แผนเผชญิ เหตุและการปอ้ งกัน
รองรับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
ในสถานศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
นโยบายความปลอดภยั ของผเู้ รยี น ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
โรงเรยี นบ้านแหลมสกั
สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษากระบี่
ประกาศโรงเรียนบ้านแหลมสกั
เรือ่ ง แผนเผชญิ เหตุและการป้องกนั รองรับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
ในสถานศกึ ษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
---------------------------------------------------------------
ตามท่ีสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ประกาศแนวทางการเตรียมความพร้อมการเปิด
เรียน ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) โดยให้สถานศึกษาที่เปิดทาการเรียนการสอนแบบ ON-SITE ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
ต้องจัดทาแผนเผชิญเหตุและการป้องกันรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ใน
สถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เพ่ือเป็นแนวทางในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ที่อาจเกิดข้ึนกับนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงผู้ท่ีมาติดต่อราชการ
ในสถานศึกษา
โรงเรียนบา้ นแหลมสกั จึงประกาศใช้แผนเผชิญเหตุและการป้องกันรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ในสถานศกึ ษา ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 เพ่อื เปน็ แนวทางในการป้องกันการ
แพร่ระบาดและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่อาจเกิดขึ้นในช่วงการเปิดเรียนหรือการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่อาจส่งผลกระทบในด้านความปลอดภัยของนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา
และใหก้ ารดาเนนิ การต่าง ๆ เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย
ประกาศ ณ วันที่ 1 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565
(นางจารวุ รรณ ควนวไิ ล)
ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านแหลมสัก
เกร่ินนา/บรบิ ทของสถานศกึ ษา
โรงเรียนบ้านแหลมสัก ท่ีอยู่ : เลขที่ 299 หมู่ที่ 3 ตาบลแหลมสัก อาเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่
รหัสไปรษณยี ์ 81110 โทรศัพท:์ 075 -685072 : E-Mail [email protected]
ชือ่ ผู้บริหาร นางจารุวรรณ ควนวิไล โทรศัพท์ 0952976610 E–mail [email protected]
จานวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษาจานวน 19 คน เปดิ สอนในระดับช้ันอนบุ าล2 – ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
มีนกั เรียนท้ังหมดจานวน 271 คน
1. ขอ้ มลู พื้นฐาน
1.1 ขอ้ มลู นักเรยี น ณ วนั ท่ี 3 พฤษภาคม 2565 (จดั หอ้ งเรยี นละไม่เกิน 25 คน)
ระดับช้นั จานวนห้อง จานวนนักเรยี น (คน) ความพร้อมเรยี นที่ รร. (คน) หมายเหตุ
ชาย หญงิ รวม พร้อม (คน) ไมพ่ ร้อม (คน)
อนุบาล 1 0 000 0 0
อนุบาล 2 1 448 8 0
อนุบาล 3 1 7 7 14 14 0
ประถมศึกษาปที ี่ 1 1 21 12 33 33 0
ประถมศึกษาปที ่ี 2 1 21 13 34 34 0
ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 1 15 9 24 24 0
ประถมศึกษาปีท่ี 4 1 20 15 35 35 0
ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 1 17 18 35 35 0
ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 1 10 15 25 25 0
มัธยมศึกษาปที ี่ 1 1 13 10 23 23 0
มัธยมศึกษาปีท่ี 2 1 9 13 22 22 0
มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 1 10 8 18 18 0
รวมทั้งสน้ิ 11 147 124 271 271 0
1.2 ขอ้ มลู ครูและบุคลากรและนักเรยี นทไ่ี ดร้ บั วัคซนี จานวน ข้อมูลการรับวัคซนี
1 1 เข็ม 2 เข็ม 3 เขม็ ยังไมไ่ ด้รับ
ท่ี ช่ือ- สกุล 14
111
1. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา (ผอ.รร.+รอง ผอ.รร./ 1
รกั ษาการ) 1 14 14 11
1
2. ขา้ ราชการครู (ผู้สอน) 111
3. พนักงานราชการ (ผสู้ อน) 3 11 -
4. ครอู ตั ราจา้ ง (ครวู กิ ฤติ) 21
5. ครูอตั ราจ้าง (ครใู นโรงเรยี นพระราชดาริ) 1
6. บคุ ลากรวิทยาศาสตร/์ คณติ ศาสตร์
7. ครูผ้ทู รงคณุ คา่ 33 - 1
8 พนกั งานราชการ (ครูพ่เี ลยี้ ง) 20 19 12
9. พี่เลย้ี งเดก็ พิการ
10. ธรุ การโรงเรยี น
11. ลกู จา้ งประจา
12. ลกู จา้ งชัว่ คราว (นักการภารโรง)
13. วิทยากรอิสลามศกึ ษา
14. คร/ู บคุ ลากรจ้างด้วยงบประมาณโรงเรยี น
- บคุ ลากรชาวไทย
- บคุ ลากรชาวต่างชาติ
15. อื่น ๆ ระบ.ุ ............................................................
