The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลวงพ่อเทียบ ถิรจิตฺโต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wonchai890, 2022-04-04 21:46:01

ประวัติพระอาจารย์ทองรัตน์

หลวงพ่อเทียบ ถิรจิตฺโต

กายเปน ธาตุ ๔ ท่เี สอื่ มส้นิ ไปทกุ นาที
จิตเปนผูครองกาย ตองคิดบํารุงกายดวยขาว
และน้าํ ผลไมต า งๆ ตองหาเสอ้ื ผา สตี างๆ มาปกปด
รา งกาย ปอ งกันความหนาวความรอน กนั เหลือบยงุ
สรา งบา นเรือน ท่ีนัง่ ที่นอนใหกายไดพ ักอาศัย
เมื่อกายเกิดเจ็บปวย จิตตองแสวงหายาบําบัด
โรคภยั น้นั ๆ เพื่อใหกายทรงอยูต อ ไป
แปลกไหมละ สกลกายนี้แมประกอบดวยธาตุ ๔
ดิน น้าํ ไฟ ลม กจ็ ริง แตเปนสรีระยนตที่วิจติ รพิสดาร
ย่ิงนัก ไมมีส่ิงอันใดในโลกท่ีเปนของใชอันสําคัญ
จะสําคัญเหนือยิ่งกวากาย สิ่งตางๆ ท่ีสรางสรรคข้ึน
มาเชน รถยนต รถไฟ เครอ่ื งบนิ นาฬก า กย็ งั ไมพ สิ ดาร
หรอื มคี ณุ คา ย่ิงกวากาย สมบัตภิ ายนอกแมจะตรี าคา
วตั ถุน้นั เปน แสน เปนลาน เปนรอ ยลาน เมือ่ เทยี บกับ
กายแลว กายตองมคี ุณคามากกวาสงิ่ เหลานัน้ เพราะ
สง่ิ เหลา นัน้ จิตและกายเปนผูคิดและสรา งข้นึ ทั้งสิน้

๕๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

จิตรักใคร่ กําหนัดในกาย สําคัญวากายเปน
สิ่งสวยงาม

จติ มองหยาบๆ เหน็ ผวิ หนงั ปด รา งกายไว หอ หมุ
เนื้อ ตบั ไต ไสพงุ กระดูกไว หลงวากายนงี้ าม จิตหลง
มวั เมาในกาย กใ็ ชก ายนนั่ แหละใหแ ตง กาย กายไมร วู า
ถกู ใช ก็ทําตามนายส่งั (จิตเปนนาย กายเปนบาว)

กาํ นนั เกิดมาแลว ก็ประสบความทุกข ทกุ ขเ พราะ
ตอ งทาํ ไรไถนา ทุกขเ พราะความเจ็บปวย ทกุ ขเพราะ
ความแกแ ละความตาย

จติ สงั่ ใหท าํ ไรไ่ ถนา เกบ็ เกย่ี วแลว เอาขา วไปขาย
แมบานสงั่ วา ซอื้ สรอ ยคอมาใหหนงึ่ เสน นะ ใหล กู สาว
หนง่ึ เสน นะ ตา งหหู นงึ่ คนู ะ กาํ นนั กท็ าํ ตาม ปฏบิ ตั ติ าม
ตามทจี่ ิตของแมบ า นสั่ง

ประวัติและการอบรมธมั มะของพระอาจารยทองรตั น กนฺตสโี ล ๕๑

กายและอวัยวะต่างๆ ไมร่ ูวา่ ถูกใช ใหป ระดับ
กายใหสวยงาม

เพราะจิตกําหนัดในกาย มัวเมาในกายจึงสั่งให
กายนัน่ แหละใหประดบั กาย หูไมร วู า ถกู ใสตา งหู นวิ้ ก็
ไมร วู า ถกู ใสแ หวน คอกไ็ มรูวาสวมสรอ ยคอ เอวก็ไมร ู
วาถูกคาดเข็มขัดนาค นอกจากนี้จิตยังสั่งใหหา
ผาซิ่นไหมลายสวยๆ สีน้ันสีน้ี เสื้อก็ตัดทรงน้ันทรงน้ี
แขนส้ันบาง แขนยาวบา ง ครง่ึ แขนบาง กายของกํานนั
ก็เอาคําสั่งของจิตแมบานมาใสจิตตน จิตตนก็ส่ังกาย
ใหทําตามความตองการของจิต เพราะจิตกํานันหลง
ในกายของแมบาน

กํานันรําพึงออกมาวา โอยแมนอีหลี แมนคักๆ
จิตมันเปน นาย กายมนั เปนบา วอีหลี

ทานพระอาจารยทองรัตนพูด เทศน บรรยาย
ภาษาพื้นเมืองตลอด แตผมถายทอดแปลภาษาลาว
เปน ไทยสะดวกดี งา ยดคี รบั ทา นบรรยายตอ ไปอกี เปน
ภาษาพ้ืนบาน

