ แนวโนม เสี่ยงตอการติดเชื้อ
หมายครู ครอู นามยั หรอื บคุ ลากร โควิด 19 ไดงาย ไดแก เด็กที่มี
สถานศึกษา ทำหนาที่คัดกรอง อาการสมาธิสั้น (เปนโรคที่มี
วัดไขนักเรียน สังเกตสอบถาม อาการแสดงดาน พฤติกรรม :
อาการเสี่ยงและประสานงาน ซนเกินไป ใจลอย รอคอยไมได
เจาหนาที่สาธารณสุขในพื้นที่ รอคอยไดนอย) ทำใหเด็กกลุมนี้
ใหบ รกิ ารในหอ งพยาบาล รวมทง้ั เสี่ยงตอการ สัมผัสกับบุคคลอื่น
การดแู ลทำความสะอาดในบรเิ วณ ลว ง แคะ สมั ผสั ใบหนา จมกู ปาก
สถานศกึ ษาและบรเิ วณจุดเสย่ี ง ตัวเอง รวมทั้งหลงลืมการใส
หนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั
คมู ือการปฏิบตั สิ ำหรบั สถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19 12
มิติ มาตรการควบคุมหลัก มาตรการเสรมิ
5. นโยบาย (ตอ ) 6. สื่อสารทำความเขาใจผูปกครอง
และนกั เรยี น โดยเตรยี มการกอ น
เปดภาคเรียนหรือวันแรกของ
การเปดเรียนเกี่ยวกับแนวทาง
การปองกันโรคโควิด 19 และ
มชี องทางการตดิ ตอสอ่ื สาร
7. สถานศกึ ษามกี ารประเมนิ ตนเอง
เพื่อเตรียมความพรอมกอนเปด
เรียนผานระบบออนไลนของ
กระทรวงศึกษาธิการ / Thai
STOP COVID กรมอนามยั หรอื
ตามแบบประเมินตนเองสำหรับ
สถานศกึ ษาในการเตรยี มความพรอ ม
กอนเปดภาคเรียนเพื่อเฝาระวัง
และปองกันการแพรระบาดของ
โรคโควดิ 19
8. มีมาตรการการจัดการดาน
ความสะอาด รถ รบั - สง นกั เรยี น
และชแ้ี จงผปู ระกอบการ เพอ่ื ปอ งกนั
การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19
โดยถือปฏิบตั อิ ยา งเครง ครัด
9. เสริมสรางวัคซีนชุมชนในสถาน
ศกึ ษา โดยมาตรการ “4 สรา ง 2 ใช”
- สรางสถานศกึ ษาทรี่ สู ึก...
“ปลอดภัย”(safety)
- สรา งสถานศกึ ษาท.่ี ....
“สงบ” (calm)
- สรางสถานศึกษาท่ีมี.....
“ความหวงั ” (Hope)
13 คมู อื การปฏิบัติสำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19
มิติ มาตรการควบคมุ หลัก มาตรการเสริม
5. นโยบาย (ตอ) - สรา งสถานศกึ ษาท.่ี .... 1. ประสานงานและแสวงหาแหลง ทนุ
“เขาใจ เหน็ ใจและใหโอกาส” และการสนบั สนนุ จากหนว ยงาน
6. การบรหิ าร (De-stigmatization) องคกรหรือภาคเอกชน เชน
การเงิน - ใชศักยภาพสถานศึกษาและ ทองถิ่น บริษัท หางราน NGO
ชุมชน (Efficacy) เชน ระบบ เปนตน เพื่อสนับสนุนกิจกรรม
ดแู ลชว ยเหลอื นกั เรยี น แบง ปน การปองกันการแพรระบาดของ
ทรัพยากรในชุมชน โรคในสถานศึกษา
- ใชสายสัมพันธในสถานศึกษา
(Connectedness) 2. พจิ ารณาสรรหาบคุ ลากรเพม่ิ เตมิ
10. มีการกำกับ ติดตามใหมีการ ในการดูแลนักเรียนและการ
ดำเนินงานตามมาตรการ จดั การสง่ิ แวดลอ มใน สถานศกึ ษา
เพอ่ื ปอ งกนั การแพรร ะบาดของ
โรคโควดิ 19 อยางเครง ครดั
1. พิจารณาการใชงบประมาณของ
สถานศึกษาสำหรับกิจกรรม
การปองกันการระบาดของ
โรคโควิด 19 ตามความจำเปน
และเหมาะสม
2. จัดหาวัสดุอุปกรณปองกัน
โรคโควดิ 19 สำหรบั นกั เรยี นและ
บุคลากรในสถานศึกษา เชน
หนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั
เจลแอลกอฮอล สบู เปนตน
คูมอื การปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 14
การเตรียมความพรอมกอนเปดภาคเรียน ( Preparing the reopening of schools) หลังจาก
ปด สถานศกึ ษาเนอ่ื งจากสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 เปน สถานการณไ มป กติ ไมเ คยเกดิ ขน้ึ มากอ น
มคี วามไมแ นน อน อาจตอ งปด หรอื เปด ตามสถานการณ สถานศกึ ษาควรมกี ารประเมนิ ความพรอ มของตนเอง
เพอ่ื เตรยี มความพรอมกอนเปด เรยี น ผานระบบออนไลนข องกระทรวงศกึ ษาธิการ และ THAI STOP COVID
กรมอนามัย มีกลไกการตรวจรับรองการประเมินจากหนวยงานหรือผูเกี่ยวของในพื้นที่ เชน คณะกรรมการ
สถานศึกษาหรือหนวยงานสาธารณสุขในระดับพื้นที่ เปนตน แนะนำใหมีการคัดกรองสุขภาพนักเรียนและ
บคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ งกอ นเปด ภาคเรยี น ตามแบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา และแบบประเมนิ ตนเองของ
นักเรียน (ภาคผนวก)
15 คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19
แผนผงั กลไกการดำเนนิ งานปองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19
ระดับจังหวดั ในสถานศึกษา
แผนผังกลไกการดำเนินงานปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19
ระดับจังหวัด ในสถานศึกษา
คณะกรรมการ สำนกั งาน ผูวาราชการจงั หวัด สพป.
โรคติดตอจังหวัด สาธารณสขุ จังหวัด สพม.
ศกึ ษาธกิ ารจังหวัด
โรงพยาบาลศนู ย
โรงพยาบาลทว่ั ไป พมจ.
อบจ.
ทน. / ทม.
นายอำเภอ
โรงพยาบาลชมุ ชน สำนักงาน คณะกรรมการพัฒนา
สาธารณสขุ อำเภอ คุณภาพชวี ิต
โรงพยาบาลสง เสรมิ
ระดับอำเภอ (พชอ.)
สุขภาพตำบล
อสม. สถานศึกษา
คณะกรรมการ
สถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
สายบรหิ ารงาน สายบังคบั บญั ชา
พมจ. - สำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ งั หวดั อบจ. - องคก ารบริหารสวนจงั หวัด
สพป.- สํานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาปฐมศกึ ษา สพม. -สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
ทน. - เทศบาลนคร ทม. - เทศบาลเมอื ง อสม. - อาสาสมคั รสาธารณสุขประจำหมบู า น
คมู ือการปฏบิ ัติสำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 16
บทบาทบคุ ลากรสาธารณสขุ ในการดำเนินงานปองกันการแพรร ะบาด
ของโรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา
สว นกลาง เขต/ศนู ยอ นามยั จังหวดั ระดับพ้ืนท่ี
(อำเภอ/ตำบล)
ประสานความรว มมอื สนับสนุนวิชาการ / ดำเนนิ งานตาม พรบ. / กำหนดบทบาทหนา ท่ี
กำหนดแนวทาง / สื่อสนบั สนุน แนวทาง / มาตรการ ความรับผิดชอบ
มาตรการ วางแผน และ จดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ าร การประสานงานกับ
จดั ทำแนวปฏบิ ตั ิ ประสานงานหนว ยงาน เฝา ระวงั ปองกัน สถานศึกษา
ถา ยทอดสกู ารปฏบิ ตั ิ ทีเ่ กย่ี วขอ ง ควบคุมโรค การสนับสนุน
สนบั สนนุ วชิ าการ สนับสนุน สงเสริม ประสาน ช้แี จง ดานวิชาการ ความรู
องคค วามรู ติดตามประเมินผล หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง คำแนะนำ
สนบั สนนุ สอ่ื การเรยี นรู รวบรวมขอมูล การ เพอ่ื เตรยี มความพรอ ม สอ่ื ประชาสมั พนั ธ และ
ดา นสขุ ภาพผาน ดำเนินงาน ดำเนินการ การสาธิต
Online / ทางไกล สนบั สนนุ ดา นวชิ าการ การสนับสนุน และ
กศธ. สอ่ื ประชาสมั พนั ธ จัดเตรยี มอปุ กรณ
ตดิ ตามประเมนิ ผล วสั ดอุ ปุ กรณ ดำเนินการคัดกรอง
วางระบบการคดั กรอง และสง ตอ
และสง ตอ สรปุ ผลการดำเนนิ งาน
ติดตามประเมนิ ผล
17 คูม ือการปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19
ขัน้ ตอนการดำเนนิ งานคัดกรองและสง ตอนักเรยี นและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา
ในการปองกนั ควบคุมการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19
คัดกรองสุขภาพนกั เรียนและบคุ ลากรในสถานศึกษา
กอ นเขาสถานศึกษา
- วดั อณุ หภมู ดิ วยเคร่อื งวัดอุณหภมู ทิ างหนาผาก 1. จัดอุปกรณการคัดกรองสขุ ภาพ
- ใหน ักเรยี นลา งมือดวยสบแู ละน้ำหรือใชเ จลแอลกอฮอล 2. จดั อปุ กรณก ารลา งมอื
- ตรวจการใสห นากากผาหรือหนากากอนามัยทกุ คน 3. แบบบนั ทึกการตรวจคดั กรองสุขภาพ
- กรณบี คุ คลภายนอกกรอกขอ มูลประวัติเสยี่ ง
(นกั เรียนและบคุ ลากรไดร ับการประเมินความเสี่ยง
