The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการความรู้ By ผอ-ยอดชาย-ผอ-กงจัดการความรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KM64.cdd, 2021-09-30 13:48:35

การจัดการความรู้ By ผอ-ยอดชาย-ผอ-กงจัดการความรู้

การจัดการความรู้ By ผอ-ยอดชาย-ผอ-กงจัดการความรู้

การจดั การความรู้
งานพัฒนา

Wisdom for Change ยอดชาย ผา้ เจริญ
ผูอ้ านวยการกลุ่มงานจัดการความรู้

สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน
กรมการพัฒนาชมุ ชน

“จดั การความรู้ เคยทาแบบไหน”

Wisdom for Change

ยอดชาย ผา้ เจรญิ
ผูอ้ านวยการกลมุ่ งานจดั การความรู้

สถาบนั การพัฒนาชุมชน
กรมการพัฒนาชมุ ชน

“ความรู้”

(๑) สิ่งท่ีสั่งสมมาจากการศึกษาเลา่ เรยี น การค้นควา้ หรอื ประสบการณ์
รวมทัง้ ความสามารถเชงิ ปฏบิ ัติและทกั ษะ เชน่ ความรเู้ รอ่ื งประวตั ศิ าสตร,์
ส่ิงทไี่ ดร้ ับมาจากการไดย้ นิ ได้ฟงั การคิด หรือการปฏิบัติ เช่น ความรู้เรอื่ งสุขภาพ
ความรู้เรอื่ งนิทานพ้ืนบ้าน
(๒) ความเขา้ ใจหรอื สารสนเทศทไี่ ดร้ ับมาจากประสบการณ์

“องคค์ วามรู้“

ความรซู้ ่ึงไดม้ าจากการวิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ แลว้ นามาบรู ณาการเขา้ เป็นความรู้
ในระดบั ทสี่ ูงขน้ึ . (อ. body of knowledge)

https://dictionary.orst.go.th/ พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554

การจดั การความรู้ (Knowledge Management)

“ความร”ู้ “การจดั การ”

ประสบการณ์ การจัดการงานตา่ ง ๆ
ใหเ้ ห็นวา่ ต้องใช้
ทักษะ
กลไก หรอื เคร่อื งมอื
สารสนเทศ ในการดาเนินการ
มีวิธีการดาเนินงาน

ท่เี ปน็ ข้ันตอนชัดเจน

องคค์ วามรู้

ความรู้ชดั แจง้ (Explicit Knowledge) ทกั ษะ

คือความรู้ท่ีเขียนอธิบายออกมาเป็นตัวอักษร
เชน่ คู่มือปฏบิ ตั งิ าน หนงั สือ ตารา เวบ็ ไซต์ Blog

ความรู้แฝงเรน้ หรือความรแู้ บบฝังลกึ
(Tacit Knowledge) คือความรู้ท่ีฝงั อยใู่ นตัว

คน ไม่ได้ถอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร หรือ
บางคร้ัง ก็ไม่สามารถถอดเป็นลายลักษณ์อักษร
ได้ ความรู้ท่ีสาคัญส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็นความรู้
แฝงเร้น อยู่ในคนทางาน และผเู้ ช่ียวชาญในแตล่ ะ
เร่ือง จึงต้องอาศัยกลไกแลกเปล่ียนเรียนรู้ให้คน
ได้พบกัน สร้างความไว้วางใจกัน และถ่ายทอด
ความรู้

ความร้แู ฝงเร้น

ความรู้แบบฝังลกึ

(Tacit Knowledge)

ทกั ษะ

ไดย้ นิ ไดฟ้ งั

ความร้ชู ดั แจง้

(Explicit Knowledge)

การจดั การความรู้ (Knowledge Management) “การจัดการ”

4 ระดับ “ความร”ู้ Best Practice วธิ ีปฏบิ ตั ิท่ีดี ถอดบทเรยี น
Lesson Learn บทเรยี น แบ่งปัน
(1) Know-what ต่อยอด
ความรู้เชงิ ข้อเท็จจริง
จบมหาวทิ ยาลยั ใหม่ ๆ ปรบั ปรุง พัฒนา

(2) Know-how ประสบการณ์ ความชานาญ ถ่ายทอด
ความรทู้ เี่ ช่อื มโยงกบั โลกความจรงิ ทักษะ ความถนัด ฝกึ อบรม
ออกไปทางาน 2-3 ปี ศึกษาดงู าน
ภายใตค้ วามเป็นจริงทีซ่ ับซอ้ น การสอนงาน

