The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

4.4-งานบริการและซ่อมเครื่องดูดฝุ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kantipa2617, 2021-11-25 20:17:04

4.4-งานบริการและซ่อมเครื่องดูดฝุ่น

4.4-งานบริการและซ่อมเครื่องดูดฝุ่น

4.4 งานบริการและซ่อมเคร่อื งดดู ฝ่ นุ

หวั ข้อเร่ือง (Toppics)

4.4.1 โครงสรา้ งของเครอ่ื งดดู ฝ่นุ
4.4.2 หลกั การทางานของเครอ่ื งดดู ฝ่นุ
4.4.3 การตรวจสอบหาสาเหตุขอ้ บกพรอ่ งของเครอ่ื งดดู ฝ่นุ
4.4.4 การซ่อมบารงุ รกั ษาเครอ่ื งดดู ฝ่นุ

สมรรถนะย่อย (Element of competency)

1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การงานของเครอ่ื งดดู ฝ่นุ ได้
2. ตรวจสอบและซ่อมบารงุ รกั ษาเครอ่ื งดดู ฝ่นุ ได้

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม (Behavioral Obiectives)

1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การทางานของเครอ่ื งดดู ฝ่นุ ได้
2. เลอื กใชง้ านเครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ซอ่ มเครอ่ื งดดู ฝ่นุ ได้
3. ปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การซอ่ มบารงุ รกั ษาเครอ่ื งดดู ฝ่นุ ได้
4. ตรวจสอบหาสาเหตุขอ้ บกพรอ่ งเครอ่ื งดดู ฝ่นุ ได้
5. ซอ่ มบารงุ รกั ษาเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าเครอ่ื งดดู ฝ่นุ ได้
6. มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม และกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการปฏบิ ตั งิ าน มคี วามละเอยี ดรอบคอบ
ปลอดภยั เป็นระเบยี บ ตรงตอ่ เวลา มคี วามซ่อื สตั ยแ์ ละมคี วามรบั ผดิ ชอบ ทางาน
รว่ มกบั ผอู้ ่นื ได้

เนื้อหาสาระการเรียนรู้ (Contnet)

เคร่อื งดูดฝ่ ุนในยุคแรกนัน้ ยงั ไม่มี
มอเตอร์ การจะดูดฝ่ ุนแต่ละทตี ้องใชค้ น
ช่วยถึง 2 คน คนนึงถือส่วนปลายท่อ
ดูดฝ่ นุ อกี คนนึงทาหน้าทป่ี ัม๊ ลม การดูด
อากาศเขา้ จะเกดิ ขน้ึ โดยการใชม้ อื หมุน
ขอ้ เหวย่ี งและใชเ้ ทา้ เหยยี บบนปัม๊ ลม
ประการทส่ี อง มนั ไมม่ สี ว่ นทก่ี รองอากาศ
ฝ่นุ ละอองและสง่ิ สกปรก รวมทงั้ เศษขยะ
ท่ีถูกดูดเข้าไปในกล่องไม้ เวลาคนปัม๊
ผดิ จงั หวะพวกขยะเหลา่ นนั้ กจ็ ะถกู เป่าคนื
กลบั ออกมาทาให้ ชุลมุนวุ่นวายมิใชน่ ้อย
จนกระทงั่ ในปี ค.ศ. 1901

ในปี ค.ศ.1901 นายฮิวเบิรต์ เซซิล บูธ เป็ นคนท่ีเริ่มใช้ผ้ามาทาเป็ นกรอง
อากาศใช้กบั เครื่องดูดฝ่ นุ ติดตงั้ มอเตอรเ์ พ่ือปัม้ ลมแทนแรงคน และใช้ถงุ ผ้าขนาด
ใหญ่เก็บฝ่ ุนแทนกล่องไม้ เคร่ืองดูดฝ่ ุนรุ่นนี้ใช้งานได้ดีมาก แต่ด้วยน้าหนักของ
มนั กว่า 100 กิโลกกรมั

บูทรู้ถึงข้อด้อยข้อนี้ดีจึงไม่คิดจะทาเคร่ืองดูดฝ่ นุ ขาย แต่เปิ ดบริการรบั จ้าง
ดดู ฝ่ นุ ขึ้นมาแทน เขาติดตงั้ เครื่องไว้บนรถมา้ แล้วแล่นไปตามบ้านของลูกค้า บริการ
ดูดฝ่ ุนออกจากพรมและเคร่ืองเรือนผ่านทางท่อยาวกว่า 200 เมตรที่สอดเข้าไป
ทางหน้าต่างชนั้ ล่างของตวั บ้าน และไม่นานต่อมาเคร่ืองดูดฝ่ นุ ถกู แปลงโฉมให้มี
ขนาดเลก็ และสามารถพกพาไปทีต่างๆได้ง่าย