กอ นเปดภาคเรียนทุกคน)
ไมม ไี ข ( <37.5 c ) มีไข ( >_37.5 c ) กลมุ เสี่ยง
หรือไมมอี าการทางเดินหายใจ หรอื มอี าการทางเดนิ หายใจ
ติดสัญลกั ษณ - แยกนกั เรยี นไวท ห่ี อ งจดั เตรียมไว มีประวตั ิเสย่ี งสงู มีประวัตเิ ส่ียงตำ่
- เขา เรยี นตามปกติ - บนั ทกึ รายชื่อและอาการปว ย - แยกนกั เรยี นไวท ี่หองจดั เตรยี มไว - แยกนักเรียนไวท ี่หอ งจดั เตรียมไว
- ปฏิบัติตามมาตรการการปอ งกนั - ประเมนิ ความเสี่ยง - บนั ทึกรายช่ือและอาการปวย - บันทึกรายชอื่ และอาการปวย
- แจงผปู กครอง - แจงผปู กครองมารบั พาไปพบแพทย - แจง ผูป กครองมารับพาไปพบแพทย
- แจงเจา หนา ทส่ี าธารณสขุ - แจง เจาหนาทีส่ าธารณสขุ
พบประวตั เิ สย่ี ง ประเมินสถานการณก ารสอบสวนโรค ประเมินสถานการณก ารสอบสวนโรค
ไมม ปี ระวตั ิเส่ียง เกบ็ ตวั อยา ง
- ใหพ านักเรียนไปพบแพทย - กักตัวอยูบา น
- ใหห ยุดพกั จนกวาจะหายเปน ปกติ - ตดิ ตามอาการใหค รบ 14 วนั
ผรู ับผดิ ชอบตดิ ตามอาการนักเรียน
และรายงานผลใหผ บู รหิ ารสถานศกึ ษา ผเู ก่ียวของ
คมู อื การปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 18
วิธีการตรวจคัดกรองสขุ ภาพ
การตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องตนชวงสถานการณโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา ที่สำคัญ ไดแก
การตรวจวัดอุณหภูมิรางกายหรือวัดไข การซักประวัติการสัมผัสในพื้นที่เสี่ยง การสังเกตอาการเสี่ยงตอ
การตดิ เช้ือ โดยมีวิธีปฏบิ ัติที่สำคญั พอสงั เขป ดังนี้
วิธีการตรวจวัดอณุ หภมู ริ างกายหรือวัดไข
มารจู กั เคร่อื งวัดอณุ หภมู ริ างกาย
คนทว่ั ไปจะมอี ณุ หภมู ริ า งกายอยรู ะหวา ง 36.5 - 37.4 องศาเซลเซยี ส สำหรบั ผทู เ่ี รม่ิ มไี ขห รอื สงสยั วา
ตดิ เชอื้ จะมอี ณุ หภูมทิ ม่ี ากกวา 37.5 องศาเซลเซียส
เครอ่ื งวดั อุณหภมู ริ า งกาย มี 4 แบบ ไดแ ก
1) เครอ่ื งวดั อณุ หภมู แิ บบแทง แกว นยิ มใชว ดั อณุ หภมู ทิ างปากหรอื ทางรกั แรใ นผใู หญห รอื เดก็ โต แตไ มเ หมาะ
สำหรับใชใ นเดก็ เล็ก
ขอดี : อา นคาอณุ หภูมิมคี วามนา เชือ่ ถอื และมคี วามถกู ตอง
ขอ เสีย : ใชเ วลาในการวัดนาน ไมเหมาะสมในการคดั กรองผปู วยจำนวนมาก
2) เครอ่ื งวดั อณุ หภมู ิแบบดจิ ิตอล หนาจอแสดงผลเปน แบบตวั เลข ทำใหงา ยตอ การอานคา เคร่อื งมือชนดิ น้ี
นิยมใชในการวัดอุณหภูมิทางปากหรือทางรักแรในผูใหญหรือเด็กโต รวมถึงใชในการวัดอุณหภูมิทางทวาร
ของเด็กเลก็ ดวย
ขอ ดี : อา นคาอณุ หภมู มิ ีความนา เชอ่ื ถือและมคี วามถกู ตอ ง
ขอเสยี : ใชเ วลาในการวดั นอ ยกวาแบบแทงแกว แตย งั ไมเหมาะในการใชในการคัดกรองคนจำนวนมาก
3) เครือ่ งวดั อณุ หภูมใิ นชองหู ใชวดั อณุ หภูมิความรอ นที่แพรอ อกมาของรา งกายโดยไมส มั ผสั กบั อวยั วะทวี่ ัด
มีหนาจอแสดงผลเปนแบบตัวเลขทำใหงายตอการอานคา บริเวณปลายมีเซ็นเซอรวัดรังสีอินฟราเรดที่
รางกายแพรอ อกมา โดยเครือ่ งมือไดอ อกแบบใหว ัดทีบ่ รเิ วณเยอ่ื แกวหู
ขอดี : อานคา อุณหภมู ไิ ดร วดเร็วเหมาะสมกบั การคัดกรองคนจำนวนมาก
ขอ ควรระวงั : การปนเปอ นและติดเชอื้ จากทางหูกรณไี มเปล่ยี นปลอกหมุ
4) เคร่อื งวดั อณุ หภมู ทิ างหนา ผาก เปน เครื่องท่พี ฒั นามาเพือ่ ลดโอกาส
ในการตดิ เชอื้ ของเครื่องวัดอุณหภมู ิในชองหู แตย งั คงวัดอณุ หภูมิ
ไดอยางรวดเร็ว เพื่อใชในการคัดกรองผูปวยจำนวนมาก
มีหนาจอแสดงผลเปน แบบตัวเลข บริเวณปลายมีเซน็ เซอรวัด
รังสีอินฟราเรดที่ผิวหนัง โดยเครื่องมือไดออกแบบใหวัดที่
บริเวณหนาผาก
ขอ ดี : อานคาอณุ หภมู ไิ ดรวดเรว็ เหมาะสมกบั การคดั กรอง
คนจำนวนมาก
19 คูม ือการปฏิบัติสำหรับสถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19
วธิ ีการวดั อุณหภมู ทิ างหนาผาก
1. ตั้งคา การใชง านเปนแบบวัดอุณหภูมริ า งกาย (Body Temperature)
เคร่อื งวดั อุณหภมู ิทางหนา ผาก มี 2 แบบ คอื
- แบบวดั อณุ หภมู พิ น้ื ผวิ (Surface Temperature) ใชว ดั อณุ หภมู วิ ตั ถทุ ว่ั ไป เชน ขวดนม อาหาร
- แบบวดั อณุ หภมู ริ า งกาย (Body Temperature) ใชว ดั อณุ หภมู ผิ วิ หนงั จะแสดงคา เปน อณุ หภมู ริ า งกาย
2. วดั อณุ หภมู ิ โดยชเ้ี ครอ่ื งวดั อณุ หภมู ไิ ปทบ่ี รเิ วณหนา ผาก ระยะหา งประมาณ 3 เซนตเิ มตร ทง้ั น้ี
ขน้ึ อยกู บั ผลติ ภณั ฑต ามคาแนะนาทก่ี าหนด แลว กดปมุ บนั ทกึ ผลการวดั ขณะทาการวดั ไมค วรสา ยมอื ไปมาบน
ผิวหนังบรเิ วณทีท่ าการวัด และไมค วรมีวตั ถุอืน่ บัง เชน เสน ผม หมวก หนา กาก เหงอ่ื เปนตน
การอานคาผลการอานคาผลการวัด เมื่อมีสัญญาณเสียงหรือสัญลักษณ แสดงวา ทาการวัดเสร็จ
หากอานคาผลไมชัดเจน สามารถวัดซาได คาผลการวัดไมเทากัน ใหใชคาผลมากที่สุด โดยทั่วไปอุณหภูมิ
รางกายปกติอยูในชวงระหวาง 36.1-37.2 องศาเซนเซียส หากตรวจวัดอุณหภูมิรางกาย ตั้งแต 37.5 องศา
เซลเซยี ส ขึน้ ไป ถือวา มไี ข ตอ งไดร บั การตรวจวนิ จิ ฉยั ตอ ไป
ขอควรระวัง
ศึกษาคมู ือการใชงานเครอ่ื งวัดอุณหภูมกิ อนการใชงาน
เครื่องวดั อุณหภูมผิ ิวหนังควรอยใู นสภาวะแวดลอมของพน้ื ท่ีทำการวดั ไมนอยกวา 30 นาที เพอ่ื ใหอุณหภูมิ
ของเครื่องวดั เทา กบั อุณหภูมแิ วดลอม
ไมควรสัมผัสหรือหายใจบนเลนสของหัววัด หากมีสิ่งสกปรกบนเลนสใหใชผานุมแหง หรือ สำลีพันกานไม
ทำความสะอาด ไมค วรเชด็ ดว ยกระดาษทชิ ชู
ผูรับการตรวจวัดวัดควรอยูในบริเวณจุดตรวจวัดอยางนอย 5 นาที กอนการวัด ไมควรออกกำลังกายหรือ
อาบนำ้ กอ นถกู วดั อณุ หภมู เิ ปน เวลาอยา งนอ ย 30 นาที การถอื เครอ่ื งวดั อณุ หภมู หิ นา ผากเปน เวลานานมผี ล
ใหอณุ หภูมิภายในของเครือ่ งวดั สูงขึน้ และจะสง ผลการวัดอณุ หภมู ิรางกายผดิ พลาด
อุณหภูมิรางกายขึ้นอยูกับการเผาผลาญพลังงานของแตละคน เสื้อผาที่สวมใสขณะทำการวัดอุณหภูมิ
แวดลอม กจิ กรรมที่ทำ
ผทู ม่ี ปี ระวตั ไิ ขห รอื วดั อณุ หภมู กิ ายได ตง้ั แต 37.5 องศาเซลเซยี ส ขน้ึ ไป รว มกบั อาการทางเดนิ หายใจ
อยางใดอยางหนง่ึ (มีนำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไดกลน่ิ ไมรรู ส) และมปี ระวัตสิ มั ผัสใกลชดิ
กับผูปวยยืนยัน ในชวง 14 วันกอนมีอาการ ถือวา เปนผูสัมผัสความเสี่ยง (กลุมเสี่ยง) ตองรีบแจงเจาหนาที่
สาธารณสุขดำเนนิ การตอไป
คมู ือการปฏิบัตสิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 20
ขน้ั ตอนการซักประวัตแิ ละสังเกตอาการเส่ยี ง
โดยสอบถามเกย่ี วกบั ประวตั กิ ารสมั ผสั ในพน้ื ทเ่ี สย่ี ง พน้ื ทท่ี ม่ี ผี ปู ว ยตดิ เชอ้ื หรอื พน้ื ทท่ี ม่ี คี นจำนวนมาก และ
สงั เกตอาการเสย่ี งตอ การตดิ เชอ้ื หรอื อาการทางเดนิ หายใจ เชน ไอ มนี ำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ
ไมไ ดกลิ่น ไมรูรส เปน ตน โดยมีวิธปี ฏบิ ตั ิ ดังนี้
1) จดั ตง้ั จดุ คดั กรองบรเิ วณทางเขา ของสถานศกึ ษา พจิ ารณากำหนดจดุ คดั กรองตามความเหมาะสมกบั จำนวน
นักเรยี น โดยยดึ หลกั Social distancing
2) วัดอณุ หภมู ิตามคำแนะนำของเคร่อื งวดั อุณหภมู ติ ามผลิตภัณฑน ัน้ พรอมอานคา ผลทไ่ี ด
(มากกวา 37.5 องศาเซลเซียล ถือวา มไี ข)
3) ใหผ ูรบั การตรวจคดั กรองลา งมอื ดว ยสบแู ละน้ำ หรอื ใชเจลแอลกอฮอลทำความสะอาดมอื
4) ตรวจสอบการสวมหนา กาก (Check mask) ของบคุ คลทุกคนทเ่ี ขามาในสถานศกึ ษา
5) สอบถามและซักประวัติการเคยไปสัมผัสในพื้นที่เสี่ยง พื้นที่ที่มีผูปวยติดเชื้อ หรือพื้นที่ที่มีคนจำนวนมาก