(3) Know-why พ่ีเลยี้ ง
ความรู้เชิงเหตผุ ล ระหว่างเรอ่ื งราว
ประสบการณแ์ กป้ ัญหาที่ซับซอ้ น On the job training
นาประสบการณ์มาแลกเปลย่ี น
งาน คน ระบบ
(4) Care-why สมรรถนะเพ่ิมขึ้น
ความรู้ในลกั ษณะของความคิดริเรมิ่ ประสิทธิภาพเพ่ิมข้นึ
สรา้ งสรรคท์ ่ีขบั ดนั มาจากภายใน

เป้าหมายของการจัดการความรู้

องค์กร งาน 1. พัฒนาคน สามารถนาไปถ่ายทอดใหบ้ คุ คลอ่นื ๆ
คน
ได้รับการพัฒนา มคี วามรู้รอบดา้ น ปฏิบตั งิ านดขี น้ึ

สมรรถนะเพ่ิมขนึ้ ความพึงพอใจ

2. พัฒนางาน พัฒนาการทางานใหด้ ขี ้นึ ได้

ประสิทธภิ าพงาน Faster Cheaper Better

3. พัฒนาองค์กร สร้างสรรคส์ ่ิงต่าง ๆ ปฏิบตั ภิ ารกิจได้

โดยงา่ ย ไม่ต้องวางแผนซ้าเดิม เกิดผลลพั ธ์ท่ดี ี

บรรลุเป้าหมายองค์กร วสิ ัยทัศน์ ยทุ ธศาสตร์

องค์ประกอบของวงจรการเรียนรู้

70 %

คน คน เป็นองค์ประกอบท่สี าคัญท่สี ุด เพราะเป็นแหล่งความรู้

เทคโนโลยี และเปน็ ผูน้ าความรู้ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์
กระบวนการ
10 %

เทคโนโลยี เป็นเคร่อื งมือท่ชี ว่ ยค้นหา จดั เก็บ แลกเปลย่ี น

และนาความรไู้ ปใชไ้ ดง้ า่ ยและ รวดเรว็ ข้ึน

20 %

กระบวนการความรู้ (Knowledge Process) เปน็

การบริหารจัดการ เพ่ือนาความรูจ้ ากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้

เพ่ือให้เกดิ การปรับปรงุ และนวัตกรรม

สถาบันสง่ เสรมิ การจดั การความรู้เพ่อื สงั คม

Communities of Practice (COP)

COP เป็นแนวทางหรือเคร่ืองมือสาคัญที่สุดของ KM ช่วยให้พนักงานเช่ือมโยง
กัน และได้คาตอบ ต่อปัญหาที่ตนต้องการ ณ เวลาท่ีต้องการคาตอบ, จัดเก็บ
เนื้อความรู้ (content) ที่มีความสาคัญต่อสมาชิก, จัดเก็บความรู้ไว้ในองค์กรเมื่อ
สมาชิกออกไป, และทาให้เน้ือหาความรู้สดใหม่โดยการตรวจจับความรู้ จากการ
เสวนา

AAR (After Action Review)

เป็น Lessons Learned ใน วงการ KM ไทยเรียกว่า AAR (After Action Review)
คาถามหลกั ทใี่ ช้ในกจิ กรรม AAR หวังให้เกดิ ผลอะไร ส่ิงทีเ่ กดิ ข้ึนจรงิ เป็นอยา่ งไร
ทาไมจึงมคี วามแตกตา่ งระหว่างเป้าหมายกับผลที่เกิดขึน้ มใี ครอีกบ้างท่ีควรได้รบั รู้
ขอ้ มลู นี้

Transfer of Best Practices

วงการ KM ไทยเรียกว่า Peer Assist เป็นแนวทางที่เป้าหมายการถ่ายทอดความรู้
ภาพใหญก่ วา่ COP และ Lessons-learned โดยมเี ป้าหมายหลักท่ชี ่วยให้วงจรการ
ริเร่มิ งานใหม่ไปสู่ผลสาเรจ็ ส้ันลง ไมต่ ้องคลา หาวิธีการใหมแ่ บบเริม่ จากศูนย์ แต่
นาเอาความรูแ้ ละวิธีการที่พิสูจนแ์ ลว้ ว่าไดผ้ ลดี (ในบรบิ ทอนื่ ) มาปรบั ใช้ ช่วยลด
ความเสี่ยง เพิ่มคณุ ภาพ และเพ่ิมความสามารถในการแขง่ ขนั การถา่ ยทอดความรู้
จาก Best Practices ต้องทาอยา่ งเป็นระบบ และมขี ้นั ตอน