(แม่ครัว , คนขายอาหาร)
รวมท้ังสิ้น
1.3 จานวนนกั เรียนมีอายุ 12 ปีขนึ้ ไปทีไ่ ดร้ บั วคั ซีน (คน)
- จานวนนักเรยี นทม่ี อี ายุ 12 ปีขนึ้ ไป จานวน 85 คน
- จานวนนกั เรยี นทไี่ ดร้ บั วคั ซีนแลว้ เข็มท่ี 1 จานวน 57 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 67.06
- จานวนนกั เรียนท่ไี ดร้ บั วคั ซีนแล้ว เขม็ ท่ี 2 จานวน 56 คน คดิ เป็นร้อยละ 65.88
- จานวนนักเรยี นทยี่ งั ไม่ไดร้ บั วคั ซีน จานวน 28 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 32.94
- จานวนนักเรียนที่ไม่ประสงค์รบั วคั ซนี จานวน..........-...........คน คิดเป็นร้อยละ......-........
1.4 จานวนนกั เรยี นท่ตี ดิ เชอื้ (ตามขอ้ มลู 1.1) และข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทีต่ ดิ เช้อื (ตาม
ข้อมูล 1.2)
นักเรียน ผู้บรหิ าร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา หมายเหตุ
1.2 (1) 1.2 (2) 1.2 (3-15)
64 - 10 2 ข้อมูล ณ วนั ที่ 3 พฤษภาคม 2565
2. แนวปฏิบัตริ ะหวา่ งเปดิ เรียน
มาตรการ แนวทางการปฏบิ ตั ิ
ดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อม 1) การระบายอากาศภายในอาคาร
- เปิดประตู หน้าต่างระบายอากาศก่อนและหลงั การใช้งาน อย่างน้อย 15
นาที หนา้ ต่างหรือช่องลม อย่างนอ้ ย 2 ด้านของห้อง ให้อากาศภายนอก
ถ่ายเทเข้าสภู่ ายในอาคาร
- กรณีใชเ้ คร่ืองปรบั อากาศ ควรระบายอากาศในอาคารก่อนและหลงั การ
ใช้อย่างน้อย 2 ช่ัวโมง หรือเปิดประตูหน้าต่างระบายอากาศชว่ งพกั เที่ยงหรือ
ช่วยท่ไี ม่มกี ารเรียนการสอน กาหนดเวลาเปิด-ปิด เครื่องปรับอากาศ และทา
ความสะอาดสมา่ เสมอ
2) การทาความสะอาด
- ทาความสะอาดวัสดสุ ่งิ ของด้วยผงซกั ฟอกหรือน้ายาทาความสะอาด และ
ลา้ งมือด้วยสบู่และน้า
- ทาความสะอาดและฆ่าเชอื้ โรคบนพนื้ ผิวท่วั ไป อุปกรณ์สมั ผัสรว่ ม เช่น
ห้องน้า หอ้ งสว้ ม ลกู บิด ประตู รโี มทคอนโทรล ราวบันได สวิตซ์ไฟ กดลิฟต์
จุดนา้ ด่ืม เป็นตน้ ด้วยแอลกอฮอล์ 100% นาน 10 นาที และฆา่ เชอ้ื โรคบน
พื้นผิววัสดแุ ข็ง เช่น กระเบื้อง เซรามกิ สแตนเลส ดว้ ยนา้ ยาฟอกขาวหรือ
โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 0.1% นาน 5 - 10 นาที อย่างน้อยวันละ 2 คร้งั และ
อาจเพ่ิมความถตี่ ามความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาที่มผี ู้ใช้งานจานวนมาก
3) คุณภาพน้าเพอ่ื การอุปโภค บริโภค
- ตรวจดคู ุณลักษณะทางกายภาพ สี กลิ่น และไม่มสี ิ่งเจือปน
- ดแู ลความสะอาดจดุ บรกิ ารนา้ ด่มื และภาชนะบรรจนุ า้ ดม่ื ทกุ วัน (ไมใ่ ช้
แกว้ น้าดื่มร่วมกนั เด็ดขาด)
- ตรวจคุณภาพน้าเพื่อหาเชอื้ แบคทีเรียด้วยชุดตรวจภาคสนามทุก 6 เดือน
4) การจัดการขยะ
- มถี งขยะแบบฝาปิด สาหรับรองรับ มกี ารคดั แยกลดปริมาณขยะ ตามหลัก
3R (Reduce Reuse Recycle)