และสังเกตอาการเสี่ยงตอการติดเชื้อหรืออาการทางเดินหายใจ เชน ไอ มีน้ำมูก เจ็บ คอ หายใจลำบาก
เหนอ่ื ยหอบ ไมไดกลิ่น ไมรรู ส เปนตน รวมถงึ บันทกึ ผลลงในแบบบันทึกการตรวจคดั กรองสุขภาพสำหรบั
นักเรียน บคุ ลากร หรอื ผมู าติดตอในสถานศกึ ษา (ภาคผนวก)
กรณี วดั อณุ หภมู ิรา งกายได ไมเกิน 37.5 องศาเซลเซียส และไมมีอาการทางเดินหายใจ (ไอ มีนำ้ มูก
เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ ดก ลน่ิ ไมร รู ส) ไมม ปี ระวตั สิ มั ผสั ใกลช ดิ กบั ผปู ว ยยนื ยนั ในชว ง 14 วนั
กอนมีอาการ ถือวา ผานการคัดกรอง จะติดสัญลักษณหรือสติ๊กเกอร ใหเขาเรียนหรือปฏิบัติงานไดตามปกติ
กรณี วัดอณุ หภมู ิรา งกาย ต้ังแต 37.5 องศาเซลเซียส ขน้ึ ไป หรือ มไี ข รว มกบั อาการทางเดนิ หายใจ
อยางใดอยา งหนึง่ (ไอ มีน้ำมกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหน่อื ยหอบ ไมไ ดกลิ่น ไมรูรส) ใหป ฏิบัติ ดงั นี้
แยกนักเรยี นไปไวท่หี อ งแยกซ่งึ จดั เตรียมไว
บันทกึ รายชอ่ื และอาการปว ย
ประเมินความเสี่ยง
แจงผปู กครอง
หากไมมีประวัติเสี่ยง ใหพานักเรียนไปพบแพทย และใหหยุดพักจนกวาจะหายเปนปกติ
21 คูม ือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19
หากตรวจพบวา มีประวัติเสี่ยง และ/หรือมีประวัติสัมผัสใกลชิดกับผูปวยยืนยันหรือสงสัย มีประวัติ
เดนิ ทางไปในพน้ื ทเ่ี สย่ี งหรอื พน้ื ทเ่ี กดิ โรค ไปในพน้ื ทท่ี ม่ี คี นแออดั จำนวนมาก ในชว ง 14 วนั กอ นมอี าการ ถอื วา
เปน ผสู มั ผสั ทม่ี คี วามเสย่ี ง (กลมุ เสย่ี ง) โดยจำแนกเปน กลมุ เสย่ี งมปี ระวตั เิ สย่ี งสงู และกลมุ เสย่ี งมปี ระวตั เิ สย่ี งตำ่
ใหปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
กลมุ เส่ียงมีประวัตเิ ส่ียงสงู
แยกนกั เรียนไปไวท ่ีหอ งแยกซ่ึงจดั เตรยี มไว
บันทกึ รายช่อื และอาการปว ย
แจงผปู กครอง ใหมารบั นักเรยี น แลว พาไปพบแพทย
แจงเจา หนา ท่ีสาธารณสขุ ประเมินสถานการณก ารสอบสวนโรค
ทำความสะอาดจดุ เสยี่ งและบรเิ วณโดยรอบ
เกบ็ ตัวอยา ง
กักตวั อยบู าน
ตดิ ตามอาการใหค รบ 14 วัน
ครูรวบรวมขอมูลและรายงานผลใหผ บู รหิ ารสถานศกึ ษา ผูเก่ยี วของ
กลมุ เสี่ยงมีประวัติเส่ียงต่ำ
แยกนักเรยี นไปไวที่หองแยกซง่ึ จัดเตรยี มไว
บนั ทกึ รายชื่อและอาการปวย
แจง ผูป กครอง ใหม ารับนกั เรยี น แลวพาไปพบแพทย
แจงองคกรปกครองสวนทองถิน่
แจง ทอ งถิน่ ทำความสะอาด จุดเส่ยี ง และบรเิ วณโดยรอบ
ตดิ ตามอาการใหครบ 14 วนั
ครรู วบรวมขอ มูลและรายงานผลใหผ ูบรหิ ารสถานศกึ ษา ผูเกีย่ วขอ ง
คูม อื การปฏิบตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 22
แนวปฎบิ ตั สิ ำหรับสถานศกึ ษาระหวางเปด ภาคเรียน
ผทู ม่ี ปี ระวตั ไิ ขห รอื วดั อณุ หภมู กิ ายได ตง้ั แต 37.5 องศาเซลเซยี ส ขน้ึ ไป รว มกบั อาการทางเดนิ หายใจ
อยา งใดอยา งหน่งึ (มีนำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนอื่ ยหอบ ไมไดก ล่ิน ไมร ูรส) และมปี ระวตั สิ ัมผัสใกลช ดิ
กับผูปวยยืนยัน ในชวง 14 วันกอนมีอาการ ถือวา เปนผูสัมผัสความเสี่ยง (กลุมเสี่ยง) ตองรีบแจงเจาหนาที่
สาธารณสขุ ดำเนนิ การตอ ไป
หลักปฏบิ ัตใิ นการปอ งกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา
1) คัดกรอง (Screening) : ผทู ่ีเขา มาในสถานศกึ ษาทกุ คน ตองไดร บั การคดั กรองวัดอุณหภมู ิรางกาย
2) สวมหนา กาก (Mask) : ทุกคนตองสวมหนา กากผา หรือหนา กากอนามยั ตลอดเวลาท่อี ยใู นสถานศึกษา
3) ลางมือ : ลา งมอื บอ ย ๆ ดว ยสบแู ละนำ้ นานอยา งนอ ย 20 วนิ าที หรอื ใชเ จลแอลกอฮอล
(Hand Washing) หลกี เลย่ี งการสมั ผสั บรเิ วณจดุ เสย่ี ง เชน ราวบนั ได ลกู บดิ ประตู เปน ตน รวมทง้ั
ไมใชมอื สมั ผัส ใบหนา ตา ปาก จมกู โดยไมจ ำเปน
4) เวนระยะหา ง : เวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร รวมถงึ การจดั เวน ระยะหา ง
(Social Distancing) ของสถานท่ี
5) ทำความสะอาด : เปด ประตู หนา ตา ง ใหอ ากาศถา ยเท ทำความสะอาดหอ งเรยี น และบรเิ วณตา ง ๆ
(Cleaning) โดยเชด็ ทำความสะอาดพน้ื ผวิ สมั ผสั ของโตะ เกา อ้ี และวสั ดอุ ปุ กรณ กอ นเขา เรยี น
ชว งพกั เทย่ี ง และหลงั เลกิ เรยี นทกุ วนั รวมถงึ จดั ใหม ถี งั ขยะมลู ฝอยแบบมฝี าปด
และรวบรวมขยะออกจากหองเรยี น เพอื่ นำไปกำจดั ทกุ วัน
6) ลดแออัด (Reducing) : ลดระยะเวลาการทำกิจกรรมใหสั้นลงเทาที่จำเปนหรือเหลื่อมเวลาทำกิจกรรม
และหลีกเล่ยี งการทำกจิ กรรมรวมตวั กนั เปน กลุมลดแออดั
23 คมู ือการปฏิบัตสิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19
เพอ่ื ใหแ นวปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 เกดิ ประโยชนแ ละ
มผี ลกระทบในทางทด่ี ตี อ บคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ ง ไดแ ก ผบู รหิ าร เจา ของสถานศกึ ษา ครู ผดู แู ลนกั เรยี น ผปู กครอง
นักเรยี น และแมครวั ผจู ำหนายอาหาร ผปู ฏบิ ัตงิ านทำความสะอาด ดังน้ัน จงึ กำหนดใหม ีแนวปฏบิ ตั ิสำหรบั
บุคลากรของสถานศกึ ษาสำหรบั ใชเ ปน แนวทางการปฏบิ ตั ติ นอยางเครงครดั มดี งั นี้
แนวปฎบิ ตั ิสำหรับผบู ริหาร เจา ของสถานศกึ ษา
1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา
2. จัดตั้งคณะทำงานดำเนินการควบคุมดูแลและปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 ประกอบดวย ครู
นกั เรียน ผูปกครอง เจา หนา ทสี่ าธารณสุข ทองถนิ่ ชุมชน และผเู กย่ี วขอ ง พรอ มบทบาทหนา ท่ี
3. ทบทวน ปรับปรุง ซอมปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินของสถานศึกษาในภาวะที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อ
(Emergency operation for infectious disease outbreaks)
4. สอ่ื สารประชาสมั พนั ธก ารปอ งกนั โรคโควดิ 19 เกย่ี วกบั นโยบาย มาตรการ แนวปฏบิ ตั ิ และการจดั การเรยี น
การสอนใหแกครู นักเรียน ผูปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา ผานชองทางสื่อที่เหมาะสม และ
ติดตามขอ มูลขา วสารทเี่ ก่ยี วขอ งกับโรคโควดิ 19 จากแหลงขอมลู ทีเ่ ช่ือถอื ได
5. สอ่ื สารทำความเขา ใจเพอ่ื ลดการรงั เกยี จและลดการตตี ราทางสงั คม (Social stigma) กรณอี าจพบบคุ ลากร
ในสถานศึกษา นักเรียน หรือผูปกครองตดิ เชือ้ โรคโควดิ 19
6. มีมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเขาไปในสถานศึกษา (Point of entry) ใหแก นักเรียน
ครู บคุ ลากร และผมู าตดิ ตอ และจดั ใหม พี น้ื ทแ่ี ยกโรค อปุ กรณป อ งกนั เชน หนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั
เจลแอลกอฮอล อยา งเพยี งพอ รวมถงึ เพม่ิ ชอ งทางการสอ่ื สารระหวา งครู นกั เรยี น ผปู กครอง และเจา หนา ท่ี
สาธารณสขุ ในกรณีท่พี บนักเรียนกลุมเสี่ยงหรือสงสัย
7. ควรพิจารณาการจัดใหนักเรียนสามารถเขาถึงการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบริบท
ไดอยางตอเนื่อง ตรวจสอบติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาปวย การปดสถานศึกษา การจัดให
มกี ารเรยี นทางไกล สอ่ื ออนไลน การตดิ ตอ ทางโทรศพั ท Social media โดยตดิ ตามเปน รายวนั หรอื สปั ดาห
8. กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผูปกครองอยูในกลุมเสี่ยงหรือผูปวยยืนยันเขามาในสถานศึกษา