๕๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

จิตเปนอรปู ธาตสุ งิ อยู่ในกาย
จติ เปน ผรู ู แตแ มก ระนนั้ กไ็ มร ตู ามความเปน จรงิ
วิชาทางการแตงกายประดับกายน้ี จิตไมรูวาเปนไป
เพอื่ สะสมกองกเิ ลสโดยแท จติ หลงเพลนิ มวั เมารกั ใคร
ในรางกายเชนน้ัน มิไดระลึกถึงความแปรปรวนของ
รางกาย กายแกลงทุกขณะ จิตยังไมยอมวากายแก
สําคัญตนเองวายังหนุมยังสาว จิตลุมหลงมัวเมา
เพงเล็งมุง หมายในเพศตรงกนั ขา ม จติ เชนนยี้ อ มนยิ ม
การครองชวี ติ คู จงึ ประสบความสขุ บา ง ความทกุ ขบ า ง
ระคนปนกันไป ก็เพราะกามคุณ มีกามสุขเปนผล
กามโทษก็มีกามทุกขเปนผล ชีวิตคูจึงมิไดประสบ
สันติสุขอันแทจริง สิ่งเหลาน้ีมีคุณอนันต ก็ยอมมี
โทษมหันต น่ีแหละเปนวิถีการครองชีพของจิตที่หลง
รกั กาย
จิตรจู กั กายแจง ยอ่ มเปน จติ เอก
จิตทรี่ ูจักกายชดั แจง ตามความเปน จริงของกาย
วา เปน ของไมส ะอาด เสอ่ื มสลายไปทกุ นาที ยอ มเปน

ประวัตแิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สีโล ๕๓

จติ เอก ครองชวี ติ เอก ไมค ิดเบยี ดเบียนใคร ไมกลา ว
วาจาเบยี ดเบยี นใคร ไมใ ชก ายใหท าํ การเบยี ดเบยี นใคร

จิตเวนจากการเบียดเบียน จึงไดช่ือวาเปนจิต
บรรพชติ เปน ผสู งบ เปน ผมู คี วามสขุ อยา งเยอื กเยน็ อยู
เปนนิตย นีแ่ หละพระภกิ ษุ บรรพชิต ทานใหรักษาศีล
ระวังอนิ ทรีย ๖ มคี วามพากเพยี รทาํ สมาธิ เดินจงกรม
ใหจิตสงบจากกเิ ลส ทาํ จิตใหเปน เอกคั ตาจิต ก็จะเห็น
ความสงบเหน็ ความมหศั จรรยข องจติ ดว ยตนเอง ดจู ติ
เหน็ จิตของตนเอง ก็จะพน จากบว งของมาร

คฤหัสถ์ญาติโยมใหรักษาศีล ๕ สมาทานศีล
๕ อยูเสมอ ก็จะพนจากอบายภูมิ เห็นทางไปสูสุคติ
โลกสวรรคไดสมปรารถนา สมดังทานตรัสไววา มโน
ปุพฺพงฺคมา ธมฺมาฯ จิตเปนใหญเปน ประธานฯ

คิดว่าพระอาจารย์ทองรัตน์ ท่านมี เจโต-
ปริยญาณ

วันหนึ่ง โยมสองคนสามีภรรยา มาจากบาน
หวั ดอน มาถวายอาหาร ภรรยาหว้ิ หมอ เขยี วใสอ าหาร

๕๔ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

และกระตบิ ขาวเหนยี วเดนิ มากอน สามีหาบมะพราว
ออน แตงไทย และแตงกวาตามหลงั มาหางๆ

เมอื่ มาถงึ ศาลาหอฉนั วางหาบ กราบพระประธาน
กราบพระอาจรยทองรัตนแลว พระอาจารยทองรัตน
กลา วยมิ้ ๆ วา เออ! จะเยยี่ วกว็ างหาบเสยี กอ น แลว นง่ั
ลงเยย่ี ว ยนื เยย่ี วนน่ั มนั เปน พวกววั พวกควาย หาบของ
มาถวายพระกต็ อ งวางหาบลงจากบา กอ น จงึ จะสมกบั
เกิดมาเปนคน พระเณร ญาติโยมในเชาวันนั้น
แปลกใจวา หาบของมาตั้งไกล ๓-๔ กม. ยืนเยี่ยว
กลางทางไมวางหาบลงกอ น ทา นรูไดอยา งไร?