การจัดการความร้ไู มร่ ู้จบ

เนน้ "2P"
Process & People

เนน้ "2T"
Tool & Technology

สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

รู้จกั ตนเอง : ขน้ั ตอนแรกคือต้องเขา้ ใจตนเองเสียก่อนว่าเรามเี ป้าหมาย
อยากจะรู้เร่อื งอะไร ขณะนเี้ รามคี วามรูเ้ รอ่ื งใดอยูแ่ ลว้ บ้าง ความรู้นั้น
เกบ็ อยา่ งไร รปู แบบใด อยูท่ ี่ใคร

เสาะหาความรู้ : เม่ือรู้จักตนเอง รูต้ ันทุนตนเองวา่ มีความรู้ หรือมี
ขอ้ มูลใดบ้าง ขน้ั ตอนถดั มาคอื การเสาะหาข้อมลู ความรู้นน้ั เพ่ือทาการ
รวบรวมมาไวอ้ ยทู่ เ่ี ดยี วกันสาหรบั การจดั การความรู้ตอ่ ไป

เรยี บเรียงความรู้ : ข้อมูลความร้ทู ีไ่ ดม้ าจากแหล่งตา่ งๆ อาจจะ
กระจดั กระจาย เกบ็ ไม่เป็นระบบ ขั้นตอนนี้จะเป็นการเรียบเรียงความรู้
ใหข้ อ้ มูลทกุ อย่างเป็นระเบียบเรยี บร้อย พร้อมต่อการจัดการความรไู้ ด้

ประมวลผลความรู้ : หลังจากการเรยี บเรียงความรู้แล้ว ขนั้ ตอนถดั มา
คอื การประมวลผลข้อมูลความรู้และขอ้ มลู ใหส้ มบูรณ์ และมรี ูปแบบ
เอกสารหรือขอ้ ความทีเ่ ข้าใจได้ง่ายเป็นมาตรฐาน

การเผยแพรค่ วามร:ู้ ข้อมูลความรูจ้ ะไมม่ ีประโยชนเ์ ลยหากเก็บไว้
เพียงที่เดียว ดงั นั้นข้นั ตอนทส่ี าคัญถัดมาคือการเผยแพร่ความรู้ออกไป
ในวงกวา้ ง ไดท้ ้ังแบบออฟไลน์ และออนไลน์โดยใชเ้ ครือ่ งมือทางเทคโนโลยี
สารสนเทศ เชน่ เว็บไซต์ blogs chat Social Network Video Sharing
เป็นตน้

การแลกเปล่ียนความร:ู้ หากเราพอใจในความรทู้ ี่มกี ็อาจจะทาให้เรา
ไมส่ ามารถพัฒนาตนเองได้ ดังนัน้ จงึ มคี วามจาเป็นท่ีจะต้องแลกเปลี่ยน
ความร้รู ะหว่างกลมุ่ ผา่ นทางการพูดคยุ แลกเปล่ยี นความรู้ หรือ
การแลกเปลี่ยนผา่ นเอกสาร ก็จะทาให้เราได้รบั ความรูใ้ หม่ทชี่ ว่ ย
ในการพัฒนาตนเองได้

การบูรณาการความรู้สู่การทางาน: เม่อื เราสามารถสรา้ งความร้แู ละ
บรหิ ารความรหู้ นงึ่ ๆ ไดแ้ ล้ว ก็ควรจะทาใหต้ ่อเน่ืองโดยการฝึกสรง้ ความรู้
นาความรู้ไปใช้ แลกเปลีย่ นความรู้ และเกิดความรู้ใหม่ วนเวียนเป็นวัฏจักร
ต่อไปเรอ่ื ย ๆ จนกลายเป็นวถิ ชี วี ิตแห่งการเรยี นรู้