ใหร บี แจง เจา หนา ทส่ี าธารณสขุ ในพน้ื ท่ี เพอ่ื ดำเนนิ การสอบสวนโรคและพจิ ารณาปด สถานศกึ ษา ตามแนวทาง
ของกระทรวงสาธารณสุข
9. มมี าตรการใหน กั เรยี นไดร บั อาหารกลางวนั และอาหารเสรมิ นมตามสทิ ธทิ ค่ี วรไดร บั กรณพี บอยใู นกลมุ เสย่ี ง
หรอื กักตวั
10. ควบคมุ กำกบั ตดิ ตาม และตรวจสอบการดำเนนิ งานตามมาตรการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19
ในสถานศกึ ษาอยา งเครง ครัดและตอเน่ือง
คมู อื การปฏิบัตสิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 24
แนวปฏบิ ัติสำหรับครู ผูด แู ลนกั เรียน
1. ติดตามขอมูลขาวสารสถานการณการแพรระบาดของโรค พื้นที่เสี่ยง คำแนะนำการปองกันตนเอง
และลดความเสยี่ งจากการแพรก ระจายของเชอ้ื โรคโควิด 19 จากแหลง ขอมูลท่ีเชือ่ ถือได
2. สังเกตอาการปวยของตนเอง หากมีอาการไข ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไมไดกลิ่น
ไมรูรส ใหหยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทยทันที กรณีมีคนในครอบครัวปวยดวยโรคโควิด 19 หรือ
กลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยูในชวงกักตัว ใหปฏิบัติตามคำแนะนำของเจาหนาที่สาธารณสุขอยางเครงครัด
3. แจงผูปกครองและนักเรียน ใหนำของใชสวนตัวและอุปกรณปองกันมาใชเปนของตนเอง พรอมใช
เชน ชอน สอม แกวนำ้ แปรงสฟี น ยาสีฟน ผา เช็ดหนา หนา กากผาหรือหนากากอนามยั เปน ตน
4. สอ่ื สารความรคู ำแนะนำหรอื จดั หาสอ่ื ประชาสมั พนั ธใ นการปอ งกนั และลดความเสย่ี งจากการแพรก ระจาย
โรคโควิด 19 ใหแกนักเรียน เชน สอนวิธีการลางมือที่ถูกตอง การสวมหนากากผาหรือหนากากอนามัย
คำแนะนำการปฏบิ ตั ติ วั การเวน ระยะหา งทางสงั คม การทำความสะอาด หลกี เลย่ี งการทำกจิ กรรมรว มกนั
จำนวนมากเพ่อื ลดความแออัด
5. ทำความสะอาดสอ่ื การเรยี นการสอนหรอื อปุ กรณข องใชรวมทเ่ี ปนจดุ สมั ผสั เสย่ี ง ทกุ ครั้งหลงั ใชงาน
6. ควบคมุ ดแู ลการจดั ทน่ี ง่ั ในหอ งเรยี น ระหวา งโตะ เรยี น ทน่ี ง่ั ในโรงอาหาร การจดั เวน ระยะหา ง ระหวา งบคุ คล
อยางนอย 1 - 2 เมตร หรือเหลื่อมเวลาพักกินอาหารกลางวัน และกำกับใหนักเรียน สวมหนากากผาหรือ
หนา กากอนามัยตลอดเวลา และลา งมอื บอย ๆ
7. ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยูในกลุมเสี่ยงตอการติดโรค
โควดิ 19 และรายงานตอผบู รหิ าร
8. ทำการตรวจคดั กรองสขุ ภาพทกุ คนทเ่ี ขา มาในสถานศกึ ษาในตอนเชา ทง้ั นกั เรยี น ครู บคุ ลากร และผมู าตดิ ตอ
โดยใชเครื่องวัดอุณหภูมิรางกาย พรอมสังเกตอาการและสอบถามอาการของ ระบบทางเดินหายใจ เชน
ไข ไอ มนี ำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ ดก ลน่ิ ไมร รู ส โดยตดิ สญั ลกั ษณ สตก๊ิ เกอรห รอื ตราปม
แสดงใหเ ห็นชดั เจนวา ผา นการคดั กรองแลว
กรณีพบนักเรียนหรือผูมีอาการมีไข อุณหภูมิรางกายตั้งแต 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป รวมกับ
อาการระบบทางเดินหายใจอยางใดอยางหนึ่ง จัดใหอยูในพื้นที่แยกสวน ใหรีบแจงผูปกครองมารับและ
พาไปพบแพทย ใหหยุดพักที่บานจนกวาจะหายเปนปกติ พรอมแจงเจาหนาที่สาธารณสุขเพื่อประเมิน
สถานการณและดำเนินการสอบสวนโรค และแจงผูบริหารเพื่อพิจารณาการปดสถานศึกษาตามมาตรการ
แนวทางของกระทรวงสาธารณสุข
บนั ทกึ ผลการคัดกรองและสง ตอ ประวตั กิ ารปว ย ตามแบบบนั ทึกการตรวจสขุ ภาพ
จัดอุปกรณการลางมือ พรอมใชงานอยางเพียงพอ เชน เจลแอลกอฮอลวางไวบริเวณทางเขา
สบูล า งมอื บรเิ วณอางลา งมอื
25 คมู ือการปฏิบตั สิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19
9. กรณคี รสู งั เกตพบนกั เรยี นทม่ี ปี ญ หาพฤตกิ รรม เชน เดก็ สมาธสิ น้ั เดก็ ทม่ี คี วามวติ กกงั วลสงู อาจมพี ฤตกิ รรม
ดดู นว้ิ หรอื กดั เลบ็ ครสู ามารถตดิ ตามอาการและนำเขา ขอ มลู ทส่ี งั เกตพบในฐานขอ มลู ดา นพฤตกิ รรมอารมณ
สงั คมของนกั เรยี น (หรอื ฐานขอ มลู HERO) เพอ่ื ใหเ กดิ การดแู ลชว ยเหลอื รว มกบั ผเู ชย่ี วชาญดา นสขุ ภาพจติ ตอ ไป
10. วิธีการปรับพฤติกรรมสำหรับนักเรียนที่ไมรวมมือปฏิบัติตามมาตรการที่ครูกำหนด ดวยการแกปญหา
การเรียนรูใหมใหถูกตอง นั่นคือ “สรางพฤติกรรมที่พึงประสงค” หรือ “ลดพฤติกรรมที่ไมพึงประสงค”
11. ครูสื่อสารความรูเกี่ยวกับความเครียด วาเปนปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นไดในภาวะวิกฤติที่มีการแพรระบาด
ของโรคโควิด 19 และนำกระบวนการการจัดการความเครียด การฝกสติใหกลมกลืนและเหมาะสมกับ
นกั เรยี นแตล ะวยั รว มกบั การฝก ทกั ษะชวี ติ ทเ่ี สรมิ สรา งความเขม แขง็ ทางใจ (Resilience) ใหก บั นกั เรยี น
ไดแก ทักษะชวี ติ ดา นอารมณ สังคม และความคดิ เปน ตน
12. ครูสังเกตอารมณความเครียดของตัวทานเอง เนื่องจากภาระหนาที่การดูแลนักเรียนจำนวนมาก และ
กำกับใหปฏิบัติตามมาตรการปองกันการติดโรคโควิด 19 เปนบทบาทสำคัญ อาจจะสรางความเครียด
วิตกกังวล ทั้งจากการเฝาระวังนักเรียน และการปองกันตัวทานเองจากการสัมผัสกับเชื้อโรค ดังนั้น
เมื่อครมู คี วามเครียด จากสาเหตตุ าง ๆ มขี อ เสนอแนะ ดงั นี้
1) ความสบั สนมาตรการของสถานศึกษาท่ีไมกระจา งชดั เจน แนะนำใหสอบทานกบั ผูบริหาร หรอื เพ่ือน
รวมงาน เพือ่ ใหเขา ใจบทบาทหนาทีแ่ ละขอ ปฏิบัติทต่ี รงกนั
2) ความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในสถานศึกษา พูดคุยสื่อสารถึงความไมสบายใจ รองขอสิ่งจำเปน
สำหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอตอการปองกันการติดโรคโควิด 19 เชน สถานที่สื่อการสอน
กระบวนการเรียนรู การสงงานหรือตรวจการบาน เปนตน หากทานเปนกลุมเสี่ยง มีโรคประจำตัว
สามารถเขา สูแนวทางดแู ลบุคลากรของสถานศกึ ษา
3) จดั ใหม กี ารจดั การความเครยี ด การฝก สติ เปน กจิ วตั รกอ นเรม่ิ การเรยี นการสอนเพอ่ื ลดความวติ กกงั วล
ตอ สถานการณท่ตี งึ เครยี ดนี้
คูมอื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 26
แนวปฏิบัตสิ ำหรับนักเรียน
27 คูมือการปฏิบตั ิสำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19
คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 28
แนวปฏิบตั สิ ำหรับผูป กครอง
แนวปฏิบัติสาํ หรับแมครวั ผจู ําหนา ยอาหาร และผปู ฏบิ ัติงานทาํ ความสะอาด
29 คมู อื การปฏิบัตสิ ำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19
คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 30
31 คมู อื การปฏิบัตสิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19
คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 32
แนวปฏบิ ัติดานอนามยั สิง่ แวดลอ ม
สถานศกึ ษาเปน สถานทท่ี ม่ี คี นอยรู วมกนั จานวนมาก ทง้ั นกั เรยี น ครู ผปู กครอง บคุ ลากร ผมู าตดิ ตอ และผปู ระกอบการ
รา นคา กรณที น่ี กั เรยี นตอ งทากจิ กรรมรว มกบั เพอ่ื น ทาใหม โี อกาสใกลช ดิ กนั มาก ทาใหเ กดิ ความเสย่ี งตอ การแพรก ระจายของ
เชือ้ โรคไดงา ย จึงควรมีแนวปฏิบัติการจดั อาคารสถานท่ี ดังน้ี
1. หอ งเรียน หองเรียนรวม เชน หอ งคอมพวิ เตอร หองดนตรี
1) จดั โตะ เกา อ้ี หรอื ทน่ี ง่ั ใหม กี ารเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร ควรคาํ นงึ ถงึ สภาพบรบิ ทและ
ขนาดพื้นที่ และจัดทําสัญลักษณแสดงจุดตําแหนงชัดเจน กรณีหองเรียนไมเพียงพอในการจัด เวนระยะหางระหวางบุคคล
