The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือเทคนิคการเชียนเพื่อสื่อความ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wannayacha0, 2021-07-16 01:19:21

การจัดการความรู้การผลิตบัณฑิต

คู่มือเทคนิคการเชียนเพื่อสื่อความ

Keywords: KM,การสอน

การจัดการความรู้การผลิตบณั ฑติ

คมู่ อื เทคนคิ การสง่ เสริมทกั ษะ
การเขียนเพ่ือการอธิบายความ

คูม่ ือเทคนคิ การสง่ เสริมทักษะการเขียนเพ่ือการอธบิ ายความ ก

คำนำ

ในยคุ ปัจจุบันทีผ่ ู้คนใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นส่วนหนงึ่ ในการดำรงชีวิตเพ่ือการทำงาน การ
เรียน และความบนั เทิง การสือ่ สารในชั้นเรียนเปลี่ยนรปู แบบจากการพบหน้ากันแบบตัวต่อตัวเป็นการ
เชื่อมต่อทางออนไลน์โดยการพูดคุยที่ใช้เสียงสนทนาโต้ตอบและการเขียนด้วยการพิมพ์เพื่อส่ือ
ความหมายระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร ผู้รับสารที่เป็นภาษาเขียนต้องใชเ้ วลาในการคิดและตีความ
ภาษาเขยี นก่อนเข้าใจความหมายที่ผู้เขยี นต้องการสื่อสารใหผ้ ู้อ่านรับรู้ และสามารถโต้ตอบและปฏิบัติ
ตามจดุ ม่งุ หมายของผูเ้ ขียนได้

ในคู่มือนี้มีเนื้อหาที่รวบรวมมาจากการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ของคณะผู้จัดทำและแหล่งความรู้
สาธารณะในด้านประเภทของการเขียน ระดับของทักษะการเขียน ปัญหาที่พบในงานเขียนเพื่อการ
อธิบายความ สาเหตุของปัญหาที่พบในงานเขียนเพือ่ การอธิบายความ แนวทางในการส่งเสริมทกั ษะ
การเขยี นเพอ่ื การอธบิ ายความ และ ขอ้ ควรพิจารณาในการใช้เทคนคิ การส่งเสริมทักษะการเขียนเพ่ือ
การอธบิ ายความ เน่อื งจากทกั ษะการเขียนเพ่ือการอธบิ ายความเป็นหน่งึ ในทักษะการเขียนที่สำคัญ ซ่ึง
ช่วยสร้างความเข้าใจระหว่างผู้สอนและผู้เรียน และใช้ในการสื่อสารเพื่อตอบคำถามและเขีย นงานท่ี
ได้รับมอบหมายในรายวิชาหมวดพืน้ ฐาน และหมวดสาขาวชิ าชีพได้อีกด้วย นอกจากน้ีการเขียนเพ่ือการ
อธบิ ายความสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั กับบุคคลแวดล้อม เชน่ ครอบครวั ครูอาจารย์ ผใู้ หบ้ รกิ าร
และผ้รู ่วมงาน เป็นต้น

คณะผจู้ ัดทำหวังว่าคูม่ ือน้ีจะมีส่วนช่วยให้ผู้อ่านในฐานะผู้สอนและผู้เรียนเห็นแนวทางในการ
นำเทคนิค การส่งเสริมทักษะการเขียนเพื่อการอธิบายความไปใช้ในรายวิชาท่ีมุ่งเน้นทักษะการเขียน
เพอ่ื การอธบิ ายความและรายวชิ าอื่นท่เี ก่ียวข้องกบั การส่ือสารและนำเสนอความคดิ เห็นได้ ตลอดจนใช้
พฒั นาทกั ษะการเขยี นดว้ ยตนเองในฐานะผู้เรยี นรู้ตลอดชีวติ ต่อไป

คณะกรรมการการจดั การความรดู้ า้ นการผลติ บัณฑติ
ประจำปีการศึกษา 2563
พฤษภาคม 2564

คู่มือเทคนคิ การสง่ เสรมิ ทักษะการเขยี นเพื่อการอธิบายความ ข

สารบัญ หน้า
1
บทนำ 4
ปัญหาทีพ่ บในงานเขียนเพอ่ื การอธิบายความ 8
สาเหตุของปญั หาที่พบในงานเขยี นเพือ่ การอธิบายความ 11
ความสำคัญของทักษะการเขยี นเพอื่ การอธบิ ายความ 13
แนวทางในการส่งเสริมทกั ษะการเขียนเพ่ือการอธิบายความ 21
ข้อควรพิจารณาในการใชเ้ ทคนคิ ในการพฒั นาทักษะการเขยี น 25
บรรณานุกรม 27
รายชือ่ ผู้แลกเปลี่ยนเรียนร้กู ารจัดการความร้ดู า้ นการผลิตบัณฑิต

คู่มอื เทคนคิ การสง่ เสริมทักษะการเขียนเพ่ือการอธบิ ายความ 1

บทนำ

ทักษะการเขียนเป็นหนึ่งในทักษะในการสื่อสารเพื่อการทำงานในแวดวงโฆษณา การ
สื่อสารทางธุรกิจผ่านเรื่องเล่า การจัดการและกลยุทธ์คอนเทนต์ การโต้ตอบทางธุรกิจ การแก้ไขงาน
เขยี น การเขียนอีเมล์ การเขียนสนุ ทรพจน์ การเขียนงานเทคนิค (Doyce, 2019) กระทรวงวัฒนธรรม
(2559) ได้สรปุ ความสำคัญของทกั ษะ การเขียนซง่ึ เป็นการส่อื สารความคิด ขอ้ มลู อารมณแ์ ละความรู้สึก
ของผู้เขียนที่ต้องอาศยั หลักการ ทฤษฎี ความสามารถและการฝึกเขียนเพ่ือช่วยสร้างความเข้าใจ สร้าง
อาชีพ บอกถึงความตอ้ งการสว่ นบคุ คลและส่วนรวม สร้างกจิ กรรมเพ่ือการผ่อนคลาย สง่ เสรมิ ความสงบ
สุข และสะทอ้ นภมู ิปัญญาของมนุษย์ นอกจากน้ี Olson (2020) อธบิ ายวา่ การเขียนเป็นหลักการท่ีเป็น
ภาพสะทอ้ นภาษาพูดทีท่ ำหน้าทก่ี ำหนดโครงสร้างเป็นระดับ ต้งั แต่ หนว่ ยคำ พยางค์ คำ และประโยคที่
มีคุณค่าทางสังคม ซึ่งเชื่อมโยงกับการอ่านออกเขียนได้ที่เป็นสมรรถนะในระบบการเขียนเพื่อ
วตั ถุประสงคใ์ นสงั คม การเขยี นเปน็ ระบบการใหค้ วามหมายของสัญลักษณท์ ค่ี งอยู่อยา่ งชดั เจนกว่าภาษา
พดู ท่ีขน้ึ อยกู่ ับโครงสร้างของภาษาดว้ ย นอกจากนย้ี ังมีความเกี่ยวข้องกบั รูปแบบภาษาเฉพาะแวดวง เช่น
วรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ซงึ่ ไม่มกี ารใชใ้ นภาษาพูด

การเขียนอาจแบ่งได้ 7 ประเภท ได้แก่ การเขียนเพื่ออธิบายหรือให้ความรู้ การเขียน
เพอื่ แสดงความคิดเห็น การเขยี นเพือ่ เล่าเรื่อง การเขยี นเพ่อื กิจธุระ การเขียนเพ่ือสร้างจินตนาการ การ
เขยี นเพ่อื โนม้ น้าวใจ และการเขียนเพ่อื ลอ้ เลียนเสียดสี (นพวรรณ งามรงุ่ โรจน,์ 2562) ในชีวติ ประจำวัน
ของผูเ้ รียนใชท้ กั ษะการเขยี นเรื่องราวที่ให้ข้อมูล สะท้อนทัศนะที่มีตอ่ ส่ิงที่กำหนดให้ หรือหัวข้อเก่ียวกับ
บุคคล สถานที่ สถานการณ์เฉพาะ และอื่น ๆ รวมทั้งบอกเล่าประสบการณ์ที่พบในหน้าที่งานและ
กิจกรรมในแต่ละอาชีพมีความจำเป็นต้องใช้ การเขียนในรูปแบบเฉพาะ เช่น แบบฟอร์ม บันทึก
รายงานการประชุม โครงงาน เป็นต้น รวมท้งั การเขยี นในสื่อประชาสมั พันธป์ ระเภทต่าง ๆ เพอื่ โน้มน้าว
ใจผู้รับสาร นอกจากนี้ การเขยี นยงั ใช้ในการสร้างความบันเทิงแก่ผูร้ ับสารและกระตุ้นให้ทั้งผู้เขียนและ
ผู้อ่านเกิดความคิดสร้างสรรค์ อย่างไรก็ตามการเขียนถูกนำมาแสดงมุมมองที่ไม่พอใจและใช้ภาษา
โวหารในการเปรยี บเทียบ โตแ้ ย้ง วิจารณ์ โดยใชค้ วามหมายนยั แฝงมาประกอบการอธิบาย