โยมใส่บาตรพระใหม่ ดวยปงไก ซอนไว
กนขันขาว

เมื่อกลับถึงสํานัก ยังไมไดเอาขาว เอาอาหาร
ออกจากบาตร ทานเปรยขึ้นวา วันนี้ทานเทียบได
อาหารพเิ ศษอกี แลว (โยมภรรยาครใู หญ โทน ฉลวยศรี
ซอ นไวใตขนั ขา วเสมอ ทานจะรทู กุ ครง้ั ) ทานรูไดย งั ไง
ทา นตองมญี าณเจโตแน

ประวัตแิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรัตน กนฺตสีโล ๕๕

ผัวเมียตกี นั ทะเลาะกนั ไปกราบทา น ไปฟอง
ทาน

เม่ือผัวเมียเขาไปกราบทาน ทานชี้ไปที่ไมคาน
และดามไมกวาดวา เอา ตีกันใหดูหนอย อยากจะดู
(ทานรูกอนเดินเขาเขตสํานัก) ผัวเมียมองหนากัน
แลวย้มิ อายๆ ทา นใหนํา้ ไปคนละขวด (ขวดเหลาขาว
ตรารวงขาว โยมนํามากรอกน้ําด่ืมถวายพระ) ทาน
บอกวา เวลาโกรธกันใจมันรอน ใหอมน้ําไวในปาก
ใจจะเย็น ปากก็จะไมดากันทะเลาะกัน มีเร่ืองตางๆ
ที่ทานรูลวงหนากอนเสมอ แสดงวา ทานมีเจโต-
ปรยิ ญาณแนๆ

ทานปรารภวา เมื่อแรกก็รักกัน สามัคคีกัน
คร้ันมีลูกมีเตาข้ึนมาก็ทะเลาะกันตีกัน นี่แหละเปน
เร่ืองของความไมเท่ียง ความไมเท่ียงน่ันแหละเปน
ความทุกข คนรกั ษาศลี มีสมาธิ ฝก ทําสมาธใิ หจ ิตวา ง
จากกเิ ลส คนพวกนีจ้ ะไมท ะเลาะกนั เพราะอานิสงส
ของศีลคุมครองรักษา พูดจากันก็มีเหตุมีผลสงเสริม
กันไปในทางเจริญ

๕๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

เปนพระอาจารย์แตกฉานในธรรมของ
พระพุทธเจา

ธัมมะทุกขอในหนังสือสวดมนตแปล ในหนังสือ
เจด็ ตาํ นานแปล ทา นจะอธบิ ายใหเ ขา ใจโดยแจม แจง ฯ

กอนเขาพรรษา พระอาจารยกินรีจะมากราบ
พระอาจารยทองรัตนทุกป และกําหนดนัดกันไววา
ออกพรรษาแลวประมาณหนึ่งเดือน พระอาจารย
ทองรัตนจะกําหนดนัดพระอาจารยกินรีไวลวงหนา
(แมชีแกว แมชีผิว ธานี เลาใหผมฟง) สวนมากทาน
จะธุดงคไปนครจําปาศักด์ิ ไปภูมะโรง ภูดาง ในเขต
ประเทศลาว ตรงหมูบานใดมีคนหมูมาก ไมมีวัด
ไมมีสํานักสงฆทานจะปกกลดอยูเชิงเขาหรือราวปา
หา งหมูบ านราว ๑ กม.

ตาแสงหรือกํานัน จะมาถามมาสนทนากับทาน
และนมิ นตใ หท านอยูน านๆ ทา นจะส่งั ใหต าแสงบอก
ลูกบา น ใหใสขาวเหนียวคนละกอ นเทาไขไก อาหารก็
ช้นิ เดียว ถาเปนกลว ยกเ็ อาลกู เดยี ว เผอื กตม มันตม

ประวัติและการอบรมธมั มะของพระอาจารยทองรัตน กนตฺ สโี ล ๕๗

กห็ วั เดียว ใสบ าตรหลายบา นกเ็ ต็มบาตร ใหเ ด็กหนมุ
ลาวไปเอาขาวอาหารเหลือจากฉันเอามาแบงกันกิน
เน้อื ววั เนือ้ ควาย ลิง คา ง ชะนี หมูปา กะรอกกระแต
งู พงั พอน เตา ตะพาบ ปลาไหล กระตา ย เกง กวาง
ฯลฯ ทา นไมฉ นั จุดประสงคไ มใ หเ ขาไปฆา สัตวพวกนี้
ทานบอกตาแสงกํานันวา ปลาแหง ปลาปน ตม เผือก
ตมมนั พริกเกลอื พระกัมมัฏฐานทานฉนั ไดอ ยู