ควรจดั ใหม กี ารสลบั วนั เรยี นแตล ะชน้ั เรยี น การแบง จาํ นวนนกั เรยี น หรอื การใช พน้ื ทใ่ี ชส อยบรเิ วณสถานศกึ ษา ตามความเหมาะสม
ทงั้ นีอ้ าจพจิ ารณาวธิ ปี ฏบิ ัติอ่ืนตามบรบิ ทความเหมาะสม โดยยึดหลกั Social distancing
2) จดั ใหม กี ารเหลอ่ื มเวลาเรยี น การเรยี นกลมุ ยอ ย หรอื วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เ่ี หมาะสมตามบรบิ ทสถานการณ และเนน ใหน กั เรยี น
สวมหนากากผา หรือหนา กากอนามัยขณะเรยี นตลอดเวลา
3) จัดใหมีการระบายอากาศที่ดี ใหอากาศถายเท เชน เปดประตู หนาตาง หลีกเลี่ยงการใช เครื่องปรับอากาศ
หากจาํ เปน ตอ งใชเ ครอ่ื งปรบั อากาศ กาํ หนดเวลาเปด – ปด เครอ่ื งปรบั อากาศ เปด ประต หนา ตา ง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมง
และทาํ ความสะอาดอยา งสมํา เสมอ
4) จัดใหม เี จลแอลกอฮอลใชท ําความสะอาดมอื สาํ หรับนักเรียนและครู ใชป ระจาํ ทกุ หองเรยี นอยางเพียงพอ
5) ใหมีการทําความสะอาดโตะ เกาอี้ อุปกรณ และจุดสัมผัสเสี่ยง เชน ลูกบิดประตู เครื่องเลนของใชรวมทุกวัน
อยา งนอ ยวนั ละ 2 ครง้ั เชา กอ นเรยี นและพกั เทย่ี ง หรอื กรณมี กี ารยา ยหอ งเรยี น ตอ งทาํ ความสะอาดโตะ เกา อ้ี กอ นและหลงั
ใชง านทกุ ครัง้
2. หอ งสมุด
1) จัดโตะ เกาอี้ หรือที่นั่ง ใหมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร และจัดทําสัญลักษณ
แสดงจดุ ตําแหนงชัดเจน
2) จัดใหมีการระบายอากาศที่ดี ใหอากาศถายเท เชน เปดประตู หนาตาง หากจําเปนตองใช เครื่องปรับอากาศ
กาํ หนดเวลาเปด - ปด เครอ่ื งปรบั อากาศ เปด ประตู หนา ตา ง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมง และทาํ ความสะอาดอยา งสมำ่ เสมอ
3) จดั ใหม เี จลแอลกอฮอลใ ชท าํ ความสะอาดมอื สาํ หรบั ครู บรรณารกั ษ นกั เรยี น และผใู ชบ รกิ าร บรเิ วณทางเขา ดา นหนา
และภายในหอ งสมดุ อยา งเพียงพอ
4) ใหม กี ารทาํ ความสะอาดโตะ เกา อ้ี อปุ กรณ และจดุ สมั ผสั เสย่ี ง เชน ลกู บดิ ประตู ชน้ั วางหนงั สอื ทกุ วนั ๆ ละ 2 ครง้ั
(เชากอนใหบริการ พักเที่ยง)
5) การจาํ กดั จาํ นวนคนจาํ กดั เวลาในการเขา ใชบ รกิ ารหอ งสมดุ และใหน กั เรยี นและผใู ชบ รกิ ารทกุ คน สวมหนา กากผา
หรือหนา กากอนามยั ขณะใชบริการหอ งสมดุ ตลอดเวลา
33 คูมอื การปฏบิ ัตสิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19
3. หอ งประชุม หอประชมุ
1) จดั ใหม กี ารคดั กรองตรวจวดั อณุ หภมู ริ า งกายกอ นเขา หอ งประชมุ หอประชมุ หากพบผมู อี าการไข ไอ มนี ำ้ เจบ็ คอ
หายใจลาํ บาก เหน่ือยหอบ ไมไดก ลิ่น ไมร ูรส แจง งดรว มประชุมและแนะนําใหไปพบแพทยทันที
2) จดั โตะ เกา อ้ี หรอื ทน่ี ง่ั ใหม กี ารเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล 1 - 2 เมตร และจดั ทาํ สญั ลกั ษณแ สดง จดุ ตาํ แหนง ชดั เจน
3) ผูเขา ประชมุ ทกุ คนสวมหนา กากผา หรือหนา กากอนามยั ขณะประชุมตลอดเวลา
4) จัดใหมีเจลแอลกอฮอลใชทําความสะอาดมือสําหรับผูเขาประชุม บริเวณทางเขาภายในอาคาร หอประชุม
บรเิ วณทางเขาดา นหนาและดา นในของหอ งประชมุ อยางเพยี งพอและทั่วถึง
5) งดหรอื หลกี เล่ียงการใหบริการอาหารและเคร่ืองดม่ื ภายในหองประชุม
6) ใหม กี ารทาํ ความสะอาดโตะ เกา อ้ี อปุ กรณ และจดุ สมั ผสั เสย่ี งรว ม เชน ลกู บดิ ประตู รโี มท อปุ กรณส อ่ื กอ นและ
หลังใชห องประชมุ ทุกครงั้
7) จัดใหมีการระบายอากาศที่ดี ใหอากาศถายเท เชน เปดประตู หนาตาง กอนและหลังใชหองประชุม ทุกครั้ง
หากจาํ เปน ตอ งใชเ ครอ่ื งปรบั อากาศ กาํ หนดเวลาเปด - ปด เครอ่ื งปรบั อากาศ เปด ประตู หนา ตา ง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมง
และทาํ ความสะอาดอยา งสมาํ เสมอ
4. โรงยมิ สนามกีฬา
1) จดั พน้ื ทท่ี าํ กจิ กรรมและเลน กฬี า ลดความแออดั อาจจดั ใหเ ลน กฬี าเปน รอบ หรอื ใหม กี ารเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล
อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร
2) จดั ใหม เี จลแอลกอฮอลใ ชท าํ ความสะอาดมอื สาํ หรบั นกั กฬี าและผมู าใชบ รกิ าร บรเิ วณทางเขา และ บรเิ วณดา นใน
อาคารอยา งเพยี งพอและท่ัวถึง
3) ทําความสะอาดอุปกรณและเคร่อื งเลนแตล ะชนดิ กอนหรือหลังเลน ทกุ วนั อยางนอยวันละ 1 คร้งั
4) จัดใหม ีการระบายอากาศ ใหอ ากาศถายเท เชน เปด ประตู หนา ตา ง เปดพดั ลม
5) จาํ กดั จาํ นวนคนจาํ นวนเวลาในการเลน กฬี าหรอื กจิ กรรมภายในอาคารโรงยมิ หรอื สนามกีฬา
6) หลกี เลย่ี งการจดั กจิ กรรมหรอื เลน กฬี าประเภทแขง ขนั เปน ทมี หรอื มกี ารปะทะกนั อยา งรนุ แรง เชน วอลเลยบ อล
ฟุตบอล ฟตุ ซอล บาสเกตบอล เปนตน
5. สถานท่แี ปรงฟน
สถานศกึ ษาสง เสรมิ ใหม กี จิ กรรมแปรงฟน หลงั อาหารกลางวนั อยา งถกู ตอ งเหมาะสมตามสถานการณ แลบรบิ ทพน้ื ท่ี
หลกี เลี่ยงการรวมกลมุ ควรจดั เวน ระยะหางระหวา งบคุ คลในการแปรงฟน และใหมอี ุปกรณการ แปรงฟนสวนบคุ คล ดังนี้
5.1 การจัดเตรยี มวัสดุอุปกรณก ารแปรงฟน แปรงสีฟน
1) นกั เรียนทกุ คนมีแปรงสฟี นเปนของตนเอง หามใชแปรงสฟี น และยาสีฟน รวมกนั
2) ทําสัญลักษณหรือเขียนชื่อบนแปรงสีฟนของแตละคน เพื่อใหรูวาเปนแปรงสีฟนของใครปองกันการ
หยิบของผูอ ืน่ ไปใช
3) ควรเปลย่ี นแปรงสฟี น ใหนักเรยี น ทกุ 3 เดือน เม่ือแปรงสีฟน เสือ่ มคณุ ภาพ โดยสังเกต ดังน้ี
- บริเวณหัวแปรงสีฟนมคี ราบสกปรกติดคาง ลา งไดย าก
- ขนแปรงสีฟนบานแสดงวาขนแปรงเสื่อมคุณภาพใชแปรงฟนไดไมสะอาดและอาจกระแทกเหงือก
ใหเปนแผลได
ยาสฟี น ใหน กั เรยี นทกุ คนมยี าสฟี น เปน ของตนเอง และเลอื กใชย าสฟี น ผสมฟลอู อไรดซ ง่ึ มี ปรมิ าณฟลอู อไรด
1,000-1,500 ppm. (มลิ ลกิ รมั /ลติ ร) เพื่อปอู งกันฟน ผุ
แกว นำ้ จดั ใหนกั เรยี นทุกคนมแี กวนาํ สวนตวั เปนของตนเอง จาํ นวน 2 ใบ
ผาเชด็ หนาสวนตัว สาํ หรบั ใชเชด็ ทําความสะอาดบริเวณใบหนา ควรซักและเปลย่ี นใหมท กุ วัน
คูมอื การปฏบิ ตั สิ ำหรับสถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 34
5.2 การเกบ็ อุปกรณแ ปรงสีฟน
1) เก็บแปรงสฟี น ในบรเิ วณทม่ี อี ากาศถายเทไดส ะดวก ไมอบั ชืน้ และปลอดจากแมลง
2) จดั ทาํ ทเ่ี กบ็ แปรงสฟี น แกว นาํ โดยเกบ็ ของนกั เรยี นแตล ะคนแยกจากกนั ไมป ะปนกนั เวน ทใ่ี หม รี ะยะหา งเพยี งพอ
ทจ่ี ะไมใ หแ ปรงสฟี น สมั ผสั กนั เพอ่ื ปอู งกนั การแพรร ะบาดของโรค โควดิ 19 และควรวางหวั ของแปรงสฟี น ตง้ั ขน้ึ เพอ่ื ปอ งกนั
ไมใ หนาํ ที่คา งตามดามแปรงสฟี น หยดลงใสหวั แปรงสฟี น
5.3 การจัดกจิ กรรมแปรงฟนหลังอาหารกลางวัน
ครปู ระจาํ ชน้ั ดแู ลและจดั ใหม กี จิ กรรมการแปรงฟน ในหอ งเรยี น ใหน กั เรยี นทกุ คนแปรงฟน หลงั อาหารกลางวนั ทกุ วนั
อยางสมาํ เสมอ โดยหลกี เล่ยี งการรวมกลมุ และเวนระยะหางในการแปรงฟน โดย
1) ใหนักเรียนแปรงฟนในหองเรียน โดยนั่งที่โตะเรียน เพื่อปูองกันการแพรกระจาย ของน้ำลายละอองน้ำ หรือ
เช้อื โรคสูผูอื่น กรณีหองเรยี นแออัด ใหเ หลือ่ มเวลาในการแปรงฟน
2) กอ นการแปรงฟน ทกุ ครง้ั ใหล า งมอื ดว ยสบแู ละนาํ เสมอ เปน เวลาอยา งนอ ย 20 วนิ าที หรอื เจลแอลกอฮอลท ม่ี ี
ความเขมขน 70-74 % หลกี เลยี่ งการรวมกลุม และเวนระยะหา งระหวาง บุคคล อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร
3) ครูประจาํ ชั้นเทนําใหน กั เรยี นใสแ กว นําใบที่ 1 ประมาณ 1/3 แกว (ประมาณ 15 ml.)