คู่มือเทคนิคการส่งเสริมทักษะการเขียนเพ่ือการอธิบายความ 2

นพวรรณ งามรุ่งโรจน์ (2562) ได้แบง่ ระดับทักษะการเขยี นออกเป็น 5 ระดับ ไดแ้ ก่
ระดับ 1 การเขยี นใหผ้ ู้อ่านเข้าใจข้อความได้ เชน่ การเขียนคำสัง่ ประกาศ คำแนะนำ
ตา่ ง ๆ
ระดบั 2 การเขียนใหผ้ ู้อ่านเข้าใจเร่อื งราวได้ เช่น การเขียนประวตั ิความเป็นมา
ระดับ 3 การเขยี นบรรยายเรื่องราวและความคดิ เหน็ เชน่ การเขยี นสารคดีชีวประวัติ
การเขียนคำกล่าวสดุดี การเขยี นคำไว้อาลัย
ระดับ 4 การเขยี นอธิบายความเป็นบทความ เช่น การเขียน บทความวิชาการ การเขยี น
ตำรา
ระดับ 5 การเขยี นงานศลิ ปะบนั เทิง เช่น การเขียนเรื่องส้ัน การเขียนนวนยิ าย การเขยี น
บทละคร
ขั้นตอนในการพัฒนาทักษะการเขียน เริ่มต้นจากการเลือกหัวข้อเรื่องที่ต้องการเขียน
แล้วรวบรวมข้อมูลที่เกีย่ วข้องพร้อมกับการบันทึกย่อขอ้ มูล ความคิดเห็นและแนวคิดก่อนจะตัดสนิ ใจ
เลือกประเด็นหลักของงานเขียน หลังจากนั้นจึงเรียบเรียงลำดับของเนื้อหาโดยการใช้การวางโครงรา่ ง
เพื่อระบุลำดบั และช่วยแบ่งย่อหนา้ ให้ส่ือความหมายไดด้ ีข้ึน การใช้หัวข้อยอ่ ยและแผนภาพ รวมทั้งใช้
ตวั เชือ่ มแสดงเหตแุ ละผล และเปรียบเทยี บ ความเหมือนหรือแตกต่าง เม่ือพฒั นางานเขยี นโดยการ
เพิ่มหรือลดเนื้อหาหรือปรับเปลี่ยน การแก้ปัญหาโดย การแก้ไขภาษาด้านคำศัพทท์ ี่ใช้สับสน การ
สะกดคำ ไวยากรณ์ รูปประโยค เครื่องหมายวรรคตอน การจัดรูปแบบ การตรวจพิสูจน์อักษร และ
ขอ้ ผดิ พลาดอ่ืน ๆ จนกระทั่งงานเขยี นเรยี บรอ้ ยพร้อมกับการตพี ิมพเ์ ผยแพร่เป็นสื่อส่ิงพิมพเ์ อกสารหรือ
สือ่ ออนไลน์
ทั้งนี้ Toppr (2021) ได้ระบุว่า ทักษะการเขียนและรูปแบบงานเขียนมีหลากหลายท่ี
ผเู้ ขียนจำเป็นต้องฝึกฝน การเขียนงานเชิงเนอื้ หาเนน้ ไวยากรณ์ คำศัพท์ โครงสรา้ งประโยค และเทคนิค
การเขยี นอื่น ๆ โดยพัฒนาทกั ษะการเขยี นได้โดยเร่ิมจากการเขยี นประโยค การเพิม่ คำที่ชว่ ยในการสร้าง
ความเชื่อมโยงกับผู้อ่าน การใช้สำนวนที่เป็นการพูดคุยกับผูอ้ ่านให้รูส้ ึกเป็นหนึ่งเดียวกับผู้อ่าน การใช้
รปู แบบของย่อหน้าเพื่อไม่ใหเ้ นอ้ื หาท่ถี า่ ยทอดยาวเกินไป การใช้ตวั เชอื่ มระหวา่ งบรรทัดและยอ่ หน้าช่วย
ให้เกดิ สมั พันธภาพของบท การใช้นำ้ เสยี ง การใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอน การสะกดคำ การเลอื กใช้คำ

ค่มู ือเทคนิคการส่งเสริมทักษะการเขยี นเพ่ือการอธิบายความ 3

ท่เี ข้าใจง่าย ชัดเจน กนิ ใจ การเลอื กใช้ซอฟตแ์ วร์และแพลทฟอร์มทเี่ หมาะสมและตรงกับวัตถุประสงค์
ของงานเขยี นทง้ั สว่ นตวั และทางการทช่ี ่วยใหง้ านเขยี นมคี วามชดั เจนและความสรา้ งสรรค์

คู่มอื เทคนิคการสง่ เสริมทักษะการเขยี นเพ่ือการอธบิ ายความ 4

ปญั หาท่พี บในงานเขียนเพื่อการอธบิ ายความ

คมู่ ือเทคนิคการสง่ เสริมทักษะการเขยี นเพื่อการอธบิ ายความ 5

ปัญหาหรือข้อบกพร่องในงานเขียนสามารถแบ่งได้เป็นระดับคำ ข้อความหรือประโยค ซึ่ง
นพวรรณ งามรุ่งโรจน์ (2562) กล่าวว่าปัญหาในงานเขียนแบ่งได้เป็นในระดับคำ และระดับประโยค
ปัญหาระดับคำ ไดแ้ ก่ การสะกดคำผิด (ใส่พยญั ชนะ วรรณยุกต์และตัวการันต์ไม่ถูกต้อง) การใช้คำไม่
เป็นทางการที่เป็นภาษาพดู การใช้ศัพท์สแลง การใช้ภาษาข่าวหนังสือพิมพ์ การใช้คำฟุ่มเฟือย การใช้
ศพั ทต์ า่ งประเทศ การใชค้ ำลักษณะนามไมถ่ ูกต้อง การใชค้ ำท่ีมีความหมายนัยแฝง การใช้คำไม่ตรงกับ
ระดับคำศัพท์ในแวดวงเฉพาะทางศาสนาวัฒนธรรม การใช้สำนวนภาษาไม่ตรงสถานการณ์ การใช้คำ
สรรพนามไม่สม่ำเสมอ การใช้คำที่มีเสียงคล้ายคลงึ กัน แต่ผิดความหมาย การใช้คำต่างระดับ (ไม่เป็น
ทางการหรือภาษาพูด กึ่งทางการหรือก่ึงแบบแผน และทางการหรือแบบแผน) ในประโยคเดยี วกนั การ
ใช้คำตรงข้ามไม่ถูกต้อง การใช้คำท่ีมีความหมายกำกวมหรือตีความได้หลายความหมาย การใช้คำท่มี ี
ทัศนคติเชิงลบแฝงอยู่ ส่วนปัญหาระดับประโยค ได้แก่ การเขียนประโยควกวน การเขียนประโยคที่มี
ข้อความขัดแย้ง การเขียนประโยคยาวเกินไป การเขียนประโยคห้วนโดยไม่มีคำขยาย คำบุพบทและ
คำสันธานเป็นตัวเชื่อม การวางส่วนขยายคำไม่ถูกตำแหน่ง การวางโครงสร้างประโยคแบบ
ภาษาต่างประเทศ (เชน่ ภาษาอังกฤษ) การเว้นวรรคไม่ถกู ตอ้ ง

ผ้เู ขียนมปี ญั หาในงานเขยี นระดบั ย่อหน้า ไดแ้ ก่ การเขียนรปู แบบย่อหน้าไม่ถูกต้อง การเขียน
ไม่ตรงประเดน็ ที่กำหนดไว้ การเขยี นใจความท่ีวกวน ปญั หาระดบั ความเรียง ได้แก่ การแบ่งย่อหน้าไม่
ถกู ต้อง การเรียงลำดบั ของย่อหน้าไม่ถกู ต้อง การเขยี นใจความรวมท่ีวกวน ในงานเขยี นทางวชิ าการของ
นกั ศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา ยกุ ติ มุกดาวิจติ ร (2558) พบว่านักศกึ ษามีปญั หาในการเขียนหลายประการ
ได้แก่ การใช้คำผิดหน้าที่ เช่น “โดย” “ซึ่ง”เป็นส่วนขยายกริยา แต่นำไปเชื่อมประโยคหรือขึ้นต้น
ประโยคใหม่ การเขยี นประโยคโดยใช้คำเช่อื ม “แต่” “และ” เกนิ ความจำเป็นทำให้ประโยคยาวเกินไป
การไมแ่ บ่งเนื้อหาเป็นประเด็นระดับย่อหน้า การไม่เขยี นข้อสนับสนุนแต่ละประเด็นความคิด การเขียน
อนปุ ระโยคแต่ไม่มีประโยคใจความหลัก การใชเ้ ครือ่ งหมายวรรคตอนผดิ เชน่ การเวน้ วรรคถี่เกินไปใน
ประโยค การไมเ่ วน้ วรรคเมอ่ื มตี วั อักษรติดกับตัวเลข การใชเ้ ว้นวรรคแทนการใส่เครอื่ งหมายอญั ประกาศ
เพื่อเน้นคำหรือช่ือบคุ คล การใช้เครื่องหมายจุลภาคแทนการเว้นวรรค การใช้เครื่องหมายยัติภังค์เพ่อื
ขยายความหรือสร้างคำประสมใหม่ การใช้รูปแบบการเขียนในแต่ละบทของส่วนประกอบงานวิจัยไม่
ถกู ตอ้ ง รวมทงั้ การใช้รปู แบบการอา้ งองิ ผลงานของผู้อ่นื ในงานเขยี นตนเองไม่ถูกต้อง นอกจากนี้ สมุ ัธยา
กิจงาม (2564) ได้พบปัญหาของการเขียนโครงการที่ไมช่ ัดเจน และไม่สอดคล้องกับยทุ ธศาสตรร์ ะดบั

คูม่ อื เทคนคิ การส่งเสรมิ ทักษะการเขยี นเพื่อการอธิบายความ 6

สถาบันและนโยบายของรฐั มขี อ้ มลู สนบั สนุนน้อย ใชข้ ้อมลู เดิมของโครงการทผ่ี ่านการอนุมตั ิในปีที่ผ่าน
มา รวมทั้งขาดความเปน็ ไปได้ในการดำเนินงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ได้จริง

งานวิจยั ของธนู ทดแทนคณุ และปวณี า จนั ทรส์ ุวรรณ (2559) ศกึ ษางานเขียนภาษาไทย
ของนกั ศกึ ษาและพบปัญหาในการใชพ้ ยัญชนะ สระและวรรณยกุ ต์ในการสะกดคำผดิ การสะกดโดยละ
ตัวพยัญชนะตามการกรอ่ นเสียง การใส่วรรณยุกต์และตัวการันต์ผิดตำแหน่ง การการใช้ภาษาพูดแทน
ภาษาเขียน การใช้ภาษาต่างระดับ การใช้สำนวนไม่ถูกต้อง การใช้คำฟุ่มเฟือย การใช้อักษรย่อ คำย่อ
การใช้คำทีม่ ีความหมายกำกวม การใช้คำไม่ถูกตามความหมาย การใช้คำลกั ษณนามผิด การยืมคำจาก
ภาษาต่างประเทศ การเขียนตกหรือละคำ และการเขียนฉีกคำหรือแยกคำระหว่างบรรทัดโดยไม่ใส่
เครื่องหมายยัติภังค์ ส่วนงานวิจัยของจุฬารัตน์ แสงอรุณ, นภาทรัพย์ เลิศปรีดากร และวรวุฒิ ตัถย์
วิสุทธิ์ (2560) พบว่านักเรียนระดับมัธยมมีปัญหาในการเขียนภาษาอังกฤษด้านความถูกต้องของ
โครงสร้างประโยค ความรู้เรอื่ งคำศัพท์ การเรียบเรยี งถอ้ ยคำ และมีที่จะนำไปเขียนน้อยมาก ไม่สามารถ
เขียนสอ่ื ความได้อยา่ งถกู ตอ้ ง

จากการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ผู้สอนนักศึกษาที่มีประสบการณ์การตรวจแบบฝึกหัด งานท่ี
มอบหมาย และข้อสอบ รวมทั้งรายงานของรายวิชาภาษาไทยเพือ่ การนำเสนอพบว่า นักศึกษายังขาด
ทกั ษะการเขียนในเชิงวิชาการ ซง่ึ ใช้ภาษาระดับทางการหรอื แบบแผน แต่มีการใชภ้ าษาพดู และการใช้คำ
ที่สะกดผิดท่ี นอกจากนี้เมื่อต้องเขียนถึงผู้สอน ผู้เรียนใช้ตัวคำลงท้ายในการเขียนสื่อสารกับผู้สอนไม่
ถูกต้อง นพวรรณ งามรุ่งโรจน์ (2562) กล่าวว่าภาษาพูดมักถูกใช้ในการเขียนข้อความสั้นทางช่องทาง
ออนไลน์ การเขียนจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ สโ์ ตต้ อบกบั เพ่ือน หรือการเขยี นสงั่ อาหาร

ผู้เรียนสว่ นมากในรายวิชาของกลุ่มวชิ าภาษาต่างประเทศ ได้แก่ รายวิชาภาษาจีน และ
ภาษาอังกฤษไม่สามารถสือ่ สารผ่านการเขียนเป็นประโยคภาษาจีนได้อยา่ งถกู ตอ้ งและมีประสิทธิภาพ
ทำให้ผ้รู บั สารไม่เขา้ ใจสารตามที่ผสู้ ง่ สารต้องการ รวมท้งั ไมส่ ามารถแปลภาษาไทยเปน็ ภาษาจีนโดยผ่าน
การเขียนเปน็ รูปประโยค ได้อย่างถูกต้องและมีประสทิ ธิภาพ ทำให้ขาดความน่าสนใจในเนื้อหาที่แปล
ในขณะเดียวกันผู้เรยี นชาวไทยในรายวิชาภาษาอังกฤษ มักจะใช้คำที่แสดงกาลประกอบคำนามที่เป็น
เอกพจน์ พหูพจน์ และความเปน็ เจ้าของ คำกรยิ าที่มรี ปู พหพู จน์ และเอกพจน์ รวมทง้ั กาลอดีต ปัจจุบัน
และสมบรู ณ์ การเปรียบเทียบคำคณุ ศัพท์ข้ันกว่าและขั้นสดุ ไมถ่ ูกต้อง ซ่งึ รวมท้งั ความสอดคล้องระหว่าง
ประธานและกรยิ าในระดับโครงสรา้ งประโยค (Yordchim & Gibbs, 2014)

คู่มือเทคนิคการสง่ เสริมทักษะการเขียนเพ่ือการอธบิ ายความ 7

กลา่ วโดยสรุป ปัญหาในงานเขียนมหี ลายระดบั ซ่งึ สามารถแบง่ ได้ตามตารางตอ่ ไปน้ี

ตารางแสดงปัญหาทพี่ บในงานเขยี นเพ่ือการอธิบายความ

ปัญหา ระดบั คำ ระดบั ประโยค ระดบั ยอ่ หนา้ ระดบั ความเรียง

คำศพั ท์ - สะกดผิด - ใชต้ ัวเช่อื มผิด - ใช้คำศพั ท์ไม่ - ใชค้ ำสรรพนามไม่

- ใสว่ รรณยุกตผ์ ิดท่ี - แปลไม่ตรงความหมาย สมำ่ เสมอในแตล่ ะ สม่ำเสมอ

- ใสต่ วั การันต์ผิดที่ - ใชค้ ำกรยิ าผดิ บรบิ ท ยอ่ หนา้ - ใชค้ ำไม่เป็นทางการ

- เขียนตวั อักษรผดิ - ใช้คำลักษณนามไมถ่ ูกตอ้ ง - ไม่มคี ำบ่งบอก - ใช้คำฟุม่ เฟอื ย

- ใชค้ ำผิดความหมาย - ใชศ้ ัพท์สแลง หน้าทห่ี รอื ลำดับ - ใช้คำตา่ งระดับ

- ใช้คำท่มี คี วามหมายกำกวม ของยอ่ หนา้

ไวยากรณ์ - ใช้คำขยายกรยิ าและคำ - ใชโ้ ครงสร้างผดิ - ใชค้ ำเชื่อมไม่ ไมแ่ บ่งองค์ประกอบใน

ขยายนามผดิ หน้าที่ - ใชค้ ำกริยาไมส่ อดคล้อง เหมาะสมกบั ความเรยี งไมส่ อดคลอ้ ง

- ใชร้ ปู คำนามไม่ถูกตอ้ ง กับประธาน ประโยคก่อนหน้า กับ เนื้อหาแตล่ ะสว่ น

ตามหนา้ ที่ - ใชก้ รยิ าไม่สอดคล้องกับ - ไมม่ ีใจความหลัก

กาล (อดีต ปจั จบุ ัน ของยอ่ หนา้

อนาคต สมบรู ณ์) - ไมม่ ีสว่ นสนบั สนุน

- ใชค้ ำขยายกริยาซ้อนกนั ประโยคใจความ

หลายคำ ทำให้ประโยค หลกั

ยาวและเขา้ ใจยาก - ใสเ่ ครอื่ งหมาย

วรรคตอนไม่

ถกู ต้อง

สำนวน - ใชค้ ำศพั ท์จาก - ไมม่ ีคำขยายประธานหรือ - ใช้ตัวเช่อื มไม่ ใชร้ ูปแบบสำนวนไม่

ภาษา ภาษาต่างประเทศใน กริยา สอดคล้องกบั เหมาะสมกบั รปู แบบ

ภาษาไทย - ไม่สามารถแปลภาษาไทย ประโยคกอ่ นหนา้ เฉพาะของงานเขยี น

- ใชศ้ ัพทท์ ี่แปลตรงตัวจาก เปน็ ภาษาจีนโดยผา่ นการ หรอื ตามหลัง

ภาษาไทยแต่ผดิ เขียนเปน็ รูปประโยค ได้ - ใช้สำนวนภาษา

ความหมายใน อย่างถูกตอ้ งและมี แบบภาษาแม่ใน

ภาษาอังกฤษ ประสิทธิภาพ การเขยี น

ภาษาเป้าหมาย

ค่มู อื เทคนิคการส่งเสรมิ ทักษะการเขยี นเพ่ือการอธบิ ายความ 8

สาเหตขุ องปญั หาที่พบในงานเขยี นเพอ่ื การอธบิ ายความ

คู่มือเทคนิคการส่งเสรมิ ทักษะการเขียนเพื่อการอธิบายความ 9

จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สาเหตุของปัญหาทักษะการเขียน แบ่งเป็นด้านผู้เรียนและ
ผ้สู อน โดยผู้เรยี นมพี ื้นฐานความรู้เดมิ ในการตอบคำถามแบบปรนัย ใช้เวลาส่วนใหญ่กับสื่อออนไลน์ ทำ
ให้ไมร่ ะมัดระวงั การใช้ภาษาท่ีเป็นทางการ ไมต่ ระหนกั การใช้ภาษาวิชาการ และมวี งศ์คำศพั ท์น้อย จึง
ไม่คุ้นเคยกับการเขียนบรรยาย และไม่สามารถดัดแปลงตัวอย่างการเขียนที่มีในงานตนเองได้ แต่ใช้
วิธีการคัดลอกจากแหล่งข้อมูลออนไลน์ ในด้านผู้สอน จำนวนนักศึกษาต่อกลุ่มมาก ทำให้มีเวลาตรวจ
งานของนักศึกษาไม่เพียงพอ และไม่มีเทคนคิ การเขยี นเพื่ออธบิ ายความ คา่ นยิ ม และความเปล่ียนแปลง
ทางสังคมในการใช้ภาษาเขียน นอกจากน้ีระบบการรบั นักศึกษาเข้า ขอ้ สอบรบั เขา้ เปน็ แบบปรนัย และ
ไม่เนน้ การเขยี นความเรียง

ยุกติ มุกดาวิจิตร (2558) เห็นว่าปญั หาในงานเขยี นของนักศึกษาเกดิ จากการไม่ได้รับการ
ฝกึ ฝนใหอ้ า่ นงานเขียนเชิงวิชาการทัง้ บทความวิจัย บทความวชิ าการหรือบทความทบทวนความรู้ จึงไม่
รู้จักรูปแบบและความแตกต่างของงานเขียนแต่ละแบบ เช่น บทคัดย่อ บทสรุปผล บททบทวน
วรรณกรรม ท่มี ีการใช้ภาษาและวตั ถุประสงค์เฉพาะในการส่ือสารกับผู้อา่ น นอกจากนี้ ยังมีประเภทการ
เขียนบทความวิชาการทางวทิ ยาศาสตร์ และสังคมและมนษุ ยศาสตร์ท่ีมีกระบวนการวจิ ัยและนำเสนอท่ี
แตกตา่ งกนั ดว้ ย นอกจากนี้ การละเลยข้นั ตอนตรวจทานงานเขียนของตนเอง ทำให้มีขอ้ ผดิ พลาดในการ
พมิ พ์ตกหล่นและสะกดคำไมถ่ กู ต้องด้วย

จากการวิจัยปัญหาในการเขียนภาษาไทยของธนู ทดแทนคุณ และปวีณา จันทร์สุวรรณ
(2559) พบวา่ ความผิดพลาดของการสะกดคำเกดิ จากการใชพ้ ยัญชนะใกล้เคยี งในภาษาพูดมาใช้ในการ
เขยี น เช่น ใช้ “ล” แทน “ร” การเลียนเสยี งภาษาพูดนำมาสะกดคำ เช่น ใช้ “ห” สะกดคำรว่ มตามการ
ออกเสียงควบ (หน) เปน็ ต้น

นอกจากนี้ ผู้เรยี นขาดความรู้พื้นฐานท่ีมาจากการอ่านไม่ออก จำความหมายไม่ได้ พ่ึงพา
เทคโนโลยใี น การหาความหมาย ไม่สามารถแปลได้ ไม่ชอบค้นคว้า ไมม่ ีทกั ษะในการคิดเชิงวิเคราะห์
และเชอ่ื มโยง ไมใ่ หค้ วามร่วมมือในการสื่อสารทัง้ การพูดและการเขยี น มีความร้สู ึกวา่ การเรียนเป็นเร่ือง
ยาก กลัวความผิดพลาดและถูกตำหนิ (ฤทธิไกร ไชยงาม, กนั ยารตั น์ ไวคำ และ หทยั ไชยงาม, 2561)