และในปี ค.ศ. 1905 บริษทั แห่งหนึ่งในซานฟรานซิสโกผลิตเคร่ืองดูดฝ่ นุ
ที่มีล้อเลก็ ๆ ติดอยู่ มีน้าหนักประมาณ 42 กิโลกรมั

สองปี ต่อมา ภารโรงในรัฐโอไฮโอใช้ด้ามไม้กวาดและปลอกหมอน
ประดิษฐ์เคร่ืองดูดฝ่ ุนแบบตัง้ เป็ นครงั้ แรก และในปี ค.ศ. 1908 นักธุรกิจ
ชื่อฮุเวอร์ ( Hoover) เข้ามาจับธุระกิจทาเครื่องดูดฝ่ ุน และสามารถทาให้
เครอ่ื งดดู ฝ่ นุ ย่ีห้อฮเุ วอรแ์ พรห่ ลายเป็นท่ีร้จู กั ไปทวั่ โลก

ประเทศไทยนาเคร่ืองดดู ฝ่ นุ เข้ามาใช้ครงั้ แรกในในสมยั รชั กาลท่ี ๕

การสาธิตใช้เครอ่ื งดดู ฝ่ นุ ในบริเวณพระราชวงั ดสุ ิต ในสมยั รชั กาลท่ี ๕

ต่อมาเครอ่ื งดูดฝ่ นุ กม็ วี วิ ฒั นาการและพฒั นาใหม้ บี ทความสาคญั อยา่ งมากใน
ชวี ติ ประจาวนั โดยถูกพฒั นาการทางเทคโนโลยที ่ชี ่วยใหเ้ คร่อื งดูดฝ่ นุ ตอบโจทย์กบั
การใชช้ วี ติ ของเรา จนมาเป็นเคร่อื งดูดฝ่ ุนไรส้ ายท่เี ราเหน็ ในปัจจุบนั เพ่อื ทาความ
สะอาดภายในบ้านเรอื น ท่อี ยู่อาศยั อาคาร สานักงานต่างๆ ทาใหส้ ามารถกาจดั ฝ่ ุน
ละอองตามพ้ืนหรือผนังได้อย่างสะอาด เป็ นเคร่ืองใช้ไฟฟ้ าอีกประเภทหน่ึ ง
ทม่ี คี วามทนั สมยั เหมาะสาหรบั ใชง้ านภายในบ้านเรอื นหรอื งานทวั่ ไปทต่ี ้องการกาจดั
ฝ่นุ ละออง สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท

1. เครอ่ื งดดู ฝ่นุ แบบดดู ฝ่นุ โดยตรง (Upright Type)

เคร่อื งดูดฝ่ นุ แบบน้ีดูดฝ่ นุ โดยตรง เหมาะสาหรบั ดูดฝ่ ุนหรอื ทาความสะอาด
บรเิ วณพ้ืนท่ีกว้างๆ เช่น ลาดคอนกรีต พ้ืนห้องโถง พ้ืนพรม เป็นต้น บริเวณ
ดา้ นหน้าจะมแี ปรงปัดทาความสะอาดตดิ ตงั้ อยใู่ นชอ่ งดูดฝ่นุ เพอ่ื ปัดฝ่นุ ใหห้ ลุดออก
จากพน้ื ทท่ี าความสะอาด เชน่ พน้ื พรม ซ่งึ จะทาใหส้ ามารถทาความสะอาดไดห้ มด
จดมากขน้ึ

เนื้อหาสาระการเรียนรู้ (Contnet)

2. เครอ่ื งดดู ฝ่นุ แบบทรงกระบอก (Tank Type)

จะมหี วั ดูดฝ่นุ เป็นดา้ มยาวแยกออกจากตวั เครอ่ื ง
แต่ไม่มแี ปรงปัดฝ่ นุ อาศยั การทางานของลมดูด
เพยี งอย่างเดยี ว มคี วามสะดวกในการใชง้ านใน
พ้นื ทแ่ี คบหรอื พ้นื ทท่ี วั่ ไป เช่น อาคารบ้านเรอื น
สานักงาน ห้องนอน ทางเดนิ หรอื บันไดข้ึนลง
เป็นตน้ และยงั สามารถทาความสะอาดในพน้ื ทส่ี งู
เหนือพ้ืนได้ เช่น ผ้าม่าน มุ้งลวด ฝาผนั ง
เน่ื อ ง จา ก มีด้า ม จับ ย า ว แ ล ะ น้ า หนัก เ บ า ท า ใ ห้
สามารถทางานในพน้ื ทส่ี งู ไดส้ ะดวก

3. เครอ่ื งดดู ฝ่นุ แบบถงั หรอื กระป๋ อง (Canister Type)