Communities of Practice หรือ CoP Cross-Functional Team

เคร่ืองมือ 1 ชุมชนนักปฏบิ ัติ 2 ทีมข้ามสายงาน
การจัดการความรู้ กลมุ่ คนท่ีสนใจในเร่ืองใดเร่ืองหนงึ่ รว่ มกัน
รวมตวั กนั เพ่ือแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และสรา้ ง Peer Assist ต้งั ทีมทางานรว่ มกนั อาศัยคนหลายๆ
(KM TOOLS) องคค์ วามรใู้ หม่ๆ ด้านมาแลกเปลี่ยนและทางานร่วมกัน

After action review หรอื AAR 3 เพ่ือนช่วยเพ่ือน

Coaching 4 ทบทวนหลงั การปฏิบัติ การใหห้ รือขอรบั คาแนะนา จากบคุ คลหรอื
หนว่ ยงานที่ประสบความสาเรจ็

5 การสอนงาน ทบทวนการทางานแตล่ ะข้ันตอน ค้นหาอุปสรรค เพ่ือจะได้นาไปประยุกตใ์ ชใ้ นหนว่ ยงาน
ผลท่ีเกิดข้ึน ได้คน้ พบวิธปี ฏิบัตทิ ่ีดี และขอ้ พงึ
Knowledge Café

การถา่ ยทอดจากผ้ทู ี่มปี ระสบการณ์ ระวงั ข้อเสนอแนะ Best Practice 9 สภากาแฟ

ท่ีผลงานดี แนะนา สอนให้คนทมี่ าใหม่ Lesson Learned 8 วิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลศิ เลา่ เรื่อง พดู คยุ แลกเปลี่ยนกนั
ได้เรียนรู้ ไดป้ รบั ปรุงวิธกี ารทางาน เรียนรจู้ ากวิธกี ารทางานทด่ี ีที่สุด แบบสบายๆ ระหวา่ งนง่ั ดม่ื กาแฟ

Mentoring 7 เรยี นร้จู ากบทเรยี น

6 พ่ีเล้ียง การเรียนรจู้ ากความสาเร็จและความ Forum
ผดิ พลาดจากการดาเนินการที่ผ่านมา
10 เวที ถาม-ตอบ
คนทางานทอ่ี ยูค่ นละฝ่าย/กลุ่มงาน/หรือกลมุ่ Study tour เวทีแลกเปล่ียนที่สามารถถามเพื่อให้ผู้

เดยี วกัน มาชว่ ยแนะนาวธิ ีการทางาน ช่วยเหลือ 11 การศึกษาดงู าน
สนบั สนนุ คอยให้คาปรกึ ษา

มีเคร่ืองมืออกี หลากหลาย เรยี นลัดจากประสบการณ์ของผู้อน่ื โดยดูของจริง รว่ มเวทีร่วมกนั ตอบ

6 วถิ ี วิธีคดิ การจดั การความรู้

1 เคร่อื งมอื

Wisdom for Change

6 วถิ ี วิธีคิด การจัดการความรู้

1 การจดั การความรู้ไมใ่ ช่ภาระท่ตี ้องทาเมอ่ื งานเสร็จ

องค์ความรไู้ มไ่ ดเ้ กดิ ครัง้ เดียวเมอื่ ตอนงานเสรจ็ แตอ่ งคค์ วามรไู้ ด้เกดิ ขึน้ แลว้ ในทุกช่วงเวลา
ของการทางานนน้ั ๆ เก็บองคค์ วามรูไ้ ปเร่อื ย ๆ ให้เนยี นไปกบั งาน
เมื่อเสร็จส้นิ โครงการ เอาองค์ความรู้ท่ีเก็บไวม้ ารวมกัน ไดอ้ งคค์ วามรคู้ รบกระบวนการ

2 ไมจ่ าเป็นต้องเป็นองคค์ วามรู้ทเี่ ป็นเรอ่ื งใหญ่

องค์ความร้เู ขียนได้ทกุ เรอื่ งที่เกดิ ขึน้ เร่ืองเลก็ ๆ รวมกัน เป็นช้ินสว่ นสาคญั ของความสาเร็จ
องคค์ วามรู้ต้นทาง องคค์ วามรูก้ ลางทาง องค์ความรปู้ ลายทาง ชุดองค์ความรู้
เขยี นเพื่ อเล่าเร่ืองราว ไมต่ ้องยดึ รูปแบบเดมิ