กล่าวโดยสรุป ปัจจัยด้านทัศนคติ ความสนใจ ความตระหนักและระมัดระวัง รวมทั้ง
ความรู้ในการใช้ภาษาเขียนเพื่อการอธิบายความของผู้เรียน ด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมี
ความรู้ ความเข้าใจและฝกึ ฝนของผู้สอนในรายวชิ าต่างๆ และด้านสภาพแวดล้อมของในสังคมทั้งท่ีเป็น

คมู่ อื เทคนคิ การสง่ เสริมทักษะการเขยี นเพ่ือการอธิบายความ 10

สื่อบุคคลอ้างอิงและสื่อสังคมออนไลน์ที่อยู่รอบตัวของผู้เรียนในบริบทของการเรียนและการใช้ชีวิต
ส่วนตัว

คมู่ ือเทคนิคการสง่ เสริมทักษะการเขยี นเพ่ือการอธบิ ายความ 11

ความสำคัญของทกั ษะการเขียนเพ่อื การอธบิ ายความ

คมู่ อื เทคนคิ การสง่ เสริมทักษะการเขียนเพื่อการอธบิ ายความ 12

ความสำคัญของการเขียนมีหลายประการ ได้แก่ การเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร
การแสดงออกถึงความคิด บุคลิกภาพ ด้านความรู้และความคิด การสื่ออารมณ์ความรู้สึก การบันทึก
หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์และวฒั นธรรม การพัฒนาตนเองของผู้เขียนทเี่ รยี นรู้แหลง่ ขอ้ มูลต่างๆ เพื่อใช้
ในการเขยี น และการประกอบอาชีพนกั เขียน (นพวรรณ งามรุง่ โรจน์, 2562) รวมทัง้ การรายงานวิชาการ
และงานวิจัยในสาขาวชิ าของตนเอง

จากการแลกเปล่ียนเรียนรทู้ ักษะการเขียนมีประโยชนต์ ่อรายวิชาที่กำลังสอนอยู่เป็นอย่าง
ยิ่งในรายวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร การอ่านและการเขียนเชิงสร้างสรรค์และวรรณคดีไทยและ
วรรณกรรมท้องถิ่น เพราะทั้งสองวิชานั้น นักศึกษาจะต้องเขียนงานตามที่ได้รับมอบหมายสง่ อาจารย์
ผู้สอน เพ่ือฝกึ ทักษะในการถ่ายทอดสารเป็นทักษะที่ตอ้ งใช้ในการเรียนรายวชิ าการจดั ธรุ กิจการประชุม
ท่นี กั ศกึ ษาตอ้ งรว่ มกนั คดิ วางแผนร่วมกันในการดำเนนิ งานในหวั ข้อที่กำหนด

ความสำคัญในด้านการพัฒนาวิธีการสอน การสร้างสื่อการสอน และกำหนดแนวทางฝึก
ปฏิบัติการเขยี นใหแ้ กผ่ เู้ รียน ช่วยให้สามารถวางแผนงาน วางโครงเรือ่ ง และเขยี นงานไดห้ ลายประเภท
ช่วยให้อาจารยไ์ ด้แนวทางการเรียนการสอน การพัฒนาและตัวอย่างของทักษะการเขียนของนกั ศกึ ษา
และนักศึกษาได้พัฒนาทักษะ การเขียนของตนเอง ช่วยให้อาจารย์ได้แนวทางการเรียนการสอน
การพัฒนาและตัวอย่างของทักษะแปลผ่านการเขียนของนักศึกษา และนักศึกษาได้พัฒนาทักษะแปล
และการการเขียนของตนเอง ต้องเขียนแสดงความคิดเห็นในเชิงวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ เนื้อหา
วรรณคดีทค่ี วรเน้นมากกวา่ การตอบแบบปรนัย

นอกจากน้ี ผู้ปฏิบัติงานในแวดวงวิชาชีพ เช่น งานบริการพนักงานต้อนรับของธุรกิจ
Hostel บนถนนข้าวสารและเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร แสดงความคิดเห็นว่า ปัญหาในการใช้
ภาษาอังกฤษมากที่สุด คือ ทักษะการเขียน ในขณะท่ีผู้ใช้งานภาษาอังกฤษตอ้ งการพฒั นาความรู้ด้าน
ไวยากรณ์เพื่อปรับปรุงทักษะการเขียนเพื่อสื่อสารกับลูกค้า (กฤษฎา ปากดี, รัตนาภรณ์ นาป้อม,
วรัญญา ประประโคน และสวุ ัลยา โคตรชมภู, 2561)

คูม่ ือเทคนิคการสง่ เสรมิ ทักษะการเขยี นเพ่ือการอธบิ ายความ 13

แนวทางในการสง่ เสรมิ ทกั ษะการเขียนเพ่อื การอธบิ ายความ

คู่มือเทคนิคการส่งเสรมิ ทักษะการเขยี นเพื่อการอธิบายความ 14

นพวรรณ งามรุ่งโรจน์ (2562) ได้เสนอแนวทางพัฒนาทักษะการเขียนของตนเองให้มี
ประสิทธิภาพ ได้แก่ การเพิ่มทักษะการอ่านงานเขียนของผู้อื่น เพื่อเรียนรู้การใช้คำ การใช้ประโยค
การสะกดคำยาก รูปแบบ การเขียน การย่อความ การจับประเด็นและการประเมินงานที่อ่าน
การสงั เกตจดจำจากการอ่านงานเขยี นของผู้อ่ืน การสะสมคำท่ีสามารถนำไปใชใ้ นงานเขยี นของตนเอง
ได้ การตรวจสอบความถกู ต้องในการเลือกใช้คำจากผู้เช่ียวชาญและพจนานุกรม การเปิดมุมมอง
ให้กว้างในการอ่านงานเขียนที่หลากหลาย การหัดสำรวจและปรับปรุงข้อผิดพลาดในงานเขียนของ
ตนเอง การศกึ ษาข้อกำหนดและแนวทางในการเขียนงานแต่ละประเภท การสรา้ งแรงบันดาลใจในการ
เขียน การวางโครงเรื่องเป็นแนวทางในการเขยี น การลงมอื เขยี น ตลอดจนการนำข้อมูลท่ีได้จากการฟัง
บทสัมภาษณ์ การเข้าร่วมสมั มนา และแหล่งความรู้อื่นมาชว่ ยสนับสนนุ งานเขยี นของตนเอง

นอกจากการทำให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญและมีทัศนคติที่ดีต่อภาษาอังกฤษ
สิ่งสำคัญอีกประการหนึง่ ของแนวทางในการพัฒนาการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษ คือ การฝึกใช้คำศัพท์ผา่ น
กิจกรรม การออกเสียงและแตง่ ประโยค โดยใชแ้ ผนผังมโนทัศน์และการสะท้อนความคิดสิ่งท่ีได้เรียนรู้
และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (ฤทธิไกร ไชยงาม และคณะ, 2561) ผ้เู ขยี นทดี่ คี วรมีความสามารถใน
การใช้ภาษา มีกลวิธีและความสามารถในการเขียนให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย สะกดคำถูกต้อง และใช้ภาษา
เขียนที่สุภาพ มีความเพียรในการฝึกเขียนเป็นนักอ่านและสั่งสมประสบการณ์หลายด้าน รวมทั้งมี
ความคิดสร้างสรรค์และรักษาความยุติธรรม และมีความรบั ผิดชอบในงานเขียนของตนเอง (บัวลักษณ์
เพชรงาม, 2563) สว่ นธนู ทดแทนคณุ และ ปวีณา จันทร์สวุ รรณ (2559) ไดเ้ สนอแนะใหน้ ำแบบฝึกหัด
ท่ชี ว่ ยใหน้ กั ศกึ ษาฝกึ ฝนการสะกดคำโดยใชพ้ ยญั ชนะ สระและรูปวรรณยุกต์ให้ถูกต้อง

จากผลการวิจัยของ จุฬารัตน์ แสงอรุณ นภาทรัพย์ เลิศปรีดากร และวรวุฒิ ตัถย์วิสุทธ์ิ
(2560) พบว่าการใช้วิธีการสอนเขียนภาษาอังกฤษแบบอรรถฐานช่วยให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจการใช้
ภาษาตามหน้าท่เี พอ่ื การสอ่ื ความหมายได้ โดยเรยี นรู้คำศพั ท์ โครงสร้างภาษา และการเรยี บเรยี งจากบท
อ่านหลายรูปแบบในบริบทการใช้ภาษาที่นำความรู้พื้นฐานมาผนวกกับความรู้เดมิ จากการเรยี นร้ใู หม่
ซ่ึงสง่ เสริมให้ผู้เรียนตระหนักถึงประโยชนข์ องการจดั ระบบเร่ืองราวหรือส่งิ ต่างๆ และการคิดอย่างมีเหตุ
มผี ล โดยทำกจิ กรรมกลมุ่ ร่วมกับเพื่อนที่มคี วามสามารถแตกตา่ งกัน จดบันทกึ ตามรูปแบบที่จะฝึกเขียน
ฝึกเขียนเป็นกลุ่ม และนำเสนองานเขียนเป็นกลุ่ม ทำให้ผู้เรียนในกลุ่มสามารถช่วยเหลือกัน มีโอกาส

คมู่ อื เทคนิคการส่งเสรมิ ทักษะการเขยี นเพ่ือการอธบิ ายความ 15

แสดงความคดิ เห็นและแลกเปลย่ี นความรู้ ซึ่งชว่ ยพฒั นาทกั ษะการทำงานเป็นทมี และลดความกังวลของ
ผู้เรียน ก่อนผสู้ อนจะมอบหมายงานเป็นรายบคุ คล

จากการแลกเปลย่ี นเรียนรูร้ ะหว่างผู้สอนในประเด็นแนวทางในการพัฒนาทกั ษะการเขียน
ได้แก่ ฝึกเขียนและเผยแพรใ่ นสื่อออนไลน์ การดูตวั อยา่ งงานเขียนของเพื่อนรว่ มช้ันแลว้ ให้แสดงความ
คิดเห็น การแลกเปล่ยี นเรียนรู้เล่าสู่กันฟัง การเรียบเรียงความคิดผ่านคำพูดไปสู่การเขยี น การเปลี่ยน
คำในประโยคภาษาเพื่อฝึกสร้างประโยคใหม่ การเรียนรู้วัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเป้าหมาย
ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนพฒั นาทักษะการเขยี นไดด้ ขี นึ้ กว่าเดมิ โดยสรปุ ตามกลุ่มรายวชิ าต่างๆ ดังตอ่ ไปน้ี