จะมีความสะดวกในการใช้
งานภายในบ้านมีถังเก็บ
ฝ่ ุน ล ะ อ อ ง แ ล ะ ล้อ เ ล่ือ น
ใ น ก า ร เ ค ล่ื อ น ไ ห ว ไ ป ม า
ข ณ ะ ท่ีท า ค ว า ม ส ะ อ า ด
ตวั หวั ดูดฝ่ ุนจะมีลมดูดแรง
เน่ืองจากใชม้ อเตอรก์ าลงั สงู
ภ า ย ใ น มี ป ร ะ เ ก็ น กั น
การรวั่ ซมึ ของลม สามารถใช้
ง า น ไ ด้ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว แ ล ะ
สะดวก

4.1.1โครงสรา้ งและส่วนประกอบของเคร่อื งดดู ฝ่ นุ

สว่ นประกอบหลกั ของเครอ่ื งดดู ฝ่นุ กนั บา้ ง เครอ่ื งดูดฝ่นุ นนั้ ประกอบไปดว้ ยสว่ นต่าง ๆ
5 สว่ นดว้ ยกนั คอื พดั ลมดูด มอเตอรไ์ ฟฟ้าขบั เคล่อื นพดั ลม ถุงผา้ หรอื กล่องเกบ็ ฝ่นุ หวั ดูด
หลายแบบ และท่อดูดทส่ี ามารถขยายความยาวไดต้ ามประโยชน์ใชส้ อย และแผ่นกรองหรอื
ตะแกรงดกั ฝ่นุ ละอองไมใ่ หเ้ ผา่ นเขา้ ตวั เครอ่ื ง

1.พดั ลมดดู 2. มอเตอรไ์ ฟฟ้าขบั เคลอ่ื นพดั ลม

3. ถุงผา้ หรอื กลอ่ งเกบ็ ฝ่นุ 4.หวั ดดู หลายแบบ

4.1.1โครงสร้างและส่วนประกอบของเคร่อื งดดู ฝ่ นุ

ส่วนประกอบหลกั ของเคร่อื งดูดฝ่นุ กนั บา้ งค่ะ เครอ่ื งดูดฝ่ นุ นัน้ ประกอบไปดว้ ย
ส่วนต่าง ๆ 6 ส่วนด้วยกนั คอื พดั ลมดูด มอเตอร์ไฟฟ้าขบั เคล่อื นพดั ลม ถุงผา้ หรอื
กล่องเก็บฝ่ ุน หัวดูดหลายแบบ แผ่นกรองหรือตะแกรงดักฝ่ ุนละออง และท่อดู ด
ทส่ี ามารถขยายความยาวไดต้ ามประโยชน์ใชส้ อย และแผ่นกรองหรอื ตะแกรงดกั ฝ่ ุน
ละอองไมใ่ หเ้ ผา่ นเขา้ ตวั เครอ่ื ง

5. แผน่ กรองหรอื ตะแกรงดกั ฝ่นุ ละออง 6. ทอ่ ดดู ของเครอ่ื งดดู ฝ่นุ

4.4.2 หลกั การทางานของเคร่อื งดดู ฝ่ นุ

หลกั การทางานของเครอ่ื งดดู ไรฝ่นุ มี ขนั้ ตอนดงั ต่อไปน้ี
เม่อื ทาการเปิดสวิตช์ใช้งานเคร่อื งดูดฝ่ ุน มอเตอร์ไฟฟ้าชนิดยูนิเวอร์แซล

มอเตอรจ์ ะทาหน้าทเ่ี หน่ียวนาใหใ้ บพดั ลมในตวั เคร่อื งดูดฝ่นุ เป็นมอเตอรส์ ุญญากาศ
โดยทาหน้าทด่ี ดู ฝ่นุ ผงสง่ิ สกปรก และอากาศจากปลายของสายเครอ่ื งดูดฝ่ ุน เขา้ มาท่ี
ตวั ถงั ฝ่นุ ทถ่ี กู ดดู เขา้ มาพรอ้ มกบั อากาศจะผา่ นทอ่ ทเ่ี ป็นทางเดนิ ของอากาศ แลว้ ถูก
กรองทแ่ี ผน่ กรองฝ่นุ โดยฝ่นุ ทม่ี ขี นาดใหญ่กวา่ รขู องแผน่ กรองจะไมส่ ามารถผา่ นออก
จากถุงกรองไปได้ และอากาศท่ยี งั ไม่ได้ผ่านการกรองกจ็ ะถูกพดั ลมหมุนวนใหอ้ ยู่
ในบริเวณเดิม เพ่ือรอการกรองฝ่ ุนจากแผ่นกรองต่อไป อากาศท่ีถูกดูดเข้ามา
จะถูกระบายออกทางชอ่ งระบายอากาศ ทางดา้ นขา้ งหรอื ดา้ นบนของเครอ่ื งดดู ฝ่ ุน