4) นักเรยี นนั่งที่โตะเรยี น แปรงฟนดว ยยาสฟี นผสมฟลอู อไรดค รอบคลุมทุกซีท่ กุ ดา น นานอยา งนอ ย 2 นาที
เม่ือแปรงฟนเสรจ็ แลว ใหบ วนยาสฟี น และนาํ สะอาดลงในแกวนํา ใบที่ 2 เชด็ ปากใหเ รียบรอย
5) นกั เรียนทกุ คนนํานาํ ทีใ่ ชแลว จากแกว ใบที่ 2 เทรวมใสภาชนะที่เตรยี มไว และใหครูประจาํ ชน้ั นาํ ไปเททงิ้
ในที่ระบายน้ำของสถานศกึ ษา หา มเทลงพื้นดิน
6) นกั เรียนนําแปรงสีฟนและแกว นาํ ไปลางทาํ ความสะอาด และนํากลับมาเก็บใหเ รยี บรอย หลกี เล่ียงการรวมกลุม
และเวนระยะหา งระหวางบคุ คล อยา งนอย 1-2 เมตร
7) มกี ารตรวจความสะอาดฟน หลงั การแปรงฟน ดว ยตนเองทกุ วนั โดยอาจมกี ระจกของตวั เอง ในการตรวจดคู วามสะอาด
เสริมดว ยกิจกรรมการยอ มสีฟนอยางนอ ยภาคเรียนละ 2 ครง้ั
6. สระวานำ้
หลกี เลย่ี งหรอื งดการจดั การเรยี นการสอนในสระวา ยนำ้ กรณรี ฐั บาลมกี ารผอ นปรนมาตรการควบคมุ โรค ใหส ามารถ
ใชสระวายน้ำได ควรปฏิบัติ ดงั น้ี
1) ใหม กี ารคดั กรองเบอ้ื งตน หรอื เฝาู ระวงั มใิ หผ มู อี าการเจบ็ ปวุ ย เชน ไข ไอ มนี าํ มกู เจบ็ คอ หายใจลาํ บาก เหนอ่ื ยหอบ
ไมไดก ล่ิน ไมร รู ส กอนลงสระวายนำ้ ทกุ คร้งั เพ่ือปอู งกนั การแพรเ ช้อื โรค
2) กาํ กบั ดแู ลและปฏบิ ตั ติ ามคาํ แนะนาํ ของระบบฆา เชอ้ื อยา งเครง ครดั เพอ่ื ใหร ะบบมี ประสทิ ธภิ าพในการฆา เชอ้ื ตลอดเวลา
การใหบ รกิ าร (คลอรนี อิสระคงเหลือ (Free Residual Chlorine) ใน ระดับ 1 - 3 สว น ในลานสวน (ppm))
3) ตรวจสอบคณุ ภาพนำ้ ในสระทุกวัน และดแู ลความสะอาดของสระน้ำไมใ หมขี ยะมลู ฝอย
4) กําหนดมาตรการกอนลงสระวายน้ำ เชน นักเรียนตองชําระรางกายกอนลงสระ ตองสวมหนากากผาหรือ
หนา กากอนามยั กอ นลงและขน้ึ จากสระวา ยนาํ สวมแวน ตา - หมวกวา ยนาํ ระหวา งการวา ยนำ้ หา มบว นนาํ ลาย หา มปส สาวะ
หามสั่งนํามูกลงในน้ำ หามพูดคุยกับเพื่อน ผูสอนวายนํา (โคัช) หรือผูดูแลสระน้ำ ตองสวมหนากากผา หรือหนากากอนามัย
ตลอดเวลาทีอ่ ยูบริเวณสระวายนน้ำ
5) ทาํ ความสะอาดอปุ กรณท ใ่ี ชใ นการสอน แบง รอบการสอน จาํ กดั จาํ นวนคน และใหม กี ารเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล
อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร
6) ควรเตรียมอปุ กรณข องใชส วนตัวสาํ หรบั การวายนาํ เชน แวน ตา - หมวกวา ยนำ้ ชุดวา ยน้ำ ผา เช็ดตวั เปนตน
35 คูมือการปฏิบัติสำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19
7. สนามเด็กเลน
1) ใหมีการทําความสะอาดเครื่องเลนและอุปกรณการเลนทุกวัน อยางนอยวันละ 2 ครั้ง ทําความสะอาดดวย
น้ำยาทาํ ความสะอาดตามคาํ แนะนาํ ของผลติ ภณั ฑ
2) จัดเครื่องเลน อุปกรณการเลน และนักเรียน ใหมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร และ
กํากับดแู ลใหเด็กสวมหนา กากผาหรือหนากากอนามัยตลอดเวลาการเลน
3) จาํ กดั จาํ นวนคนจาํ กดั เวลาการเลน ในสนามเดก็ เลน โดยอยใู นความควบคมุ ดแู ลของครใู นชว งเวลา พกั เทย่ี งและ
หลังเลิกเรียน
4) ใหล า งมือดวยสบูและนํา หรอื เจลแอลกอฮอลใชท ําความสะอาดมือกอ นและหลังการเลนทกุ ครั้ง
8. หอ งสว ม
1) จดั เตรยี มอปุ กรณท า ความสะอาดอยา งเพยี งพอ ไดแ ก นำ้ ยาทา ความสะอาดหรอื นา ยาฟอกขาว อปุ กรณก ารตวง
ถงุ ขยะ ถงั นา ไมถ พู น้ื คบี ดา มยาวสา หรบั เกบ็ ขยะ ผา เชด็ ทา ความสะอาด และอปุ กรณป อ งกนั อนั ตรายสว นบคุ คลทเ่ี หมาะสมกบั
การปฏบิ ัตงิ าน เชน ถุงมือ หนา กากผา เสอ้ื ผาทีจ่ ะนา มาเปลี่ยนหลังทา ความสะอาด
2) การทาความสะอาดหองนา หองสวม อยางนอยวันละ 2 ครั้ง ดวยนายาทาความสะอาดทั่วไป พื้นหองสวม
ใหฆ า เชอ้ื โดยใชผ ลติ ภณั ฑฆ า เชอ้ื ทม่ี สี ว นผสมของโซเดยี มไฮโปคลอไรท (รจู กั กนั ในชอ่ื “นำ้ ยาฟอกขาว”) โดยนา มาผสมกบั นำ้
เพื่อใหไดความเขมขน 0.1% หรือ 1000 สวนในลานสวน หรือผลิตภัณฑฆาเชื้อที่มีสวนผสมของไฮโดรเจนเปอรออกไซด
โดยน้ำมาผสมกับนา เพื่อใหไดความเขมขน 0.5% หรือ 5000 สวน ในลานสวน ราดนายาฆาเชื้อ ทิ้งไวอยางนอย 10 นาที
เนนเช็ดบริเวณที่รองนั่งโถสวม ฝาปดโถสวม ที่กดชักโครก สายชาระ ราวจับ ลูกบิดหรือกลอนประตู ที่แขวนกระดาษชาระ
อางลางมือ ขันน้ำ กอกน้ำ ที่วางสบู ผนัง ซอกประตู ดวยผาชุบน้ำยาฟอกขาว หรือใชแอลกอฮอล 70% หรือ
ไฮโดรเจนเปอรออกไซด 0.5%
3) หลงั ทา ความสะอาด ควรซักผา เช็ดทา ความสะอาดและไมถ ูพื้น ดวยนา ผสมผงซักฟอกหรือนา ยาฆา เชื้อ
แลวซักดวยนา สะอาดอีกครง้ั และนา ไปผ่งึ แดดใหแหง
9. หอ งพักครู
1) จดั โตะ เกา อ้ี หรอื ทน่ี ง่ั ใหม กี ารเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร ควรคาํ นงึ ถงึ สภาพบรบิ ทและ
ขนาดพื้นที่ อาจพิจารณาใชฉากกั้นบนโตะเรียน และจัดทําสัญลักษณแสดงจุดตําแหนงชัดเจน โดยถือปฏิบัติตามหลัก
Social distancing อยางเครง ครดั
2) ใหค รูสวมหนา กากผาหรือหนา กากอนามยั ตลอดเวลาท่ีอยูในสถานศกึ ษา
3) จัดใหมีการระบายอากาศที่ดี ใหอากาศถายเท เชน เปดประตู หนาตาง หลีกเลี่ยงการใชเครื่องปรับอากาศ
หากจาํ เปน ตอ งใชเ ครอ่ื งปรบั อากาศ กาํ หนดเวลาเปด – ปด เครอ่ื งปรบั อากาศ เปด ประตู หนา ตา ง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมง
และทําความสะอาดอยา งสมําเสมอ
4) ใหม กี ารทาํ ความสะอาดโตะ เกา อ้ี อปุ กรณ และจดุ สมั ผสั เสย่ี ง เชน ลกู บดิ ประตู อปุ กรณ คอมพวิ เตอร โทรศพั ท เปน ตน
เปนประจําทุกวนั อยางนอยวันละ 2 ครงั้
5) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอลใชทําความสะอาดมือสําหรับครูและผูมาติดตอ บริเวณทางเขาดานหนาประตู และ
ภายในหองอยา งเพียงพอและทั่วถึง
คูมอื การปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19 36
10. หองพยาบาล
1) จัดหาครหู รอื เจา หนา ท่ี เพื่อดแู ลนักเรยี น ในกรณีทม่ี นี ักเรยี นปวุ ยมานอนพกั รอผูปกครองมารบั
2) จัดใหมีพื้นที่หรือหองแยกอยางชัดเจน ระหวางนักเรียนปุวยจากอาการไขหวัดกับนักเรียนปวยจากสาเหตุอื่น ๆ
เพ่ือปูองกนั การแพรก ระจายเชือ้ โรค
3) ทาํ ความสะอาดเตียงและอปุ กรณของใชท กุ วนั
4) จดั เตรยี มเจลแอลกอฮอลใ ชท าํ ความสะอาดมอื บรเิ วณทางเขา หนา ประตแู ละภายในหอ งพยาบาลอยา งเพยี งพอ
11. โรงอาหาร
การจดั บรกิ ารภายในโรงอาหาร การนง่ั กนิ อาหารรว มกนั ของผใู ชบ รกิ าร รวมถงึ อาหาร ภาชนะ อปุ กรณ ตกู ดนำ้ ดม่ื
ระบบกรองนำ้ และผสู มั ผสั อาหาร อาจเปน แหลง แพรก ระจายเชอ้ื โรค จงึ ควรมกี ารดแู ล เพอ่ื ลดและปอู งกนั การแพรก ระจายเชอ้ื โรค
ดังนี้
1) หนวยงานท่จี ดั บรกิ ารโรงอาหาร กําหนดมาตรการการปฏิบัติใหสถานทีส่ ะอาด ถูกสขุ ลักษณะ ดงั น้ี
(1) จดั ใหม อี า งลา งมอื พรอ มสบู สาํ หรบั ใหบ รกิ ารแกผ เู ขา มาใชบ รกิ ารโรงอาหาร บรเิ วณกอ นทางเขา โรงอาหาร
(2) ทกุ คนทจ่ี ะเขามาในโรงอาหาร ตองสวมหนากากผา หรอื หนากากอนามัย
(3) จัดใหมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร ในพื้นที่ตาง ๆ เชน ที่นั่งกินอาหาร
จุดรบั อาหาร จุดซื้ออาหาร จดุ รอกดน้ำดื่ม จดุ ปฏบิ ตั งิ านรว มกนั ของผสู ัมผสั อาหาร
(4) จดั เหลอื่ มชว งเวลาซื้อและกินอาหาร เพือ่ ลดความแออัดพืน้ ทีภ่ ายในโรงอาหาร
(5) ทําความสะอาดสถานที่ปรุง ประกอบอาหาร พื้นที่ตั้งตูกดน้ำดื่ม และพื้นที่บริเวณที่นั่งกินอาหาร
ใหส ะอาด ดว ยนาํ ยาทาํ ความสะอาดหรอื ผงซกั ฟอก และจดั ใหม กี ารฆา เชอ้ื ดว ยโซเดยี มไฮโปคลอไรท
(น้ำยาฟอกขาว) ที่มีความเขมขน 1,000 สวนในลานสวน (ใชโซเดียมไฮโปคลอไรท 6% อัตราสวน
1 ชอนโตะตอนํา 1 ลติ ร)