• กลมุ่ รายวิชาภาษาไทย

เทคนคิ การส่งเสริมทักษะการเขียนเพ่ือการอธิบายความ คอื การโอนถ่ายข้ามทักษะจาก
การอ่านไปสู่การพูดและการเขียน โดยใช้สื่อบทความ วรรณกรรมและเรื่องสั้นเป็นสิ่งที่จุดประกาย
ความคิดให้ผู้เรียนสะทอ้ นความคดิ เหน็ ที่มีต่อสิ่งที่อ่านหรือฟัง และสื่อสารด้วยการพดู แสดงความรู้สึก
ความคิดเห็นหรือตอบคำถามที่กำหนดให้ เพื่อเรียบเรียงความคิด หลังจากนั้นนำสิ่งที่พูดไปเรียบเรียง
เปน็ งานเขยี นทีใ่ ช้ภาษาทางการมากขึ้น

การสง่ เสรมิ ทกั ษะการเขียนในรายวิชาท่ีเกี่ยวข้องกับพ้นื ฐานวรรณคดีไทยและวรรณกรรม
ท้องถิน่ ด้านความหมาย ประวตั ิ บ่อเกดิ คณุ ค่าทางศิลปะ และคุณค่าดา้ นอิทธิพลที่มีต่อศิลปวัฒนธรรม
ไทยและวถิ ีไทย ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนอ่านและประเมินค่าวรรณกรรมไทยและวรรณกรรมท้องถ่ิน
และดตู วั อย่างแนวการเขียน เชน่ การวจิ ารณ์ตัวละครในนางวรรณคดี โดยเทียบเคยี งกบั การต์ ูนโดเรมอน
ให้ฝึกเขยี น แลว้ โอนทักษะท่ฝี กึ วิจารณ์ไปใช้ในการวจิ ารณ์วรรณกรรม รวมทั้งการมอบหมายงานโดยเน้น
ในเรือ่ งของวิเคราะหเ์ รื่องราววรรณคดี ช่วยทำใหน้ กั ศึกษาไดร้ ู้จักการเรียบเรยี งการวเิ คราะห์เป็นคำพูด
และแสดงความคิดเห็นออกมาเปน็ ภาษาเขียนด้วยการมอบหมายงานเขยี นหลายช้ิน จึงจำเปน็ ต้องใช้การ
ฝึกทักษะบ่อยๆ ซึ่งต้องผ่านความเข้าใจเนื้อหานั้นก่อน ทำให้ผู้เรียนได้ทบทวนเนื้อหาที่อ่านไปก่อนที่
ผู้เรยี นวเิ คราะหส์ ง่ิ ทอี่ า่ นได้จงึ ทำให้ผูฝ้ ึกเขียนมพี ัฒนาการท่ีดีขนึ้

ในรายวชิ าเขียนทใี่ ห้ผ้เู ขยี นอธิบายมุมมองของความงามในภาษาไทย โลกทัศน์ และภาพ
สังคมที่สอดแทรกและส่ือสารผ่านบทเพลงไทย ผู้เรียนเขียนสั้นเกินกว่าจะเข้าใจได้ถึงความคิดเห็นที่
แทจ้ รงิ ดังน้ัน จึงใช้การอ่านผลงานคำตอบสัน้ ๆ ของบางคน โดยไม่ระบุชื่อให้ผเู้ รียนทุกคนฟัง และช้แี จง

คูม่ ือเทคนคิ การส่งเสริมทักษะการเขยี นเพื่อการอธิบายความ 16

เหตผุ ลท่เี ป็นตัวอย่างช้ินงานทีด่ หี รือไมด่ ี ใหน้ กั ศึกษาฟงั และอา่ นสารประเภทต่างๆ สม่ำเสมอเพื่อศึกษา
ลักษณะการใช้ภาษา สำนวน เทคนิคการพูดการเขียน ฯลฯ จากการมอบหมายงานให้นักศึกษาผ่าน
โปรแกรม Microsoft Teams ซึ่งเป็นแบบฝึกหัด การทดสอบย่อย และการสอบประจำภาค โดยมี
ลักษณะเป็นอัตนัยทั้งหมด ทำให้ได้รับความรู้ในเรื่องรูปแบบการเรียนการสอนมากขึ้น จากนั้นจึงให้
ฝกึ ฝนทกั ษะการพดู และการเขียนโดยอาศัยเทคนิคที่ไดจ้ ากการเรยี นรผู้ ่านการฟังการอ่าน การบรรยาย
บทบาทสมมุติ และการอภิปรายกล่มุ

หลังการส่งเสริมเทคนิคการเขียนอธิบายความ นักศึกษาได้อ่าน สังเกต ศึกษางานเขียน
ประเภทตา่ งๆเพื่อเป็นแนวทางในการเขียนต่อไป ทำให้ตระหนักถึงความสำคญั ของการเขียนตอบท้ังการ
แสดงความคิดเห็น การรายงานผลการศึกษาค้นคว้า การเขียนตอบอตั นัย มีทัศนคตทิ ดี่ ตี ่อการเขียน มี
ความกล้าและสนใจงานเขียนมากขึ้น ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการตระหนักถึงความสำคัญของทักษะการ
เขียนในช่วงการศึกษาเล่าเรียนปัจจุบัน จึงได้คะแนนน้อย รวมทั้งแนะนำวิธีการเขียนตอบที่ถูกต้อง
เหมาะสม นักศกึ ษาเขยี นอธบิ ายขอ้ สอบอตั นัยได้ดขี นึ้ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในการเรยี นรายวิชา
อน่ื ต่อไปได้

ผู้สอนสามารถสอนได้สอดคล้องและครอบคลมุ วัตถุประสงค์ เพราะมีการกำหนดหวั ขอ้
การเรียนล่วงหน้า นัดหมายการทำกิจกรรมต่างๆ โดยผ่านการวางแผนงานร่วมกัน และสื่อสารกันผา่ น
Facebook ของ กลุ่มเรยี น การรายงานผลการศกึ ษาค้นคว้า การเขียนตอบอัตนยั ซ่งึ สะท้อนให้เห็นถึง
การตระหนกั ถงึ ความสำคัญของทักษะการเขยี นในช่วงการเรียนในปัจจุบัน

ผู้สอนมีแนวทางในการโดยประเมินงานเขียนตามระดับ 4 ระดับ ได้แก่ 1) ระดับคำ คือ
การสะกดคำไดถ้ ูกต้อง การลงรูปวรรณยุกต์ การสะกดการันต์ การทบั ศพั ทภ์ าษาต่างประเทศ 2) ระดับ
ประโยค คือ การสร้างประโยคได้ตามโครงสร้างของภาษาไทย 3) ระดับย่อหน้า คือ การเขียนลำดับ
ความในยอ่ หน้าได้อย่างสอดคล้องกันไม่หลงประเด็น ไมว่ กวน และ 4) ระดับความเรียง คอื การลำดับ
ความคิดได้เป็นลำดับตลอดทั้งเรื่อง ผ่านการคิดกลั่นกรองเนื้อหา การใช้ภาษา และการใช้โวหารการ
เขยี นอย่างเป็นระบบ และไดใ้ ห้ผลสะทอ้ นกลับแกน่ กั ศึกษา เช่น เขยี นตอบส้ันเกนิ ไป และใชภ้ าษาพูดใน
การเขียนตอบเชิงวิชาการ การสะกดคำให้ถูกต้อง การเลือกใช้คำที่เหมาะสมในการเขียนเชิงวิชาการ
การแบ่งย่อหน้าและมีความคิดสร้างสรรค์ในการเขียนมากขึ้น การแสดงตัวอย่างงานที่ดีในกลุ่มเพื่อน

คู่มือเทคนคิ การสง่ เสรมิ ทักษะการเขียนเพ่ือการอธบิ ายความ 17

เพื่อเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของชิ้นงานตนเองกับผลงานการเขียนตอบของเพื่อนในชั้นเรียนที่ได้รับ
คะแนนสูงๆ ทำให้ไดเ้ รียนรู้แนวทางการเขียนวจิ ารณ์วรรณกรรม

หลังการส่งเสริมทักษะการเขียนเพื่อการอธิบายความ ผู้เรียนเขียนงานตามที่ได้รับ
มอบหมาย โดยมี วธิ คี ดิ อยา่ งเป็นระบบ วางแผนการเขยี นและการทำงานเพอื่ เขยี นเน้ือหาไดค้ รอบคลุม
ตามแผนท่ีกำหนดไว้ รวมทง้ั ได้อ่าน ทำกิจกรรมกลุ่มงานเขียนใหช้ ่วยกันทบทวนงานเขยี น และการต้ัง
หวั ขอ้ ทีจ่ ะอภิปรายกลมุ่ ผเู้ รยี นมคี วาม สนใจเนือ้ หา พัฒนาทกั ษะการเขยี น เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ฝึกปฏิบัติ และนำเสนอผลงานได้ตามวัตถุประสงค์ มีการสะกดคำ การใช้คำ ประโยคได้ถูกต้องตาม
จดุ ประสงค์ ตามข้อกำหนดไดด้ ีขึ้น มีความสนใจมากขึ้น เนื่องจากมรี ูปแบบและกิจกรรมท่ีหลากหลาย
มากขึ้น ผู้เรียนส่วนใหญ่มีความสนใจในการเรียนดี ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมที่มอบหมาย แต่มี
บางส่วนที่ไมค่ ่อยสนใจ และผู้สอนตอ้ งคอยกระตุน้ เปน็ รายบคุ คล เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนได้มสี ่วนรว่ มใน
การพัฒนาทกั ษะการเขียนทม่ี าจากการตระหนักถงึ ความสำคญั ของการเขียนในการเรยี นและการส่ือสาร
ในชวี ิตประจำวนั

• กลุ่มรายวิชาภาษาตา่ งประเทศ

การสง่ เสริมทกั ษะการเขยี นในรายวิชาภาษาจีนที่ผ้เู รียนมคี วามรู้พื้นฐานในการใชส้ ทั อักษร
โรมนั กำกับเสียง การเขยี นตัวอักษรจีนโดยใช้มาตรฐานเดยี วกบั สาธารณรัฐประชาชนจีน รวมทั้งเขียน
คำศัพทแ์ ละประโยคท่ีใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน ผ้สู อนเน้นย้ำใหเ้ ห็นตัวอย่างหลักไวยากรณ์ การใช้การ
แบง่ นกั ศกึ ษาเป็นกลุ่มยอ่ ยร่วมกันและอภิปรายกลุ่มให้มปี ฏิสัมพันธก์ ารฝึกเขยี นจากการพูดและสนทนา
การฝึกฟังเพื่อเขียนบันทึกย่อจากการประชุม และการบันทึกตัวอักษรจากการฟังทางโทรศัพท์
การอธิบายงานท่มี อบหมายว่าเช่ือมโยงกับบทเรยี นอย่างไรและใสต่ ัวอย่างประโยคในสไลด์ประกอบการ
สอนเพื่อเปน็ แนวทางในการเขยี น เพอ่ื ให้เห็นถงึ ความร้สู ึกของนักศึกษาทแี่ ตกต่าง ๆ กนั เพื่อนำไปปรับ
กิจกรรมและมอบหมายหวั ขอ้ งานเขียนทส่ี ามารถเช่ือมโยงบทเรียนกบั เรือ่ งส่ิงแวดล้อมรอบตัวได้