4.4.3 การตรวจสอบหาสาเหตขุ อ้ บกพรอ่ งของเครอื่ งดดู ฝ่ นุ

1.อาการเครอื่ งดดู ฝ่ นุ ไมแ่ รง กาลงั ดดู น้อย

วิธีตรวจสอบ
1.1 ตรวจสอบกรองฝ่นุ หรอื ทอ่ ยางอุดตนั หรอื ไมใ่ หท้ าความสะอาด

เพอ่ื ไมใ่ หป้ ิดทางเดนิ ลม
1.2 ตรวจสอบรอยรวั้ หรอื รรู วั้ อากาศไหลออกทางทอ่ ยาง

อุดรอยรวั่ หรอื เปลย่ี นทอ่ ยางใหม่

2. อาการเครอ่ื งดดู ฝ่ นุ ไม่ทางาน

วิธีตรวจสอบ
2.1 ตรวจสอบสายไฟและจดุ ต่อสายเครอ่ื งดดู ฝ่นุ หากขาดหรอื

ชารดุ ใหเ้ ปลย่ี น
2.2 ตรวจสอบมอเตอรเ์ ครอ่ื งดดู ฝ่นุ หากมอเตอรไ์ หมใ้ หเ้ ปลย่ี น

มอเตอร์ หรอื พนั มอเตอรใ์ หม่

4.4.3 การตรวจสอบหาสาเหตขุ ้อบกพรอ่ งของเครอ่ื งดดู ฝ่ นุ ไฟฟ้า

3. อาการมอเตอรเ์ ครอ่ื งดดู ฝ่ นุ ไฟฟ้ามีเสียงดงั

วิธีตรวจสอบ
1.1 ตรวจสอบมอเตอรห์ ากมเี ศษวสั ดุตดิ ขดั ในตวั มอเตอรห์ รอื ไม่
1.2 ตรวจสอบใบพดั ลม บชุ รองรบั เพลา และตวั ยดึ ใบพดั ลมหลวม

หรอื ไม่ หากหลวมใหข้ นั ยดั ใบพดั ใหแ้ น่น

4. อาการเครอื่ งดดู ฝ่ นุ ทางานได้มีกลิ่นไหม้

วิธีตรวจสอบ
2.1 ตรวจสอบคอมมวิ เตเตอร์ และแปรงถ่าน หากชารดุ ใหซ้ อ่ ม

หรอื เปลย่ี น
2.2 ตรวจสอบมอเตอรเ์ ครอ่ื งดดู ฝ่นุ หากมอเตอรไ์ หมใ้ หเ้ ปลย่ี น

มอเตอร์ หรอื พนั มอเตอรใ์ หม่

4.4.4 การซ่อมบารงุ รกั ษาเครื่องดดู ฝ่ นุ

1.หมนั่ ทาความสะอาดสว่ นประกอบต่างๆ ของเครอ่ื งดูดฝ่นุ ใหส้ ะอาด อยา่ ให้
สง่ิ สกปรกเขา้ ไปอุดตนั โดยเฉพาะตวั กรองฝ่ นุ หรอื ตะแกรงกนั เศษวัสดุเขา้ สู่
ใบพดั และมอเตอรเ์ ครอ่ื งดดู ฝ่นุ
2.อย่าใชเ้ คร่อื งดูดฝ่ นุ ดูดทาความสะอาดวตั ถุขนาดใหญ่ เช่น เหรียญ กรวด
ถุงเท้าเด็ก หรอื เศษแก้วขนาดใหญ่ สง่ิ เหล่าน้ีสามารถสร้างความเสียหาย
ภายในเคร่ืองหรือก่อให้เกิดการอุดตันได้ ดังนัน้ ควรทาความสะอ าด
สง่ิ เหลา่ น้ีดว้ ยมอื ของคณุ เองหรอื กวาดดว้ ยแปรงและตกั ไปทง้ิ
3.อยา่ ใชเ้ ครอ่ื งดดู ฝ่นุ ทาความสะอาดของเหลวทห่ี กบนพน้ื เช่น อาหาร เพราะ
ของเหลวและความเปียกจะทาให้เคร่อื งดูดฝ่ ุนเกดิ การอุดตนั ควรทาความ
สะอาดโดยการใชผ้ า้ สะอาดเชด็ ทาความสะอาดสงิ่ สกปรก
4.ระมดั ระวงั บรเิ วณทเ่ี ปียก เพราะความช้นื สามารถทาใหเ้ ชอ้ื ราเจริญเตบิ โต
ในเคร่อื งดูดฝ่ นุ ควรเชด็ บรเิ วณนนั้ ใหแ้ หง้ สนิทก่อนดว้ ยผา้ หรือฟองน้าก่อนท่ี
จะทาการดดู ฝ่นุ


Click to View FlipBook Version