ช า ว ล า ว น ค ร จํ า ป า ศั ก ด์ิ เ ค า ร พ เ ล่ื อ ม ใ ส ใ น
พระอาจารยทองรัตนมาก ไปที่ไหนชาวบานก็นิมนต
ใหทานอยูนานๆ ทานจะอยูจําพรรษาที่วัดบูรพา
ต.ชีทวน ออกพรรษาแลวจะไปธุดงคฝงลาวเสมอ
ไปทุกป ไปอยูฝงลาวมากกวาฝงไทย

แม่ชแี กว ธานี ทราบประวตั ทิ ่านดี
แมชีแกว ธานี ยายของผม, แมชีผิว ธานี
แมช เี สยี่ ง ธานี นา ของผม, สามแมช นี ร้ี ปู ระวตั อิ าจารย
ทองรัตนดี บวชอยูกับอาจารยทองรัตนตลอดชีวิต
ทง้ั สามทา นถงึ แกก รรมหมดแลว คงจะมญี าตขิ องทา น

๕๘ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

หลานของทานอยูบานทาโคม พอจะสืบถามประวัติ
ของทา นไดบ า ง!!!

ผมขอตอบจดหมายของทาน.......................
ดงั นคี้ รบั

เหตกุ ารณท์ ีผ่ มไดย นิ ไดฟ ง ไดเ ห็นมา
เหตุการณที่ผมไดสอบถามดูและไดอยูศึกษา
ปฏิบัติธรรมอยูกับพระอาจารยทองรัตนน้ัน ไดเลา
มาถวายทานอาจารยแลว พรอมภาพพระอาจารย
ทองรตั น ๓ ภาพนนั้
บริขารของพระอาจารย์ทองรัตน์อยูท่ ี่ใดบา ง
เรอื่ งบรขิ ารของพระอาจารยท องรตั นน นั้ ผมไมร ู
เลย ป ๒๔๙๙ ทที่ า นมรณภาพนน้ั ผมทาํ งานอยบู รษิ ทั
ปูนซเี มนตไทย จํากดั โรงงานทา หลวง จงั หวัดสระบรุ ี

ประวตั แิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยทองรัตน กนฺตสโี ล ๕๙

สาเหตุแห่งการมรณภาพ
สาเหตุแหงการมรณภาพของทานอาจารย
ผมไมทราบเลย มรณภาพที่ไหน ใครเปนประธาน
เปนเจาภาพ และฌาปนกิจทานท่ีไหนผมก็ไมทราบ
เพราะไมทราบขาวเลย
แนวการสอนของทา่ น
ทานใหอานพุทธประวัติ ๒ เลม อานสวดมนต
แปลฉบับหลวง อานเจ็ดตํานานแปล โดยเฉพาะให
ศกึ ษาธมั มจกั กปั ปวตั ตนสตู ร ทเ่ี กดิ มพี ระสงฆอ งคแ รก
ในพทุ ธศาสนา สงสยั ในธรรมขอ ใดใหม าถาม พระบวช
ใหมใหทําจิตใหสงบ ใหสงบอยูในกาย ในถ้ําในหทัย
อยาใหฟุงซานไปนอกกาย อยาใหจิตคิดไปถึงเรื่อง
ขางหนาที่ยังมาไมถึง อยาใหจิตคิดถึงเรื่องท่ีผาน
มาแลว มีศีลพรอมดวยกายวาจาใจ มีความเพียร
ทําจิตใหสงบจากกิเลส จึงจะมีปญญาเห็นธรรมของ
พระพุทธเจา ถาไมม ีความเพียร จติ ไมสงบ จติ คดิ ไป
รอบโลก จิตไมสงบจากกิเลส จิตไมเปนเอกัคตาจิต

๖๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

บวชไปรอยปก็ไมเห็นธรรม เห็นมรรคผลอะไรดอก
ดังน้ันจึงใหมีความเพียรมากๆ มีศรัทธามาบวชแลว
ใหม ศี ีลบรสิ ุทธิ์ มสี ติ มีสมาธิ มปี ญ ญา จึงจะเหน็ ธรรม
ฯลฯ

อุปนิสัยใจคอของทา่ น
ทานเปนผูมีธรรมอันสะอาด คือมีใจเปนกุศล
มีจิตใจขาวสะอาดอยูเสมอ สีหนาทานจะราเริง มีใจ
เบิกบาน ใจฟดู ว ยอารมณขนั ทกุ เวลา ใครไมสบายใจ
เห็นทานอาจารยจะสบายใจ ราเริงใจดีขึ้น ทานพูด
ทานแนะนําอะไรเปนประโยชนเปนกุศลจิตท้ังน้ัน
ทานเทศนทานพูดนาฟง เปนสุภาษิต เปนประโยชน
ในเบื้องตน ทามกลางและสุดทาย ชาวบานที่ไดมา
พบทานมาฟงทานเทศน อยากจะมาคารวะกราบ
ไหวทานอีก ถือวาไดมาออนนอมไดมากราบไหว
พระอริยเจา ไดบุญไดกุศล ไดอานิสงสกลับไปบาน
อกี ดวย

ประวัตแิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๖๑

ท่านเคยจาํ พรรษาท่ไี หนบา ง พ.ศ. เทา่ ไร
เรื่องการจําพรรษาที่ใดบางของพระอาจารยนั้น
เรอื่ งนผี้ มไมท ราบเลย หากแมช แี กว แมช ผี วิ แมช เี สยี่ ง
ยังอยู ก็พอจะสอบถามไดบาง
เกรด็ ธรรมะของพระอาจารย์
เกร็ดธรรมของทานอาจารยคือความเพียร
ใหถือเอาความเพียรของพระจักขุบาลเปนตัวอยาง
เพ่ือนสหธรรมและแพทยรักษาตาใหหยุดทําความ
เพยี รสกั ๗ วัน ทา นไมเ อาตาดี แตทานเอามรรคผล
เดินจงกรมจนตาแตกตาบอดและนิพพานในทีส่ ดุ
ทานวาเปนคนไมมีความเพียร ทําอะไรก็ไมดี
ทั้งนั้น เปนพระไมมีความเพียร ก็ไมเห็นธรรม
ไมบรรลุธรรม ซ้ํามาบวชสะสมกิเลส เปนบาปกรรม
เปลาๆ

๖๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ประวตั แิ ละการอบรมธัมมะของ

พระอาจารยทองรตั น กนฺตสีโล

(ตน ฉบบั ลายมือ)

ประวัตแิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สีโล ๖๓



ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๖๕

๖๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๖๗

๖๘ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๖๙

๗๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๗๑

๗๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๗๓

๗๔ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๗๕

๗๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๗๗

๗๘ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๗๙

๘๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๘๑

๘๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๘๓

๘๔ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๘๕

๘๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๘๗

“พระเณรบวชเขา มาในพระพทุ ธศาสนา
ถาจะดตี อ งไดอยกู บั ครูบาอาจารย

เพราะครบู าอาจารยทา นจะเปน คนสอดสอ งดแู ล
พฤติกรรมอปุ นสิ ยั ของลูกศษิ ยแตละคน
วาควรจะบอกจะสอนในลกั ษณะใด

เพราะมานะทฏิ ฐิของแตละคนไมเ หมือนกัน”
พระอาจารยท์ องรัตน์ กนตฺ สโี ล

โอวาทธรรม

หลวงปคู รูบาจารยเฒาทองรัตน กนตฺ สีโล

(คัดจากหนงั สอื มณรี ัตน อัญมณีแหงไพรสณฑ)

ประวัติและการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรตั น กนฺตสโี ล ๘๙

ทดสอบศิษย์
มบี อ ยครง้ั เหมอื นกนั ทค่ี รบู าจารยเ ฒา ลองลกู ศษิ ย
ทีย่ ังประมาทอยู เชน หลวงพออวนเลา วา “คร้งั หนึ่ง
หลวงพออวนไดกราบลาหลวงปูกินรีเพ่ือจะไปศึกษา
ธรรมะกบั ครบู าจารยเ ฒา กอ นไปหลวงปกู นิ รกี าํ ชบั วา
ระวงั นะ ถา ไปหาครบู าจารยเ ฒา ระวงั ทา นจะทดสอบ
อารมณ ทดสอบสติ เมอ่ื ไปถงึ ไดก ราบครบู าจารยเ ฒา
ก็ไดเรื่องจนได เม่ือครูบาจารยเฒาบอกใหไปตัดไม
มาใหทาน ขณะนั้นทานกําลังทํากิจวัตรอยูพอดี
หลวงพออวนซึ่งผานการฝกมาอยางดี จึงรูทางมวย
ไดมีดโตเดินเขาไปในปา ตัดไมที่ตายแลวมาใหทาน
พอครบู าจารยไ ดเ หน็ เทา นน้ั แหละ “เออ! นแ่ี มม นั จงั่ แมน
ศิษยพระพุทธเจา” (เออ! น่ีมันจึงสมกับเปนลูกศิษย
พระพุทธเจา)
มีบอ ยครงั้ เหมือนกันที่พระเณรบางรปู เม่ือทา น
ใหทําในส่ิงที่มันผิดวินัย ก็ทําดวยความรูไมเทาทัน
ทําใหรับบทเรียนท่ีไมมีวันลืม คือคําเทศนกัณฑใหญ
และแสบเผ็ด เพราะเหน็ วาเปนครูบาจารย แตไมเห็น