หลังจากการนำเทคนิคการส่งเสริมการเขียนเพื่อการอธิบายความไปใช้ ผู้เรียนให้ความ
ร่วมมือใน การเรียน ทำกิจกรรมประกอบการเรียนดี ตอบแบบฝึกหัดได้ดีขึ้น และมีผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น
อกี ทั้งทำให้ผ้เู รยี นมี ความตระหนกั ในเรื่องวฒั นธรรมทางภาษามากขึน้ จงึ เลือกใชภ้ าษาได้ถูกต้องและ
เหมาะสมมากขึ้น รวมทัง้ พฤติกรรมของนักศึกษาเปลย่ี นไปในทางที่ดี คอื ใหค้ วามร่วมมือในการปฏิบัติ
กจิ กรรมดขี ึ้น และจัดสรรเวลาดขี นึ้ โดยใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์มากข้นึ มคี วามกระตือรือร้นมากขึ้น

คมู่ อื เทคนิคการสง่ เสรมิ ทักษะการเขียนเพื่อการอธิบายความ 18

ไปศึกษางานแปลทางสื่ออืน่ ๆ และเขียนงานได้ถูกตอ้ งและเหมาะสมมากขึ้น ซึ่งแสดงถึงความสนใจใน
การเรียนภาษาจีนที่มากขึ้น นำสิ่งที่สงสัยเกี่ยวกับการแปลความรู้ทั่วไปของประเทศจีนมาสอบถาม
ผูส้ อนมากขึ้น และตระหนกั ถึงความสำคัญของการเขยี นตอบ รวมท้ังการแสดงความคิดเหน็

นอกจากนี้ ผ้เู รยี นยังเพิ่มความระมดั ระวงั ในการเขยี นประโยคเพ่ืออธบิ ายเหตุการณ์ท่ีเป็น
กจิ วตั รและกิจกรรมท่ีสนใจทำในวันหยุดพักผ่อน ซ่งึ เปน็ แนวทางในการฝึกเขยี นท่ีทำให้นักศึกษาสนใจ
เรียน จากการตรวจงานเขียนของผู้เรียนมีความถูกต้องมากขึ้นตามโครงสร้างและประเด็นที่ได้รับ
มอบหมาย เนื่องจากผู้เรียนเริ่มสังเกตข้อผิดพลาดของผู้เรียนได้รวดเร็วขึ้น เขียนประโยคได้ตรงตาม
โครงสรา้ งและประเดน็ ท่ผี ูส้ อนกำหนดให้ไดถ้ ูกต้อง และมคี วามคิดสร้างสรรค์มากขึ้น และได้ผลดี การ
มอบหมายงานมากข้ึน โดยใหผ้ ้เู รยี นแตง่ ประโยคได้ตามสถานการณ์รอบตัวและใชโ้ ครงสร้างไดถ้ กู ตอ้ ง

• กลมุ่ รายวชิ ามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ความสำคัญของทักษะทางสังคม การพัฒนาสุขภาพจิตและการปรับตัว การพัฒนา
บุคลกิ ภาพ การเสริมสร้างมนษุ ยสัมพนั ธ์ การเปน็ ผนู้ ำและผตู้ ามท่ดี ี มารยาททางสงั คม องคก์ รและการ
ทำงานเป็นทีม การคดิ และการแก้ปัญหา ความรับผิดชอบตอ่ ตนเองและการมีจิตสาธารณะ ตลอดจนการ
สร้างนิสัยในสถานประกอบการ ทำให้ผู้เรียนมีแรงผลักดันในการเรียนรู้และพัฒนาทักษะการเขียน
เพื่อนำไปใช้ในการเรียน และการทำงานมากยิ่งขึ้นผู้เรียนที่ไม่ได้ระมัดระวังในการส่งงานเขียน อาจมี
ความผดิ พลาดอย่หู รอื ประเด็นที่เขยี นยังไม่สอดคลอ้ งหรือครบถ้วนกบั สงิ่ ที่มอบหมายให้ นกั ศึกษาเข้าใจ
ถึงการถ่ายทอดส่ิงทดี่ ีและความจรงิ ให้นกั ศึกษาเกดิ ความเข้าใจ

นักศกึ ษาไดอ้ ่าน สังเกต ศึกษางานเขียนประเภทต่าง ๆ เพือ่ เป็นแนวทางในการเขยี นต่อไป
และนักศึกษามีทศั นคตทิ ี่ดตี ่อการเขยี น มคี วามกล้าและสนใจงานเขียนมากขึน้ นกั ศกึ ษาได้อ่าน สังเกต
ศกึ ษางานเขียนประเภทต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนตอ่ ไป สามารถเขยี นประโยคได้ถูกต้องและ
ตรงกับส่งิ ทผ่ี สู้ อนมอบหมายให้ไดด้ ีข้นึ และเร่มิ มีทัศนคติทด่ี ีตอ่ การเขียน มคี วามกล้าและสนใจงานเขียน
มากขึ้น นักศึกษามีการพัฒนาการเขียนและการพูดตามความรู้สึกของตนเองได้ และการเป็นผู้มี
เปา้ หมายในการดำเนินชวี ติ ผู้เรยี นมีพฒั นาการ เขียนสอื่ สาร และเขียนผลงานไดด้ ีข้ึน

หลังผู้สอนเริ่มกำหนดขอบเขตงานท่ีมอบหมายให้เขียน เช่น การระบุ 1, 2, 3 หัวข้อ
อะไรบ้าง การตั้งคำถามในข้อสอบ การเปิดกว้างให้นักศึกษาเลือกงานที่เขียนและแสดงความคิดเห็น
การมเี หตุผลสนบั สนุน การดตู ัวอย่างจากงานเขียน และเรียนรวู้ งศพั ท์เพิ่มเตมิ นกั ศึกษาเริ่มตระหนักถึง

คูม่ ือเทคนคิ การส่งเสริมทักษะการเขียนเพื่อการอธิบายความ 19

การเขยี นตอบอธบิ ายและมีพัฒนาการรวมทง้ั คะแนนท่สี ูงข้ึน มีผลงานการศึกษาค้นคว้าท่ีสามารถนำไป
เขียนงานเพ่ือนำเสนอผล การเรยี นร้ไู ด้ มกี ารพัฒนาผลงานการศึกษาค้นควา้ และสามารถเขียนงานเพื่อ
นำเสนอผลการเรยี นรไู้ ด้

• กลุ่มรายวิชาดา้ นพลศึกษาและนันทนาการ

การสง่ เสริมทักษะการเขียนเพ่ือส่ือความในรายวิชานันทนาการ เนือ่ งจากในยคุ ปัจจุบันคน
ส่วนใหญ่ใช้ชีวิตประจำวันผ่านสื่อออนไลน์ และการชมคลิปทาง YouTube หรือ tiktok เพื่อความ
บนั เทิง ผ้สู อนคดั เลือกละคร ภาพยนต์ และหนังสน้ั มาให้นักศึกษาดู จำนวน 9 เรอ่ื ง ซึ่งเป็นการกระตุ้น
ถงึ ความรู้สกึ อารมณ์ ความคดิ แลว้ ใหน้ กั ศึกษาทเ่ี ขียนแสดงความรสู้ ึก ความคดิ จากการดแู ล้วได้ข้อคิด
อะไร คดิ ว่านำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไรบา้ ง แล้วนำเนื้อเร่ืองมาสรปุ ความเห็นคิดว่าการดูหนัง
ดังกล่าวมีผลต่อการเปลย่ี นแปลงความคิด และพฤติกรรมต่อตัวนักศึกษาอย่างไร นอกจากนี้ กิจกรรม
นนั ทนาการประเภทละครและภาพยนตร์ จะเปน็ กจิ กรรมท่ีส่งเสริมความรู้และประสบการณ์อย่างหน่ึง
การใช้วดิ ีโอในรูปแบบการกระต้นุ แรงบันดาลใจทีเ่ ป็นเรื่องราวของผ้ปู ระสบความสำเร็จช่วยให้นักศึกษา
มีเป้าหมายชีวติ แล้ววิธีการสร้างเป้าหมายให้เป็นจริง การเขียนเพื่อการอธิบายความจากความรู้สึกจะ
ชว่ ยใหน้ กั ศึกษาพัฒนาได้ดี เพราะการทเ่ี ราเขยี นเรอ่ื งของตวั เองและความร้สู กึ เกย่ี วกับตวั เองจะทำไดด้ ี

สื่อเหล่าน้ีบางส่วนมีเนื้อหาที่สามารถช่วยให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้และพัฒนาความ
เขา้ ใจและทกั ษะ ซง่ึ ผู้สอนสามารถให้นักศึกษานำส่ิงที่ดูจากส่ือท่ีผ่านการคดั เลือกมาแล้วไปเขียน แสดง
ความคิดเหน็ ในด้านประโยชน์ ทงั้ น้ผี สู้ อนอาจสร้างกิจกรรมใหม่เก่ียวกับตนเอง เช่น การเขียนประวัติ
การเขียนเปา้ หมายในชีวติ 40 ขอ้ การเขียน Mind Mapping ของนักศึกษาที่จะถ่ายทอดจากความรู้สึก
การเรียนรูจ้ ากดูละครและภาพยนตร์ท่ีเปน็ แรงบันดาลใจของตนเอง เมือ่ นกั ศึกษาไดเ้ ขยี นเป้าหมายชีวิต
ของตนเอง แล้วค่อยพัฒนาและทำเป้าหมายในชวี ิตให้สำเร็จทีละข้อ จึงเกิดผลที่เป็นรูปธรรมจากการ
ตัง้ เปา้ หมายรายบคุ คลไปสกู่ ารพัฒนาตนเองด้านพฤติกรรม การปฏิสัมพันธก์ ับครอบครวั เพ่ือน อาจารย์
และคนรอบตัว