6 วิถี วธิ ีคิด การจดั การความรู้

3 การสร้างความคาดหวงั จะทาใหเ้ กดิ องค์ความรู้
ต้งั ความคาดหวังของตนเองไวเ้ สมอ ว่าทาสิง่ นเี้ พ่ื ออะไร จะได้นาความคาดหวงั มาเปรียบเทยี บกับ
ผลทเี่ กิดขึ้นจริง/ งานพั ฒนา เป็นงานเชงิ กระบวนการ ทาตอ่ เนอ่ื ง บริบทเปลยี่ น
ตอ้ งจัดการความรู้ตอ่ เนอ่ื ง

4 องค์ความรู้ชมุ ชนตอ้ งใหเ้ นยี นไปกับวถิ ชี วี ติ ชุมชน
ใช้ KM เป็นเคร่อื งมือการพั ฒนา เราคือนักจดั การความรู้ ชุมชนคอื เจ้าขององค์ความรู้
ไมใ่ ช่ชวนกนั ทา KM แตเ่ ราใช้กระบวนการ KM เขา้ ไปชวนกันเรียนรู้จากการลงมอื ทา
ฟงั แล้วคิด Q&A กลายเป็น How to คน้ คาถาม หาคาตอบ ลงมือทา เรยี นรู้ ปรบั แก้ พั ฒนา ทาให้งา่ ย
จากรปู แบบ เปน็ ต้นแบบ

6 วถิ ี วิธีคดิ การจดั การความรู้

5 Focus ใหช้ ดั
ตอ้ งมีเป้าหมาย อะไร คอื ความร้ทู ่ีสาคญั ต้องให้ชดั
ใคร คือคนทีจ่ ะใชอ้ งค์ความรู้ จดั การองค์ความรู้ใหใ้ ครใช้ ตอ้ งให้ชดั
หวั ปลา ต้องชดั ในการกาหนดทิศทาง พุ่ งเป้าให้ชัด

6 พลังจะเกิดเม่ือลงมือทา
ไมใ่ ช่ทาเพื่ อให้ได้ชอื่ ว่าไดท้ า KM ไมใ่ ช่ทาตามการสง่ั การ ไมใ่ ชท่ าแค่ใหไ้ ดส้ ง่
หวั ใจคอื การเรียนรู้ การนาไปใช้ การพั ฒนา เป็นการจัดการความรไู้ มร่ จู้ บ
Knowledge is Power : ความรู้คอื พลงั

ไม่ใชภ่ าระ

พลงั จะเกดิ เม่อื ลงมือทา

ไมจ่ าเปน็ ต้องเปน็ เรื่องใหญ่

การจัดการความรู้

Focus ให้ชดั ความคาดหวัง
ทาให้เกิด
6 วิถี วธิ คี ดิ การจดั การความรู้ ความรู้

เนยี นไปกบั วิถชี ีวติ ชุมชน

1 เคร่อื งมือ

การทบทวนหลงั การปฏบิ ตั ิ
After Action Review (AAR)

Wisdom for Change

After Action Review : AAR คอื อะไร

เคร่อื งมือถอดบทเรียน

เกบ็ รวบรวมข้อมลู จากท่ไี ดป้ ฏบิ ตั ิ

เคร่อื งมอื วเิ คราะหห์ ลังการปฏบิ ัติงาน
ทบทวนหลงั กิจกรรม
ไมว่ ่าจะสาเร็จหรือลม้ เหลว

ขน้ั ตอน 8. สรปุ ได้ชดุ ขอ้ เสนอแนะ นำไปปฏบิ ตั ิ
การทา AAR

4 คาถาม AAR คืออะไร

1. อะไร คอื ส่ิงท่ีคาดหวงั จากการทางานในครงั้ นี้

2. อะไร คือส่ิงท่ีเกิดขึน้ จริง

3. ทาไม ถงึ เป็นเชน่ นนั้
4. จะทาอยา่ งไร เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาให้ดขี ึ้น
ในครง้ั ต่อไป

การทบทวนหลังการปฏิบตั ิ : After Action Review (AAR)



ประโยชนจ์ ากการทบทวนหลงั การปฏิบตั ิ

✓ ลดความยงุ่ ยาก เหน่อื ยนอ้ ยไดผ้ ลดขี ึน้
✓ ทาให้ KM เปน็ เร่อื งงา่ ย ๆ ใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ
✓ วดั ผลการดาเนนิ งานได้
✓ ไมเ่ น้นเฉพาะผลสาเร็จ แต่มองให้ครบทุกมติ ิ
✓ เกดิ ความชัดเจน ในประเด็นท่เี ก่ียวขอ้ ง
✓ ไดฝ้ กึ ทกั ษะการพูด การฟงั การคิดเป็นระบบ
✓ การเรยี นรู้เปน็ ทีม พัฒนาความสัมพันธ์