(6) ทําความสะอาดโตะและที่นั่งใหสะอาด สําหรับนั่งกินอาหาร ดวยน้ำยาทําความ สะอาดหรือจัดให
มกี ารฆา เชอ้ื ดว ยแอลกอฮอล 70% โดยหยดแอลกอฮอลล งบนผา สะอาดพอหมาด ๆ เชด็ ไปในทศิ ทาง
เดียวกัน หลังจากผูใชบริการทกุ ครั้ง
(7) ทําความสะอาดภาชนะ อุปกรณ และเครื่องใชใหสะอาด ดวยน้ำยาลางจาน และใหมี การฆาเชื้อ
ดวยการแชในน้ำรอน 80 องศาเซลเซียส เปนเวลา 30 วินาที หรือแชดวยโซเดียมไฮโปคลอไรท
(น้ำยาฟอกขาว) ที่มีความเขมขน 100 สวนในลานสวน (ใชโซเดียมไฮโปคลอไรท 6% อัตราสวน
ครง่ึ ชอ นชาตอ นำ้ 1 ลติ ร) 1 นาที แลว ลา งนำ้ ใหส ะอาด และอบหรอื ผง่ึ ใหแ หง กอ นนาํ ไปใชใ สอ าหาร
(8) ทําความสะอาดตูกดนําดื่ม ภายในตูถังนําเย็น อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง และเช็ด ภายนอกตูและ
กอ กนำ้ ดม่ื ใหส ะอาดทกุ วนั และฆา เชอ้ื ดว ยการแชโ ซเดยี มไฮโปคลอไรท (นาํ ยาฟอกขาว) ทม่ี คี วามเขม ขน
100 สวนในลานสวน เปนเวลา 30 นาที ทุกครั้งกอนบรรจุน้ำใหม ในกรณีที่มีเครื่องกรองน้ำ
ควรทาํ ความสะอาดดว ยการลา งยอ น (Backwash) ทกุ สปั ดาห และเปลย่ี นไสก รองตามระยะเวลากาํ หนด
ของผลิตภัณฑ และตรวจเช็คความชาํ รุดเสียหายของระบบไฟฟาู ทีใ่ ช สายดนิ ตรวจเช็คไฟฟาู ร่ัว
ตามจุดตาง ๆ โดยเฉพาะบริเวณกอกนําทถ่ี ือเปน จุดเสี่ยง เพื่อปอู งกันไฟฟูาดูดขณะใชง าน
37 คมู อื การปฏิบัตสิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19
(9) จัดบริการอาหาร เนนปูองกันการปนเปอนของเชื้อโรค เชน อาหารปรุงสําเร็จสุกใหมทุกครั้ง
หลีกเลี่ยงการจําหนายอาหารเสี่ยง เชน อาหารประเภทกะทิ หรืออาหารปรุงขามวัน การปกปด
อาหารปรุงสําเร็จ การใชภาชนะที่เหมาะสมกับประเภทอาหาร และจัดใหมีภาชนะอุปกรณสําหรับ
การกินอาหารอยางเพยี งพอเปน รายบคุ คล เชน จาน ถาดหลุม ชอน สอ ม แกว น้ำ เปน ตน
(10) ประชาสมั พนั ธใ หค วามรภู ายในโรงอาหาร เชน การสวมหนา กากทถ่ี กู วธิ ี ขน้ั ตอนการลา งมอื ทถ่ี กู ตอ ง
การเวน ระยะหางระหวา งบคุ คล การเลอื กอาหารปรุงสุกใหมสะอาด เปน ตน
(11) กรณีมีการใชบริการรานอาหารจากภายนอก จัดสงอาหารใหกับสถานศึกษา ควรให ครูหรือ
ผรู บั ผดิ ชอบ ตรวจประเมนิ ระบบสขุ าภบิ าลอาหารของรา นอาหาร โดยกาํ หนดขอ ตกลงการจดั สง อาหาร
ปรุงสุกพรอมกิน ภายใน 2 ชั่วโมง หลังปรุงเสร็จ และมีการปกปดอาหาร เพื่อปูองกันการปนเปอน
สงิ่ สกปรกลง ในอาหาร
(12) พจิ ารณาทางเลอื กใหผ ปู กครองสามารถเตรยี มอาหารกลางวนั (Lunch box) ใหน กั เรยี นมารบั ประทานเอง
เพอื่ ปอู งกนั เชอื้ และลดการแพรก ระจายเช้อื
2) ผูสัมผัสอาหาร ตองดูแลสุขลักษณะสวนบุคคล มีการปูองกันตนเองและปูองกันการแพรกระจาย เชื้อโรค ดังนี้
(1) หากมอี าการปวุ ย ไข ไอ มนี าํ มกู เจบ็ คอ หายใจลาํ บาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ ดก ลน่ิ ไมร รู ส ใหห ยดุ ปฏบิ ตั งิ าน
และแนะนาํ ใหไ ปพบแพทยท ันที
(2) ดแู ลสขุ ลกั ษณะสว นบคุ คล มกี ารปอ งกนั ตนเอง แตง กายใหส ะอาด สวมใสผ า กนั เปอ นและอปุ กรณป อ งกนั
การปนเปอ นสูอาหาร ในขณะปฏิบัติงาน
(3) รกั ษาความสะอาดของมอื ดว ยการลา งมอื บอ ย ๆ ดว ยสบแู ละนำ้ กอ นปฏบิ ตั งิ าน และขณะเตรยี มอาหาร
ประกอบอาหาร และจาํ หนา ยอาหาร รวมถงึ หลงั จากการจบั เหรยี ญหรอื ธนบตั ร หรอื สมั ผสั สง่ิ สกปรก
อาจใชเจลแอลกอฮอลทําความสะอาดมือรวมดวย หลีกเลี่ยงการใชมือสัมผัสใบหนา ตา ปาก จมูก
โดยไมจ าํ เปน
(4) สวมใสห นา กากผาหรอื หนา กากอนามยั ตลอดเวลาขณะปฏบิ ตั งิ าน
(5) มพี ฤตกิ รรมขณะปฏบิ ตั งิ านปอู งกนั การปนเปอ นของเชอ้ื โรค เชน ใชอ ปุ กรณใ นการปรงุ ประกอบอาหาร
เชน เขยี ง มดี การหยบิ จับอาหาร แยกระหวางอาหารสกุ อาหารประเภทเนือ้ สัตวส ด
ผัก และ ผลไม และไมเ ตรยี ม ปรุง ประกอบอาหารบนพ้นื โดยตรง
(6) จัดเมนูอาหารที่จําหนาย โดยเนนอาหารปรุงสุกดวยความรอน โดยเฉพาะเนื้อสัตว ปรุงใหสุกดวย
ความรอ นไมน อ ยกวา 70 องศาเซลเซยี ส หลกี เลย่ี งการจาํ หนา ยอาหารบดู เสยี งา ย เชน อาหารประเภทกะทิ
และอาหารที่ไมผา นความรอ น เชน ซูชิ เปนตน
(7) อาหารปรงุ สาํ เรจ็ จดั เกบ็ ในภาชนะสะอาด มกี ารปกปด อาหารจดั เกบ็ สงู จากพน้ื ไมน อ ยกวา 60 เซนตเิ มตร
กรณีอาหารปรุงสาํ เรจ็ รอการจําหนาย ใหนํามาอุน ทกุ 2 ช่ัวโมง
(8) การใชภ าชนะบรรจอุ าหารแบบใชค รง้ั เดยี วทง้ิ ตอ งสะอาดมคี ณุ ภาพเหมาะสมกบั การบรรจอุ าหารปรงุ สาํ เรจ็
และไมควรใชโ ฟมบรรจอุ าหาร
(9) ระหวางการปฏิบตั งิ าน ใหม ีการเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร
(10) ควรพจิ ารณาใหมรี ะบบชาํ ระเงินออนไลนส าํ หรับผบู ริโภค
คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 38
3) ผทู เี่ ขา มาใชบ ริการโรงอาหาร ตองดําเนนิ การปูองกันตนเอง และปูองกันการแพรก ระจายเช้อื โรค ดงั นี้
(1) ลา งมอื บอ ย ๆ ดว ยสบแู ละนนำ้ หรอื ใชเ จลแอลกอฮอลท าํ ความสะอาดมอื ทกุ ครง้ั กอ นเขา ไปในโรงอาหาร
กอนกินอาหารภายหลังซื้ออาหารหลังจากจับเหรียญหรือธนบัตรหลังจากสัมผัสสิ่งสกปรกหรือ
หลังออกจากหองสว ม
(2) ทุกคนตองสวมหนากากผาหรือหนากากอนามัยตลอดเวลาที่อยูในโรงอาหารหรือเขาไปในสถานที่
จาํ หนา ยอาหาร
(3) เลอื กซอ้ื อาหารปรงุ สาํ เรจ็ สกุ ใหม หลกี เลย่ี งการกนิ อาหารประเภทเนอ้ื สตั ว เครอ่ื งในสตั วท ป่ี รงุ ไมส กุ
และตรวจสอบคุณภาพของอาหารทันที เชน สภาพอาหาร กลิ่น ความสะอาดและความเหมาะสม
ของภาชนะบรรจุ มีการปกปด อาหารมิดชดิ ไมเ ลอะเทอะ ไมฉีกขาด เปน ตน
(4) ใหมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร ในการซื้ออาหาร ขณะรออาหาร
น่ังกินอาหาร ขณะรอกดนำ้ ดื่ม
(5) พจิ ารณาเลอื กใชร ะบบการชาํ ระเงินแบบออนไลน
12. รถรบั - สงนักเรียน
1) ทาํ ความสะอาดรถรบั นกั เรยี นและบรเิ วณจดุ สมั ผสั เสย่ี ง เชน ราวจบั ทเ่ี ปด ประตู เบาะนง่ั ทว่ี างแขน ดว ยนำ้ ผสม
ผงซักฟอก หรือน้ำยาทําความสะอาดที่มีสวนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท (น้ำยาฟอกผา ขาว) และปฏิบัติตามคําแนะนํา
บนฉลากผลติ ภัณฑ (เชน ผสมโซเดยี มไฮโปคลอไรท ความเขมขน 6% ปริมาณ 20 มลิ ลลิ ติ ร ตอ นำ้ 1 ลติ ร)
2) นกั เรยี นทใ่ี ชบ รกิ ารรถรบั นกั เรยี น ตอ งสวมหนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั ตลอดเวลาทอ่ี ยบู นรถ ลดการพดู คยุ กนั
เลนหยอกลอกนั รวมถงึ กาํ หนดจุดรบั - สง นักเรียนสาํ หรับผปู กครอง
3) การจัดทนี่ ่ังบนรถรับนักเรียน ควรจดั ใหม ีการเวนระยะหางระหวา งบคุ คล อยางนอ ย 1 - 2 เมตร ทัง้ น้ีควรคํานึง
ถงึ ขนาดพน้ื ทข่ี องรถ จาํ นวนทน่ี ง่ั พจิ ารณาตามบรบิ ทคณุ ลกั ษณะของรถและความเหมาะสม จดั ทาํ สญั ลกั ษณแ สดงจดุ ตาํ แหนง ชดั เจน
โดยยดึ หลกั Social distancing อยางเครงครดั
4) กอ นและหลงั ใหบ รกิ ารรบั นกั เรยี นแตล ะรอบ ควรเปด หนา ตา ง ประตู ระบายอากาศ ใหอ ากาศ ถา ยเทไดส ะดวก
5) จัดใหมีเจลแอลกอฮอลสาํ หรบั ใชทาํ ความสะอาดมอื บอย ๆ บนรถรบั นักเรยี น
13. หอพักนกั เรยี น
1) มีการตรวจคัดกรองวัดอุณหภูมิรางกายของนักเรียนทุกคนกอนเขาหอพัก และสังเกตอาการเสี่ยง หากพบ
ผมู อี าการเสี่ยงตอ งรบี แจงครหู รอื ผูดแู ลหอพัก และแจง ประสานเจา หนาท่สี าธารณสขุ ดำเนนิ การตอ ไป
2) จัดใหมีที่ลางมือพรอมสบูและน้ำ หรือเจลแอลกอฮอลสาหรับทำความสะอาดมือไวบริการในบริเวณตาง ๆ
อยา งเพยี งพอ เชน บรเิ วณทางเขา ออกอาคาร หนา ลฟิ ท หองน่ังเลน สวนกลาง เปนตน
3) ใหมีการทำความสะอาดในพื้นที่ตางๆ โดยเนนจุดที่มีผูสัมผัสรวมกันเปนประจา อยางนอยวันละ 2 ครั้ง และ