ค่มู ือเทคนคิ การสง่ เสริมทักษะการเขยี นเพื่อการอธิบายความ 20

• กล่มุ รายวิชาทอ่ งเที่ยวและจดั การโรงแรม

ในรายวิชาที่มีอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ผู้เรียนต้องได้รับการฝึกเขียนนโยบายการ
ท่องเทีย่ ว และผลกระทบของสถานการณ์ต่าง ๆทีเ่ กิดขึน้ กับการท่องเท่ียว ผเู้ รียนสามารถวิเคราะห์งาน
วางแผนงาน และลงมอื เขียนงานได้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ ชีแ้ จง อธบิ ายถงึ ความสำคญั ของการเขียน
ใหอ้ า่ นงานเขียนรูปแบบต่าง ๆ ฝกึ ฝน ตรวจสอบ ใหก้ ำลังใจผูเ้ รียนในการที่จะพฒั นาฝึกฝนตนเองไปสู่
ความสำเร็จ นักศึกษาส่วนใหญ่มีพัฒนาการที่ดีในการเขียนตอบ (สังเกตได้จากการเขียนตอบข้อสอบ
อตั นยั ) ได้ผลดี นักศกึ ษาสนใจเรียน กระตือรอื รน้ มากขึ้น

ผู้สอนมีแนวทางในการเลือกกิจกรรมมากขึ้น โดยจากการตรวจงานผ่านระบบออนไลน์
ทำให้มีทักษะการอ่านและให้คำแนะนำแก่นักศึกษาได้ดีขึ้น ผู้สอนสามารถใช้เทคนิคการสอนแบบ
สมั มนาและการฝึกอบรมไปใชใ้ นการพัฒนาผู้เรียนในรายวิชาทเ่ี น้นการปฏบิ ตั ิ และนำเสนอผลงานอย่าง
มอื อาชีพ ในขณะที่นักศึกษาใชข้ ้อมลู จากการเขยี นรายงานทางวิชาการมาต่อยอดเป็นบทความวิชาการ
ศพั ท์ สำนวน และโครงสร้างภาษาทใี่ ชส้ ือ่ สารใน การปฏิบตั ิงานโรงแรม

หลังการนำเทคนิคการส่งเสริมทักษะการเขียนไปใช้พบว่า ผู้เรียนมีผลการเรียนอยู่ใน
เกณฑ์ดี โดยประเมินจากงานที่มอบหมายเป็นรายบุคคลและรายกลุม่ รวมทั้งการประเมินผลจากการ
สอบกลางภาคและปลายภาค ผู้เรียนเขา้ ใจหลักการเขยี น สามารถวางแผนการเขยี น และนำเสนอผลงาน
ได้ ผู้เรียนมีความสนใจมากขึ้น มีการติดตามงานของตนเอง เช่น หากผู้สอนมีการเก็บคะแนน
กจิ กรรมยอ่ ยในคาบเรียน ผ้เู รยี นรายใดไมม่ ีคะแนน ก็จะคอยทวงถามผสู้ อน เป็นต้น

คมู่ อื เทคนคิ การส่งเสริมทักษะการเขียนเพ่ือการอธิบายความ 21

ขอ้ ควรพจิ ารณาในการใชเ้ ทคนคิ ในการพฒั นาทกั ษะการเขียนความ

คมู่ ือเทคนคิ การส่งเสรมิ ทักษะการเขียนเพื่อการอธิบายความ 22

การนำเทคนิคการส่งเสริมการเขียนเพื่อการสื่อความไปใช้ในรายวิชาต่าง ๆ มีข้อควร
พจิ ารณาในแต่ละดา้ นตอ่ ไปน้ี

• ดา้ นสภาพส่งิ สนบั สนนุ การเรียนรู้

การสอนออนไลน์ ควรมีความพร้อมทางด้านสื่อ อุปกรณ์ สถานที่จัดการเรียนการสอน
Power point สื่อวิดิทัศน์ YouTube และสื่อออนไลน์อื่น ๆ ในขณะท่ีการเรียนในชั้นเรียน ผู้สอน
สามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกบั ผู้เรยี นไดง้ ่ายกว่าการสอนออนไลน์ โดยการสอนออนไลน์ ผู้สอนไม่สามารถ
ทราบพฤตกิ รรมและความสนใจของผเู้ รยี น การสอนในช่วงวิกฤตการณโ์ ควิด-19 มขี อ้ จำกัดหลายอย่าง
เกย่ี วกบั สัญญาณอนิ เทอร์เนต็ ของผ้เู รียนและผูส้ อนบางชว่ งเวลาทีไ่ ม่มคี วามเสถยี ร

• ดา้ นรูปแบบการส่ือสารระหว่างผู้เรยี นและผูส้ อน

ผู้สอนต้องใช้วิธีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนค้นคว้าเพิ่มเติม และส่งงานตามช่องทาง
ออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Line, e-mail, Facebook, Microsoft Teams, Zoom เป็นต้น ช่องทางการ
ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนดังกล่าว ยังเป็นเครื่องมือในการทำงานกลุ่มร่วมกันและการ
นำเสนอผลงานของผู้เรียน เนื่องจากการสื่อสารแบบไม่พบหน้าอาจทำให้ผู้เรียนเข้าใจงานท่ีผู้สอน
มอบหมายให้คลาดเคลื่อน จึงควรแก้ปัญหาโดยการอธิบายขั้นตอนการเขียนอย่างละเอียด และแจ้ง
กำหนดการนำเสนองานอยา่ งชดั เจน ทัง้ นีอ้ าจเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม

• ด้านผูเ้ รียน

นักศึกษาที่เรียนร่วมกันบางกลุ่มมีความแตกต่างของคณะและสาขาวิชาชีพ และจำนวน
ผู้เรยี นตอ่ กล่มุ มผี ลต่อการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผเู้ รียนหรือการดแู ลอยา่ งทั่วถึงของผูส้ อน พ้ืนฐานความรู้
เดิมของนักศึกษาหรือชั้นปีทีก่ ำลังศึกษาอยู่ รวมทั้งสาขาวิชาที่นักศึกษาเรยี นอยู่เพราะปัจจัยต่าง ๆ ที่
กลา่ วถงึ มักมสี ่วนเกี่ยวข้องกับประสิทธภิ าพของผลงานการเขียนนักศกึ ษาบางส่วนอาจไมค่ ่อยสนใจ และ
กระตือรอื รน้ ในการโต้ตอบผูส้ อน จงึ ตอ้ งคอยกระตุน้ เป็นรายบุคคล ควรคำนึงถึงพนื้ ฐานความรู้เดิมของ
นกั ศกึ ษาหรือชั้นปีท่ีกำลังศึกษาอยู่ รวมทงั้ สาขาวิชาที่นักศึกษาเรียนอยู่ เพราะปัจจัยต่าง ๆ ท่ีกล่าวถึง
มักมสี ว่ นเก่ยี วขอ้ งกับประสทิ ธิภาพของผลงานการเขียน

ในปัจจุบัน นักศึกษาส่วนใหญ่พูดและเขียนเพือ่ การสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพ ผู้ส่งสาร
และผู้รับสารสื่อสารเขา้ ใจไม่ตรงกัน เมื่อผูส้ อนมอบหมายงานเขียน ควรระวังมิให้นักศึกษาเลยี นแบบ
ตัวอย่างการใช้ภาษาที่ไม่ดี เช่น การทำคำกริยาให้เป็นนามวลี เนื่องจากจดจำเฉพาะคำ แต่ไม่ได้ดูที่

ค่มู อื เทคนคิ การส่งเสริมทักษะการเขียนเพื่อการอธิบายความ 23

ความหมายโดยรวม จึงเลือกคำโดยท่ีไม่ถูกต้องและไมเ่ หมาะสมกบั บริบท นอกจากนี้ ผู้เรียนเขียนงาน
เป็นเภาษาจีน แต่ยังเขียนตามรูปแบบภาษาไทยซึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เลือกใช้คำที่ไม่ถูกต้อง โดยไม่
ปรับเปลี่ยนตามโครงสร้าง สำนวนภาษาที่ต้องการ เนื่องจากนักศึกษาขาดความเข้าใจวัฒนธรรม
บางอย่างของชาวจีน และไม่เหมาะสมกบั วัฒนธรรมเจ้าของภาษา จงึ ควรเสรมิ ความรู้ด้านวัฒนธรรมใน
การสอนดว้ ย หากนกั ศึกษายังอ่อนด้อยในทักษะการเขียน ควรส่งเสรมิ ใหฝ้ ึกทักษะการพูดก่อน แล้วจึง
ค่อยๆ พฒั นาสทู่ ักษะการเขยี น

ผู้เรียนที่ไม่เข้าเรียนและไม่ติดตามงานอาจเขียนงานที่มอบหมายได้ไม่ครบถ้วนและ
ถูกต้องตามที่กำหนด นักศึกษามองข้ามคำสั่งที่มอบหมายหรือดูเพียงตัวอย่างที่มีในสไลด์ และไม่
พยายามแต่งประโยคทีอ่ ธิบายกิจกรรมของตนเองอย่างเป็นอิสระ นักศึกษาไปดูงานแปลทางสื่ออื่น ๆ
และมาสอบถาม แสดงถึงความสนใจใน การเรียนภาษาจีนที่มากขึ้น นักศึกษาสนใจเรียน และ
กระตอื รือรน้ มากขึ้น แต่ก็ยงั ติดกบั รปู แบบภาษาไทย จึงจำเปน็ ต้องเนน้ ย้ำใหน้ ักศึกษาตระหนักถึงความ
แตกตา่ งระหว่างวัฒนธรรมของผูพ้ ูดภาษาเปา้ หมายและภาษาแม่ของผ้เู รยี น

• ดา้ นการจัดการเรยี นรขู้ องผู้สอน

ในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโควิด-19 การเรยี นการสอนไดถ้ ูกปรับเปล่ียนจาก
การเรียนในชั้นเรียนเป็นออนไลน์ ผู้สอนอาจจัดการการเรียนการสอนได้ไม่สมบูรณ์มากนัก เนื่องจาก
ข้อจำกัดในการใชโ้ ปรแกรมเรยี นการสอนระบบออนไลน์ท่ีไม่เห็นหน้าของผู้เรียนและผู้สอนตลอดเวลา
ผู้สอนจึงต้องกระตุ้นผู้เรียนอยู่เสมอ โดยการหากิจกรรมที่ผู้เรียนสามารถปฏิบัติตามได้ผ่านทางการ
ส่ือสารออนไลน์ และเรยี กชื่อตอบคำถามให้แสดงความคดิ เห็นเพ่ือสร้างปฏิสมั พนั ธ์กับผู้เรยี นในระหว่าง
คาบเรยี น รวมท้งั กำหนดขอ้ ตกลงกบั เกีย่ วกับการเก็บคะแนนในคาบเรียน เช่น ถา้ ผ้สู อนเรียกชอ่ื ผเู้ รียน
จะต้องตอบรับ ถ้าเรียกชื่อ 3 ครั้งแล้วไม่ตอบถือว่าสละสิทธิ์ โดยผู้เรียนส่วนใหญ่เข้าใจ จึงให้ความ
ร่วมมอื และตอบรับมากขน้ึ