๙๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ธรรมวินัยเปนใหญ ซึ่งครูบาจารยเฒา อาบัติเล็กๆ
นอ ยๆ ทา นไมป ลอ ย ทา นถอื เปน สง่ิ สาํ คญั มากสาํ หรบั
ชีวิตพรหมจรรย ดวยเหตนุ เ้ี องทําใหหลวงปูชาทานให
ความเคารพตอครูบาจารยเฒาเปนอยางมาก จึงได
นาํ หลกั ธรรมตา งๆ จากครบู าจารยเ ฒา มาสอนลกู ศษิ ย
ลูกหาอยูตลอด โดยเฉพาะขอวัตรปฏิบัติทุกอยางใน
สํานักวัดหนองปาพงและสาขา ปจจุบันเหมือนกับ
ขอ วตั รปฏบิ ตั ขิ องครบู าจารยเ ฒา ทสี่ ง่ั สอนลกู ศษิ ยส มยั
ที่ยงั มชี ีวติ อยูเกอื บทกุ อยา ง

ตามท่ีหลวงปูชาไดสัมผัสกับครูบาจารยเฒา
เห็นวาถาคนไมฉลาด จะไปเอาธรรมะกับทานไมได
คือไปเอาอยางทาน ไมไปเอาเย่ียงทาน อยางเชน
ครูบาจารยเฒาทานพูดไมสํารวม การออกไปรับ
บณิ ฑบาต ทา นขอของไปเรอ่ื ยๆ เวลาทา นดใุ หพ ระเณร
ทปี่ ระชมุ จะดุ พระเณรไปเอาอยา งทา นไมไ ด ทา นไมม ี
อะไร ความเปน จรงิ นน้ั ทานพดู ทา นทาํ อะไร ทา นมงุ
สอนธรรมะ ไมไ ดมงุ สอนหมคู ณะ ไมไดม ุงเสียหาย

ประวัตแิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรตั น กนฺตสีโล ๙๑

ติดสมมุติ
บางคนไมเ ขาใจ หาวาทา นเปนโรคประสาท เชน
มอี ยคู รงั้ หนงึ่ หลวงปชู าเลา วา ครบู าจารยเ ฒา ไดเ ดนิ ไป
พรอมภิกษุสงฆหมูหนึ่ง เห็นควายตัวเมียกินหญาอยู
ขางทาง ครูบาจารยเฒาพูดวา “โอย ควายเถิกโตน่ีคือ
กนิ หยา อยใู กลท างแท” (โอย ควายตวั ผตู วั นที้ าํ ไมจงึ มา
กินหญาอยูใกลทางจังเลย) และเดินไปอีก ทานไดชี้
ใหดูควายตัวผูกําลังเล็มหญาอยูกลางทุง และพูดวา
“เออ ไปหากินกลางทุงคือควายแมโตน่ันมันจังแมน”
(เออ ไปหากนิ กลางทงุ นาเหมอื นควายตัวเมยี ซิ มันถึง
จะถูก) ทานดูควายตัวผูเปนตัวเมีย ควายตัวเมียเปน
ตัวผู ผูไมเขาใจก็หาวาทานเปนประสาท ความจริง
ไมม ตี วั ผู ไมม ตี วั เมยี อยา งนท้ี า นเทศนใ หเ ราฟง คนไม
เขา ใจธรรมะเลยเกดิ เถยี งกนั วนุ เมอ่ื รสู มมตุ แิ ลว วมิ ตุ ติ
กเ็ ปนไปในตัว

๙๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

พระเณรจะดี ตอ งอยู่กบั ครูบาจารย์
ครูบาจารยเฒาทองรัตนเคยเลาใหหลวงพอกิ
ฟง วา พระเณรบวชเขามาในพระพทุ ธศาสนา ถาจะดี
ตอ งไดอ ยูกับครบู าอาจารย เพราะครูบาอาจารยทาน
จะเปน คนสอดสอ งดแู ลพฤตกิ รรมอปุ นสิ ยั ของลกู ศษิ ย
แตละคนวาควรจะบอกจะสอนในลักษณะใด เพราะ
มานะทิฏฐิของแตละคนไมเหมือนกัน ทานเลาวา
สมัยอยูกับครูบาจารยเสาร ครูบาจารยมั่น แตกอน
ทิฏฐิมานะของทานนั้น ใครจะมีเทาทานไดในโลกนี้
เพราะไดอาศัยครูบาจารยทั้งสองทานเปนคนคอย
ขัดออกให กระทุงออกให บางครั้งครูบาจารยทานดุ
บางครงั้ ทา นกพ็ ดู ใหค ดิ บางครงั้ ใหไ ปอยทู ท่ี ไี่ มม ใี ครไป
แตก็อาศัยความเคารพศรัทธาท่ีมีตอครูบาจารยจึง
ไดอดทนอดกล้ันกระทําตามท่ีทานบอกทานสอน
ทานบอกอยาก็อยา ทานบอกไมก็ไม ถึงมันจะฝน
ก็ตองทน ถาไมใชครูบาจารยเสาร ครูบาจารยมั่น
ทานคงจะปลอ ยทิ้งแลว

ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๙๓

ดว ยความเคารพและศรัทธา
พอ ใหญก ณั หา สทุ ธพิ นั ธ เปน โยมอปุ ฏ ฐากใกลช ดิ
กับครูบาจารยเฒามาโดยตลอด หลังจากท่ีไดรวมกับ
คณะเปนคนไปนิมนตครูบาจารยเฒาที่บานขาโคมให
ไปจําพรรษาที่บานชีทวน เมื่อครูบาจารยเฒาไดออก
จากบานชีทวนหลายพรรษา และไดไปอยูที่บานคุม
อ.สําโรง จ.อุบลราชธานี ดวยความศรทั ธาอนั แรงกลา
ของพอใหญ กไ็ ดอ พยพครอบครวั ไปดว ย
พอใหญไดเลาใหฟงวา “ปกติครูบาจารยเฒา
ทานพดู เสียงดัง เปนเชิงไมกลัวใคร ทานชอบอยตู าม
รมไมตามปา และอยูไมเปนที่ การอยูท่ีเดียวนานๆ
ทานวา จะทําใหต ดิ สถานที่ ทา นไมตดิ กฏุ ิ กลับมาจาก
ธดุ งคก ม็ าอยกู ฏุ หิ ลงั ใหม ตามทไี่ ดไ ปกบั ทา น ทา นจะพา
พกั ใตต นไม เม่ือนั่งลงทานจะกราบกอ น เวลาทา นไป
ก็กราบอีก บางทีแดดจัดๆ หรือยามเย็นๆ ทานจะ
พาน่ังพักกลางวันตามรมไม เม่ือจะน่ังลงทานก็กราบ
เม่ือจะไปทา นก็กราบ ถามทา นวา “ครบู าจารยก ราบ
อะไรหรือครับ” ทานตอบวา “กราบตนไม ตนไมก็

๙๔ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

เหมือนพระพทุ ธเจา มันทํางานเลยี้ งชวี ติ ตวั เอง เวลา
มีลูก มันก็ไมหวง นกก็กินได คนจะนําไปกินก็ได”
สวนบางคร้ัง ครบู าจารยกราบลงกลางแจงนัน้ ก็กราบ
ระลึกถึงความบริสุทธิ์ของพระพุทธองค จิตของ
พระพุทธเจาไมไดเกาะติดอยูกับสิ่งใดสิ่งหน่ึง
คนโบราณจึงมักเปรียบเทียบวา เม่ือมีพระพุทธองค
อยูที่ใด ตองมีดอกบัวรองรับอยูท่ีน่ัน ตามท่ีไดอยู
กับทา น ทา นถอื เปนนสิ ยั ในการลกุ การน่งั ตองกราบ
เปน ประจํา จนผอู ่นื ทําตามยาก

สําหรับการอยู ทานไมชอบอยูกับคนหมูมาก
ชอบอยตู ามลาํ พงั อยตู ามปา สองสามวนั กย็ า ยไปทใ่ี หม
ไมชอบอยูในเมือง ทานบอกวาจะทําใหติดรสอาหาร
ไปอยตู ามปา ฉนั อาหารทพิ ย ถามทา นวา อาหารทพิ ย
คอื อะไร ทานตอบวา อาหารทพิ ย คอื ดอกกระเจียว
หนอขา เห็ดระโง หวาย หนอโจด เวลาฉันก็มีความ
สะอาด ไมมีโรคมีภัย บางท่ีเขานิมนตไปฉันในบาน
ทานจะเอายาควินินเม็ดเหลืองๆ ออกมาประมาณ
๒๐ เม็ด นาํ เขา ปากแลว ฉนั นํ้าตาม ถามทา นวา ทาํ ไม

ประวตั แิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยทองรตั น กนตฺ สโี ล ๙๕

ถึงฉันมากแท ครูบาจารยบอกวา เพื่อดับรสอาหาร
เปน เราฉนั ๓ เมด็ กห็ ดู บั ไปหมด นที่ า นฉนั ตง้ั ๒๐ เมด็
แลวก็เฉย