มาตรการ แนวทางการปฏบิ ัติ
- กรณีขยะเกิดจากผู้สมั ผสั เสยี่ งสงู /กักกนั ตัว หรอื หนา้ กากอนามัยทีใ่ ชแ้ ล้ว
ด้านการใช้อาคารสถานทขี่ อง นาใส่ในถงั ขยะปิดใหม้ ดิ ชิด
สถานศึกษา การฝกึ อบรม หรอื การกระทากิจกรรมใด ๆ ท่ีมผี เู้ ข้าร่วมจานวนมาก
สถานศกึ ษาหรือผูข้ ออนุญาต ต้องจัดทามาตรการเพ่ือเสนอตอ่ คณะกรรมการ
โรคติดต่อจงั หวัด จะพจิ ารณาร่วมกบั ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อไดร้ บั
อนญุ าตแลว้ จงึ จะดาเนินการได้ โดยมีแนวปฏบิ ัติดงั นี้
1. แนวปฏิบตั ดิ า้ นสาธารณสุข
1) กาหนดจุดคดั กรองช่องทางเขา้ ออก หากพบว่ามีไข้ ไอ จาม มนี ้ามูกหรอื
เหนือ่ ยหอบ หรอื มีอุณหภมู ิร่างกายเท่ากับหรอื มากกว่า 37.6 องศาเซลเซยี ส
ขน้ึ ไป แจ้งงดใหเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม และแนะนาไปพบแพทย์ และอาจมีหอ้ งแยกผู้
ที่มีอาการออกจากพน้ื ที่
2) ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม และผูม้ าตดิ ต่อ ต้องสวมหน้ากากผา้ หรอื หนา้ กาก
อนามยั ตลอดเวลาที่เขา้ ร่วมกิจกรรม
3) จดั ใหม้ เี จลแอลกอฮอล์ หรือ จดุ ลา้ งมอื สาหรบั ทาความสะอาดมือไว้
บริการ บรเิ วณต่าง ๆ อย่างเพียงพอ เช่น บรเิ วณหนา้ ห้องประชมุ ทางเข้าออก
หน้าลฟิ ต์ จุดประชาสมั พนั ธ์ และพนื้ ทีท่ ีม่ ีกิจกรรมอ่ืน ๆ เป็นตน้
4) จัดบริการอาหารในลักษณะทล่ี ดการสัมผัสอุปกรณ์ที่ใช้รว่ มกัน เชน่ จดั
อาหารวา่ งแบบกล่อง (Box Set) อาหารกลางวันในรปู แบบอาหารชุดเดย่ี ว
(Course Menu)
5) กรณีท่มี ีการจัดใหม้ รี ถรับสง่ ผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรม ให้เวน้ ระยะห้อง 1 ทน่ี ัง่
ทาความสะอาดรถรบั ส่งทกุ รอบหลงั ใหบ้ ริการ
6) กากับให้นักเรียนน่ังโดยมีการเวน้ ระยะห่างระหวา่ งท่ีนงั่ และทางเดนิ
อยา่ งน้อย 1.๕ เมตร
7) จัดให้มีถงั ขยะที่มฝี าปิด เก็บรวบรวมระยะ เพอื่ สง่ ไปกาจดั อยา่ งถกู ตอ้ ง
และการจัดการขยะท่ีดี
8) จดั ใหม้ ีการระบายอากาศภายในอาคารทด่ี ี มีการหมุนเวียนของอากาศ
อย่างเพียงพอ ทง้ั ในอาคารและห้องส้วม และทาความสะอาด
เครือ่ งปรบั อากาศสม่าเสมอ
9) ใหท้ าความสะอาดและฆ่าเชอ้ื ทว่ั ท้ังบรเิ วณ และเนน้ บริเวณทม่ี กั มกี าร
สมั ผัส หรอื ใช้งานร่วมกันบ่อย ๆ ดว้ ยนา้ ยาฟอกขาวที่เตรียมไว้ หรือ
แอลกอฮอล์ 70% หรอื ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% เชด็ ทาความสะอาดและ
ฆา่ เชื้ออย่างนอ้ ยวันละ 2 คร้งั ทาความสะอาดห้องสว้ มทกุ 2 ชั่วโมงและอาจ
เพม่ิ ความถตี่ ามความเหมาะสม โดยเฉพาะเวลาท่ีมผี ู้ใชง้ านจานวนมาก
มาตรการ แนวทางการปฏิบตั ิ
10) มีมาตรการติดตามขอ้ มูลของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม เช่น การใช้แอปพลเิ ค
ชนั หรอื ใชม้ าตรการควบคุมการเขา้ ออกดว้ ยการบนั ทกึ ขอ้ มูล