เม่ือผ้เู รยี นไม่เข้าใจงานท่ีมอบหมายหรือมีคำถามเก่ยี วกับงานเขียนผสู้ อนจึงต้องใช้การ
อธิบายใหช้ ดั เจนในดา้ นหัวข้อหรือประเด็นท่ีกำหนดใหเ้ ขยี น อยา่ งไรกต็ ามรายวิชาท่เี กี่ยวกับทักษะการ
เขียนนั้นต้องจำกัดจำนวนผู้เรียนไม่มาก เพราะจะทำให้มีเวลาในการตรวจงานและให้คำปรึกษาแก่
ผู้เรียนได้ทั่วถึง เนื่องจากมีจำนวนกลุ่มเรียนหลายกลุ่ม และแต่ละกลุ่มมีผู้เรียนเป็นจำนวนมาก แต่ละ
กลมุ่ เรียนมชี ิ้นงานคอ่ นข้างเยอะ การตรวจชิ้นงานตอ้ งใชเ้ วลาเพือ่ บอกข้อดแี ละข้อเสยี ช้ินงาน จงึ ควรหา

ค่มู ือเทคนิคการส่งเสรมิ ทักษะการเขยี นเพ่ือการอธิบายความ 24

วิธีการแนวความคิด และการใช้เทคนิค การใช้สื่อการเรียนการสอนมาเพิ่ม ผู้สอนจะต้องเป็นผู้ปรับตัว
เขา้ กบั ยุคสมยั กบั นกั ศึกษา เพ่อื เข้าถงึ ความรสู้ ึกตามเทรนด์ของนักศกึ ษา

นอกจากน้ี ควรปรับประเด็นหรือสิ่งทีม่ อบหมายให้เขยี นที่ใกล้ตวั กับผู้เรียน เพื่อใหเ้ กิด
แรงจูงใจในการแต่งประโยคบอกเลา่ เรื่องในชีวติ ตนเอง สามารถนำแนวทางการจัดกิจกรรม การกำหนด
แผนงาน และประยุกต์ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ไปใชใ้ นช้ันเรียนอื่นได้ ควรนำแนวคดิ เทคนคิ ในการส่งเสริม
การเขยี นไปเผยแพรแ่ ละปรับปรุงตามสภาพการเรยี นการสอนทีแ่ ตกต่างกันต่อไ

• ความสอดคล้องกบั สมรรถนะการเรียนรู้ของบณั ฑิตท่ีพึงประสงค์

ตามกระบวนการในการพัฒนาบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลธัญบุรี รายวิชาพื้นฐานและวิชาชีพมุ่งพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะความคิดสร้างสรรค์และการ
แก้ปญั หา การสรา้ งแรงบนั ดาลใจ จินตนาการ ความคิดเชงิ รปู ธรรม การบรู ณาการและการนำไปปรับใช้
จริงได้ ซงึ่ เทคนคิ การสง่ เสริมการเขียนเพื่อการอธบิ ายความควรกระตุ้นใหผ้ เู้ รียนมีความคิดสร้างสรรค์
ในการแสดงความคิดเห็น อภิปรายกลุ่มและเสนอแนะสิ่งที่คิดและเป็นไปได้จริง รวมทั้งแนวทางแก้ไข
สถานการณท์ ก่ี ำหนดให้เพ่ือพฒั นาตนเองด้านทักษะการคิดและการเขียนเพอื่ การอธิบายความควบคู่กัน
ไป

&§&§&§&§&§&§&§&§&§&§&§&§&§&§&§&§

คู่มอื เทคนิคการส่งเสรมิ ทักษะการเขยี นเพื่อการอธบิ ายความ 25

บรรณานุกรม

กฤษฎา ปากดี, รตั นาภรณ์ นาป้อม, วรัญญา ประประโคน และสวุ ัลยา โคตรชมภู (2561). การสำรวจ
ความต้องการการใช้ภาษาอังกฤษในอาชีพพนักงานต้อนรับ. สืบค้นจาก
http://be.hs.ssru.ac.th/page/poll

กระทรวงวัฒนธรรม. (2559). รปู แบบการเขียนภาษาไทยสื่อความงดงามทางวฒั นธรรม. สืบค้นจาก
https://www.m-culture.go.th/young/ewt_news.php?nid=254

จุฬารตั น์ แสงอรณุ , นภาทรพั ย์ เลศิ ปรีดากร และวรวุฒิ ตัถย์วิสุทธ์.ิ (2560). การพฒั นาความสามารถ
ด้านการเขียนภาษาอังกฤษ ตามแนวการสอนแบบอรรถฐานของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4.
การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรู ณ์ ครั้งท่ี 4 วนั ท่ี 10 มีนาคม 2560
ณ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์, 827-834. สืบค้นจาก
http://research.pcru.ac.th/pcrunc2017/datacd/pcrunc2017/files/B050.pdf

ธนู ทดแทนคุณ และปวณี า จันทรส์ ุวรรณ. (2559). ข้อบกพรอ่ งในการเขยี นภาษาไทย : กรณศี กึ ษา
นกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ ศนู ย์นนทบรุ .ี การประชมุ วชิ าการ
ระดบั ชาติมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ ครั้งท่ี 1, จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา,
750-758. สบื คน้ จาก http://www.rmutsb.ac.th/2011/digipro/002/ proceedings/4-
สาขาสังคมศาสตร์%20มนุษยศาสตร์และวิจยั สถาบัน/29.ธนู%20750-758.pdf

นพวรรณ งามรงุ่ โรจน์. (2562). การพฒั นาทักษะการเขยี น. สืบค้นจาก
http://www.elfhs.ssru.ac.th/nopphawan_ng/

บวั ลกั ษณ์ เพชรงาม. (2563). บทที่ 5 การพฒั นาทักษะการเขียน. สืบคน้ จาก
http://elsd.ssru.ac.th/bualak_na/

ฤทธิไกร ไชยงาม, กนั ยารตั น์ ไวคำ และหทัย ไชยงาม (2561). ปญั หาและแนวทางการแก้ไขเพื่อพฒั นา
ทกั ษะผ้เู รยี นภาษาอังกฤษของ ชมุ ชนเรียนรู้ทางวิชาชพี ครูผู้สอนภาษาอังกฤษในสงั กดั องค์การ
บริหาร ส่วนจงั หวัดขอนแก่น. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 12(2), 7-17.
สบื คน้ จาก http://edu.msu.ac.th/journal/home/journal_file/446.pdf

คมู่ ือเทคนคิ การส่งเสริมทักษะการเขียนเพื่อการอธบิ ายความ 26

ยกุ ติ มุกดาวิจติ ร. (5 พฤศจิกายน 2558). ปญั หาในงานเขียนของนักศึกษา. Blogazine ประชาไท.
สบื ค้นจาก https://www.prachatai.com

สุมธั ยา กิจงาม. (2564). เทคนคิ การเขยี นโครงการ. สบื คน้ จาก
https://www.moe.go.th/moe/upload/news20/ FileUpload/42567-1658.pdf

Doyce, A. (2019). Important communication skills for resumes and cover letters.
Retrieved from https://www.thebalancecareers.com/communication-skills-list-
2063737#written-communication

Olson, D. R. (2020, March 31). Writing. Encyclopedia Britannica. สบื ค้นจาก
https://www.britannica.com/topic/ writing

Toppr. (2021). Introduction to basic writing. สืบค้นจาก
https://www.toppr.com/guides/business-correspondence -and-
reporting/introduction-to-basic-writing/steps-for-writing/

Yordchim, S. & Gibbs, T. J. (2014). Error Analysis of English Inflection among Thai
University Students. World Academy of Science, Engineering and Technology
International Journal of Social, Management, Economics and Business
Engineering, 8(7), 2140-3.

คมู่ ือเทคนิคการสง่ เสริมทักษะการเขยี นเพ่ือการอธบิ ายความ 27

รายช่อื ผแู้ ลกเปลย่ี นเรียนรกู้ ารจัดการความร้ดู ้านการผลิตบณั ฑิต
ประจำปกี ารศกึ ษา 2563เขียนความ

คู่มือเทคนคิ การสง่ เสริมทักษะการเขยี นเพื่อการอธิบายความ 28

ผศ.ดร.พนดิ า สมประจบ ผศ.ดร.อรญั ญา แสนสระ ผศ.โสภณ สาทรสมั ฤทธผ์ิ ล

อาจารย์ประจำสาขามนษุ ยศาสตร์ อาจารยป์ ระจำสาขาภาษาตะวันออก อาจารย์ประจำสาขาภาษาตะวันออก

ผศ.มธรุ า สวนศรี ผศ.ทิฐิมา ฐิตภิ ูมเิ ดชา ดร.เบญจวรรณ รุ่งเรอื งศภุ รัตน์
อาจารย์ประจำสาขาการทอ่ งเทีย่ ว อาจารยป์ ระจำสาขามนษุ ยศาสตร์ อาจารยป์ ระจำสาขาภาษาตะวันตก

คูม่ อื เทคนิคการสง่ เสรมิ ทักษะการเขยี นเพื่อการอธิบายความ 29

นายฌานิศ วงศ์สวุ รรณ นางสาวปาริฉตั ร พยงุ ศรี นางพรพรรณ ทองบัญชาชัย

อาจารย์ประจำสาขาภาษาตะวันออก อาจารยป์ ระจำสาขาภาษาตะวันออก อาจารย์ประจำสาขาภาษาตะวันออก

นางรพี สวา่ งแจง้ นายสมพงษ์ บญุ หนุน นางสาวเพ็ญนภา ทองคำ

อาจารยป์ ระจำสาขาภาษาตะวันออก อาจารย์ประจำสาขาภาษาตะวันออก อาจารยป์ ระจำสาขามนุษยศาสตร์

คู่มอื เทคนคิ การสง่ เสริมทักษะการเขยี นเพื่อการอธิบายความ 30

นางสาวสุวรรณา แตงออ่ น นางสาวสปุ รยี า สบื สนุ ทร

อาจารย์ประจำสาขาพลศึกษาและนนั ทนาการ อาจารยป์ ระจำสาขาการจัดการการโรงแรม


Click to View FlipBook Version