สู่การทางานเป็นทีม พัฒนาทีมงาน
✓ ทาไดท้ นั ทีหลงั เหตุการณ์
✓ เพ่ิมการพัฒนานวตั กรรม

ข้อพงึ ระวงั ขอ้ ควรระวงั

ไม่วพิ ากษ์ วจิ ารณว์ า่ ใครผดิ
บรรยากาศ ต้องไม่ทาลายคณุ คา่ สมาชิก/ทมี งาน

วธิ ีแก้ปญั หาท่ไี ด้จากการทา AAR
ไม่ใช่คาตอบสุดทา้ ย

เพราะเม่อื เวลาเปล่ยี นไป บริบทเปล่ยี นไป
ย่อมทาใหเ้ กิดปัญหาใหม่ได้ตลอดเวลา
วธิ ีการแกป้ ัญหายอ่ มเปล่ยี นแปลงไปดว้ ย

การขับเคล่อื นงาน
ด้วยองค์ความรู้

Wisdom for Change

ทาไมตอ้ งถอดบทเรยี น

1 เคร่อื งมอื พัฒนากระบวนการทางาน
2 คน้ หา สรา้ ง ใช้ ความร้จู ากการปฏิบตั ิ
3 ปรบั ปรงุ พัฒนาความรู้ ต่อยอดความสาเรจ็
4 แลกเปล่ียนเรยี นรู้

การขบั เคล่อื นงาน เทคนคิ เคล็ดลบั ความ ต่อยอด
ด้วยองคค์ วามรู้ เพราะอะไร ทาไม ภาคภมู ิใจ
ขยายผล
ความสาเร็จ ความเปลีย่ นแปลง สาเร็จ

แรงบันดาลใจ ได้ผลอย่างไร เป็นไปตามคาด ปัจจยั ความสาเร็จ

จดุ เร่ิมตน้ ความ ขน้ั ตอน
คาดหวัง การทางาน
จุดเปลย่ี น
ความยุ่งยาก ไมเ่ ป็นไปตามคาด ปัจจัยทีค่ วรระวงั แก้ไข
ปรับปรงุ
ปัญหา ข้อพึงระวัง
ข้อเสนอแนะ ลดความ
เพราะอะไร ทาไม ผิดพลาด

วธิ ีการแก้ไข
ทดลองแกไ้ ข

คำถำม

ถอดบทเรยี นจำกกำรปฏบิ ตั ิ

จดุ เร่มิ ต้น

ทำไมจึงเขำ้ มำร่วมกิจกรรม

คำดหวงั อะไร

ทำอะไรบ้ำง

เพ่ือไปให้ถึงสง่ิ ที่หวงั

มอี ะไรที่ สำเรจ็

ตำมคำดหวงั

เพรำะอะไรจงึ สำเรจ็

ควำมภำคภมู ิใจ

รสู้ ึกอย่ำงไร
กบั ส่งิ ทเ่ี กิดขนึ้

พบ ปัญหำ

อะไรบำ้ ง

แก้ปัญหำอยำ่ งไร

ขอ้ เสนอแนะ

อยำกบอกอะไรกับคนที่
อยำกทำแบบเรำ

มีอะไรทสี่ ำเรจ็ 6 คำถำม ถอดบทเรียนจำกกำรปฏิบตั ิ

ทำอะไรบำ้ ง ควำมภำคภมู ิใจ
จดุ เรม่ิ ตน้
ปัญหำที่พบ

มปี ัญหำอะไรบ้ำง
และแกไ้ ขปัญหำอย่ำงไร

ขอ้ เสนอแนะ Wisdom for Change

อยำกบอกอะไรกบั คนอ่นื
ท่ีอยำกทำแบบเรำ

เรียนร้จู ำกควำมรู้

Wisdom for Change



ขอ้ มูล สำรสนเทศ ควำมรู้ ควำมเขำ้ ใจเชงิ ลกึ ภมู ิปัญญำ





https://kmi.or.th/




Click to View FlipBook Version