อาจเพิ่มความถี่มากขึ้น หากมีผูใชงานจำนวนมาก ดวยน้ำยาทำความสะอาดและอาจฆาเชื้อดวยแอลกอฮอล 70% หรือ
โซเดียมไฮโปคลอไรท (น้ำยาฟอกขาว) 0.1% ในพน้ื ที่ ดงั น้ี
- บรเิ วณพน้ื ทส่ี ว นกลาง พน้ื ผวิ สมั ผสั อปุ กรณ เครอ่ื งใช เชน เคาวนเ ตอร ราวบนั ได ทจ่ี บั ประตู ปมุ กดลฟิ ท
จุดประชาสัมพันธ โตะ ที่นั่ง สิ่งอำนวยความสะดวกตางๆ เชน เครื่องซักผาหยอดเหรียญ ตูน้ำดื่มหยอดเหรียญ
ตูจำหนา ยสินคาอตั โนมัติ ตเู คร่อื งดื่มหยอดเหรยี ญ โดยเนนจุดท่มี ีผสู ัมผัสรว ม เชน ปมุ กดรายการ ฝาชองรบั สนิ คา
39 คมู อื การปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19
- หอ งสว มสว นกลาง เนน บรเิ วณจดุ เสย่ี ง ไดแ ก กลอนหรอื ลกู บดิ ประตู กอ กนำ้ อา งลา งมอื ทร่ี องนง่ั โถสว ม
ทกี่ ดโถสว มหรอื โถปส สาวะ สายฉดี นำ้ ชำระ และพืน้ หองสว ม
4) ควรกำหนดมาตรการเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล อยา งนอ ย 1 2 เมตร และลดความแออดั ในบรเิ วณพน้ื ทต่ี า ง ๆ
เชน การจดั ระยะหา งของเตยี งนอน ชน้ั วางของใชส ว นตวั จำกดั จำนวนคนในการใชล ฟิ ท จดั ทำสญั ลกั ษณแ สดงจดุ ตาแหนง ชดั เจน
ทม่ี กี ารรอ เปน ตน
5) จดั ใหม กี ารระบายอากาศทเ่ี หมาะสม ใหอ ากาศถา ยเท เชน เปด ประตู หนา ตา ง หลกี เลย่ี งการใชเ ครอ่ื งปรบั อากาศ
หากจำเปน ตอ งใชเ ครอ่ื งปรบั อากาศ ควรตรวจสอบประสทิ ธภิ าพของเครอ่ื งปรบั อากาศใหอ ยใู นสภาพดี กำหนดเวลาเปด -ปด
เคร่ืองปรับอากาศ และเปดประตู หนาตา งระบายอากาศ และตอ งทาความสะอาดอยางสมำ่ เสมอ
6) กำหนดแนวทางปฏบิ ัตสิ ำหรับผพู กั ในหอพัก เชน
- ใหผ ทู พ่ี กั ในหอพกั ประเมนิ ตนเองกอ น หากพบวา มไี ข ไอ จาม มนี ำ้ มกู หรอื เหนอ่ื ยหอบ หรอื มอี ณุ หภมู ริ า งกาย
เทา กบั หรอื มากกวา 37.5 องศาเซลเซยี ส ขน้ึ ไป หรอื มอี าการระบบทางเดนิ หายใจ ใหร ายงานหวั หนา เพอ่ื เขา สรู ะบบ
การดแู ลของโรงพยาบาลตอ ไป
- มกี ารดแู ลตนเอง โดยการสวมหนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั เวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล 1 - 2 เมตร
หลีกเลี่ยงการพูดคุยในระยะใกลชิด และไมใชสิ่งของเครื่องใชสวนตัวรวมกับผูอื่น (เชน ผาเช็ดตัว ชอน จาน ชาม
แกวน้ำ เปนตน) ลางมือดวยสบูและนำ้ สะอาด หรือดวยเจลแอลกอฮอลอยางสม่ำเสมอ (เชน ทุกครั้งกอนและ
หลังรับประทานอาหาร หลังการทำความสะอาดหองพัก หลังการใชสวม เปนตน) หลีกเลี่ยงการสัมผัสใบหนา ตา
ปาก จมกู โดยไมจ ำเปน ดแู ลสุขภาพใหแขง็ แรง และดแู ลรักษาสขุ อนามยั สว นบคุ คล
- ดแู ลภายในหอ งพกั ใหส ะอาด และทำความสะอาดบรเิ วณทต่ี อ งสมั ผสั บอ ย เชน ลกู บดิ หรอื กลอนประตู
โตะ เกาอี้ ควรเปดประตู หนาตางหองพัก เปนประจำทุกวัน เพื่อระบายอากาศ หากมีการใชเครื่องปรับอากาศ
ใหมีการทำความสะอาดอยางสมาเสมอ รวมทั้ง คัดแยกขยะ รวบรวมใสถุงขยะ มัดปากถุงใหแนน และนำไปทิ้ง
ตามเง่อื นไขทห่ี อพกั กาหนด กอนนำไปกำจดั อยางถกู ตอ ง
7) ภาชนะบรรจนุ ำ้ ดม่ื เชน ถงั นำ้ เหยอื กนำ้ คลู เลอร ตอ งสะอาด มฝี าปด ควรมที างเทรนิ หรอื กอ กนำ้ ไมค วรใชก าร
จว งตกั โดยตรง และตอ งลางทำความสะอาดดวยนำ้ ยาลา งภาชนะ ภายในและภายนอกทุกวัน
8) มมี าตรการกำกบั ดแู ลพนกั งานอน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ ง เชน แมบ า น พนกั งานทำความสะอาด โดยหากพบวา มไี ข ไอ มนี ำ้ มกู
เจ็บคอ เหนื่อยหอบ ใหหยุดงานและแนะนำใหพบแพทย ใหสวมหนากากผาหรือหนากากอนามัยตลอดเวลาที่อยูในอาคาร
ลา งมอื ดว ยสบูและนำ้ หรอื เจลแอลกอฮอลบอย ๆ และตองเวน ระยะหางระหวา งบคุ คลอยา งนอ ย 1 - 2 เมตร หากรบั ผดิ ชอบ
ดานการทำความสะอาด ใหสวมถุงมือ ผากันเปอน รองเทาพื้นยางหุมแขง ใชที่คีบดามยาวเก็บขยะใสถุงมัดปากถุงใหมิดชิด
นำไปรวบรวมไวที่พักขยะ เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน ใหลางมือใหสะอาด เมื่อปฏิบัติงานเสร็จในแตละวัน หากเปนไปได
ควรอาบนำ้ และเปล่ยี นเสือ้ ผา ทันที
9) หากมีบริการอื่นๆ ภายในหอพัก เชน รานอาหาร รานเครื่องดื่ม สถานที่รับประทานอาหาร รานเสริมสวย หรือ
และกจิ การอื่นๆ ใหปฏิบตั ิตามแนวทางปฏบิ ัตใิ นดานนน้ั ๆ
10) มีการสื่อสารประชาสัมพันธขาวสารความรูโรคโควิด 19 เกี่ยวกับอาการของโรค คำแนะนำการปฏิบัติตน
เพื่อลดการเสยี่ งตอ โรค เชน เสยี งตามสาย ติดปายประชาสมั พันธตามจดุ ตา ง ๆ ไลนกลมุ หอพกั
11) กำกบั ดแู ลตรวจสอบการปฏิบัตติ นใหเปนสุขนิสัยกิจวตั ร โดยจดั ใหมีจิตอาสาควบคุมดแู ลทุกวนั
คมู ือการปฏบิ ตั สิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 40
12) หากพบผูปวยยืนยันหรือมีขอมูลบงชี้วา หอพักอาจเปนจุดแพรเชื้อได ใหผูรับผิดชอบรวมมือกับเจาพนักงาน
ควบคุมโรคติดตอ ในการดาเนินการตางๆ เชน การสอบสวนโรค การทาความสะอาดพ้ืนท่ีตา ง ๆ เปนตน
13) มาตรการอื่นๆ นอกจากนี้ ใหเปนไปตามระเบียบของหอพักและใหมีลักษณะเพื่อปองกันการแพรเชื้อและ
สามารถติดตามสอบสวนโรคได เชน กิจกรรมการรวมตัวสังสรรค การกาหนดใหบุคคลภายนอกเขาพัก หรือผูมาติดตออื่น ๆ
มีการลงทะเบยี น เพือ่ การติดตาม ตรวจสอบกรณีพบผปู วยท่ีเก่ยี วขอ งกบั หอพัก
14. หองนอนเดก็ เลก็
1) ทาํ ความสะอาดเครอ่ื งนอน เปลย่ี นผา ปทู น่ี อน ปลอกหมอน และผา กนั เปอ นทกุ วนั รวมถงึ ทาํ ความสะอาดอปุ กรณ
ของใชข องเลน ตเู กบ็ ของสวนบุคคล และจดุ สัมผสั เสีย่ งรว ม เปนประจําทกุ วนั
2) จดั ใหม พี น้ื ทส่ี าํ หรบั การเรยี นรขู องเดก็ รายบคุ คล เชน เรยี นบนเสอ่ื ใชส ญั ลกั ษณแ ทนขอบเขต รวมถงึ การจดั ทน่ี อน
สาํ หรบั เด็ก ตอ งเวนระยะหางระหวางบุคคล อยา งนอย 1 - 2 เมตร
3) มแี ละใชข องใชส ว นตวั เนน ไมใชของใชร ว มกนั เชน ผา กันเปอ น ผาเชด็ หนา ผา เช็ดตัว แกว นำ้
4) จดั ใหม เี จลแอลกอฮอลใ ชท าํ ความสะอาดมอื สาํ หรบั ครแู ละนกั เรยี น บรเิ วณทางเขา และภายในหอ งอยา งเพยี งพอ
5) มีการระบายอากาศที่ดี อากาศถายเทสะดวก เชน เปดประตู หนาตาง หลีกเลี่ยงการใช เครื่องปรับอากาศ
หากจาํ เปน ตอ งใชเ ครอ่ื งปรบั อากาศ กาํ หนดเวลาเปด –ปด เครอ่ื งปรบั อากาศ และเปด ประตู หนา ตา งระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมง
และตองทําความสะอาดอยา งสม่ำเสมอ
6) จดั อุปกรณการสง เสรมิ พฒั นาการเดก็ อยา งเพียงพอ คนละ 1 ชุด
7) อัตราสวนของครูหรอื ผดู แู ลเดก็ หรือพเ่ี ลย้ี งตอเด็กเล็ก 1 : 5-8 ในการดแู ลเด็กตลอดท้งั วัน
15. การเขา แถวเคารพธงชาติ
1) การจัดพื้นที่เขาแถว ใหมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร กรณีมีพื้นที่จํากัดไมเพียงพอ
อาจพจิ ารณาสลบั ชน้ั เรยี นมาเขา แถวบรเิ วณหนา เสาธง หรอื จดั ใหม กี ารเขา แถวบรเิ วณทม่ี พี น้ื ท่ี กวา งขวาง เชน หนา หอ งเรยี น
ลานอเนกประสงค ลานสนามกฬี า โรงยิม หอประชมุ เปนตน
2) ครูและนกั เรียนทกุ คนตอ งสวมหนากากผาหรือหนา กากอนามยั ตลอดเวลาการเขา แถวเคารพธงชาติ
3) ลดระยะเวลาการจดั กจิ กรรมหนา เสาธง กรณมี กี ารสอ่ื สารประชาสมั พนั ธค วรใชช อ งทางอน่ื ๆ เชน เสยี งตามสาย
ผา นออนไลน Line Facebook E-mail แจง ในหองเรียน เปนตน
4) ทาํ ความสะอาดอปุ กรณข องใชห รอื จดุ สมั ผสั เสย่ี ง ภายหลงั การใชง านทกุ ครง้ั เชน เชอื กทเ่ี สาธง ไมโครโฟน เปน ตน
41 คูมือการปฏบิ ตั ิสำหรับสถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19
คมู อื การปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 42