คร้ังถึงเวลาวันพระ ๑๕ ค่ํา พระเณรมารวมกัน
ทศ่ี าลา เวลาฉนั อาหาร ทา นมกั จะบอกพระเณรใหฉ นั
ดวยความสํารวม มีสติ พิจารณาวาฉันเพ่ือบรรเทา
ความหิว เพ่ือดํารงชีวิตหรือเพ่ือความอยาก ฉันเพ่ือ
ความงามหรือฉันเพ่ือเลีย้ งตณั หา ถา รูสึกวาอีก ๕ คํา
จะอม่ิ ใหหยุด แลวฉันนา้ํ ลงจะอ่มิ พอดี แตถา ตัณหา
มนั สง่ั ใหฉ นั เตม็ ทถี่ งึ ลาํ คอ พอดมื่ นา้ํ ลงไปจะแนน ทอ ง
อยูไมได แลวก็ไมสบาย ตองเอามือลวงคอใหอาเจียน
อยางนี้ผิดวินัยของพระ การฉันโดยไมพิจารณา
เปนบาป ตายไปเปนควายไถนาใหเ ขากิน

๙๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

จบั ไมถ่ กู
อบุ ายการสอนศษิ ยแ ตล ะคนของครบู าจารยเ ฒา
จะไมคอยเหมือนกัน เชนมีอยูครั้งหนึ่ง ทานจะสอน
เร่ืองการขบฉันใหอยูในการสํารวม ระวังอยาฉันให
มีเสียงดัง อยาฉันพลางพูดพลาง อยาฉันมูมมาม
ซง่ึ อยใู นกรอบของวนิ ยั ทว่ี า ดว ยการขบฉนั ถงึ เวลาฉนั
ครูบาจารยเฒาจะทําตรงขามที่สอนลูกศิษย ขาวตก
เรยี่ ราด พดู ทง้ั ทมี่ ขี า วอยใู นปาก เปน อาการทไี่ มส าํ รวม
และมีพระลูกศิษยไมทราบเจตนารมณของทาน
หรืออยางไรไมทราบ เกิดคิดตําหนิทานอยูในใจวา
ครูบาจารยเ ฒา สอนแตค นอื่น ไมสอนตัวเอง พอเกบ็
กวาดโรงฉันเสร็จ กอนเลิก ทานจะมาใหโอวาท
และกราบพระเลิกพรอมกัน พระรูปน้ันถึงกับอ้ึงไป
เมื่อครูบาจารยเฒาทานเทศนเกี่ยวกับที่พระรูปนั้น
คดิ วา “ไปยดึ ตดิ ครูบาจารย ไมยึดติดธรรมะ”
ในเวลาเดนิ อยนู ง่ั อยู กใ็ หน กึ ถงึ ศลี ตวั เอง ศลี ขาด
หรือเศราหมองก็ตองรู นี้เรียกวาอยูดวยความมีศีล
พระธุดงคใหระวังศีล ตลอดจนอาบัติเล็กๆ นอยๆ

ประวัตแิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยทองรตั น กนตฺ สีโล ๙๗

ก็ใหระวัง ศีลไมบริสุทธ์ิ เขาปา ข้ึนเขา เสือกัดตาย
ถา อยา งนนั้ ไมต อ งเปน พระธดุ งค จงไปนอนเลย้ี งควาย
อยตู ามบา นดกี วา ถา เปน พระมแี ตจ ะตกนรก เขาอยาก
ไดบญุ เขาจึงมาเอาทาน ภายในกาย ภายในใจ ถาศีล
เศราหมองแลว ภาวนาจนแกต ายพระธรรมก็ไมเ กดิ

พระเณรกลวั ทานมาก ใครตอ งอาบตั ทิ านรหู มด
ทานทักทวงในทามกลางหมูคนมากเอาด้ือๆ ใหอาย
ถาทานเตือนแลวทําผิดบอยๆ ทานบอกวาไปเอา
เทียนติดหูไลใหมันหนี มาบวชไมเคารพคําสอนของ
พระพทุ ธเจา บวชหาประโยชนอนั ใด ถา เปนพระจาก
ท่อี ่นื ไปหาทา น พอนัง่ ลง ทานกเ็ รียกชอื่ ถามขา วจะ
ไปไหนมาไหน ทาํ อะไร ถา พระมคี วามรไู ดเ รยี นมามาก
ในใจคิดวาจะอวดความรูตัวเองเปนเชิงดูหม่ิน
ทานรูทันที ทานจะวา “เรียนมามากๆ นั้น เรียนไป
ทําไม มคี วามรูแลวเอาตวั ไมร อด อาบัตเิ ตม็ หัวไมร ตู ัว
เปนพระบณิ ฑบาต ก็มีอาหารฉัน ไมร จู กั เคารพบาตร
ไมรูคณุ ของพระพทุ ธเจา ” ทานพูดไมกลัวคนจะโกรธ

๙๘ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม


Click to View FlipBook Version