11) มีการจัดการคณุ ภาพเพอ่ื นา้ เพ่ืออปุ โภค บริโภคท่เี หมาะสม
- จัดใหม้ จี ุดบรกิ ารน้าดืม่ 1 จุด หรอื หัวก๊อกต่อผบู้ ริโภค 75 คน
- ตรวจสอบคณุ ภาพน้าด่มื น้าใช้
- ดแู ลความสะอาดจุดบริการนา้ ด่มื ภาชนะบรรจุน้าดม่ื และใช้แกว้ นา้
ส่วนตัว
12) ปิดสถานศึกษาท่ีเกดิ การระบาดและควบคุมการระบาดในสถานศึกษา
2. แนวทางปฏิบตั ิสาหรับผูจ้ ัดกิจกรรม
1) ควบคุมจานวนผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมไม่ใหแ้ ออัด โดยคิดหลกั เกณฑ์จานวน
คนตอ่ พน้ื ที่จดั งานไมน่ ้อยกวา่ 4 ตารางเมตรต่อคน พจิ ารณาเพิม่ พ้นื ทที่ างเดิน
ใหม้ สี ดั ส่วนมากขน้ึ
2) จากัดจานวนผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม และกระจายจดุ ลงทะเบียนให้เพยี งพอ
สาหรบั ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม เพือ่ ลดความแออัด โดยอาจใช้ระบบการประชมุ ผา่ น
ส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ใชก้ ารสแกน QR Code ในการลงทะเบยี นหรอื ตอบ
แบบสอบถาม
3) ประชาสัมพันธ์มาตรการ คาแนะนาในการป้องกนั การแพร่ระบาดให้แก่
ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมทราบ
3. แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรับผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม
1) สงั เกตอาการตนเองสม่าเสมอ หากมไี ข้ ไอ จาม มีน้ามกู หรอื เหนื่อย
หอบ ใหง้ ดการเขา้ ร่วมกจิ กรรมและพบแพทย์ทนั ที
2) สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามยั เวน้ ระยะห่างระหวา่ งบุคคลอยา่ ง
น้อย 1 - 2 เมตร งดการรวมกล่มุ และลดการพูดคยุ เสียงดัง
3) ล้างมือด้วยสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอลบ์ ่อย ๆ ก่อนและหลังใช้บรกิ าร หรือ
หลงั จากสมั ผัสจดุ สัมผสั ร่วมหรือส่งิ ของ เครื่องใช้ เมื่อกลบั ถึงบ้านควรเปลย่ี น
เสอ้ื ผา้ และอาบน้าทนั ที
4) ปฏบิ ัติตามระเบยี บของสถานที่อยา่ งเคร่งครดั และปฏบิ ัติตามมาตรการ
สุขอนามยั ส่วนบคุ คลอยา่ งเข้มขน้ ไดแ้ ก่ 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ 6
มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)
3. มาตรการเข้มงวด
(กรณีไม่พบผู้ติดเชื้อ)
1. สถานศึกษาผ่านการประเมิน TSC+ และรายงานการตดิ ตามการประเมนิ ผลผ่าน MOE Covid
2. ทากิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเล่ียงการทากิจกรรมข้ากลุ่มและจัดนักเรียนใน
ห้องเรียนขนาดปกติ (6 x8) ไม่เกิน 25 คน หรือจัดให้เว้นระยะห่างระหว่างนักเรียนในห้องไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร
พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
3. จัดระบบการให้บริการอาหารสาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาตามหลักมาตรฐาน
สุขาภิบาลอาหารและหลกั โภชนาการ อาทิเช่น การจัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรุงอาหารหรือการ
ส่ังซื้ออาหารตามระบบนาส่งอาหาร (Delivery) ท่ีถูกสุขลักษณะและต้องมีระบบตรวจสอบทางโภชนาการก่อน
นามาบริโภค ตามหลักสขุ าภิบาลอาหารและหลกั โภชนาการ
4. จัดการดา้ นอนามัยส่ิงแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมในการป้องกันโรคโควิด 19
ในสถานศึกษา ไดแ้ ก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทาความสะอาดคณุ ภาพน้าดื่ม และการจัดการขยะ
5. ให้นักเรียนที่มีความเส่ียงแยกกักตัวในสถานศึกษา (School Isolation) และมีการซักซ้อมแผนเผชิญ
เหตุ รองรับการดูแลรักษาเบื้องต้น กรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีผลการตรวจพบเช้ือโรคโควิด
19 หรือผล ATK เปน็ บวกโดยมีการซักซอ้ มอย่างเคร่งครัด
6. ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดย
หลกี เลี่ยงการเขา้ ไปสมั ผสั ในพื้นท่ตี ่าง ๆ ตลอดเส้นทางการเดนิ ทาง
(กรณีเม่ือพบผู้ป่วยยืนยันอย่างน้อย 1 ราย หรือผู้ป่วยท่ีสงสัยว่าอาจได้รับเชื้อและมีการแพร่กระจายเช้ือใน
สถานศกึ ษา)
1. ประสานเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุข สารวจคัดกรองนักเรียนและบุคลากรทุกคน บริเวณทางเข้าสถานศึกษา
และดาเนนิ การข้นั ตอนทก่ี าหนด หากพบผ้เู ขา้ เกณฑ์ ใหเ้ ก็บตวั อย่าง NP swab ส่งตรวจหาเชอื้ และดาเนินการตาม
มาตรการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019
2. ปิดสถานศกึ ษา/ชนั้ ป/ี ช้ันเรียน เพ่ือทาความสะอาด เป็นระยะเวลา 3 วัน
3. รายงานให้หน่วยงานตน้ สังกดั ทราบ และรายงานผา่ นระบบ MOE COVID
4. ตดิ ตามผู้สัมผสั ทุกวัน จนครบกาหนดโดยมีการสอบถามจากผู้ทเี่ ก่ยี วข้อง
5. เมื่อเปิดเรียน ให้มกี ารคดั กรองไข้ทุกวัน หากพบมีอาการเข้าได้กับให้ประสานกับเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข
เพือ่ เก็บตวั อย่าง และพจิ ารณาความเสีย่ งเพอ่ื ตัดสนิ ใจว่าจะให้ผปู้ ว่ ยดอู าการทบ่ี ้าน หรือต้องแยกตัวในโรงพยาบาล
สนาม
6. ตดิ ตามประกาศ/คาสัง่ ของจงั หวดั กระบี่ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
4. แหล่งท่จี ะส่งต่อผ้ตู ิดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
ท่ี หน่วยงาน ระยะทางจาก เบอรโ์ ทรศัพท์
โรงเรยี น (กม.) ตดิ ตอ่
1. ศูนยพ์ ักคอย (Community Isolation) คือ 1.1 080-2939515
2. สถานพยาบาลช่ัวคราว (Hospitel) คอื 34 075-638234
062-9751345
3. โรงพยาบาลสนาม คือ 56 081-0851579
4. โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพประจาตาบล ในพน้ื ท่เี ขตบริการ คอื 0.5 093-1275886
5. โรงพยาบาลท่ีรองรบั ผู้ตดิ เช้ือในพืน้ ท่ี คือ 18 075-619106
**ข้อมลู จาเปน็ ประกอบอื่น ๆ เพอื่ การบริหารจดั การที่มีประสทิ ธิภาพ แก้ปญั หาไดท้ นั ทว่ งที